The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การติดตั้ง ทดสอบการทำงานของระบบและการให้บริการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by akavinz, 2022-06-15 02:16:54

บทที่ 9

การติดตั้ง ทดสอบการทำงานของระบบและการให้บริการ

บทท่ี 9

การติดตงั้ ทดสอบการทำงานของระบบและการใหบ รกิ าร

ผลของการเรียนรู
ทานจะไดเรียนรูเกี่ยวกับการติดตั้ง โดยเฉพาะทอและฉนวน ทานจะรูถึงขอควรระวังที่จะตองปฏิบตั ิ

เมื่อปรบั ระบบและการดำเนนิ งานตามข้นั ตอนสำหรบั การปลอยนำ้ ยาและเติมนำ้ ยาลงในวงจรการทำความเย็น
วตั ถปุ ระสงค

เมอ่ื รบั การเรยี นรูในบทนีแ้ ลวผู เรยี นจะตองสามารถ
1. ทราบถงึ ภาพรวมข้ันตอนการตดิ ต้ัง การใหบรกิ ารและการทดสอบการทำงานของระบบได
2. เขาใจวธิ ีในการเตรียมตัวติดตงั้ ได
3. เขา ใจวธิ ีในการประกอบได
4. เขาในวธิ ีการทดสอบการทำงานได
5. เขาในวธิ กี ารซอ มแซมหรือดัดแปลงแกไ ขระบบได

การจัดการใชส ารทำความเย็นทต่ี ดิ ไฟไดอยา งปลอดภยั 263

บทที่ 9 การติดต้ัง ทดสอบการทำงานของระบบและการใหบริการ

9.1 ภาพรวมขนั้ ตอนการตดิ ตั้ง การใหบ ริการและการทดสอบการทำงานของระบบ

ระบบการติดตั้งและการทดสอบระบบการทำงานท่ีดี จะดำเนินไดราบรื่นและมีประสิทธิภาพดาน
พลังงานมากกวา การลดความตองการที่เขา ถึงระบบ เชน ระหวา งการซอมตองเพิ่มความปลอดภัยอยางมากใน
เร่ืองความเสีย่ งจากการรวั่ ของสารทำความเยน็ ระหวา งการปฏิบัติงานน้นั ต่ำมากตามปกติ

ขอกำหนดตา งๆทรี่ ะบุไวในบทน้จี ะใชเหมือนกนั ทั้งสารทำความเย็นที่ติดไฟไดและที่ไมติดไฟ อยางไร
ก็ตามสารทำความเย็นที่ติดไฟได จำเปนจะตองปฏิบัติตามกฎอยางเครงครัดเพื่อจุดมุงหมายเรื่องความ
ปลอดภัย ดังน้นั ความรูและประสบการณที่ดีกบั เทคโนโลยแี ละการจดั การระบบ RACHP มคี วามสำคญั อยางย่งิ

บทนี้ บอกถงึ ข้ันตอนในการติดต้งั การทดสอบการทำงานของระบบ และการซอ มแซม/ ดดั แปลง :

ขน้ั ตอนการตดิ ตั้ง

การประเมินความเสย่ี ง การเตรียมตัว

ความสอดคลองกับมาตรฐาน (ขนาดการบรรจุ/ขนาดหอง)

การจดั วางสว นประกอบหลกั การประกอบ การตดิ ต้ังชดุ ไฟฟา ควบคุม

การวางแนว จุดรองรับและฉนวนหมุ ทอ ถา ยโอนสารทำความเย็น

การทดสอบการทำงานของระบบ

ตรวจสอบตามขอกำหนด การตรวจสอบระบบ ตรวจสอบแรงดันและรอยรั่ว
การทำสุญญากาศ

การเติมสารทำความเยน็

การตรวจสอบข้ันสุดทา ย ตรวจสอบรอยรว่ั ครงั้ สดุ ทาย
264
ตรวจสอบการทำงานสว นประกอบตา งๆ ตรวจสอบการทำงานสวนประกอบทางไฟฟา

เอกสารและคูมือการใชสำหรับผใู ชงาน
การจดั การใชสารทำความเย็นท่ีติดไฟไดอยา งปลอดภัย

การซอมและการดัดแปลงระบบ
การทดสอบการทำงานของระบบ
การประเมนิ วงจรการทำความเย็น
การเลือกวธิ กี ารท่ีนำมาใช การดูดเกบ็ /การระบาย/การเผาไหม การลา ง/การดดู เกบ็ สารทำความเย็น

การซอ ม
รอยรวั่ อุปกรณไ ฟฟา การเปล่ยี นแปลงระบบ

เชน เดียวกับขางตน การทดสอบการทำงานของระบบ การบนั ทกึ เปนเอกสาร

การทดสอบความแข็งแรงดวยแรงดนั

ในแตล ะขั้นตอน จะมีบทบัญญัติทางเทคนิคหรือความปลอดภัย นอกจากน้ีบทบัญญัติและคำแนะนำตางๆ
อิงมาตรฐานระดบั ประเทศและระหวางประเทศ รวมทั้งกฎระเบียบดานสิ่งแวดลอมและหลักปฏบิ ัติทางเทคนิค

9.2 การเตรียมตัวติดตั้ง

ชางที่มีทักษะจะเปนผูวางแผน ออกแบบและติดตั้งระบบ RACHP รวมทั้งสวนประกอบไฟฟาและ
อิเลคทรอนิคส

สว นของการใชงานโดยท่วั ไปไดแก :
• ระบบเกบ็ และแปรรูปอาหารที่เสียได
• ทุกภาคสวนที่เก่ยี วกับการรกั ษา “หว งโซค วามเย็น”
• ระบบสำหรับเครื่องปรบั อากาศท่ีใหค วามสบายในบา นเรือนและการพาณิชย
• เทคโนโลยีดานกระบวนการสำหรับการแพทยศาสตรแ ละชีววิทยา
• กระบวนการผลิตทางอตุ สาหกรรม
เพื่อที่จะสรางระบบ RACHP ผปู ฏิบัตงิ านท่ีมีทักษะในเย่ยี มชมสถานที่ปฏบิ ัตงิ าน วิเคราะหถึงภาพวาด
ในการกอสรางเชิงสถาปตยกรรม ภาพวาดในการติดตั้ง และขอกำหนดทางเทคนิคตางๆ โดยตองเปนตาม
กฎระเบียบที่เกี่ยวของ สรางรหัสและมาตรฐาน การกำหนดวัสดุ พัฒนาขอเสนอสำหรับวิธีแกปญหาในการ
ติดตั้งและพิจารณาถึงความตองการของลูกคา ผูปฏิบัติงานเหลานี้จะใชแหลงขอมูลเฉพาะทางสาขาตางๆ
รวมทัง้ สื่อและปฏบิ ตั ิตามบทบัญญตั ิเพอื่ การคุมครองแรงงานและสง่ิ แวดลอม
ในหลายเร่อื งทีจ่ ำเปนทจี่ ะตอ งตัดสินถงึ ความตองการในการทำความเย็นและภาระในการทำความเย็น
(cooling load) ของระบบและวางแผนฉนวนกนั ความรอน ผูป ระกอบวิชาชีพจะตัดสินถึงกระบวนการในวงจร
อุณหพลศาสตรหรือเทอรโมไดนามิคของการทำความเย็น โดยใชแผนภาพมอลเลียรแสดงความดัน-เอ็นทาลป
(pressure-enthalpy (lg p, h) Mollier diagram) และแผนภาพมอลเลียรแสดงน้ำหนักของเอ็นทาลป-น้ำ
(enthalpy-water load (h-x) Mollier diagram) สำหรบั กระบวนการปรบั อากาศ

การจัดการใชส ารทำความเย็นท่ีตดิ ไฟไดอยางปลอดภยั 265

สำหรับระบบที่ไมไดทำขึน้ ในโรงงาน ชางที่มีทักษะจะตัดสินถึงกระบวนการทำงาน โดยวาดแผนการ
กอ สราง การตดิ ตั้งทอ และผังการไหลของสารทำความเยน็ และจัดทำรายการวสั ดุ

9.2.1 การประเมินความเสี่ยงและขอ ควรระวงั โดยท่ัวไปสำหรับการทำงาน
เมื่อใดก็ตามที่ใครสั่งคนทำงานในระบบที่ประกอบดว ยสารทำความเยน็ ที่ตดิ ไฟได จำเปนตองใชความ
ระมดั ระวังตามความจำเปน การบง ชีถ้ งึ ขอควรระวังน้ี มักจะไดม าจากการประเมนิ ความเส่ียง

โปรดดูบทท่ี 2 และบทท่ี 5 สำหรับขอ มูลเพ่ิมเตมิ เกี่ยวกับการประเมนิ ความเส่ียงและตัวอยา ง
แบบฟอรม ประเมนิ ความเส่ียง

ความเส่ยี งตอการเกดิ ไฟหรือการระเบิดนนั้ สูงขน้ึ เมือ่ มกี ารทำงานในระบบ เม่ือเทียบกับเมื่อปฏิบัติการ
ตามปกติ: ระหวางการใหบริการและการซอ มแซม มีความเปนไปไดสูงกวาที่จะเกิดเมื่อปลอยสารทำความเย็น
รวมทงั้ โอกาสทีจ่ ะเกดิ แหลงจดุ ประกายไฟ

ปฏบิ ตั ิตามขอควรระวงั ดา นความปลอดภยั ทงั้ หมด ความผดิ พลาดของมนุษยคือสาเหตุทท่ี ำใหเกิด
อุบัตเิ หตุ! โดยท่ัวไปแลว ความเสย่ี งของการติดไฟในระหวา งการใหบริการและการซอมแซม จะมากกวาชวง
การปฏิบัตงิ านตามปกติ ซึ่งไมมใี ครเขามาแทรกแซงระบบตั้งแต 100 ถึง 1,000 เทา

ขอ พิจารณาทั่วไปกอ นปฏิบตั งิ าน ไดแ ก :

• สรางความมั่นใจวามีความคุนเคยเปนอยางดีกับอุปกรณและรายละเอียดทั้งหมดของอุปกรณ และ
จะตอ งมคี มู ือติดต้ัง และ/หรอื ใหบรกิ าร จากผผู ลิตพรอ มอยเู สมอ .

• สรา งความม่นั ใจวาจะมีเอกสารขอมลู เก่ียวกับวัสดดุ านความปลอดภยั ท้ังหมดอยูเสมอ เพอื่ ประเมินถึง
ความเสยี่ งทอี่ าจเกิดข้นึ จากสารอันตรายท่ใี ชอ ยู

• สรา งความมั่นใจวา มีความคนุ เคยกับจดุ มงุ หมายและการปฏิบตั งิ านของอุปกรณ
• หากเปน ไปได อปุ กรณน ั้นควรตอ งแยกออกหา งจากแหลงจายไฟ
• อุปกรณท ีป่ ฏบิ ัติงานอยูดว ยไฟฟา ท้งั หมด จะตอ งตอสายดิน (ยกเวน ท่ีไดร บั พลังงานจากแบตเตอร่ี)
• จะตองมกี ารควบคมุ การปลอ ยไฟฟาสถิต
• ตรวจสอบใหแ นใ จวา มอี ปุ กรณเพอ่ื การจัดการสารทำความเย็นและอปุ กรณเพ่ือการจัดการเชงิ กลอยู
• ตรวจสอบใหแ นใจวามอี ุปกรณปองกันบุคคลทจ่ี ำเปน และนำมาใชไ ดอ ยางถกู ตอ ง

กอนที่จะดำเนนิ งานใดๆ ในระบบการใหความเยน็ หรอื อุปกรณทีเ่ กีย่ วของซ่ึงประกอบดวยสารทำความ
เย็นที่ติดไฟได ใหดำเนินการประเมินความเสี่ยงกอน แลวตรวจสอบใหแนใจวาไดปฏิบัติตามคำแนะนำเพื่อ
เตรยี มตวั ตามท่ไี ดระบไุ วหรือไม

การจดั การใชสารทำความเย็นทีต่ ดิ ไฟไดอยา งปลอดภัย 266

ขอ ควรระวงั

• คณะทำงานดา นบำรุงรกั ษาทง้ั หมด จะตอ งไดรบั คำแนะนำน้ี
• คณะทำงานและคนอื่นๆที่ทำงานในพื้นที่ ก็ตองไดรับคำแนะนำถึงลักษณะของงานที่ดำเนินการ
อยเู ชนกัน
• ตองไดรบั อนุญาตในการทำงานกบั ความรอน * (ถาจำเปน )
• จะตองมเี ครอ่ื งมือและอุปกรณทีเ่ หมาะสมและจำเปนท้งั หมด
• สว นประกอบใหมห รือท่ีนำมาแทน ควรจะเปนไปตามขอกำหนดของผูผลติ (หรือเปนแบบที่
เหมอื นกนั ) หากสงสยั ใหต ดิ ตอ ขอความชวยเหลือจากฝายเทคนคิ ของผผู ลิต
*การทำงานกบั ความรอน (Hot work) หมายถึงกระบวนการท่ีอาจเปนแหลง ของการจุดไฟ เชน
การบัดกรแี ขง็ การบัดกรี การเชอื่ ม หรือการตัด เชนทำงานดว ยเคร่ืองมอื ที่ใชพลงั งาน
ความปลอดภยั ในการทำงานในบริเวณท่ีเกยี่ วขอ ง
• กน้ั บรเิ วณรอบพื้นทีท่ ำงาน (ประกาศบริเวณปลอดภัย)
• หลีกเลย่ี งการทำงานในพ้นื ท่ปี ด ทบึ
• ตอ งรูถึงเสน ทางหนีภัย
• ตรวจสอบใหแนใ จวา ไมไดเก็บวสั ดทุ ี่ตดิ ไฟไดใ นบริเวณที่ทำงาน
• ตรวจสอบใหแนใ จวาไมม ีแหลงจุดไฟอยบู รเิ วณใดในทท่ี ำงาน
• ตรวจสอบใหแนใจวา มีอุปกรณป อ งกันบุคคล (PPE) ท่ีเหมาะสมและจำเปน
• ตรวจสอบใหแนใจวามีอุปกรณดับเพลิงที่เหมาะสม (CO2 หรือชนิดผงแหง) อยูในบริเวณท่ี
เขาถึงไดท นั ที
• ตดิ ปายสัญญาณที่เหมาะสม รวมทง้ั “หามสบู บุหร่”ี และ “หามเขาบริเวณน”้ี
การตรวจสอบความปลอดภัยเพ่อื ลดความเสย่ี งตอการจุดประกายไฟ
• ตรวจสอบใหแนใจวาบริเวณที่ทำงานมีการระบายอากาศอยางถูกตอง กอนที่จะทำงานกับ
ระบบในวงจรสารทำความเยน็ หรอื กอนทจ่ี ะบดั กรีแข็ง หรอื จัดการเรอ่ื งไฟฟา
• การระบายอากาศควรจะชวยกระจายสารทำความเย็นที่ปลอยออกมาอยางปลอดภัย และ
ถาใหดี ควรขับสารเหลา นน้ั ออกไปขางนอก
• ตรวจสอบใหแนใจวามีอุปกรณตรวจจับกาซที่ติดไฟไดอยางเหมาะสม และอุปการณนั้น
ทำงานเพอ่ื เตอื นคนงานใหรูถ ึงความหนาแนน ระดับท่ีเปนอันตรายของสารทำความเย็น และตรวจสอบ
ใหแนใจวาอุปกรณตรวจจับกาซที่ใชอยูนั้นไมทำใหเกิดประกายไฟ และไดรับการปดไวอยางเพียงพอ
หรือมคี วามปลอดภยั ในตัวอปุ กรณ
• ใชไนโตรเจนแหงแบบไมมีออกซิเจน (Oxygen free dry nitrogen (OFDN)) ระหวางการ
ทำงาน เนื่องจากออกซิเจนอาจทำใหเ กิดความเสยี่ งตอการตดิ ไฟ และความชื้นอาจสรางความเสียหาย
ใหแ กความเช่อื ถือไดแ ละการปฏิบัตงิ านของระบบ

โปรดดขู อ มูลเพ่ิมเตมิ เกยี่ วกับไนโตเจน OFDN ไดในบทท่ี 5

การจัดการใชสารทำความเย็นที่ตดิ ไฟไดอยา งปลอดภัย 267

ตรวจสอบใหแนใจวา กิจกรรมอื่นๆในระบบหรืออุปกรณที่จำเปนตองไดรับความชวยเหลือจาก
บุคลากรที่มีทักษะนั้น จะดำเนินการไดตอเมื่ออยูภายใตการควบคุมของบุคคลที่มีความสามารถในการใชสาร
ทำความเย็นทตี่ ดิ ไฟไดเ ทา น้นั ตัวอยา งเชน งานทท่ี ำโดยชางไฟฟาในโรงงานไฮโดรคารบ อน

ในการติดตง้ั ถา สามารถทำได ควรนำอปุ กรณออกจากตำแหนงท่วี างไวไปยังสภาพของหองปฏิบัติการ
ที่ไดค วบคุม ซึง่ โดยท่วั ไปแลว จะสามารถปฏบิ ัติงานไดในลกั ษณะทม่ี ีการควบคุมมากข้นึ จึงปลอดภยั ยิง่ ขนึ้

