The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 62209010043, 2021-03-02 09:11:26

หน้าปก

หน้าปก

โครงงานวทิ ยาศาสตร์
เรื่อง ผลิตภณั ฑจ์ ากมนั เทศ

จดั ทาโดย

1. นางสาวเกศแกว้ วรรณพฒั น์

2. นางสาวชนาภา สิทธิมาตย์

3. นางสาวน้าทพิ ย์ มายนุ

4. นางสาวอรอมุ า ภาวงค์

5. นายวฒุ ิพร ศรีอุดม

ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี พุทธศกั ราช 2561
วทิ ยาลยั เทคนิคสว่างแดนดิน อาชีวศึกษาสกลนคร
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

โครงงานวทิ ยาศาสตร์
เรื่อง ผลิตภณั ฑจ์ ากมนั เทศ

จดั ทาโดย

1. นางสาวเกศแกว้ วรรณพฒั น์

2. นางสาวชนาภา สิทธิมาตย์

3. นางสาวน้าทพิ ย์ มายนุ

4. นางสาวอรอมุ า ภาวงค์

5. นายวฒุ ิพร ศรีอุดม

ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี พุทธศกั ราช 2561
วทิ ยาลยั เทคนิคสว่างแดนดิน อาชีวศึกษาสกลนคร
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

บทคดั ยอ่

โครงงานเรื่อง “ผลติ ภัณฑ์จากมันเทศ” ผลิตภณั ฑจ์ ากมนั เทศนี้ มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือนาเน้ือหาความรู้
ทางด้านประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนินชีวิตในปจั จุบนั โดยการศกึ ษาเก่ียวกับมันเทศ ทั้งนก้ี ็เพื่อใหไ้ ด้ ผลิตภณั ฑร์ ปู แบบ
ใหมๆ่ เชน่ การทามนั ทอด ท่ีเกิดจากวัฒนธรรมความเป็นอยู่ ทีใ่ ห้พลังงานแก่ร่างกายแทนอาหาร จาพวกข้าว และ
ยงั สามารถพฒั นาเปน็ อาชพี ได้อีกดว้ ย เพื่อการศึกษา และภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ท่ีอยู่ในชวี ิตประจาวนั

ความร้ทู ี่ใชใ้ นการทาผลติ ภณั ฑ์จากมนั เทศในครงั้ นี้ คณะผูจ้ ดั ทาไดน้ าความรู้ทางด้านการงานและ
คอมพวิ เตอร์ จากการศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง และสอบถามผทู้ ีท่ าอาชพี เกย่ี วกับการแปรรูปมันเทศ ผลทไ่ี ด้จาก
การศกึ ษาและทาโครงงานในคร้งั น้ี คอื ได้ผลิตภณั ฑ์จากมนั เทศ ซงึ่ เปน็ ผลติ ภณั ฑ์มันทอด ที่สามารถนามา
รบั ประทาน และเพม่ิ มูลคา่ ของมันเทศ ในการแปรรปู มันเทศใหอ้ ยใู่ นรปู มันทอด

กติ ตกิ รรมประกาศ

โครงงานนี้ สาเร็จลุล่วงดว้ ยความกรุณาจาก คณุ ครจู ฬุ ารัฐ โมเ้ ปาะ ครทู ี่ปรกึ ษาโครงงาน ทไ่ี ดใ้ ห้คาเสนอแนะ แนวคดิ
ตลอดจนแกไ้ ขขอ้ บกพร่องตา่ งๆ มาโดยตลอด จนโครงงานจนโครงงานเลม่ นีเ้ สร็จสมบูรณ์ ผู้ศึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็น
อยา่ งสงู

ขอบคุณแม่แดง ทใ่ี หค้ าปรึกษาเก่ียวกับการทามันเทศทอด จนกลายมาเปน็ ผลติ ภณั ฑ์จากมันเทศ ในโครงงาน
วิทยาศาสตร์

ขอกราบขอบพระคณุ พอ่ คุณแม่ และผปู้ กครองท่ีให้คาปรึกษาตา่ งๆ เปน็ กาลังทรัพย์ส่วนใหญใ่ นการจดั ทาโครงงาน
และเปน็ กาลงั ใจทดี่ ีเสมอมา

ขอบคุณเพื่อนๆ ท่คี อยศึกษาคน้ ควา้ เกยี่ วกับมนั เทศ ลองผิดลองถกู จนในที่สดุ กไ็ ด้ผลติ ภณั ฑจ์ ากมนั เทศ และโครงงานก็
สาเร็จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี

สดุ ท้ายขอขอบใจเพอ่ื นๆ ช้ันประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปีที่ 2 ทไ่ี ด้ให้ความร่วมมือในการทาแบบสอบถามความพงึ พอใจ
เรื่องผลติ ภณั ฑจ์ ากมันเทศ จนโครงงานสาเร็จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี

สารบญั

เรอ่ื ง หนา้
บทคดั ย่อ ก
กติ ตกิ รรมประกาศ ข
สารบญั ค
สารบัญตาราง ง
บทที่ 1 1
1.1 ท่ีมาและความสาคัญของโครงงาน 1
1.2 จดุ มุ่งหมายของการศกึ ษาค้นคว้า 1
1.3 สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า 2
1.4 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 2

บทที่ 2 3
2.1 ความสาคญั ของมนั เทศ 3
2.2 ขอ้ มูลเก่ียวกับมันเทศ 4
2.3 แนวคิดและทฤษฎที ่ีเกี่ยวกบั พฤตกิ รรมของผู้บรโิ ภค 5
2.4 ผบู้ รโิ ภคจะมีกระบวนการในการตดั สินใจซ้ือ 8
2.5 จดุ เรมิ่ ตน้ จากการเกิดสิ่งกระตนุ้
10
2.6 งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
11
บทที่ 3 11
14
3.1 การศึกษาขอ้ มูล
3.2 ขน้ั ตอนการทาผลิตภัณฑ์จาก มนั เทศ 16
3.3 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 17

บทท่ี 4

4.1 การคน้ คว้าสตู รของผลติ ภณั ฑ์จากมันเทศ
4.2 ผลการศึกษาค้นควา้ เกี่ยวกบั ผลิตภัณฑ์จากมนั เทศ

บทที่ 5 18
5.1 สรุปผลการศกึ ษา 18
5.2 ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั
5.3 ขอ้ เสนอแนะ 19
บรรณานกุ รม 20
ภาคผนวก

สารบญั ตาราง หนา้

ตาราง
ตารางท่ี 4.1 การคน้ ควา้ สตู รของผลติ ภัณฑ์จากมันเทศ
ตารางท่ี 4.2 ระดับความพึงพอใจทไี ด้จากการทดลองการชมิ ผลิตภัณฑ์จากมันเทศ 50 คน

บทที่ 1

บทนา

1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน

มนั เทศเป็นพืชท่ีใช้น้านอ้ ยอายสุ ั้นสามารถปลกู ในฤดแู ล้งไดเ้ กษตรกรจึงนยิ มนามาปลกู สลบั กบั พชื อื่นๆ มันเทศทนี่ ิยม
ปลกู ในประเทศไทยมีหลายพันธ์ุ เช่นสีขาว สีเหลือง สีสม้ และสีมว่ งมนั เทศเป็นแหลง่ คารโ์ บไฮเดรตอีกทง้ั ยงั เป็นแหล่งของ
วิตามนิ เกลือแรแ่ ละเสน้ ใยอาหารทม่ี รี าคาถกู จึงมีการใชป้ ระโยชน์จากมนั เทศอย่างกว้างขวาง ทัง้ การบรโิ ภคและการแปรรูปเป็น
ผลติ ภัณฑ์อาหารชนิดตา่ งๆ เชน่ กว๋ ยเต๋ียวเฟรนฟรายด์ ผลิตภัณฑ์ขนมอบ เปน็ ต้น อกี ทง้ั ยังเปน็ วัตถุดิบหลกั ในการสกัดแป้งและ
สตาร์ช การผลิตสารใหค้ วามหวาน การหมกั แอลกอฮอล์ เปน็ ต้น นอกจากนี้มนั เทศ ยงั เป็นแหล่งของสารพฤกษเคมีที่สาคัญ
หลายชนิด โดยมีกลมุ่ ของสารอาหารที่จะพบมีความแตกตา่ งกนั ไปตามสีของเนือ้ มนั เทศส่งผลให้มันเทศเนอื้ สกี ลายเป็น แหลง่
อาหารสุขภาพที่สาคญั และไดร้ บั ความสนใจเปน็ อยา่ งยิง่ พบการปลกู มันเทศในหลายพืน้ ที่ทัว่ ทกุ ภาคของประเทศไทย ในพชื ที่
จงั หวดั สระแก้วมีการปลกู มันเทศ ในหลายอาเภอ เชน่ อาเภออรัญประเทศ อาเภอคลองหาดไหน อาเภอนานคร เปน็ ตน้ ปัญหา
ซ้าซ้อนของเกษตรผ้ปู ลกู มนั เทศคือชว่ งเวลาทมี่ ีการผลิตออกมามากราคาผลผลติ จะตกตา่ ไมค่ มุ้ คา่ ต่อการลงทุนและราคาขายไม่
เพียงพอตอ่ การจนจะครอบครวั ของเกษตรกรอีกทง้ั การใช้ประโยชนจ์ ากมันเทศยังคงอย่ใู นระดบั ตา่ เม่ือเทยี บกับผลติ ผลท้งั หมดที่
ผลิตไดก้ ารแปรรปู มนั เทศจงึ เปน็ ทางเลือกหนึง่ ที่ช่วยแกป้ ญั หาของผลติ ผลผลิตล้นตลาดในระยะยาวได้