9.2.2 การปฏิบัตติ ามมาตรฐาน
จำเปนอยางยิ่งที่ระบบและขั้นตอนการดำเนินงานจะตองเปนไปตามบทบัญญัติและกฎระเบียบใน
ระดับชาติ รวมทั้งมาตรฐานความปลอดภัยทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ และแนวทางตามวิธีปฏิบัติที่ดี
ที่สุดสำหรับสารทำความเย็นที่ติดไฟได จำเปนอยางยิ่งที่การติดตั้งนั้นจะตองเปนไปตามขอกำหนดดานขนาด
การอดั ประจุสารทำความเยน็ และขนาดของหอง

9.2.2.1 ขอ พจิ ารณาเกีย่ วกับขอจำกัดในการอัดสารทำความเย็นและขนาดของหอง
สำหรบั การติดต้งั และการใหบริการ คนงานทม่ี ีทกั ษะในสายงานนี้และหัวหนา งาน จะตอ งพิจารณาถึง
ขอ จำกดั ของขนาดในการอดั สารทำความเยน็ และขอกำหนดต่ำสดุ ของขนาดหอง

โปรดดบู ทที่ 4 เก่ยี วกบั มาตรฐานทกี่ ำหนดปรมิ าณอัดสารทำความเยน็ สงู สดุ ท่ีอนญุ าต mmax และ
ขนาดหอ งต่ำสดุ ที่สอดคลอ งกัน Amin

• ปฏบิ ตั ิตามคูม อื การติดตง้ั และปฏิบตั ิการของผผู ลติ เสมอ!
• ชนิดของสารทำความเย็น มวลสารทำความเย็นที่อัดไวลวงหนา และแรงดันในการปฏิบัติงานสูงสุด
(เชน IDU & ODU) มีอยบู นแผน ขอ มลู ของอปุ กรณ
• คาของขนาดหองต่ำสุด Amin และขนาดอัดประจุสารทำความเย็นสูงสุด mmax ไดระบุไวในคูมือการ
ติดตั้ง โดยรวมถึงขอมูลวาสามารถเพิ่มความยาวของทอในการติดตั้งไดหรือไม และจะเพิ่มไดมากแคไหนเมื่อ
พิจารณาถงึ ขนาดอดั ประจสุ ารทำความเยน็ โดยขอบเขตเหลานี้ จะตอ งแกไ ขในทุกสถานการณ !
• ควรกำหนดปริมาณการอัดประจุสูงสุดที่สามารถทำได (mmax) สำหรับชนิดของสารที่ใชโดยเฉพาะ
และประเภทของตำแหนงซึง่ อาจนำอุปกรณ RAC ท่ไี ดว างแผนไวใชภายใตส ภาพทปี่ ลอดภัย (อางถึงมาตรฐานที่
ใชอย)ู โดยอาจใหญก วา การอัดประจุสารท่ีระบไุ วในขอมูลของผผู ลิต/ แผน ขอมลู ท้งั น้ี อาจคำนวณ Mmax โดย
แยกตางหาก และเปรียบเทียบกบั ปริมาณอัดประจุจริงที่อยูในระบบ
• ปรมิ าณการอัดประจสุ ารท่ีมีอยู ตองไมเ กนิ ขนาดการอดั ประจสุ ารสงู สุดทคี่ ำนวณไวแตล ะระบบ!
• หามใชห องทมี่ ขี นาดต่ำกวาขนาดตำ่ สุด (Amin) ที่ระบุหรือคำนวณไวใน m²!
• ถาปริมาณการอัดประจุสารทำความเย็นนั้นเพิ่มขึ้นเนื่องจากสถานการณของจุดที่มีการติดตั้ง โดย
เปนไปตามคูมือของผผู ลติ จะตอ งติดปายระบบนนั้ ไวส ำหรบั สภาพที่ตองเปลี่ยนแปลงไปในท่ีสดุ !
• อยา เติมระบบทำความเย็นดวยสารทำความเยน็ โดยไมรูถงึ คา ของชดุ สุดทา ย !
หากสงสยั ใหน ำท่ีอัดประจสุ ารทำความเยน็ ทม่ี ีอยูออกไปและเตรียมระบบ (เชน การลาง การปลอ ยสาร)
เพ่ือใหไ ดป ริมาณอดั ประจสุ ารทำความเยน็ ทร่ี ะบุไวและทต่ี ิดปายอยา งถูกตองเปนครง้ั สดุ ทา ย/ ตามคา ทีแ่ ทจ ริง!

การจัดการใชส ารทำความเยน็ ท่ีตดิ ไฟไดอยา งปลอดภยั 268

9.3 การประกอบ

9.3.1 การจัดวางอปุ กรณหลกั

ชา งท่มี ที ักษะจะเปนผูจัดเตรียมการประกอบและติดตั้งช้ินงานในเชิงพาณิชยและจัดทำอุปกรณตาง ๆ
โดยใชเครื่องมือที่ปฏิบัติงานดวยมือ เพื่อจุดมุงหมายนี้ ชางจะวางแผนการจัดการทั่วไปและออกแบบในทาง
เทคนิคอยา งเรยี บงาย โดยจะวาดและปรบั แบบอปุ กรณแ ละรางแบบสำหรบั อปุ กรณของหนวยทีใ่ ชง านและการ
ประกอบแบบงา ยๆ นอกจากนนั้ ยังใชซ อฟทแวรใ ชค ำนวณและปรบั แตงรายการชิน้ สวนและแผนการทำงาน

จากพื้นฐานทางทฤษฎีของเทคโนโลยีที่นำมาใช ชางเหลานี้จะเลือกการขึ้นรูป โดยการเชื่อมและการ
ตัด วางแผนและดำเนินงานตามขั้นตอนดวยเครื่องมือที่กำหนด ใชอุปกรณกึ่งสำเร็จแลวและวัสดุเสริมตาง ๆ
เพือ่ การน้ี ชา งจะกำหนดขอมลู ทางเทคโนโลยีและดำเนนิ การคำนวณตามความจำเปน ซ่ึงจะไมมีขอ แตกตางใน
การตดิ ตงั้ ระหวางสารทำความเย็นทต่ี ดิ ไฟไดแ ละสารทำความเย็นท่ตี ิดไฟไมได

9.3.2 การกำหนดแนวทาง จุดรองรับ และการวางฉนวนของทอถา ยโอนสารทำความเยน็

ความจำเปนที่จะตองกำหนดแนวทาง การวางฉนวนและจุดรองรับทอสารทำความเย็นอยางถูกตอง
เพื่อสรางความมั่นใจวา ระบบ RACHP นี้จะทำงานไดอยางนาเชื่อถือและสามารถใหบริการไดอยางถูกตอง
การติดตั้งอยางถูกตอง ยังลดความสั่นสะเทือนซึ่งทำใหเกิดเสียงและความเสียหายตางๆ ซึ่งจะนำไปสูการ
ร่วั ไหลของสารทำความเย็น การปฏิบตั งิ านตามปกตินั้นไมควรจะทำใหเกิดความเสียหาย ถา ไดติดต้ังระบบทอ
ไวอยางถูกตองแลว

ขอพิจารณาตอไปนี้ จะตองนำมาใชในการติดต้ังระบบทอ เพื่อความปลอดภัยและปกปองสิ่งแวดลอ ม
กอนทีจ่ ะเรมิ่ งานติดตงั้ :

• ตรวจสอบใหแนใจวาเสนทางฉุกเฉินและทางเขาจะตองไมจ ำกัด เพือ่ ปองกนั มิใหเกิดอันตรายตอผูค น
• ตรวจสอบใหแนใจวาไมมีวาลวและขอตอที่ถอดไดอยูในบริเวณที่คนทั่วไปจะเขาถึงได ซึ่งมีการใช
สารทำความเย็นท่ีเปน พิษ และ/หรอื ตดิ ไฟได ในกลุม A2L, A2, A3, B1, B2L หรือ B3 อยู
• ปกปองอุปกรณในการทำความเย็นอื่นๆมิใหถูกนำไปใชโดยไมตั้งใจหรือถูกตัดจากการใชงาน
โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ในระหวางงานติดตัง้
• ปกปองการระบบทอสารทำความเย็นจากความรอนท่ีถูกปลอยออกมาจากทอรอนและแหลงความ
รอนอน่ื ๆ
• ปกปอ งหรือปด ทอ สารทำความเย็นเพ่อื หลีกเลยี่ งความเสยี หาย
• ปกปองตัวเชื่อมสารทำความเย็นแบบยืดหยุน เชน สายตอระหวางหนวยภายในและภายนอก ซ่ึง
ถกู ยา ยทรี่ ะหวางการปฏิบตั ิงานตามปรกติ เพ่อื มใิ หเกิดความเสียหายเชิงกล
• อาจเลือกใชวิธีเชื่อมบัดกรีแข็ง บัดกรี หรือเชิงกล สำหรับทอที่ไมตอกัน (เชน ในกรณีของระบบ
แยก) ใสว าลว เพื่อบังคบั สารออกจากทอทต่ี อ กนั และ/หรือ ชน้ิ สวนของระบบทำความเย็นทยี่ งั ไมไ ดอัดสาร

การจัดการใชส ารทำความเยน็ ที่ติดไฟไดอยางปลอดภยั 269

องคประกอบตางๆ ทจี่ ะตดิ ตง้ั เขาไปกับทอ เชน อปุ กรณด ักของเหลวและทอลดเสยี งควรมีที่รองรับไว
สวนนำ้ หนกั ทมี่ ีเพ่ิมเติมนอกเหนอื จากนี้ อาจทำใหเกดิ ความเครยี ดขนึ้ ตอสว นประกอบของงานทอได

เพอ่ื ลดเสียงและปองกันการรั่วที่เกดิ จากการตอเชื่อมทอภายในชองวางทอ ควรนำวัสดุที่ยืดหยุนและ
หยอนได (เชน วัสดุเทียม(neoprene)) มาใช เพื่อหยุดการเชื่อมตอระหวางโลหะตอโลหะ และลด “เสียง
ส่นั สะเทอื น”

9.3.2.1 การกำหนดแนวทางเดินทอ – ขอ พิจารณาทั่วไป
ถาทอสารทำความเย็นนั้นมีการเสียดสีหรือถูกับวัตถุแข็งอื่น ๆเปนประจำ อาจทำใหเกิดรูใน
ทองแดงและทำใหสารทำความเย็นรั่ว ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงดวยการกำหนดแนวทางของทออยางระมัดระวงั
ในการตดิ ตงั้ ทอ สารทำความเย็น สามารถกำหนดแนวทาง 4 ประเภทดังตอ ไปน้ี :
1. การกำหนดแนวทางบนกำแพง
2. การกำหนดแนวทางบนเพดาน
3. การกำหนดแนวทางของทอ
4. การกำหนดแนวทางของทอทม่ี ีการปองกัน
การตัดสินถึงชนิดของการกำหนดแนวทางสำหรับการติดตั้งแตละครัง้ นัน้ จะกระทำขึ้นกอนเร่มิ
การตดิ ตง้ั โดยข้ึนอยูกับสถานการณใ นจดุ ปฏบิ ตั ิงานและขอกำหนดทางเทคนิคของระบบ สำหรับการติดตั้งท่ี
ซับซอน เชน ในซูเปอรมารเก็ต หรือระบบ RAC ซึ่งมีงานทอแยกออกไป ควรเตรียมแบบเพื่อการติดตั้งและ
ปฏบิ ตั ติ ามแบบน้นั ดว ย
กฎระเบียบของอาคารบางแหงกำหนดไววา ทอถายโอนสารทำความเย็นจะเปนวัสดุท่ีทำจาก
โลหะ จะตองกำหนดแนวทางไวเ หนือพนื้ ดนิ เพือ่ ใหเ ขา ถงึ ไดง า ย
อยางไรก็ตาม ถาสถานการณของอาคารนั้น ทำใหจำเปนตองกำหนดแนวทางของทอสารทำ
ความเยน็ ไวใตดนิ ควรคำนงึ ถึงมาตรการทร่ี ะบไุ วตอ ไปน้ี
9.3.2.2 การกำหนดแนวทางของทอสารทำความเย็นไวใตด นิ

ท่ัวไป
• หลีกเล่ียงการทาํ ใหพ นื้ เย็นจัด ปอ งกนั มใิ หอ ุณหภูมิทพ่ี ื้นเขาใกลจุดเยือกแข็ง
• รักษาระยะ 1 เมตร จากสายสาธารณูปโภค (เชน นํ้า ไฟฟา )
• วางทอที่มีสารทาํ ความเยน็ หนึ่งทอเทาน้ัน ในทอที่มีการปองกันแตละทอ ซ่ึงหมายถึง แยกทอสําหรับกาซ

ทางดูดและทอ สาํ หรับของเหลว รวมทั้งทอ กา ซอัดอื่นๆ จะตอ งวางไวในทอทม่ี กี ารปองกนั แยกออกไป
• จากสภาพแวดลอมในทอทม่ี ีการปองกัน (การไหลเวียนอากาศทีล่ ดลง อุณหภมู ิ ฯลฯ) ใหใชฉ นวนของทอ

ท่มี ีความหนาของชนั้ ฉนวนอยา งเพียงพอ

การจัดการใชส ารทำความเยน็ ทีต่ ดิ ไฟไดอยา งปลอดภัย 270

การระบายอากาศ การระบายอากาศมีความสําคญั เพ่ือปองกนั การควบแนน (condensation)
• วางแผนขนาดของทอตาง ๆ เพื่อปองกันใหมีการระบายอากาศ โดยชองระบายควรมีขนาดมากกวา

เสนผา ศนู ยกลางดานนอกของทอสารทําความเยน็ อยา งนอย 33% (พรอ มท้งั ฉนวนถาจาํ เปน)
• วางแนวทางทอสารทําความเย็นในทอ โดยปองกันใหมีมุมลาดเอียงท่ีลดลงมา 1-2% นอกเหนือจากการ

ระบายอากาศแลว ยงั ชวยม่ันใจถงึ การถายนํา้ มนั
• ถาเกดิ การควบแนน จําเปน ตองมีการระบายอากาศโดยบงั คบั เชน การใชพ ดั ลม

การเช่อื มตอ ไมอนญุ าตใหม กี ารเชือ่ มตอ แบบไมถาวร
• ใชก ารบดั กรีแขง็ เทานน้ั เพื่อชอมสวนของทอถา ยโอนสารทําความเยน็
• ใชลวดเชื่อมเพื่อประสานท่ีปราศจากฟอสฟอรัส สําหรับทอที่อยูดานในทอที่มีการปกปอง โดยแนะนําให

ใชสารประสานที่เปนเงินเชื่อม ถาใชฟอสฟอรัสจะตองใชสารเคลือบปองกันบริเวณจุดเช่ือมตอ
ฟอสฟอรัสอาจทําใหเกิดการกัดกรอนในบรยยากาศที่มีซัลเฟอรอยู (เชน ในทอปองกัน (protective
tubing) สาํ หรบั งานบรกิ ารในท่จี ําหนา ยและอุปกรณทําความเย็นอ่ืนๆ) ซัลเฟอรจะปลอยสวนฟอสฟอรัส
ของสารประสาน ทําใหเ กิดการกัดเซาะและการร่ัว

อปุ กรณจ ับยดึ ทอ

• จะตองออกแบบจับยึดใหตั้งไดบนพ้ืน เพ่ือใหอุปกรณยึดทอในตําแหนงท่ีทําใหทอปรับขยับไดระดับหนึ่ง
โดยรบั ประกันถึงชองวา งของท่ีปรับไดต ํ่าสุดใกลเ คยี งในการจับขยับทอ ย่ิงไปกวาน้ันการจับยึดน้ียังชวยให
แนใ จวา ทอ ไดรระบายอากาศตามธรรมชาติ ดงั น้ันจึงไมแ นะนําใหปดทอสาํ หรับลางผานทอตามพื้น

9.3.2.3 การหมุ ฉนวนสำหรบั ทอ

การหุมฉนวนอยางมืออาชีพสำหรับทอ
ถายโอนสารทำความเย็นนั้นสำคัญอยางยิ่งในการที่จะ
รับประกันถึงการทำงานระยะยาวและมีประสิทธิภาพ
ของระบบ RAC โดยเปนฉนวนกนั ความรอนและลดการ
ดูดซมึ นำ้ จากอากาศโดยรอบ ภาพท่ี 9.1 ฉนวนทอถายโอนสารทำความเยน็

วัสดุในการหุมฉนวนสมยั ใหมสำหรับระบบทอน้ี ประกอบดว ยโฟม elastomeric ซ่ึงทำมาจาก
ยางเทียม (Elastomer) วัสดุที่เปนฉนวนนี้ ควรทนตอรังสี UV และสามารถทนทานตอผลของอากาศทั่วไปถา
ติดตั้งไวภายนอก วัสดุฉนวนที่มีคุณภาพดี ประกอบดวยตัวก้ันไอน้ำที่ติดกับอุปกรณ เพื่อลดความเสี่ยงตอ การ
กดั กรอนภายใตฉ นวน และควรเปนไปตามกฎระเบียบในการปองกันอคั คภี ยั ที่เกยี่ วของ
สำหรับระบบ RAC และปมความรอนทั้งหมด โดยทั่วไปแลวควรจะหุมฉนวนทอทางดูด
นอกจากนี้ทอทางอัดสำหรับเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน (ทอถายโอนสารทำความเย็นแบบ “ทอลิควิด”
จากหนวยภายนอกสูภายใน) และในหลายกรณที อลิควิดจะตอ งมกี ารติดตั้งวสั ดุทีเ่ ปน ฉนวน

การจดั การใชส ารทำความเย็นทตี่ ิดไฟไดอยางปลอดภัย 271

• การติดตัง้ ฉนวน
ใชฉ นวนกอนที่จะติดอุปกรณย ึดทอ ปฏิบตั ิตามขอกำหนดของผผู ลิตวสั ดุทีเ่ ปน ฉนวน

ภาพท่ี 9.2 ทากาวบรเิ วณขอตอ ทั้งสองดาน ภาพท่ี 9.3 ทากาวยึดปลายฉนวนกบั ทอ ทองแดง
(ความหนาตำ่ สดุ ของผนงั วสั ดุทเ่ี ปน ฉนวน)

ภาพที่ 9.4 แบงฉนวนสำหรบั การใชก าวทา ภาพที่ 9.5 สดุ ทา ยใหตดิ ทอท่ีหมุ ฉนวนเขา ดว ยกนั
สำหรับการใชอ ุปกรณในอณุ หภมู ติ ำ่ ใหต ดิ ต้ังอปุ กรณยึดทอซง่ึ มปี ลอกฉนวน ดงั ภาพท่ี 9.6

การกำหนดองคประกอบของอปุ กรณย ดึ ทอ
1. ปลอกฉนวน
2. ฉนวนหุมทอ
3. ขอบฉนวนอกี ดานหนึ่ง

4. ฉนวนทป่ี ดเกยขอบ (หนา ≥ 9 มม.)

5. จุดตอ
6. แกนท่ตี อ
7. ทจ่ี บั ยดึ ทอ 2 สว น
8. แผน เคลอื บอลมู เิ นยี ม

ภาพท่ี 9.6 อปุ กรณย ึดทอ สำหรับการใชง านในอุณหภูมติ ่ำ

การจดั การใชสารทำความเย็นที่ตดิ ไฟไดอยางปลอดภัย 272

เพือ่ ใหฉนวนความรอ นมหี นา ทถี่ กู ตอ ง ตรวจสอบใหม ั่นใจวา :
• มีพื้นที่อยางเพียงพอระหวางทอถายโอนสารทำความเย็นแตละทอ วัสดุที่เปนฉนวนไมควร
ติดกัน ชองวางต่ำสุดควรจะสอดคลองกับความหนาของวัสดุที่เปนฉนวน ถาชองวางมีนอยเกินไป จะถายเท
อากาศไมเพียงพอบนพื้นผิวของฉนวนความรอน ถาอุณหภูมิลดลงต่ำกวาจุดไอน้ำกลั่นตัว หมายความวา
ฉนวนจะชุม ดว ยความชื้นและสูญเสยี คณุ สมบตั ใิ นการเปนฉนวน
• ทอฉนวนทำความรอนจะถูกวางเสน ทางโดยมีชอ งวา งต่ำสดุ 5 มม. จากพื้น โดยเฉพาะอยาง
ยิ่ง ตรวจสอบใหแนใจวามีชองวางอยางเพียงพอภายใตตูท ี่มีการทำความเย็น! ในบางกรณี อาจจำเปนตองใช
ทอลมจากพดั ลมภายใตต ูท่ีมีการทำความเย็น เพ่อื ปอ งกนั มใิ หเกิดการกลน่ั ตัวของไอนำ้ เปนหยดนำ้
• มีการหมุนเวียนของอากาศอยางเพียงพอระหวางทอหุมฉนวนความรอนแตละทอ
โดยเฉพาะ เม่อื ทอ เหลา นน้ั มกี ารกำหนดแนวทางอยใู นทอกลวงและอยูใตต ทู ี่มกี ารทำความเยน็ !

ฉนวนกันความรอนของทอสารทำความเย็นตองมีขนาดพิเศษเมื่อวางบริเวณที่จอดรถใตดิน
เนอื่ งจากอากาศบรเิ วณนีม้ ักจะชุมตวั ในวันท่ีฝนตก ในกรณเี ชน น้คี วรจะใชฉ นวนกันความรอนแบบสองชัน้

อุปกรณย ดึ ทอ และการติดตง้ั

ระบบทอ ถายโอนสารทำความเยน็ จะตองใชว ิธีท่ีเชื่อถือไดและคงทน ไมม ีอุปกรณยึดทอสำหรับ
การกำหนดแนวทางในทอปองกัน แตจะตองมีอุปกรณยึดทอในกรณีที่วางเสนทางในทอกลวง ทางเดินทอ
จะตอ งมีอปุ กรณย ึดทอเมอ่ื วางเสน ทางบนผนงั และเพดาน !

ความผันแปรของอุณหภูมิในระหวางการปฏิบัติงาน อาจนำไปสูการขยายและการหดตัว
โดยเฉพาะสำหรับระบบทอที่มีขนาดยาว จุดยึดและจุดเลื่อนที่เหมาะสมสามารถชดเชยกับการเปลี่ยนแปลง
เหลานี้ตามความยาวของทอ และลดความเสี่ยงที่ทอจะแตกใหเหลือนอยสดุ โดยเฉพาะอยางยิ่งจะมีการติดตง้ั
อปุ กรณเลอื่ นหรือลกู ตุม เพอ่ื ชดเชยการเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ

การตดิ ตง้ั และระบบยึดทอ ถายโอนสารทำความเยน็ หลายแบบ โดยผูผลิตอุปกรณจะตองใหวัสดุ
ที่จำเปน สำหรับการตดิ ตง้ั ระบบ RACHP และการใชงานโดยเฉพาะ

ตามวัตถุประสงคของทอถายโอนสารทำความเย็นที่แตกตางกัน อุปกรณยึดทอจะตองทนทาน
ตอ อุณหภมู ทิ ั้งสูงและตำ่ รวมท้งั นำ้ หนกั ในเชิงกล

การจดั การใชสารทำความเยน็ ทตี่ ดิ ไฟไดอยา งปลอดภัย 273

ตารางท่ี 9.1 ขอ กำหนดของอุปกรณยึดทอสำหรับอุณหภูมสิ งู และอุณหภูมติ ่ำ

สำหรบั อณุ หภูมสิ ูง: สำหรบั อุณหภูมติ ่ำ:

• ใชอุปกรณยึดทอ ซึ่งสอดยางซลิ โิ คน • ใชอ ปุ กรณจับทอซึ่งสอดยางซิลิโคน ซึ่งใชสำหรบั
• ใชวัสดุที่เปนฉนวน (เพื่อทอสำหรับปลอยสาร) ชว งอณุ หภูมิที่กำหนด
ซง่ึ มคี วามตา นทานของฉนวนถึง 150°C • ใชวิธียึดทอดวยปลอก PUR ที่ใชไดสำหรับชวง
อณุ หภูมิทก่ี ำหนด
การติดตั้งระบบทอสารทำความเย็นพรอมปลอกหุม
ฉนวน (PUR) อุปกรณยึดทอสองสวนและสลัก
เกลียวสำหรับขัน (clamping screw) สำหรับการ
ติดต้ังอุปกรณเ ล่อื นหรือลูกตุม

ภาพที่ 9.7 ปลอกหุมฉนวน PUR (WS เยอรมนี)

การติดตั้งระบบทอสารทำความเย็นดวยอุปกรณ
หนีบทอ สำหรับการติดตั้งอุปกรณเลื่อนหรือลูกตุม
ซิลโิ คนสำหรบั อณุ หภมู สิ งู

ภาพที่ 9.8 อุปกรณยึดทอ พรอมทางเขา
ท่ีเปน ยางหรือซิลิโคน (Hilti)

การเวนระยะเพือ่ หนุนทอ

ระบบทอจะตองมีการหนุนอยางเหมาะสมตามขนาดและน้ำหนักในการใหบริการ ชองวาง
สงู สดุ ทีแ่ นะนำสำหรับการหนุนทอ ทองแดงไดแ สดงไวในตารางที่ 9.2

ตารางที่ 9.2 ระยะหา งสำหรับการตดิ ตง้ั ทอทองแดง

เสน ผานศูนยกลางดานนอก ระยะหาง (เมตร)
15 ถงึ 22 มม. (5/8” ถึง 7/8”) นิ่ม 2
22 ถึง < 54 มม. (7/8” to 2 1/8”) แข็ง 3
54 ถงึ 67 มม. (2 1/8” to 2 ½”) 4
EN 378-2:2016-3 & ISO 5149-3:2014

การจดั การใชสารทำความเย็นท่ตี ดิ ไฟไดอยา งปลอดภัย 274

ตัวอยา งการกำหนดแนวทางสำหรบั การตดิ ตงั้ ระบบทอ และอปุ กรณย ึดทอ :



การตดิ ตัง้ อุปกรณยดึ ทอ แบบตดิ
แนนและแบบเลื่อนทีเ่ พยี งพอ

ภาพท่ี 9.9 การยึดทอ ถายโอนสารทำความเย็นแบบมืออาชพี

การติดตงั้ อปุ กรณยดึ ทอท่ี
เพียงพอพรอมปลอกฉนวน PUR
และอุปกรณย ึดทอ แบบสองทาง

ภาพที่ 9.10 การติดต้งั ทอ ดูดสารทำความเย็น รวมทั้งฉนวนพรอมปลอกฉนวน PUR 275
การจดั การใชสารทำความเยน็ ท่ตี ิดไฟไดอยางปลอดภยั

 ฉนวนภายนอกท่ีไมม ีการปองกันรงั สี UV

ฉนวนทเี่ สียหายจากการเสียดสี
ไมมีการยดึ ทอ

ทอ สารทำความเย็นทเี่ สียดสีกัน
มโี อกาสรว่ั สูง สายไฟเสียดสกี ับทอ
อาจทำใหเ กิดไฟฟาลดั วงจรและ
อนั ตรายเกี่ยวกับไฟฟาได

ไมมฉี นวน

ภาพที่ 9.11 การติดตง้ั ทอ สารทำความเยน็ ฉนวน และการวางสายไฟฟาที่ไมเ พยี งพอ

 ไมม ีการปองกันทอทองแดง
(เสยี ดสี)

การตดิ ตงั้ ฉนวนที่ไมเ พียงพอ
การบบี วสั ดแุ ละขอตอทข่ี าด

ภาพที่ 9.12 การตดิ ตง้ั ทอ ถายสารทำคามเยน็ และฉนวนท่ีไมเ พียงพอ 276
การจดั การใชสารทำความเยน็ ทต่ี ิดไฟไดอยางปลอดภัย

9.3.3 การตดิ ตั้งหนวยควบคมุ ไฟฟา

ระบบที่ปลอดภัยตั้งแตแรกนั้นจะไดรับการสงมอบพรอมทั้งหนวยควบคุมไฟฟาภายใน โดยไมตองมี
การดำเนินการใด ๆเพ่มิ เติมอีก

สำหรับหนวยอื่น ๆ เปนไปไดที่จะติดตั้งหนวยควบคุมไฟฟาท่ีทำขึ้นมากอน ตามที่เสนอโดยผูจำหนา ย
อุปกรณ RACHP หรือทจี่ ะออกแบบหนวยควบคุมไฟฟานนั้

ทั้งสองกรณี จำเปนท่ีอปุ กรณไฟฟาทัง้ หมดจะตองไมเปนแหลงจดุ ไฟ ซ่ึงอาจกระทำไดโ ดย :
• ใชอ ุปกรณที่ไมท ำใหเกดิ ประกายไฟ หรือการติดไฟ ฯลฯ
• ใชอ ุปกรณซ่ึงปด ไวอ ยางเพียงพอเพอื่ ไมใหส ารทำความเยน็ ท่ีตดิ ไฟไดผานเขา ไป
• ใชอ ุปกรณทว่ี างตำแหนงไวในจดุ ทีห่ ากมีการร่ัวซมึ แลว สารทำความเย็นท่ีรวั่ ออกมาไมสามารถและ
จะไมเ ขาไปถึงอุปกรณนั้นได
เม่อื ระบบ RACHP ถกู เชอ่ื มตอกับโครงขายไฟฟาสาธารณะ จำเปน ทีจ่ ะตองปฏิบัตติ ามขอกำหนดของ
ผูใหบริการพลังงานทองถิ่น รวมทั้งตามกฎระเบียบระดบั ประเทศ นอกจากนี้ ตองปฏิบัติตามกฎระเบียบและ
มาตรฐานอาคารใหมลา สุด

9.4 การทดสอบการทำงาน

การทดสอบการทำงาน จะทำใหการติดตั้งที่สมบูรณสามารถใชงานไดอยางเต็มที่ การเริ่มตนทดสอบ
ระบบอยางระมัดระวัง ชวยลดความเสี่ยงของขอผิดพลาดในชวงหลังได ยิ่งระบบใหญขึ้นเทาใด ขอกำหนด
เกี่ยวกับข้นั ตอนการทดสอบการทำงานยางสมบูรณจ ะยิง่ มากขึ้นเทาน้นั

9.4.1 การตรวจสอบระบบ
ผูท่ีจะเลือกอุปกรณทดสอบที่เหมาะสม จะใชอุปกรณและจดบันทึกการตรวจสอบที่สอดคลองกัน
นอกจากน้ันจะบนั ทกึ ตคี วาม และนำเสนอผลการทำงาน รวมท้ังกำหนดตน ทนุ ในการผลติ โดยประมาณ

9.4.1.1 ตรวจสอบเทยี บกับขอกำหนด
หลังจากเสร็จสิ้นงานติดตั้ง จะมีการตรวจสอบระบบเทียบกับขอกำหนดการติดตั้งโดยเฉพาะ
รวมทั้งขอกำหนดการติดตั้งและการประกอบของผูผลิตสวนประกอบและอุปกรณตาง ๆ การตรวจสอบเทียบ
กบั ขอ กำหนดนี้ จะตองดำเนินการโดยผทู ่มี ีคุณสมบัติ กอ นทจี่ ะเริม่ ทดสอบระบบและเรมิ่ ปฏบิ ตั ิงาน
การตรวจสอบน้ีรวมถงึ :

• การประกอบหรือติดต้ังอยางถูกตอง
• การตรวจหาความเสยี หายตา ง ๆ
• การตรวจสอบดานประสิทธิภาพในมาตรการดานความปลอดภัย

การจัดการใชส ารทำความเยน็ ทตี่ ิดไฟไดอยา งปลอดภัย 277

องคป ระกอบของการตรวจสอบไดแก :

• การออกแบบระบบทอสารทำความเยน็
• สถานทตี่ ิดต้ัง
• เงอื่ นไขพิเศษของการตดิ ต้ัง
• การติดตง้ั อปุ กรณแ ละสวนประกอบตางๆ
• การปฏบิ ตั งิ านท่ตี ้งั ใจไว
• อปุ กรณแรงดัน
• อปุ กรณดา นความปลอดภยั

ถามีการใชอุปกรณที่เกี่ยวกับความปลอดภัย โดยทั่วไปแลวอุปกรณนี้จะไดรับการทดสอบ
ในชวงของการทดสอบกอนปฏิบัติการ (ยกเวนในกรณีของวาลวนิรภัยและอุปกรณปลดปลอยแรงดัน) แมใน
กรณขี องระบบพรอ มใชงาน ตอ งมกี ารทดสอบโดยพจิ ารณาถึงคำสงั่ และมาตรฐานทใ่ี ชบ ังคับ รวมทงั้ ขอกำหนด
ของผูผลิต โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในสวนที่เกี่ยวกับการประกอบสวนประกอบตาง ๆ การติดตั้ง เงื่อนไขในการ
ตดิ ตั้งระบบและการปฏิบตั งิ านอยางปลอดภยั

ควรบนั ทกึ การตรวจสอบไว และเกบ็ ใบรบั รอง/ บันทกึ ไวในสถานทป่ี ฏบิ ตั ิงานของระบบ

9.4.1.2 การทดสอบแรงดนั และรอยร่วั

การทดสอบแรงดันนั้นจำเปนที่จะตองสอดคลองกับคำสั่งเกี่ยวกับอุปกรณแรงดัน (Pressure
Equipment Directive (PED)) โดย EN 378 และ ISO 5149 กำหนดคำสั่งเกี่ยวกับกิจกรรมในการทดสอบ
แรงดนั นอกจากนีย้ ังมีกฎระเบียบระหวางประเทศอื่น ๆ ซึ่งมขี อกำหนดที่เหมือนกันหรือคลายกันในสวนของ
การออกแบบและการกอสราง ขั้นตอนในการทดสอบแรงดัน (ความแข็งแรง) ควรจะดำเนินการหลังจากเสรจ็
สิ้นการตดิ ต้งั ใหม หรือการผลิตอุปกรณต าง ๆ แตกอนท่จี ะตดิ ฉนวนขององคป ระกอบหรืองานทอใด ๆ