การพัฒนาผลิตภณั ฑอ์ าหารกลางวันทีใ่ ห้เป็นอาหารเพือ่ สุขภาพ โดยการพัฒนาศูนยใ์ ห้ลักษณะเน้อื สมั ผัส รสชาติ แต่
ลกั ษณะการปรากฏของผลิตภัณฑ์ให้มีลกั ษณะเฉพาะที่โดดเด่นเปน็ เอกลกั ษณ์ องค์ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์การอาหาร ใหช้ ว่ ยใน
การพฒั นาผลิตภัณฑ์อาหารท่หี ลากหลาย มีประโยชน์ต่อสขุ ภาพและอุดมไปดว้ ยคณุ คา่ ทางโภชนาการ ศักยภาพแขง่ ขนั ทางการ
ตลาด เปน็ การเพิม่ มลู ค่าและยกระดบั สินค้าให้มีคุณภาพสูงระดับอตุ สาหกรรมในอนาคต เพื่อขบั เคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากรว่ มกบั
ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม โดยเน้นการถา่ ยทอดมวยแพรค่ วามรเู้ ทคโนโลยีฐานรากจากผลงานวจิ ัยสชู่ มุ ชน ค่าส่งเสริมการ
เพ่มิ ผลผลติ สารความรู้ และสรา้ งสรรค์สังคมทมี่ สี ่วนรว่ มจากทุกภาคส่วนในการแกไ้ ขปัญหา พฒั นาความเขม้ แข็งของชุมชนและ
ท้องถ่นิ อยา่ งระบบ สร้างอาชีพเสริม ช่องทีเ่ ว้นวา่ งจากการเพาะปลกู การใช้ทรัพยากรในทอ้ งถน่ิ ให้เกิดประโยชนอ์ ย่างคุม้
ค่าสูงสดุ ทงั้ ยังเป็นการสร้างผลิตภัณฑท์ อ้ งถิ่นท่เี ป็นเอกลกั ษณ์สร้างรายได้ นอกจากนย้ี งั เปน็ การดาเนนิ งานประชาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง พาตนเองอย่างยง่ั ยนื แก่ชมุ ชนฐานรากอย่างแท้จรงิ และยังสามารถนาไปขยายผลเปน็ โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ต่อเนือ่ งได้ในอนาคตเพ่อื สร้างผลติ ภัณฑ์ใหม่ มีความหลากหลาย ส่งเสริมให้เปน็ ผลิตภัณฑต์ วั อยา่ งเพื่อเสริมสรา้ งรายไดใ้ หแ้ ก่
ชมุ ชน และอาจมีการวจิ ยั เก่ยี วกับการตลาดที่สามารถรองรบั ผลผลิตแปรรูปอย่างต่อเน่อื ง เพอ่ื ให้รายไดอ้ ย่างสมา่ เสมอภาคการ
ผลติ จากฐานราก
1.2 จดุ มุ่งหมายของการศึกษาค้นควา้

1.2.1 เพ่อื ศกึ ษาเกยี่ วกับแปรรูปจากพืชไร่

1.2.2 เพือ่ หารายไดใ้ หก้ ับตนเองและครอบครวั

1.2.3 เพือ่ สร้างรายไดใ้ ห้คนในชุมชน

1.3 สมมตฐิ านของการศึกษาคน้ ควา้

ศกึ ษาการแปรรูปอาหาร ของมันเทศ

1.4 ขอบเขตของการศึกษาคน้ ควา้
1.4.1 ขอบเขตดา้ นเนอื้ หา
โครงงานวิทยาศาสตร์เรอื่ งนี้ เปน็ การศกึ ษาเกย่ี วกับการแปรรปู อาหารใหม้ มี ูลค่าเพิ่ม ท่ีสามารถสร้างรายไดใ้ หก้ บั