ทั้งนี้ จะตองพิจารณาถึงเกณฑในการออกแบบภายในมาตรฐานที่กลาวถึงขางตน เมื่ออุปกรณ
เครอ่ื งใชไ ฟฟาหรือการติดตั้งเหลา น้ี จะตอ งมีการใหบรกิ ารและการซอมแซม นอกจากนย้ี งั ตอ งใชเกณฑสำหรับ
การทดสอบแรงดัน ผูใหบริการ โดยทั่วไปแลวจะมีหนาที่ตรวจรับรองสภาพของที่ปฏิบัติงาน และตัดสินถึง
กิจกรรมที่จะตองดำเนินการถาพบวามีการรั่วในระบบ RACHP สวนกิจกรรมการทดสอบความแนน เชน การ
ใหแรงดันแกระบบซึ่งใชก าซไนโตรเจน OFDN และรวมกับฟองสบู สามารถกระทำไดในสถานที่ซ่ึงมีแรงดันตำ่
กวา ประมาณ 10 บาร

โดยท่วั ไปแลว ระบบใหมจ ำเปน ตองมขี ้ันตอนดำเนนิ การทดสอบการรัว่ แบบงายๆ เทานน้ั

โปรดดูบทที่ 11 สำหรบั ขอมลู เพ่ิมเติมเก่ียวกับการทดสอบการรัว่ 278
การจัดการใชสารทำความเย็นท่ีติดไฟไดอยา งปลอดภัย

9.4.2 การทำสญุ ญากาศ

สารทำความเย็นในวงจร จะตองปราศจากสิ่งไมบริสุทธิ์ที่ทำใหเกิดความเสียหายอยางสิ้นเชิง เชน
ความชื้น (น้ำ) กาซที่ไมควบแนน (โดยเฉพาะอยางยิ่ง อากาศและไนโตรเจน) และสารทำละลาย ดังนั้นงาน
ติดตง้ั จะตองกระทำในสภาพที่สะอาดทส่ี ุด รวมทง้ั งานใหบริการหรืองานซอม

ปญ หาทเ่ี กดิ จากความช้นื ในระบบ :
• การแยกน้ำและการกอตัวของนำ้ แข็ง (ติด) ในเอ็กซแพนช่นั วาลว
• การกอตวั ของกรด
• นำ้ มนั เกา และเสอื่ มสภาพ
• ภาวะทองแดงเคลือบ
• ความเสยี หายจากนำ้ ยาทเ่ี คลอื บขดลวดของมอเตอร

ปญหาที่เกิดจากอากาศของบรรยากาศในระบบ :
• ปฏกิ ิริยาเคมรี ะหวางสารทำความเย็นและนำ้ มัน
• แรงดันหนาแนนเพิ่มข้นึ

ปญ หาทเ่ี กิดจากการยอ ยสลายของนำ้ มนั และสารทำความเย็น :
• การกอ ตวั ของกรดอนิ ทรียและอนนิ ทรยี 
• การกัดกรอ น
• การหลอลื่นที่ไมดี
• การสกึ กรอนผิดปกติ
• การเปล่ียนสีของนำ้ มนั (เขมขน้ึ )
• การกอ ตวั ของเศษน้ำแขง็
• วาลว รว่ั จากทอ อดั เน่ืองจากตะกอนคารบ อนจากน้ำมนั
• อณุ หภูมใิ นการปลอ ยกา ซเพ่มิ ขน้ึ
• ความเสยี หายเชิงกลของคอมเพรสเซอร
• การไหมของมอเตอรไ ฟฟา

การทำสญุ ญากาศใหไดร ะดับต่ำลึก ๆ กอ นอัดสารทำความเยน็ เปนขน้ั ตอนท่สี ำคัญข้ึนอยูกับการเลือก
สารทำความเย็น ระดบั สุญญากาศท่ลี ึกพอทจ่ี ะยอมรับไดสำหรับวงจรสารทำความเย็นประมาณ 500 ไมครอน
ที่ไดเนนระบายสีเขียวในตารางที่ 9.3 สำหรับระบบการคาขนาดใหญ การทำสุญญากาศตอง 1,000 ไมครอน
เปน 500 ไมครอนท่ีเปน จรงิ ทีเ่ นน ระบายสีสมในตาราง

การจัดการใชส ารทำความเยน็ ทีต่ ดิ ไฟไดอยา งปลอดภยั 279

การทำสุญญากาศในระดับลึกควรวัดดวยเครื่องวัดสุญญากาศไฟฟา (ภาพที่ 9.14) มีเพียงเครื่องวัด
ไมครอนไฟฟาเทานั้นท่ียืนยันและกำหนดไดอยางถกู ตองถึงสญุ ญากาศระดับลึกในวงจรสารทำความเยน็ ซึ่งไม
มกี ารรว่ั และปราศจากสารอื่น ๆ สว นเคร่อื งวดั ความดันแมนนิโฟเกจแบบอนาล็อก (แบบเข็ม ภาพท่ี 9.13) จะ
บงชี้วา มกี ารสรางสญุ ญากาศที่ 1 บาร ( ลบ 30 นิ้วปรอท) เทานั้น ในภาพระหวางเสน ลูกศรไดท ำเครือ่ งหมาย
ของชวงสญุ ญากาศ 25,000 ไมครอนไว ตัวอยางนแ้ี สดงใหเ ห็นวา เปนไปไมไ ดท ่ีจะบง ช้ีถงึ สุญญากาศท่ีเพียงพอ
ในระดับ500 ไมครอนได ดว ยเคร่ืองวดั ความดันชนดิ น้ี

25,000 ไมครอน
ภาพที่ 9.13 การระบสุ ุญญากาศบนเครือ่ งวัดแรงดันแบบอนาล็อก
เคร่อื งวดั สุญญากาศอิเล็คทรอนิค คอื อุปกรณท่ีจับความรอน ซง่ึ สวนประกอบในการจับความรอนเมื่อ
ตอ กับระบบทถ่ี กู นำสารทำความเย็นออกไปสงผลทำใหเกดิ ความรอ น คาซง่ึ เกดิ ความรอ นนจี้ ะเปลยี่ นแปลงตาม
กาซและไอที่อยูลอมรอบถูกนำออกไป ดังนั้นผลของสวนประกอบในการตรวจจบั ความรอน (thermocouple
หรอื thermistor) จะเปล่ียนแปลงเม่ือคา การขับความรอนออกไปน้ันเปล่ียนแปลง การเปล่ียนแปลงของผลน้ี
จะแสดงบนอปุ กรณวัดอิเล็คทรอนคิ ซึ่งมกี ารสอบเทยี บเปน หนวยไมครอนของปรอท

ภาพที่ 9.14 การแสดงถึงสุญญากาศระดบั ลึก ดว ยเครื่องวัดสุญญากาศอเิ ลค็ ทรอนิค (อางถงึ SUPCO)

การจดั การใชส ารทำความเย็นที่ติดไฟไดอยางปลอดภัย 280

ในตารางท่ี 9.3 แสดงหนวยทีแ่ ตกตางกันสำหรับการวดั สุญญากาศ ไมครอนนั้นเห็นไดชัดที่สุดในชว ง
ของสญุ ญากาศทยี่ อมรับได

ถามีน้ำอยูในระบบ น้ำจะกลายเปนน้ำแข็งระหวางกระบวนการนำสารทำความเย็นออกจากระบบ ท่ี
6.090 mbar หรือ 4,572 ไมครอน (ดังที่เห็นไดในตารางที่ 9.3 เมื่อกลายเปนน้ำแข็ง จึงยากที่จะนำออกดวย
ปมสุญญากาศ ระหวางกระบวนการนำสารทำความเย็นออก การกอตัวของน้ำแข็งบริเวณดานนอกของระบบ
ทำความเย็น อาจแสดงถึงสารทำความเย็นที่ระเหยหรือการที่น้ำเปลี่ยนเปนน้ำแข็ง ถาสังเกตเห็น ควรทำให
สวนน้ีอุนขึ้นดว ยวิธีทีเ่ หมาะสม

ตารางที่ 9.3 เปรยี บเทียบหนว ยสุญญากาศทแ่ี ตกตา ง โดยสมั พันธก บั ระบบสญุ ญากาศสมบูรณเ ปน เปอรเซ็นต

การระเหยของนำ้ หนวยการวัดสุญญากาศ คา ท่ีเกจ เปอรเ ซน็ ต
oF oC มิลลิบาร ไมครอน ปอนด/ ตร.น้วิ ตัน น้วิ ปรอท สญุ ญากาศ
759,968.00 14.69800
212 100.0 1013.070 535,000.00 10.34690 759.968 0.00 0
205 96.1 713.150 525,526.00 10.16200 535.000 8.86 29.59
194 90.0 700.530 355,092.00 6.86600 525.530 9.23 30.63
176 80.0 473.340 233,80.00 4.51900 355.100 15.94 53.13
158 70.0 311.500 149,352.00 2.88000 233.680 20.72 69.15
140 60.0 199.090 92,456.00 1.78800 149.350 24.04 80.29
122 50.0 123.240 55,118.00 1.06600 92.460 26.28 87.8
104 40.0 73.470 31,750.00 0.61400 55.120 27.75 92.72
86 30.0 42.320 25,400.00 0.49100 31.750 28.67 95.81
80 26.7 33.860 22,860.00 0.44200 25.400 28.92 96.65
76 24.4 30.470 20,320.00 0.39300 22.860 29.02 96.98
72 22.2 27.090 17,780.00 0.34400 20.320 29.09 97.32
69 20.6 23.700 15,420.00 0.29500 17.780 29.12 97.65
64 17.8 20.550 12,700.00 0.24600 15.420 29.31 97.96
59 15.0 16.930 10,160.00 0.19600 12.700 29.42 98.32
53 11.7 13.540 7,620.00 0.14700 10.160 29.55 98.65
45 7.2 10.150 4,572.00 0.08800 7.620 29.62 98.99
32 0.0 6.090 2,540.00 0.04900 4.570 29.82 99.4
21 -6.1 3.390 1,270.00 0.02450 2.540 29.84 99.66
6 -14.4 1.690 1,000.00 0.01934 1.270 29.86 99.83
1.4 -17.0 1.330 750.00 0.01450 1.000 29.88 99.87
-4 -20.0 0.990 500.00 0.00967 0.750 29.89 99.9
-9,4 -23.0 0.670 254.00 0.00490 0.500 29.90 99.93
-24 -31.1 0.340 127.00 0.00245 0.254 29.905 99.97
-35 -37.2 0.170 100.00 0.00193 0.127 29.910 99.98
-40 -40.0 0.133 25.40 0.00049 0.100 29.916 99.986
-60 -51.1 0.034 12.70 0.00024 0.025 29.917 99.996
-70 -56.7 0.017 2.50 0.00005 0.013 29.918 99.998
-90 -67.8 0.003 0.00 0.00000 0.002 29.919 99.999
0.000 0.000 29.920 100

การจดั การใชสารทำความเย็นท่ีติดไฟไดอยา งปลอดภัย 281

9.4.2.1 การร่ัวซึมของสายถายสารทำความเยน็ ตามปกตใิ นระหวางทำสญุ ญากาศ
การรั่วซึมผานสายทอถายโอนสารทำความเย็นจะเกิดขึ้น ถึงแมจะมีเทคโนโลยีที่กาวหนาเชนใน
ปจจุบันสายทอถายโอนสารทำความเย็นที่มีคุณภาพดี คาของสารทำความเย็นที่ซึมผานระหวางการอัดสารทำ
ความเย็นหรือในการวัดระบบนั้นมีนอยมาก และไมอาจวัดไดดวยเครื่องตรวจจับกาซตามปกติ โดยทั่วไปแลว
สายทอสำหรับอัดประจุสารทำความเย็นและทดสอบนั้น จะไดรับการออกแบบมาสำหรับแรงดันที่เปนบวก
โดยเสนใยสายสุญญากาศจะเปนทอทองแดงแบบนิ่มหรือสายโลหะที่ยืดหยุนได (แสดงในภาพที่ 9.15) เม่ือ
ตรวจแรงดันที่เพิ่มขึ้นหลังจากถายสารทำความเย็นออกจากระบบ ความดันบรรยากาศจะซึมผานเขาไปยัง
แรงดันที่ต่ำกวาในสายทอและการอานเครื่องวัดสุญญากาศ (เครื่องวัดสุญญากาศไมครอนอิเล็คทรอนิค) จะ
คอยๆเพิ่มขึ้น อีกแหลงหนึ่งของการรั่ว คือตัวปดปะเก็นในวาลวและอุปกรณเชื่อมทอซึ่งไดรบั การออกแบบมา
สำหรับการอัดสารทำความเย็น และจะไมป ด อยาง “สมบรู ณ” ตามที่กำหนดสำหรับการใหส ญุ ญากาศระดับลึก
ของวงจรสารทำความเย็น ภาพที่ 9.16 แสดงถึงการซึมผานระหวางการทำใหระบบ RAC เปนสุญญากาศและ
แสดงการซึมผา นระหวา งการถายสารทำความเยน็

บรรยากาศทม่ี ีแรงดนั สงู กวา (1013.00 mbar
ที่ระดับน้ำทะเล) ซมึ ผานไปยงั แรงดันทีต่ ำ่ กวา

ภายในสายทอถายโอนสารทำความเย็น

ภาพที่ 9.15 สายทอ โลหะแบบยึดหยุนไดสำหรับการทำความเยน็

การซมึ ผา นระหวางการทำใหระบบ RAC การซมึ ผา นระหวา งถายสารทำความเย็น
เปน สญุ ญากาศ

ภาพที่ 9.16 การซมึ ผานระหวา งการทำใหเ ปนสุญญากาศและการถา ยสารทำความเย็น
หมายเหตุ: โดยสายทอสารทำความเย็นคุณภาพดี คาของสารทำความเย็นทซ่ี ึมผา นระหวา งอัดสารทำ
ความเยน็ หรือระหวา งวดั ระบบจะมีนอ ยมาก และไมส ามารถวัดไดดวยเคร่อื งตรวจจับกาซปกติ

การจดั การใชสารทำความเย็นทตี่ ิดไฟไดอยา งปลอดภยั 282

9.4.3 การเตมิ สารทำความเย็น

การเติมสารทำความเย็น ณ จุดที่ติดตั้ง (การใชในภาคสนาม) อาจดำเนินการไดหลายลักษณะ โดย
ข้ึนอยูกบั ตำแหนง ทตี่ ง้ั ชนดิ ของระบบ อุปกรณท่มี ีอยู และความแมนยำท่ีตอ งการ

วิธีท่ีเปนไปได :
• การเตมิ สารทำความเยน็ จำนวนมากดว ยวิธีท่ีอาศยั การรกั ษาสมดลุ (ทางอเิ ล็คทรอนคิ ส)
• การเติมสารทำความเยน็ โดยกระบอกสเกลเตมิ สารทำความเย็น
• การอัดสารทำความเย็นไปยังถังทม่ี องเหน็
• การอดั สารทำความเย็นโดยยดึ ตามการทำงานของระบบ

ในบรรดาวิธีเหลานี้ การอัดสารทำความเย็นจำนวนมาก โดยใชรักษาสมดุลเปนวิธีที่เลือกใชมากกวา
เน่ืองจากเปนวธิ ที แี่ มน ยำทสี่ ดุ และปริมาณสารทอี่ ัดโดยทั่วไปแลว ไดรวมไวในแงข องมวลในขอมูลของอปุ กรณ

9.4.4 กระบวนการ – การนำสารทำความเยน็ ออกจากระบบและการอัดสารสูวงจร

เครอื่ งมอื

• ใชแ มนนิโฟเกจแบบวาลวส่ีดาน ซ่งึ มจี ุดเชอ่ื มเพ่อื ปลอยสารทำความเยน็ ขนาด 3/8”
• สายสุญญากาศขนาด 3/8” (เครื่องวัดหลายชั้นที่เชื่อมตอและปมสุญญากาศ) โดยมีความยาวสัน้ ท่ีสดุ

เทาท่เี ปน ไปได (เพอ่ื เรง กระบวนการถา ยสารออก 4 เทา เมอื่ เทยี บกบั สายขนาด ¼” )
• สายท่ียืดหยนุ ไดสำหรับการเช่ือมตอ ระบบ (สนั้ ท่ีสุดเทา ที่จะเปน ไปได)
• ปมทำสุญญากาศ (มีแรงตามที่กำหนด) มีการสมดุลกาซ, โซลินอยดวาลวกันกลับ และมีจุดเชื่อมตอ

ของสายยางระบายทงิ้
• แผนกรองละอองน้ำมนั (ถา มี)
• สายยางเช่ือมกับทอไอเสียของปมสุญญากาศ (ชวยดึงไอสารทำความเย็นไปท้ิงสสู ิง่ แวดลอมภายนอก)
• เคร่ืองวัดไมครอน (เครื่องวดั สุญญากาศ)
• อุปกรณถ อดวาลวหลกั r (เพ่อื ถอดวาลวหลกั ออกจากจุดเช่ือมสำหรบั เติมนำ้ ยา)
• เครอ่ื งตรวจจับกา ซ วางไวใ นบริเวณที่ทำงาน

อุปกรณดา นความปลอดภัย
• อุปกรณปองกนั สว นบคุ คล PPE ตามการประเมนิ ความเสย่ี ง
• สัญญาณเตือนบริเวณปลอดภัย (เขต 2)

การจดั การใชส ารทำความเยน็ ทีต่ ดิ ไฟไดอยา งปลอดภัย 283

หมายเหตุ: น้ำมันหลอลื่นของปมสุญญากาศ ควรจะตองอยูในสภาพดีเสมอ น้ำมันที่ขนนั้นจะชุมน้ำ
และจำกัดประสิทธิภาพที่ดีของปม ดังนั้นจำเปนตองเปลี่ยนน้ำมันปมสุญญากาศอยูเสมอ ถาน้ำมันของปม
สญุ ญากาศถกู ปนเปอ น สารทำความเย็นจะไมถกู ถา ยออกจากระบบไดอยา งถูกตอง

ปลอยไอ พดั ลมระบายอากาศ
เครื่องแวค ออก ปา ยสญั ลักษณ
ความปลอดภยั
ทอระบายอากาศ

เกจวดั ความดัน

เครื่องปรบั อากาศแบบแยกสว น

เคร่อื ง ถงั เก็บสารทำ เครือ่ งตรวจจบั กาซ
แวคค่ัม ความเย็นดูดกลบั พกตดิ ตามตัว

เคร่อื งตรวจจับ เครอ่ื งชัง่ น้ำหนัก)
กา ซ

ภาพที่ 9.17 การถา ยสารทำความเยน็ ออกจากวงจรและการจดั ตงั้ อปุ กรณอดั สารทำความเย็น

9.4.4.1 กระบวนการถา ยสารทำความเยน็ ออกจากระบบ
อางถึงภาพที่ 9.17 เมื่อคัดเลือกอุปกรณและวิธีดำเนินงานสำหรับการนำสารทำความเย็นที่ติดไฟไดออก
จากวงจรในระหวางเริ่มทดลองระบบใหม ชิ้นสวนเหลานี้จะตองนำสารทำความเย็นออกไป และจะตองปราศจาก
สารทำความเย็นในระบบ ถา มีสารทำความเย็นอยู ใหด บู ทท่ี 9 ตอน 9.5 และบทที่ 10 เกย่ี วกบั การนำสารทำความ
เยน็ กลับออกมา โปรดปฏบิ ัติตามขัน้ ตอนที่อธิบายไว กอ นทีจ่ ะนำสารทำความเยน็ ออกจากระบบ

การจดั การใชสารทำความเยน็ ทต่ี ิดไฟไดอยางปลอดภัย 284

การนำสารทำความเย็นออกจากระบบ

• ถอดวาลวหลักออกจากระบบที่ติดไวทั้งระดับสูงและต่ำ ดวยเครื่องมือถอดวาลวหลักเพื่อลดเวลาการ
นำสารออกจากระบบใหไดอ ยางนอย 30%

• เชอ่ื มสายทอ และอปุ กรณดงั ท่แี สดงไวใ นภาพท่ี 9.17
• ถาเปน ไปได ใหต ิดตั้งเครื่องวดั สญุ ญากาศท่ีอีแวปปอเรเตอร (หรือถงั พักสารทำความเย็น)
• เปดเครอ่ื งตรวจจบั กาซในบรเิ วณทท่ี ำงาน
• ตดิ ต้งั สายลมจากปมสญุ ญากาศออกไปทง้ิ ยังบรเิ วณภายนอก (ใหห า งจากบรเิ วณปลอดภยั )
• นำสารทำความเยน็ ออกจากดานบนและลา งในขณะเดยี วกัน (ถา สามารถทำได)
• เดินระบบของระบบทำความเย็นสักพัก ถาเห็นวามีการควบแนนของความชื้นในบรรยากาศ

(คอมเพรสเซอร อปุ กรณสะสมของเหลว สว นของทอ ฯลฯ)
• รกั ษาสุญญากาศระดบั ลึกท่ี 500 ไมครอน

หมายเหต:ุ

• เพื่อสรางและรักษาสุญญากาศระดับลึก จำเปนตองมีการออกแบบอุปกรณและแมนิโฟลด
(manifold) ท่ปี ราศจากการรั่ว

• การอัดและทดสอบสายทอไดรบั การออกแบบมาสำหรบั แรงดันที่เปนบวก ดังนั้นจึงยังมีการดูดซมึ
ระหวา งการนำสารทำความเย็นออกจากระบบ

• สายที่เชื่อมเพียงอยางเดียวที่มีสุญญากาศแบบแนน คือสายทอทองแดงแบบนิ่ม หรือสายโลหะที่
ยดื หยนุ ได

• เมือ่ ตรวจสอบการเพิม่ ขึ้นของแรงดนั บรรยากาศจะซึมผา นไปยงั แรงดันทต่ี ่ำกวาในสายทอ และการ
อา นคาไมครอนจะคอ ยๆเพิ่มขนึ้ โดยขึน้ อยกู ับคณุ ภาพของสายทอทยี่ ืดหยุนได เพอื่ ตรวจสอบแรงดนั ที่เพิม่ ขนึ้

o ปดวาลวทอสุญญากาศของแมนนิโฟดเกจ เพื่อแยกเกจออกจากปม รออยางนอย 5 นาที
จนถงึ ไมเกนิ 20 นาที เพื่อปลอ ยใหแ รงดนั ในระบบเทา กัน คาทเ่ี หน็ เม่ือส้นิ สดุ การทดสอบนี้ จะใกลเคียงกับสิ่ง
ที่มีอยูในระบบ

o การเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนเทากับแรงดันในบรรยากาศ แสดงใหเห็นวามีการรั่ว ในขณะท่ี
การเพ่ิมข้ึนอยางชา ๆ ประมาณ 1,500 ไมครอน แสดงวามีความชื้นอยู

การจัดการใชส ารทำความเย็นท่ีติดไฟไดอยา งปลอดภยั 285

9.4.4.2 การเตมิ สารทำความเยน็
ในการเติมสารทำความเย็นปรมิ าณมากชนดิ ใดก็ตาม วิธีที่ใชควรจะแมนยำกวาสารทำความเยน็ อื่น ๆ
สวนใหญ เนื่องจากสารทำความเย็นไฮโดรคารบอน HCs มีความหนาแนนต่ำกวาสารทำความเย็น CFCs,
HCFCs และ HFCs ความสมดุลที่ใชควรมีความแมนยำอยางนอย ±3% เต็มสเกจและความละเอียดขั้นต่ำ
2 กรมั โดยอยา งยิ่งเม่ือทำงานกบั ระบบทมี่ กี ารเตมิ สารทำความเย็นสำคัญ (ที่มีความปลอดภัยภายในระบบ)

เมื่อเติมสารทำความเย็นเขาระบบ ชางจะตองตระหนักวา สารทำความเย็นไฮโดรคารบอน HC มี
ความหนาแนน ต่ำกวาสารทำความเย็นชนิดอน่ื ๆ สวนใหญ ดงั นน้ั โดยท่ัวไป จึงใชวิธีเติมสารทำความเย็นดวย
HCFC สารทำความเย็น R-22 ประมาณ 40 – 50% นค่ี อื ขอ พจิ ารณาที่สำคญั เนอ่ื งจากการเตมิ สารทำความ
เย็นเขาสูระบบมากเกินไป มีแนวโนมที่จะทำใหเกิดแรงดันสูงมาก ซึ่งสงผลเสียหายรายแรงตอระบบและทำ
ใหเกดิ การปลอยสารทำความเย็นออกมาในปริมาณมาก

อางถงึ ภาพท่ี 9.17 เมอื่ เลอื กอุปกรณและวิธกี ารสำหรับการเติมสารทำความเย็นทต่ี ิดไฟไดเขา สรู ะบบ
สำหรับสารทำความเย็นที่ติดไฟได จะใชขั้นตอนการอัดสารทำความเย็นสูระบบที่คลายกันกับสารทำ
ความเยน็ ชนิดอนื่ ๆ ยกเวน ขอ พิจารณาบางประการทม่ี คี วามสำคัญเปน พิเศษ :

การจัดการใชส ารทำความเยน็ ท่ตี ิดไฟไดอยา งปลอดภยั 286

การเตมิ สารทำความเย็นที่ตดิ ไฟเขา สรู ะบบ

• กอ นเติมสารทำความเย็นเขาระบบ ตรวจสอบวาไดผ า นการทดสอบแรงดันดวยไนโตรเจน OFDN แลว
• กอนเติมสารทำความเย็นเขาระบบ ตรวจสอบวาระบบนั้น (และการจัดการอัดสารทำความเย็น) ผาน

การทดสอบความแนน แลว (ตรวจสอบการร่ัว)
• ติดสัญญาณเตือนไวในบรเิ วณทท่ี ำงาน
• ใชเครื่องมือวัดแบบแมนิโฟลดสำหรับสารทำความเย็นท่ีมวี าลวสี่ทิศทาง (พรอมทั้งกระจกที่มองเหน็ )

และการสอบเทียบสารทำความเย็นท่ถี ูกตอง
• สวมอปุ กรณป องกนั สวนบุคคล (PPE) ตามที่กำหนด
• อุปกรณท ่ใี ชไ ฟฟาทัง้ หมดจะตองติดสายดิน (ยกเวนท่ีใชก ำลงั จากแบตเตอร)่ี
• จะตองมีการควบคุมการปลอ ยกระแสไฟฟา สถิต (ESD)
• ใช “เครื่องเปา” สำหรบั การระบายอากาศของบริเวณที่ทำงาน โดยมกี ำลังตำ่ สุด 700 m³/h
• เชอื่ มตอ สายดิน (ควบคมุ ESD) ระหวา งกระบอกเตมิ สารทำความเยน็ และผูปฏิบัติงาน (ปอ งกันการกอ

ตัวของไฟฟาสถิต)
• เม่ือตอสายระหวางระบบทำความเย็น เกจแมนโิ ฟลดแ ละถังเก็บสารทำความเย็น ตรวจสอบใหแนนใจ

วาขอ ตอ ทกุ จุดนัน้ แนน และไมม แี หลง ท่ีอาจทำใหติดไฟไดอยบู ริเวณใกลเคียง
• ตรวจสอบใหแนใจวาจะไมมีการปนเปอนของสารทำความเย็นชนิดตาง ๆเมื่อใชอุปกรณเติมสารทำ

ความเย็นเขาสูระบบ
• ทำความสะอาดสายและแมนิโฟลดกอนที่จะเติมสารทำความเย็น เพื่อหลีกเลี่ยงการปนเปอนของสาร

ทำความเย็น โดยควรทำเพื่อลดการปลอยสารทำความเย็นทิ้ง และเพ่ือใหมั่นใจวามีการระบายอากาศ
พอที่จะเจือจางสารที่ปลอยออกมา ถาเปนไปได ใหไลสารออกจากสายทอถายโอนสารทำความเย็น
กอ นท่จี ะอดั สารทำความเย็นเขาสรู ะบบ
• สายทอ หรือสายตาง ๆ ควรใหสัน้ ทส่ี ดุ เทา ทเี่ ปนไปได เพื่อลดปริมาณสารทำความเยน็ ท่ีอยใู นนั้น
• จะตอ งระมัดระวังอยางทส่ี ุด เพอื่ ไมใ หเ ตมิ สารทำความเยน็ เขาสรู ะบบมากเกินไป
• เมื่อเติมสารทำความเย็นเสร็จ จะตองตรวจสอบการร่ัวตอไป กอ นออกจากสถานทป่ี ฏิบัติงาน
• หลังจากเติมสารทำความเย็น ใหถอดสายออกอยางระมัดระวัง พยายามลดปริมาณการปลอยสารออกมา
• ตดิ ปา ยระบบเม่ือการเติมสารทำความเยน็ เขาสรู ะบบเสร็จสมบรู ณแลว (ถา ยังไมไดติดปาย) .
• ปริมาณสารทำความเยน็ ทอี่ ัดเขาสูระบบ จะตองบันทึกไวในการทำงาน และทำเครอ่ื งหมายไวบ นปา ย
• เติมขอ มูลทเี่ กยี่ วของในระบบซอม/ บรกิ าร
• ทำความสะอาดบริเวณท่ที ำงาน และแจงกับเจาของ/ หัวหนางาน

การจดั การใชส ารทำความเย็นท่ตี ดิ ไฟไดอยางปลอดภัย 287

9.4.5 การทดสอบขัน้ สุดทาย
การตรวจและการทดสอบขั้นสดุ ทา ยสำหรบั สวนประกอบ สวนประกอบไฟฟา และการขันยดึ แนนเพ่ือ
กันการร่ัว จะตองดำเนนิ การกอนทจ่ี ะสงมอบระบบ RACHP ใหแ กผ ใู ช โปรดดู บทที่ 9 ตอนท่ี 9.4.1
การตรวจสอบขั้นสุดทายควรรวมถึงคำอธิบายสั้นๆสำหรับการเริ่มตนและการปดระบบ รวมทั้งการ
จัดทำเอกสารท่เี พยี งพอ ซงึ่ อาจมคี วามสำคัญในกรณีทเ่ี กิดเหตฉุ ุกเฉิน

9.4.5.1 การตรวจสอบการทำงานของสว นประกอบตาง ๆ
ระบบที่แตกตางกันจะมีการตรวจสอบการทำงานในที่ตางกัน ภาคผนวก x และภาคผนวก x มี
สองตัวอยาง ภาคผนวก 9.1 ไดรับการออกแบบสำหรับเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน รวมทั้งระบบความ
ปลอดภัยท่ีติดอยใู นระบบ สว นภาคผนวก 9.2 ประกอบดวยวิธีปฏบิ ตั ิประจำสำหรับระบบท่ีซับซอนย่ิงข้ึน
9.4.5.2 การตรวจสอบการทำงานสำหรบั สวนประกอบที่ใชไฟฟา
ภาคผนวก 9.1 และภาคผนวก 9.2 ประกอบดวยขอมูลตรวจสอบการทำงานสว นประกอบไฟฟา
ข้ันตอนการทดสอบทว่ั ไปในการติดตง้ั เปลี่ยนแปลง หรอื ซอมแซม
จะตองมีการทดสอบเครื่องจักรไฟฟา (เชน ระบบ RACHP) และสวนประกอบตามมาตรฐาน
ของเครื่องจักร ซึ่งไดระบบถึงขอบเขตที่ชัดเจนของการทดสอบ ถาไมมีมาตรฐานดังกลาว จะตองปฏิบัติตาม
ขั้นตอนการทดสอบตอไปนี้ โดยสอดคลองกับ EN 60204-1:2014 (DIN VDE 0113) > ความปลอดภัยของ
เคร่ืองจกั ร – อุปกรณไฟฟาของเครื่องจกั ร – ตอนท่ี 1: -ขอ กำหนดทว่ั ไป
กระบวนการตรวจสอบ :
ผูมคี วามสามารถ จะตอ งตรวจสอบอปุ กรณไฟฟา สอดคลอ งเอกสารที่บันทึก รายละเอียด เชน
ชนดิ อปุ กรณ ชนดิ หมายเลขลำดับผลิตภัณฑ ชอ่ื ผผู ลิต หรือขอ มลู อ่ืน ๆ ทค่ี ลา ยกัน จะตอ งบันทึกไว
ขอบกพรองภายนอก :
การตรวจสอบอุปกรณ รวมตรวจขอบกพรอง เชน ความเสียหายตอสายไฟที่เชื่อมตอ ปลั๊ก
สญั ญาณทเ่ี ห็นไดใ ชไฟฟามากไป การสัมผสั ดวยมือ การมอี ุปกรณค รอบปองกนั การใชฟ ว สอ ยา งถูกตอง ฯลฯ
การปด เครอ่ื งโดยอตั โนมตั :ิ
ถา อปุ กรณน้นั มหี นา ท่ีการปดเครอื่ งโดยอัตโนมัติอยใู นตวั จะตองไดร บั การตรวจสอบ
การทดสอบความตอ เน่อื งของระบบตอ สายดินเพ่ือปอ งกนั
ใชเครื่องมือวัดกระแสในการวัดอยางนอย 0.2 แอมป โดยตองความตานทานไดจะอยูในชวงที่คาด
ไว โดยสอดคลองกับความยาว สว นทต่ี ัดกัน และวสั ดุของอุปกรณควบคุมกระแสไฟฟาดวยสายดนิ เพื่อปองกัน
การทดสอบความตานทานของฉนวนไฟฟา :
ความตานทานของฉนวนไฟฟาจะตองไมนอยกวา 1 MΩ ถึงแมวาสวนของเคร่ืองจักรบางสว น
อาจมีคา ทต่ี ำ่ กวา นี้ แตจะตองไมน อยกวา 50 kΩ

อยาใชเครื่องทดสอบความตานทานฉนวนไฟฟาในบรรยากาศที่เปนอันตรายหรืออาจระเบิดได
เนือ่ งจากเครือ่ งมอื อาจสรา งประจุไฟฟาในฉนวนทเี่ กดิ การเสียหาย (จะตอ งมกี ารทำใหเกิดกาซเฉื่อย)