ครอบครวั และคนในชุมชน
1.4.2 ขอบเขตดา้ นประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
ประชากรทใ่ี ช้ในการทดลอง คนในอาเภอสอ่ งดาวและอาเภอสว่างแดนดิน และในวิทยาลัยเทคนคิ สว่างแดนดิน จานวน

50 คน ชาย 20 คน หญิง 30 คน
1.4.3 ขอบเขตด้านเวลา
ระยะเวลาในการศึกษา เริ่มต้งั แต่ 11 พฤศจิกายน 2563 ถึง 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

1.5 ตวั แปรทีศ่ กึ ษา
ตัวแปรตน้ การศึกษาเกย่ี วกบั การแปรรปู ของมันเทศ
ตัวแปรตาม ความกรอบ ความอรอ่ ยของมนั เทศ
ตวั แปรควบคมุ มนั เทศ

1.6 นิยามเชงิ ปฏิบตั กิ าร
ผลติ ภัณฑ์ หมายถึง สิง่ ที่มรี ปู รา่ งหรือมคี ณุ สมบตั ิทางกายภาพสามารถจบั ต้องได้หรอื คือสง่ิ ทมี่ นษุ ย์ผลติ ขน้ึ
มันเทศ หมายถึง เปน็ พืชหัวเกรยี น ใตด้ นิ เผาเล้ือยราบไปบนพน้ื ดนิ ปลูกเปน็ พืชไร่ มีเนอ้ื สีหลายสีตามสายพนั ธ์ุ ใช้

ประโยชน์ได้ทกุ สว่ น

ทอดกรอบ หมายถงึ การทาอาหารให้สกุ โดยใช้นา้ มนั พืชหรอื ไขมนั สัตวเ์ ปน็ ตวั กลางแลกเปลย่ี นความร้อน ปกติใช้การ
ทอดโดยใช้นา้ มันนอ้ ย เป็นการทอดโดยการใชน้ ้ามันหรอื ไขมันปรมิ าณมากหรือนอ้ ยก็ได้

บทที่ 2

เอกสารและงานโครงทเี่ กีย่ วข้อง

ในการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ มีผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารจากเวบ็ ไซตต์ า่ งๆทเ่ี กี่ยวข้องดังต่อไปนี้
2.1 ความสาคญั ของมันเทศ
2.2 ข้อมลู เกีย่ วกับมนั เทศ
2.3 แนวคิดและทฤษฎีท่เี กีย่ วกบั พฤตกิ รรมของผู้บรโิ ภค
2.4 ผูบ้ รโิ ภคจะมกี ระบวนการในการตดั สินใจซอ้ื
2.5 จุดเริม่ ต้นจากการเกิดส่งิ กระตนุ้

2.6 งานวิจยั ท่เี กยี่ วข้อง

2.1ความสาคัญของมนั เทศ

มนั เทศเป็นพชื อาหารทม่ี คี วามสาคญั อนั ดบั ที่ 5 ของโลกลองจากขา้ วสาลี ข้าวเจา้ ข้าวโพด และมันฝรง่ั ในประเทศไทย
เรามักจะปลูกมนั เทศกนั ท่วั ๆไป
นอกจากเป็นอาหารของมนษุ ย์แลว้ มันเทศยังใชเ้ ป็นอาหารสาหรับสัตวไ์ ด้อีกดว้ ย เชน่ เปน็ อาหารหมู อาหารววั และอาหารแพะ
เปน็ ตน้
มันเทศใช้เปน็ อาหารสัตวไ์ ดท้ ั้งหวั เขา่ และใบทั้งยังเปน็ วตั ถุดบิ ของอุตสาหกรรมได้หลายอยา่ ง เช่น ใช้ทาแปง้ ทาแอลกอฮอล์
และน้าส้ม