การจดั การใชสารทำความเยน็ ทตี่ ิดไฟไดอยา งปลอดภัย 288

ปจจยั ท่สี ง ผลกระทบตอ ความตานทานฉนวนไฟฟา และชว งอายุใชงานของคอมเพรสเซอร

• การทำระบบไมแ หง (การทำสญุ ญากาศ) อยา งถกู ตอง
- กรดจากความชน้ื ในสารทำความเยน็ อาจทำใหเ กิดกรดไฮโดรฟลโู อรคิ
- กรดไฮโดรฟลูโอริค อาจกัดความเปนฉนวนบนขดลวดของมอเตอร
- กรดอาจกัดเซาะผนังทอทองแดง ทองแดงนี้เปนตัวนำไฟฟาและจะลดความเปนไฟฟา(ไมนำ
ไฟฟา )ในน้ำมัน คราบทองแดงจะเกิดขึ้นบนแบริ่งมอเตอรและก็ทำใหติดเครื่องยาก กระแสไฟฟาสงู หรือโรเตอรล อ็ ค
- ความชนื้ เม่ือมใี นนำ้ มันหลอล่นื สงั เคราะห POE จะถูกดูดซมึ

• การทไ่ี มใ ชร มี เมอรค วานทอ กอ นที่จะประกอบ
- อาจทำใหเ กิดคราบทองแดงในน้ำมนั คอมเพรสเซอร ทองแดงเปนตวั เหนยี่ วนำไฟฟา และลด
ความเปนไฟฟาในนำ้ มันหลอ ลื่น

• จะลม เหลวท่ไี มใหมีออกซเิ จนจากการใชก าซเฉ่ือย เชน ไนโตรเจนหรืออารกอน ชวงบดั กรแี ขง็

• สนมิ ทองแดง (Copper oxides ) เปน ตวั เหน่ยี วนำไฟฟา และจะลดเปนไฟฟาในนำ้ มัน

• การรวั่ ของสารทำความเยน็
- การเติมสารทำความเย็นเขาระบบท่ีปริมาณต่ำ สงผลใหอุณหภูมิในการทำงานของเครื่องน้ัน
สูงขน้ึ และทำใหฉนวนในขดลวดมอเตอรม ีแรงดันมากข้นึ
การบนั ทกึ ผลการทดสอบ
ตอ งบันทึกผลการทดสอบ โดยรายงานการทดสอบที่จดั เตรียมใหพรอ มคำแนะนำในการทำงาน

โปรดดูบทท่ี 12 สำหรับขอมลู เพมิ่ เติมเกย่ี วกับความปลอดภัยดา นไฟฟา
9.4.5.3 การทดสอบการรว่ั ครง้ั สุดทาย
ในระบบใหมน้ี โดยทวั่ ไปจะตองทดสอบการรั่วขั้นพน้ื ฐานเทา นน้ั

โปรดดบู ทท่ี A11 สำหรบั ขอมลู ทวั่ ไปเก่ียวกบั การทดสอบการร่วั

9.4.6 จดั ทำเอกสารและคำแนะนำ
จะตองมีการทำเครื่องหมายและการจัดทำเอกสารที่จำเปนทั้งหมด เชน หลังจากเสร็จสิ้นการติดตั้ง
คำแนะนำในการใชงานท่ีจำเปนจะตองมีอยู เพอื่ ใหมั่นใจวา ทกุ คนท่ีทำงาน ตองตระหนักถึงความเส่ียงและวิธี
ปฏิบตั ทิ เี่ หมาะสม
• สัญญาณบนโครงติดตั้งอุปกรณและสวนประกอบตาง ๆ รวมทั้งคำเตือนถึง “กาซที่ติดไฟได”
“โปรดอานคำแนะนำ” “หา มเคลือ่ นยา ย” “ไมมีแหลง จุดไฟ” “เขา ไดเ ฉพาะผทู ่ีไดรับอนญุ าต” เปนตน
• คูมือและคำแนะนำในการปฏิบัติงานและการจัดการ เอกสารแสดงขอมูลดานความปลอดภัย
เอกสารดานการบำรงุ รกั ษา แนวปฏิบัตใิ นการทำงานอยา งปลอดภัย เปนตน

การจดั การใชสารทำความเย็นท่ตี ิดไฟไดอยา งปลอดภยั 289

9.5 การซอ มแซมหรือดัดแปลงแกไ ขระบบ

หลังจากซอมหรือดัดแปลง จะตองเริ่มทดสอบการทำงานของระบบอีกครั้ง สวนตอไปนี้ จะดูที่
ขัน้ ตอนตาง ๆ ในการซอ มและการตรวจสอบและทดสอบทจ่ี ำเปนภายหลัง การทดสอบและการตรวจสอบสวน
ใหญมีความจำเปน ถาไดดัดแปลงระบบ การนำชิ้นสวนดั้งเดิมมาแทนชิ้นสวนของอุปกรณ ถือวาไมใชการ
ดัดแปลง (เชน วาลวนิรภัย อุปกรณจำกัดแรงดัน อุปกรณปดเครื่อง คอมเพรสเซอร) แตการซอมแซมแตละ
คร้ังทมี่ ีผลตอความปลอดภยั ของระบบ ถือวาเปนการดดั แปลงแกไ ข

การดัดแปลงแกไข อาจสงผลตอความปลอดภัยของระบบ และดังนั้นจึงตองมีการตรวจติดตาม
โดยทั่วไปแลวควรสังเกตวาระบบที่ตองมีการตรวจติดตามนั้น จะกลับมาใชบริการไดหลังจากมีการดัดแปลง
แกไขแลว ก็ตอเมื่อระบบนั้นไดรับการตรวจสอบถึงภาวะที่ถูกตองโดยหนวยงานตรวจสอบที่ไดรับอนุมัติหรือ
โดยบุคคลผมู ีความสามารถ

ตวั อยา งของการดัดแปลงแกไ ขไดแ ก :

ตัวอยา งของการดดั แปลงแกไข

การซอมซ่ึงสง ผลถึง การเพิ่มกําลังของ การเปล่ียนแปลงชนิดของ การเพิม่ แรงดนั ในการปฏบตั ิ การสลบั ระบบทอสารทาํ
ความปลอดภยั สารทาํ ความเยน็ สารทาํ ความเยน็ งานทย่ี อมรับไดสูงสุด ความเยน็ ตัง้ แต 1ระบบขน้ึ ไป

9.5.1 การเขาถงึ วงจรสารทำความเย็น
การบริการและการซอมแซม มักจำเปนที่จะตองเขาถึงระบบ RACHP การตอเกจแมนิโฟลดเขากับ
ระบบนั้น ถือวาเปน “การบุกเขาไปในระบบ” และหมายถึงการจัดการกับสารทำความเย็น วิธีที่เหมาะสมใน
การ “บุกเขาไปในระบบ” ขึ้นอยูกับการเชื่อมตอบริการวงจรสารทำความเย็นที่มีอยู ถาไมมีเชื่อมตอบริการ
เชน อุปกรณไฟฟาที่ใชสารทำความเย็นแบบเสียบปลั๊กสวนใหญนั้นอยูในสภาพปดสนิท (บัดกรีแข็ง) ควรใช
วาลวทอ เพื่อถา ยสารทำความเย็นที่เชื่อถือได เปาหมายโดยท่วั ไปคือเพ่ือเขาถึงระบบการทำความเย็น โดยใหมี
การปลอยสารทำความเย็นนอยทส่ี ดุ ในสถานทีป่ ฏิบตั ิงาน และไมมีการนำอากาศเขาไปในวงจรสารทำความเย็น
กอนซอ ม เชน เมอื่ ตอ งมีการเปล่ยี นช้นิ สว น และ/หรือ การบดั กรแี ขง็ สารทำความเยน็ ท้ังหมดจะตอง
ถูกนำออกจากระบบหรอื สวนวงจรของระบบ (ถา สามารถตดั สวนนอ้ี อกไปได)
โปรดสังเกตวา ระบบความปลอดภยั ท่ตี ิดมากบั เคร่ืองซ่ึงมีขนาดการเติมสารทำความเย็นท่ีคงที่ ซง่ึ อาจ
ไมส ามารถ “เพ่มิ ได” เนอื่ งจากเปน ไปไมไดท่จี ะกำหนดวาสารทำความเย็นร่วั ออกมาเทาไหร จงึ ไมส ามารถเติม
สารเขา ไปในระบบใหถูกตองได จงึ มีอนั ตรายจากการเติมสารมากเกินไป ในระบบซึ่งมีอุปกรณความปลอดภัย
ที่จำกัดแรงดัน อาจเพิ่มสารทำความเย็นไดโดยใหสอดคลองกับคาที่กำหนดไวในระบบ สารทำความเย็นทีข่ าด
ไป ช้ใี หเหน็ ถึงการรั่วทจี่ ะตอ งซอ มแซม การตรวจสอบการรว่ั คร้งั สุดทา ยเปนสงิ่ ทีจ่ ะตอ งทำ

การจดั การใชส ารทำความเย็นท่ตี ิดไฟไดอยางปลอดภัย 290

9.5.1.1 เลอื กวิธีท่ีสามารถใชเพ่อื เขา ไปในระบบ
ไมวา จะเขาไปในระบบดวยวิธไี หนก็ตาม วธิ ีใดกล็ วนแตปลอ ยสารทำความเย็น พยายามใหมีการ
ปลอยสารทำความเย็นที่ติดไฟไดออกมาใหนอยที่สุด และกำจัดแหลงติดไฟที่อาจเกิดขึ้นได อยาตัดหรือ
ทำลายงานทอ ถา ระบบ RAC ประกอบดวยสารทำความเย็นที่ตดิ ไฟได หรอื กา ซอนื่ ๆ ท่มี ีแรงดัน ใหใชวิธี
จดั การสารทำความเย็น และอุปกรณใ นการใหบริการอ่นื ๆ สำหรบั ใชก บั สารทำความเย็นท่ตี ิดไฟได

เซอรวิทวาลว วาลวลูกศร คมี เหนีบจาะทอ วาลวแบบหัวกอก
ตดิ กับคอนเดนซิง่ ยนู ิต สำหรบั เติมน้ำยา พรอ มมวี าลว ลกู ศรr ใชเ จาะทอ

ใชส ำหรับบรกิ ารวงจรสารทำความเย็น
เครอ่ื งปรบั อากาศแบบ หลกี เล่ียงเครอ่ื งใชไ ฟฟา ใชกับอุปกรณไฟฟาแบบท่ีเสียบปลั๊กสำหรับใชใน
แยกสว น ขนาดเลก็ ทป่ี ดสนทิ บา นและการพาณิชยข นาดเลก็
เพราะการเตมิ สารทำ
เครื่องใชไฟฟาพาณิชย ความเย็นเปนสิง่ ทส่ี ำคัญ ระบบที่เล็กกวา ซงึ่ ไมม วี ธิ ีทเี่ ขา ถงึ ระบบไดโ ดยตรง

ถามีวาลวลูกศร คือสวน สำหรับการใชงานเชิง ไมแนะนำใหใชการทดสอบแรงดันและการลางดวย
หนึ่งของเซอรวิทวาลว พาณิชย ใหใชไดเฉพาะ ไนโตรเจน OFDN รวมทั้งการนำสารทำความเย็น
ตองพิจารณาถึงกลไกวิธี เมื่อจำเปน และใหใช ออกจากระบบและเติมสารทำความเย็นเขาระบบ
เปดและขอจำกัดในการ นอยที่สุด ใการติดตั้ง ท่ี)
ไหลของวาลวลูกศรท่ี คอยลรอน คอยลเย็น จะตองเลือกใชใหตรงกบั เสน ผานศูนยกลางท่ีถูกตอ ง
สอดเขา ไป บอลวาลว ฯลฯ) สำหรับทอ เพื่อปอ งกนั ไมใ หมีการปลอยสารทำความ
เย็นโดยไมต้ังใจ
จะตองระวงั ปดฝาใหแนน สำหรบั การใชง านชว่ั คราวเทา นั้น
หลังจากจดั การกบั สารทำความเยน็ ไมมจี ุดเขา ถึงอยางถาวร

การจดั การใชสารทำความเย็นท่ตี ดิ ไฟไดอยา งปลอดภัย 291

ทัง้ คมี เจาะและวาลวแบบหวั กอ กสำหรบั เจาะ ไมถ อื วา เปนจดุ เขา ถึงระบบอยางถาวร ดงั นน้ั หลังจากที่
นำสารทำความเย็นออกมาทั้งหมดแลว และลางระบบดวยไนโตรเจน OFDN จะตองนำคีมหรือวาลวเจาะถอด
ออกจากระบบ สำหรับการเริ่มตนทดสอบการทำงานของระบบการทำความเย็น (แบบใชในบาน / เสียบปลั๊ก
เชงิ พาณิชย) จะตอ งติดต้งั การเขาถงึ วงจรทเ่ี ชอ่ื ถอื ได เชน เดยี วกับสายอดั สารทำความเย็น/ ทอในกระบวนการ
และการใชขอ ตอทอแบบสวมเรว็ (quick-couplers) หลงั จากส้นิ สุดการเรม่ิ ทดสอบระบบการทำความเย็นแลว
จะตอ งทำใหส ภาพเรมิ่ ตนของวงจรสารทำความเยน็ กลับเปน เชน เดมิ

ภาพที่ 9.18 การใชข อตอสวมเร็วสำหรบั ภาพท่ี 9.19 การปดทอถา ยโอนสารทำ
การนำสารทำความเย็นออกจากวงจรและ ความเยน็ ดว ยการบีบและบัดกรแี ข็ง

การเติมสารทำความเยน็ เขา สูว งจร

โปรดดูขอ มลู เพ่ิมเติมเก่ยี วกับเซอรวทิ วาลว และวาลวลูกศร (Schrader valves) ในบทที่ 8

9.5.1.2 การยกเลกิ การเพิ่มสารทำความเยน็ และดูดกลบั /การระบายอากาศ/ การเผาไหม
ถึงแมอาจเปนไปไดที่จะปมดาวนและแยกสารทำความเย็นภายในสวนของระบบที่ไมไดใชงาน
แตโดยทั่วไปแลว ควรจะนำทีช่ ารจ สารทำความเย็นท้งั หมดออกมา ในกรณีทเี่ กดิ ขอ ผดิ พลาดอยา งไมคาดคดิ
หลังจากนัน้ ใหน ำสารทำความเย็นออกจากระบบอยางทไี่ ดอธบิ ายไวข างตน
โปรดดูบทที่ 10 สำหรบั รายละเอียดในการดูดกลบั /การระบาย/การเผาไหมของสารทำความเย็น
โปรดดูบทท่ี 9 ตอนท่ี 9.4.2 สำหรับคำอธบิ ายโดยละเอียดในการนำสารทำความเย็นออกจากระบบ

ถา นำคอมเพรสเซอรห รือนำ้ มนั คอมเพรสเซอรออก ควรใหแ นใจวา ระบบนั้นไดมีการนำเอาสาร
ทำความเยน็ ออกไปจนถงึ ระดบั ทยี่ อมรับได ซง่ึ ไมค วรมสี ารทำความเยน็ ท่ตี ดิ ไฟไดเหลืออยูกับน้ำมันหลอลน่ื

การจดั การใชส ารทำความเยน็ ทีต่ ิดไฟไดอยา งปลอดภัย 292

9.5.1.3 การลางระบบดวยไนโตรเจน OFDN และการขจัดสารทำความเย็นสว นทเี่ หลือออก
หลังจากไดนำที่อัดสารทำความเย็นออกไป จะยังคงเหลือสารทำความเย็นคางอยูในระบบบาง
จึงควรลางระบบดวยไนโตรเจน OFDN เพื่อทำใหสารทำความเย็นเขมขนเปลี่ยนเปนสารทำความเย็นเขมขน
แบบไมต ิดไฟ (ทำใหเปน กา ซเฉือ่ ย)

บทท่ี 5 มีเน้ือหาเพิ่มเติมเกยี่ วกับไนโตรเจน OFDN ควรจะ
• มคี วามบริสุทธใิ์ นเกรดสำหรบั งานเทคนิค OFDN 4.0 (99.99%)
• ปรมิ าณความชื้น ≤ 30 ppm
• ความเขม ขน ของออกซเิ จน ≤ 60 ppm

การลางดวยไนโตรเจน OFDN (ซึ่งใชเพื่อ “ทำลายสุญญากาศ”) จะขจัดความชื้นออกจากระบบ
และทำใหวงจรสารทำความเย็น “แหงลง” ความชื้นในระบบทำใหเกิดผลโดยสรางความเสื่อมแกวงจร เชน สะสม
กรด ทำใหค อมเพรสเซอรทำงานหนัก และ/หรือ ทำใหเ กิดแผนทองแดงเคลือบในช้ินสว นของคอมเพรสเซอร (โปรด
ดบู ทเก่ียวกับการนำสารทำความเย็นออกจากระบบ) การลา งวงจร อาจจะตอ งทำซ้ำหลายครั้ง

ภาวะทองแดงเคลือบ (Copper plating) คือสภาพที่ชิ้นสวนโลหะในคอมเพรสเซอรถูก
เคลือบดวยทองแดง สภาพนี้มักจะพบไดในคอมเพรสเซอร เมื่อเกิดความชื้นระดับสูงในระบบ RACHP
นำ้ จะทำปฏิกริ ิยากบั สารทำความเย็นและน้ำมนั ท่ีอุณหภูมสิ ูง ทำใหเ กิดสารละลายทีเ่ ปน กรด สารเคมีน้ีอาจ
ละลายหรือผงทองแดงจากสวนประกอบอื่น ๆของระบบ RACHP ซึ่งประกอบไปดวยทองแดง หรือมี
สวนผสมของโลหะผสมที่มีฐานเปนทองแดง เชน ทองเหลืองหรือบรอนซ ซึ่งในที่สุดแลว จะทำให
คอมเพรสเซอรเ สียจากลักษณะเชิงกลหรือไฟฟา

ถาการลางระบบจำเปนตองใชสวนของวงจรสารทำความเย็นแยกกัน ถาเปนไปได สวน
ของทอ หรือสวนประกอบของวงจร (เชน อุปกรณกรองความชื้น (filter dryers)) ควรจะตัดออกไปดวย
เครือ่ งตัดทอ เพอื่ หลีกเลย่ี งแหลงจดุ ไฟ และทำใหระบบสะอาดมากทสี่ ดุ เทา ท่ีจะเปน ไปได

การจดั การใชสารทำความเยน็ ท่ีติดไฟไดอยางปลอดภยั 293

เคร่อื งมือ

• ถังอัดกาซไนโตรเจน OFDN ที่มีตัวควบคุมแรงดันที่เหมาะสม ถังกาซนี้ตั้งไวถาวรและทำใหแนนใน
บริเวณทที่ ำงาน

• ปมสญุ ญากาศแบบ 2 ขนั้ ตอน
• ชุดเกจแมนิโฟลดแ บบมวี าลวสี่ทศิ ทาง
• เกจไมครอน
• ชุดของสายทอถายโอนสารทำความเย็นแบบ SAE ขนาด ¼” (ความยาวสั้นที่สุดเทาที่เปนไปได เชน

90ซม/36”) โดยมีแรงดันใชท ำงานท่ี 60 บาร (870 PSI) และแรงดันระเบิดท่ี 300 บาร (4350 PSI)
และบอลวาลวปลายสายทอ (ปลายดา นหนึ่ง) และทกี่ ดไสวาลว (core depressor)
• วาลวสำหรับเขาสูระบบหนึ่งชุด เพื่อลดการปลอยสารทำความเย็นใหนอยที่สุดระหวางการเชื่อมตอ
อุปกรณท ช่ี องตอของเคร่ืองใช/ ระบบ (ถา จำเปน )

อปุ กรณดา นความปลอดภัย
• อปุ กรณปองกนั สวนบุคคล PPE
• สญั ญาณเตือนบรเิ วณปลอดภยั (เขต 2)

การลา งระบบดว ยไนโตเจน OFDN

• แจงใหเจา ของและหัวหนางานทราบ เพอื่ ขออนุญาตทำงาน (ถา จำเปน )
• ปดระบบการทำความเย็น
• ติดสัญญาณเตือนในบรเิ วณทที่ ำงาน
• เชอื่ มตอ อุปกรณและเครือ่ งมือทีเ่ ขียนรายการไวกอนหนานี้ ตามทีร่ ะบุในภาพที่ 9.24
• ใชแ มนิโฟลดสารทำความเยน็ แบบวาลว สที่ ิศทาง (ซงึ่ มีกระจกดา นขาง) และเชื่อมสายถายสารทำความ

เย็นตามที่จำเปน
• สวมอปุ กรณป อ งกนั บคุ คล (PPE) ตามความจำเปน
• เปดเครื่องตรวจจับแกส (อุปกรณหารอยรั่ว) ในสภาพภายนอกที่มีอากาศบริสุทธิ์ และวางไวบริเวณ

พ้ืนใกลกับทจ่ี ัดการอุปกรณ หรือเปดเครอื่ งตรวจจับกา ซ (PPE) ถามี
• ลางวงจรสารทำความเย็นดวยไนโตรเจน OFDN โดยใชไนโตรเจนเกรดสำหรับงานดานเทคนิค เพ่ือ

หลกี เลยี่ งมิใหค วามช้นื เขาสร ะบบเพ่มิ ขนึ้

การจัดการใชสารทำความเย็นทต่ี ดิ ไฟไดอยา งปลอดภัย 294

ปลอยไอ ทอระบายอากาศ เกจสุญญากาศ
เครื่องแวค ออก ดิจิตอล

เกจปรบั ความดัน

ใชก บั เครอ่ื งปรบั อากาศแบบแยกสว น เกจวดั ความดัน
หรอื ชิลเลอร

ถังอัด
ไนโตรเจน
ัถงไนโตรเจน 4.0/99.99% ปราศจาก
ออกซิเจน ปายสญั ลักษณ
OFDN ความปลอดภยั

เครอื่ ง
แวค คั่ม

ภาพที่ 9.20 การลางดวย Oxygen Free & Dry Nitrogen (OFDN)
ชว ยใหเ กิดบรรยากาศกา ซที่ปลอดภัย

9.5.2 การซอ ม

กอ นดำเนนิ งานอ่ืนตอ ไป โดยเฉพาะงานทีใ่ ชค วามรอน ควรตรวจสอบพนื้ ท่ีนนั้ ดวยอุปกรณต รวจจับ
สารทำความเยน็ ท่ีเหมาะสม เพือ่ ใหผปู ฏบิ ตั งิ านที่มที กั ษะไดร ถู งึ สภาพอากาศท่อี าจติดไฟได

9.5.2.1 การซอมรอยรัว่ หรือการถอดเปลย่ี นสวนประกอบ
จำเปนอยางยิ่งที่จะตองซอมรอยรั่วของสารทำความเย็นอยางถูกตองทันทีที่ไดคนพบ ถาไม
สามารถซอมไดทันที ควรนำสารทำความเย็นออกจากระบบ จนกวาจะไดซอมจุดที่รั่วอยางถูกตอง ทั้งนี้เมื่อ
พยายามซอ มรอยรว่ั มีขอควรพิจารณาทเี่ ก่ยี วขอ งหลายประการ:
• การซอมรอยรั่วอยา งถูกตอง ซึ่งหมายความวา นำสารทำความเย็นออก ตรวจสอบที่มาของ
การรั่ว ตัดสินถึงสาเหตุของการรั่ว และดำเนินการตามที่เหมาะสม (ซึ่งไมไดหมายความเพียงแคพยายามปด
รอยตอ ใหแนน ขึ้น หรอื การ “แกไ ขอยา งรวดเรว็ ” อื่น ๆ)
• จากการตรวจสอบรอยรั่วและหาสาเหตุ ให พยายามบงชี้และดำเนนิ การตามวิธีทีเ่ กี่ยวของ
เพื่อใหม นั่ ใจวา จะไมเ กิดการรวั่ ขึน้ อีก

การจัดการใชสารทำความเยน็ ทีต่ ิดไฟไดอยางปลอดภยั 295

• ถาการรั่วนั้นเกิดจากการเชื่อมตอที่ตองใชไฟ ถาเปนไปได ใหพยายามทดแทนดวยตัว
เช่อื มตอ ที่มกี ารบดั กรแี ข็งหรือวธิ ีอ่ืนทคี่ ลายกัน

• กอนที่จะเริ่มซอม ตรวจสอบใหแนใจวา ไดนำสารทำความเย็นออกไปแลว และลางระบบ
ดวยไนโตรเจน OFDN โดยเฉพาะอยางย่งิ เมอื่ จะมีการบดั กรีแขง็

ถาไดเขาถึงระบบนี้โดยใชวิธีตาง ๆ เชน คีมเจาะ หรือวาลวแบบหัวกอก ใหทำตามในบทที่ 9
ตอน 9.5.1 และอยา ปลอ ยใหอุปกรณน้ตี ดิ อยกู บั ระบบ ทอ ทีถ่ กู ใชแ ลวจะตอ งไดรับการเปล่ียนทดแทน

สวนประกอบที่นำมาเปลี่ยน จะตองใชกับชิ้นสวนท่ีมีขอกำหนดเฉพาะเหมือนกันเทานั้น โปรด
ปฏิบัตติ ามขั้นตอนตอ ไปน้ี

• เปด วงจร
• สำหรับการทำงานที่ใชความรอน ใหรักษาวงจรที่เปดไวและปลอยไนโตรเจน OFDN
เลก็ นอยใหผ า นเขาไปยังบรรยากาศ อยาสรางแรงดนั ท่ีเปน บวก
• ดำเนินการซอม/งานบริการที่จำเปน (การเปลี่ยนสวนประกอบดวยการบัดกรีแข็ง) ภายใต
การไหลของไนโตรเจน OFDN ถาสามารถทำได
• ดำเนนิ การ “ทดสอบการลดลงของแรงดัน” เพือ่ หารอยรวั่ ดังท่ีอธบิ ายไวใ นบทที่ XXX
• ถาทำได ใหใช “การทดสอบกำลังของแรงดัน” ตามที่ไดอธิบายไวในบทที่ XXX ของ
เอกสารฉบับน้ี
• ถาระบบนี้ไดรับการระบุวาแนน ใหอัดประจุไนโตรเจน OFDN เขาไป แตรักษาระดับ
แรงดันไนโตรเจน OFDN ใหต ่ำสุด ในขณะที่ “ยงั คงอัดประจุ” (ถาจำเปน)
• ระบายอากาศ
• ลดลงใหเ ปนสญุ ญากาศ
• ขณะน้ี ระบบพรอ มแลว ทีจ่ ะมีการทดสอบการทำงานของระบบครง้ั สดุ ทาย
• การตรวจสอบรอยรั่วครั้งสุดทาย (การทดสอบดวยอุปกรณจับกลิ่นกาซ) หลังจากการ
ทดสอบการทำงานของระบบ

9.5.2.2 การซอ มสวนประกอบไฟฟา

กอนทจี่ ะเร่ิมงานกับสว นประกอบไฟฟา ควรปด กำลงั ไฟฟา ที่เกี่ยวขอ งทั้งหมดกอนท่ีจะเปดสวน
ที่ปดอุปกรณ ( โปรดดูบทท่ี 12 ความปลอดภัยดานไฟฟา) ถาจำเปนที่จะตองไมปดอุปกรณไฟฟาที่
เกี่ยวของสำหรบั งานซอม ควรตรวจสอบติดตามสวนผสมของกา ซที่ตดิ ไฟไดในบรรยากาศในบริเวณที่เก่ียวของ
อยางตอเนื่อง เพื่อเตือนผูคนเกี่ยวกับสถานการณอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได (1. การใชอุปกรณจับกลิ่นกาซ
2. การใชเครื่องตรวจจับกาซแบบ PPE) ถามีขอผิดพลาดที่อาจเสี่ยงตอความปลอดภัย หามตอกระแสไฟฟา
เขากับวงจร จนกวาจะไดจัดการจนเปนที่พอใจแลว เปลี่ยนสวนประกอบที่ใชไฟฟาดวยชิ้นสวนที่เหมือนกัน
เทา นนั้ (อะไหล)

การจดั การใชสารทำความเย็นทต่ี ดิ ไฟไดอยางปลอดภัย 296

ดงั น้นั เมื่อทำงานกับสว นประกอบไฟฟา จำเปน ตอ งตรวจสอบใหแนใ จวา :
• ชิ้นสวนทีม่ ีปญ หานั้นจะตองไมเ กิดประกายไฟ และจะตองไมนำมาแทนดวยสวนประกอบที่
ทำใหเกดิ ประกายไฟ
• ชิ้นสวนที่มีปญหาซึ่งไมไดมุงใหเกิดประกายไฟ จะตองไมถูกดัดแปลงในลักษณะที่จะทำให
เกิดประกายไฟ
• ถาเปลี่ยนชิน้ สวนท่ีมีการปด ไว จะทำไดโดยใชชิ้นสวนทีเ่ หมือนกัน หรือชิ้นสวนท่ีอยางนอย
ตองมีการปด ในระดบั เดยี วกนั
• หลังจากเปด และ/หรือ ทำงานกับสวนประกอบท่ีปดไวแลว จะตองปดใหเหมือนกับท่ีต้ังใจ
ไวค ร้งั แรก
• ถา ทำงานกับ หรอื เปลีย่ นสวนประกอบทวี่ างตำแหนงไวโ ดยเฉพาะ จะตองปลอ ยใหติดไวใน
ตำแหนงดั้งเดมิ
• สายไฟฟาจะตองไมสึกกรอน ถกู กัดเซาะ มีแรงดนั มากเกินไป ส่นั สะเทอื น มีขอบที่คม หรือ
มผี ลทางลบอนื่ ๆ ตอ สิง่ แวดลอ ม
o อุปกรณยึดสายไฟ (Cable glands) จะตองเก็บไวใหแนนและผูกไว อยานำสายไฟมากกวา
หนง่ึ สายผานอปุ กรณย ดึ สายไฟ
o สายเชื่อมตอไฟฟา หรือสายวงจรควบคุม (สวนที่เชื่อมโยงกันในการติดตั้ง) จะตองติดและ
ยึดไวใหแนน ดว ยอปุ กรณแบบดงึ แลว ปลอย (traction relief)
• เครอื่ งใชไฟฟาทงั้ หมดจะตองตง้ั ยึดไวใ หแนน
ในหลายกรณี มีการใชสวนผสมของการวางตำแหนงสวนประกอบพิเศษและการปด
สวนประกอบ เพื่อปองกันมิใหสารทำความเย็นที่ติดไฟไดที่ปลอยออกมาไปถึงจุดที่อาจทำใหเกิดการติดไฟ
ดังนั้นจึงจำเปนที่จะตองมิใหมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ตอการสรางอุปกรณ เนื่องจากอาจสงผลตอระดับการ
ปอ งกันทต่ี องการ ในลักษณะที่ชา งเทคนคิ อาจมองไมเ ห็นได
ยิ่งไปกวานั้น ชางเทคนิคควรตระหนักวา การสรางชิ้นสวนของเครื่องใชไฟฟา เชน การวาง
ตำแหนงสิ่งกีดขวาง ตำแหนงการเดินทอ เปนตน อาจสงผลทางออมถึงระดับความปลอดภัยที่ไดรับจาก
สวนประกอบไฟฟา (หรือแหลงอื่นที่อาจทำใหติดไฟได) เชน ถาทอนั้นถูกวางตำแหนงใหมถัดจากอุปกรณ
ไฟฟาที่ไมมีการปองกัน การรั่วของสารทำความเย็นอาจมีโอกาสมากขึ้นที่จะเขาไปยังอุปกรณนั้น หรือถาการ
เสียบสายไฟผานฉากก้ันภายในนั้นไมไดป ดไวอยา งเพยี งพอ อาจมโี อกาสท่ีสารทำความเย็นท่ีรว่ั ไปดานหน่ึง จะ
เคลื่อนไปยงั อปุ กรณไฟฟาทเ่ี ปดอยูในอีกดา นหน่งึ ได
เมื่อทำงานในระบบและอุปกรณโดยทั่วไป จำเปนที่จะตองตรวจสอบสวนประกอบไฟฟาทุก
ชนิด เพื่อใหมั่นใจวามิไดเปนการลดระดับการปองกันที่ตั้งใจไว (ตามที่ตั้งใจไวในระหวางการปองกันอุปกรณ)
โดยผา นการดดั แปลงอุปกรณโ ดยมไิ ดรบั อนญุ าต หรอื จากผลของความเกา การสกึ หรอ หรอื แรงดนั เชิงกล

การจัดการใชส ารทำความเยน็ ทีต่ ดิ ไฟไดอยางปลอดภยั 297

นอกจากจะตรวจสอบแหลงทีอ่ าจทำใหเกดิ ไฟไดแ ลว ควรตรวจสอบชิน้ สว นไฟฟาอืน่ ๆ เชน :
• การเช่อื มตอ สวนปลายนั้นตอ งปด สนิท ไมหลวม ซึง่ อาจทำใหเ กิดประกายไฟโดยไมตง้ั ใจได
• ควรตรวจสอบจดุ ตอสายดนิ (Protective conductor) ทกุ ครงั้ ทมี่ กี ารติดตั้งและซอมแซม
• จะตองตรวจสอบการเดินสายไฟและสายเคเบิ้ล เพอื่ ใหม่นั ใจวาไมม คี วามเสียหาย
หากพบขอบกพรอง ซึ่งทำใหเสี่ยงตอการปฏิบัติงานอยางเชื่อถือไดของระบบทำความเย็น
ไมควรเร่ิมตน การตดิ ต้งั อกี คร้งั
ในขณะท่ีอยูในบรรยากาศที่ติดไฟไดน ้ัน จะตอ งทำงานกับสวนประกอบท่ีปลอดภยั อยางแทจริง
เทานนั้ ถึงแมวาโดยทั่วไปจะไมไดใ ชกบั เคร่ืองใชไฟฟา หรือระบบ RACHP นอกจากน้อี ุปกรณตรวจสอบควรจะ
อยูในระดับที่เหมาะสมในทุกกรณี เพื่อใหมั่นใจวามีการใชสวนประกอบและอุปกรณทดสอบที่ปลอดภัยอยาง
แทจริง ควรสังเกตถงึ เครอื่ งหมาย “Ex-i” .
9.5.2.3 การเปล่ียนแปลงระบบทำความเย็น
ถามีการเปลี่ยนชิ้นสวน ตรวจสอบใหแนใจวาไดใชชิ้นสวนที่มีขอกำหนดเฉพาะเหมือนกัน
โดยเฉพาะอยางยงิ่ ถา สวนประกอบนน้ั ถูกจัดวา ใชส ำหรับสารทำความเย็นท่ีตดิ ไฟได
ระบบที่ปลอดภัยอยา งแทจ รงิ ในตวั เอง คอื "ไมค วรมีการดดั แปลง"
9.5.3 การเริ่มทดสอบการทำงานของระบบหลังจากดดั แปลงระบบ
ปฏบิ ตั ติ ามข้ันตอนทอ่ี ธิบายไวในหวั ขอ 9.4
9.5.3.1 การทดสอบแรงดนั ของความแขง็ แรง (Strength pressure )
การทดสอบความแข็งแรงของระบบโดยใชแรงดัน โดยทั่วไปแลวจะตองทำหลังจากที่มีการ
เปลี่ยนแปลงระบบ รวมท้ังการเชอ่ื มตอ ช้นิ สว นของระบบกลับเขาไปใหม โดยใชการบัดกรีแข็งหรือการเชื่อมตอ
เชิงกล การเปลี่ยนชิ้นสวนตั้งแตหนึ่งชิ้นขึ้นไป หรือการเพิ่มเติมเขาไปในสวนประกอบ ไมมีขอจำกัดพิเศษ
สำหรบั สารทำความเยน็ ไฮโดรคารบอน
แรงดันในการทำงานของระบบโดยทั่วไปจะแตกตางกันสำหรับสถานทีป่ ฏิบัตงิ านที่มีแรงดันสูง
และตำ่ การทดสอบแรงดัน ควรเรม่ิ ตนทแ่ี รงดนั ในการทำงานต่ำสุด หลงั จากน้ันสวนทม่ี แี รงดนั ต่ำ (LP) จึงควร
ถูกแยกออกไปดวยวาลวสำหรับแยกหรือหนาแปลนเปลา (blank-flanges) และสวนที่มีแรงดันสูง (HP)
จะไดรับการทดสอบแยกออกไป ในระบบที่เล็กกวา เชน เครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน การทดสอบแรงดัน
แบบ LP และ HP ในสถานทีจ่ ะเหมอื นกนั

การจัดการใชส ารทำความเย็นทต่ี ดิ ไฟไดอยางปลอดภยั 298

เมื่อดำเนินการทดสอบแรงดัน แรงดันที่ทดสอบควรจะคอยๆเพิ่มขึ้นในวงจรสารทำความเย็น
จนถึงคาที่กำหนดไว ในการทำเชนนี้ ขอตอตาง ๆ เชน ขอตอที่มีการบัดกรีแข็ง บานทอ (flares) สวนตอจาก
การเชื่อม หนาแปลน (flanges) สวนตอจากการขันเกลียว) ปลอกอัด (glands) และสวนเชื่อมตอไฟฟาตาง ๆ
ของคอมเพรสเซอรแ บบปด / ก่ึงปด จะตอ งไดร ับการตรวจสอบอยเู สมอ

แรงดันในการทดสอบสงู สดุ ทจ่ี ะใช ควรเปน แรงดันท่ีไดร ับอนุญาตสงู สุด PS x 1.1 โดยคา PS น้ี
ควรจะระบุไวในแผนขอมูลของอุปกรณ ถาไมมีขอมูลของระบบ ใหใชแนวปฏิบัตทิ ั่วไปเกี่ยวกับแรงดัน ซึ่งอาจ
นำมาใชเกย่ี วกบั สารทำความเยน็ ตา ง ๆ ท่ีมีอยู ตามรายการตวั อยางในตาราง 9.4

การทดสอบความแข็งแรงดวยแรงดัน อาจสงทำใหเกิดอันตรายได ถาวัสดุที่ใชไมสอดคลองกับ
มาตรฐาน RACHP เชน ระบบทอ ทองแดง

• การจดั การกบั วาลวนริ ภัยในการทดสอบความแขง็ แรงดวยแรงดัน

ชองตอวาลวนิรภัย ควรจะมีหนาแปลนเปลา หรือจะตองปดดวยฝาที่เหมาะสม หรือปลั๊กปด
สำหรับการทดสอบความแข็งแรงดวยแรงดัน เพื่อที่จะถอดวาลวออกในชวงการทดสอบ วาลวนิรภัยจะตอง
ติดตั้งเขาไปใหม กอนที่จะเริ่มทดสอบการทำงานของระบบ และดำเนินการทดสอบหารอยรั่วครั้งสุดทายดวย
เคร่ืองตรวจจบั กาซอิเล็คทรอนคิ

ตารางที่ 9.4 ตวั อยางของแรงดันในการทดสอบท่ีเหมาะสม (EN378)

สารทำความเยน็ ดานความดันต่ำ แรงดนั ดา นต่ำใน ดา นความดันสงู แรงดนั ดา นในการ
(บาร) การทดสอบใน (บาร) ทดสอบในสถานท่ี
สถานที่ PS x 1.1
PS x 1.1
(อณุ หภูมิท่ีสารทำความเย็นเปลีย่ นสถานะจากกา ซเปน ของเหลว 55°C / อณุ หภูมิหองสูงสุด 32°C)
R-22 11.5 12.7 20.8 22.9
R-290 10.3 11.3 18.1 19.9
R-717 11.4 12.5 22.1 24.3
R134a 7.2 7.9 13.9 15.3
R-407C 13.2 14.5 23.8 26.2
R-404A 14 15.4 24.8 27.3
R-410A 18.9 20.8 33.3 36.6
R-32 19.4 21.3 34.2 37.6

การจดั การใชส ารทำความเยน็ ทีต่ ดิ ไฟไดอยา งปลอดภัย 299

เกจปรบั ความดนั

ใชกบั เครื่องปรบั อากาศแบบแยกสว น ัถงไนโตรเจน 4.0/99.99% ถงั อัด ปา ยสัญลกั ษณ
หรือชลิ เลอร ไนโตรเจน ความปลอดภยั
ใชเ กจการทดสอบความ ปราศจาก
แขง็ แรงดว ยแรงดัน ออกซเิ จน
OFDN

ภาพท่ี 9.21 การจดั ตั้งอุปกรณท ดสอบแรงดนั

ถาใชแ มนโิ ฟลดสำหรบั วิธีการทดสอบแรงดัน จำเปนทีช่ ดุ แมนโิ ฟลดน้ีจะตองไมมีกระจกท่ีมองเห็น!
เพราะกระจกท่มี องเห็นนี้อาจแตกไดใ นระหวางการทดสอบแรงดัน ทำใหเกิดการบาดเจ็บรา ยแรงตอบุคคล
ทเ่ี กี่ยวขอ ง

เครื่องมอื
1. ถังกา ซอดั แรงดันซ่ึงมีไนโตรเจน OFDN
2. อปุ กรณค วบคมุ แรงดนั ซ่งึ มีแรงดันสง 0-800 ปอนดต อ ตารางนวิ้ (0-55 บาร)
3. อปุ กรณป องกันสวนบคุ คล PPE
4. อปุ กรณทดสอบความแข็งแรงดว ยแรงดัน (เกจ และบอลวาลว ประกอบกนั )
5. สายทอ สำหรบั สงไนโตรเจน OFDN (สายสงสารทำความเย็น)
6. สัญลกั ษณเ ตอื นบรเิ วณปลอดภัย

การจัดการใชส ารทำความเยน็ ท่ตี ดิ ไฟไดอยา งปลอดภัย 300

การทดสอบความแข็งแรงดวยแรงดัน - การเตรียมตัว

• แจงใหเ จาของ หัวหนา งานทราบ และขออนุญาตทำงาน
• ตดิ สัญญาณเตอื นในบริเวณท่ีทำงาน ตอ อปุ กรณและเครื่องมือในรายการตามที่ระบุไวใ นภาพที่ 9.21
• สวมอปุ กรณป องกันความปลอดภยั ของบคุ คล (PPE) ตามความจำเปน
• ตรวจสอบใหม ่ันใจวา บคุ คลากรทั้งหมดอยูในระยะทปี่ ลอดภยั จากชนิ้ สวนทีบ่ รรจุสาร

การทดสอบความแขง็ แรงดวยแรงดนั - การดำเนินงาน

• ถาจำเปน ใหแยกระหวางดานแรงดันต่ำและสูงของระบบการทำความเย็นถาสามารถกระทำได ไมวา
ในกรณีใดกต็ าม ตรวจสอบขอ มลู บนแผนขอ มลู (เชน คอยลเย็น และคอยลรอน)

• เปลี่ยนระบบดว ยกาซเฉือ่ ย ซง่ึ โดยทว่ั ไปแลวไดแ ก ไนโตรเจน OFDN
• ใหแรงดันแกระบบทีละเล็กทีละนอยและชา ๆ ไปจนถึง 1.1 × แรงดันในการทำงานที่อนุญาต (PS)

ของระบบ ตามที่ไดกำหนดและระบุไวบนแผนขอมูลระบบ ถาแรงดันไมไดแสดงไวในระบบ อาจใช
การประเมินโดยยึดตามแรงดันอิ่มตัวของสารทำความเย็นท่ี 55°C ถึงแมไมไดอยูกับสภาพภูมิอากาศ
ทอ งถ่นิ ถา คาดวา อุณหภมู ิหองสงู สดุ จะสูงกวาแรงดันในการทดสอบควรจะเพม่ิ ขึน้ (ดทู ่ตี ารางท่ี 9.4)
• รกั ษาแรงดันน้ันเปนเวลาหลายนาที แลว จึงคอยๆ ลดความดนั จากระบบ
• ตรวจสอบช้นิ สวนทง้ั หมดของระบบเพอ่ื หาความผิดปรกติ
• ถา ไมพ บช้ินสว นทีผ่ ิดปกติหรอื เสยี รปู ในระบบ ผลการทดสอบจะเปนบวก

การทดสอบความแขง็ แรงดว ยแรงดนั - การทำใหเสร็จสมบูรณ

1. เตรยี มและดำเนินการซอม/บรกิ าร และงานสำหรบั การเรมิ่ ทดสอบระบบตอไป
2. กรอกขอ มลู ท่ีเก่ียวของในบันทกึ ของระบบ
3. กรอกแบบฟอรมซอ ม /บรกิ าร
4. ทำความสะอาดบริเวณทที่ ำงานและแจงแกเจาของ/ หัวหนางาน

9.5.3.2 การจดั ทำเอกสาร
ตรวจสอบใหแ นใจวาไดบนั ทกึ การเปลี่ยนแปลงของทานในรายงาน และสื่อสารการเปลี่ยนแปลง
น้ีกับผูปฏบิ ัตงิ าน ถา มีการเปลีย่ นแปลงมาก ตรวจสอบใหแนใจวา การทำเครือ่ งหมายนน้ั ยังคงเหมาะสมอยู

การจัดการใชสารทำความเยน็ ที่ตดิ ไฟไดอยางปลอดภยั 301

ภาคผนวก 9.1: เอกสารขอ มลู เรม่ิ ตน สำหรับเครอื่ งปรบั อากาศแบบแยก – บริการและงานซอม

Start Up Data Sheet for Split Air-Conditioner—Service and Repair

Installation Company
Address
Telephone & Fax
Technician Name
Registration No.
Client / Company
Contact Person

Installation / Appliance DATA

Model and No.

Date of Installation / Repair

Comments / Repair

Operating Data – Cooling Mode

Refrigerant Type R-290
Refrigerant Name Propane
Refrigerant charge in kg

Suction Pressure P1

Suction Temp. P1

Air Temp. entering condenser T3

Air Temp. leaving condenser T4

Air Temp. entering evaporator T1 Flammable Refrigerant

Air Temp. leaving evaporator T2

Performance Test: With appliance commissioning please operate the Split- Air conditioner with HIGH indoor fan speed in mode COOLING for a minimum of 15

Minutes. Measure air inlet (T1) and air outlet (T2) temperature at the indoor unit. The temperature difference should be at least 8 K.

Electrical Data

Power Supply (Voltage)

Overall Ampere Reading
Current draw Compressor

Other executions for system commissioning! Tick box for completion

Only use correct and reliable tools / equipment for system commissioning!

Functional AC system check including performance test!

Check the Ac system for refrigerant leakage!

Check that electrical connections are tight!

Check that condensate drain is tight and with down-grade!

Check insulation of refrigerant transfer tubes and quick-coupler!

Check free run of condenser and evaporator fans!

Check system operation (indoor/outdoor) on abnormal operational noise!

Clean system components including air filter (if indicated)

Check display of the remote controller!

Execute briefing of the AC system user!

Company signature and date: Client signature and date:

การจัดการใชสารทำความเยน็ ที่ติดไฟไดอยางปลอดภยั 302

ภาคผนวก 9.2: บนั ทกึ การทดสอบวงจรสารทำความเย็น

Refrigerant Circuit Test Record

Processing No: Date:

Klient: Company:

Address: Name:

Facility: Contact:

Refrigerant type: R Charge amount rated: kg Eval. filling degree

1 p eV1 Pressure at compressor inlet bar 2 t V1 Temperature of refrigerant at compressor °C
inlet (converted from pressure) °C
°C
3 p eV2 Pressure at compressor outlet bar 4 t V2 Temperature of refrigerant at compressor °C
outlet (converted from pressure) °C
bar
5 p eB1-2 Pressure at receiver B1 outlet bar 6 t B1-2 Temperature of sat. liquid refrigerant at °C
receiver outlet (converted from pressure) K

7 p e02 Pressure of saturated vapour refrigerant bar 8 t 02 Temperature of sat. vapour refrigerant at °C
at evaporator outlet evaporator outlet (converted from press.)
°C
9 t 02h Temperature of superheated vapour at °C 10 t E1u Temperature of subcooled liquid at °C
evaporator outlet throttling device inlet (TXV) °C
°C
11 Δt 02h Calculated superheat at evaporator K 12 Δp oil Pressure difference of oil = delivery °C
outlet Δt 02h = t 02h - t 02 (TXV superheat) pressure of oil-pump - crankcase oil °C
°C
13 t V1h Temperature of superheated refrigerant °C 14 t V2h Temperature of superheated refrigerant
vapour at compressor inlet vapour at compressor outlet

15 t oil Temperature of oil °C 16 Δt V1h Calculated superheated at compressor
inlet Δt v1h = tv1h - tv1
oil oil
17 Colour of oil within the compressor sight 18 Oil level within the compressor sight-
colour glass level glass

19 t amb1 Outside air temperature °C 20 t amb2 Machinery room temperature

21 t room Cooling position temperature °C 22 Room Condition of machinery room ventilation
ventil. system

23 t cL1/W1 Temerature of condenser air/water inlet °C 24 t cL2/W2 Temerature of condenser air/water outlet

25 t 0L1/K1 Temerature of evaporator air/water inlet °C 26 t 0L2/K2 Temerature of evaporator air/water
outlet

27 HP-G High pressure guard cut off temperature °C 28 PC Condenser fan pressure regulator cut off
temperature

29 HP-L High pressure limiter cut off temperature °C 30 PC Condenser fan pressure regulator cut on
temperature

31 HP-SL High pressure safety limiter cut off °C 32 TZ Frost protection termostat cut off
temperature temperatur

33 LP-G Low pressure guard cut off pressure bar 34 FZ Water flow protection switch cut of
temperature / check at p e01 > t 01
Hot-gas bypass activation tempreratur
35 LP-L Low pressure limiter cut off pressure bar 36 HGB check at p e02 > t 02

37 S Sight glass / > pimles > clear > … 38 S Sight-glass humidity indicator / > wet >
dry > marginal

39 F Filter-drier temperature pattern between K 40 F Filter drier signs of corrosion
inlet and outle

41 Vibr. Condition of vibration eliminator 42 Vibr. Condidion of compressor spring elements

43 Lines Condition of refrigerand transfer lines / 44 Cond. Condition of condensate tray and drain
suction, discharge, liquid, …

45 TXV Condition of expansion valve 46 Solen. Condition of solenoid valve

47 Insul. Condition of Insulation / suction-line, 48 Siffer Carry out leak check using an appropriate
injection line, liquid-line … gas sniffer

Observations and Findings:

การจดั การใชสารทำความเย็นท่ีตดิ ไฟไดอยา งปลอดภัย Technician Signature

303

Current Draw Record & Motor Insulation Resistance Test

Processing No: Date:

Klient: Company:

Address: Name:

Facility: Contact:

Rated

# Contactor Consumer load name Manufacturer and Type current L1 L2 L3 Overload Set point Circuit
designation @ protector breaker

Voltage

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

Motor Insulation Resistance Testing (corrected for temperature) according to IEEE43 at 500 VDC

TR is the reference temperature (°C) to which all measurtements are corrected > TR = 40 °C

TA is the actual test temperature / KT is the temperature correction factor at TA
Equation to determine TAIR below is > TAIR = MIR x KT

Date / Time Measured Insulation Temperature (°C) Temperature Adjusted Temperature
Resistance measured (TA) Insulation Resistance Compensation

Value / MIR (MΩ) Value / TAIR (MΩ) Factor (KT)

To determine the Technician Signature
Temperature
Compensation 304

Factor KT please
refer to the table to

the right! >>

การจัดการใชสารทำความเย็นท่ตี ดิ ไฟไดอยา งปลอดภัย


Click to View FlipBook Version