2.2 ขอ้ มลู เกย่ี วกับมันเทศ

มนั เทศมาเป็นพืชท่ีเหมาะกบั ดนิ ฟา้ อากาศของประเทศไทยอย่างยง่ิ เพราะสามารถเจรญิ เติบโตได้ดี และใหผ้ ลผลิตของ
หวั ค่อนข้างสูง
มนั เทศปลูกได้ปีละ 2 คร้งั คอื ในฤดูฝนตง้ั แต่กลางเดือนพฤษภาคมถงึ กลางเดอื นมิถนุ ายน และอกี คร้ังหนึ่งหลังฤดฝู น คือ ในราว
เดือนกันยายน ถึงพฤศจกิ ายน การปลกู มนั เทศก็เร่มิ จากการเตรียมดินไถและทวน 2-3 ครงั้ เสร็จแล้วยกร่องห่างกันประมาณ 1
เมตร ความสงู ของร่องประมาณ 50 เซนตเิ มตร แล้วตัดเถามันเทศยาวประมาณ 50 เซนตเิ มตร จากน้นั พรวนดนิ และกาจัดวัชพชื
ถ้าไมไ่ ดป้ ลกู ในฤดูฝนกต็ อ้ งคอยรดนา้ มันเทศจะทยอยงอกงาม เมื่อคอยตอ่ ไป 90 ถึง 150 วัน หัวมันเทศก็จะแกแ่ ละขุดได้

(รปู ภาพที่ 1 2.2 ขอ้ มลู เกี่ยวมันมนั เทศ)

2.3 แนวคิดและทฤษฎีท่ีเกี่ยวกับพฤติกรรมของผบู้ ริโภค

การศึกษาพฤตกิ รรมของผ้บู ริโภค ทาให้สามารถสรา้ งกลยุทธ์ทางการตลาดทส่ี รา้ งความพึงพอใจให้แกผ่ ้บู ริโภคและ
ความสามารถในการค้นหาทางแกไ้ ข พฤติกรรมในการตดั สินใจซื้อสินค้าของผบู้ ริโภคในสังคมไดถ้ ูกต้องและสอดคล้องกับ
ความสามารถในการตอบสนองของธุรกจิ มากยิง่ ขน้ึ ทสี่ าคัญจะชว่ ยในการพัฒนาตลาดและพฒั นาผลิตภัณฑ์ให้ดีข้นึ ในตลาด
ปจั จบุ ันถือว่าผูบ้ ริโภคเป็นใหญ่ และมคี วามสาคัญทีส่ ดุ ของธรุ กิจ จึงจาเปน็ อย่างย่งิ ท่ผี บู้ ริหารการตลาด จะต้องศกึ ษากลมุ่
ผูบ้ ริโภคให้ละเอียดถึงสาเหตขุ องการซือ้ เปลย่ี นแปลงการซ้อื การตัดสินใจซือ้ ฯลฯ จะชว่ ยให้ผู้บรหิ ารทายใจหรอื ดาวใจกลุม่
ผูบ้ ริโภคของกิจการไดถ้ ูกต้องวา่ กลมุ่ ผู้บรโิ ภคเหล่านัน้ ตอ้ งการอะไรมีพฤติกรรมการซอ้ื อย่างไร แรงจงู ใจในการซอ้ื เกดิ จากอะไร
แหลง่ ข้อมูลท่ีผู้บรโิ ภคนามาจากสินใจซื้อคืออะไร รวมทงั้ กระบวนการตดั สินใจซ้ือข้อมูลต่างๆ การวางแผนทางการตลาด ซึง่ จะ
ขอเก่าเปน็ ตอน ดังน้ี

พฤตกิ รรมผ้บู ริโภคหมายถึง พฤติกรรมท่ีผูบ้ ริโภคทาการคน้ หา การคิด การซอื้ การใช้ การประเมนิ ผลในสนิ ค้า และ
บริการ ซ่งึ คาดวา่ จะตอบสนองความต้องการของเขา คือเปน็ ขน้ั ตอนที่เกย่ี วกบั ความคิด ประสบการณ์ การซอื้ ใช้สินคา้ และ
บริการผู้บรโิ ภค เพ่อื ตอบสนองความต้องการและความพงึ พอใจของเขาหรอื หมายถึง การศกึ ษาพฤตกิ รรม การตดั สินใจและการ
กระทาของผบู้ รโิ ภคท่ีเกยี่ วข้องกบั การซือ้ และการใชส้ นิ ค้า (ศริ วิ รรณ เสรีรัตนแ์ ละคณะ, 2546, หนา้ 192)

พฤติกรรมผูบ้ ริโภคหมายถึง ปฏกิ ริ ิยาของบุคคลท่เี กย่ี วขอ้ งโดยตรงกบั การไดร้ บั และการให้สินคา้ และบรกิ ารทาง
เศรษฐกิจ รวมถงึ กระบวนการตดั สนิ ใจซ่ึงเกิดก่อน และ เปน็ ตวั กาหนดปฏกิ ริ ิยาตา่ งๆเหล่าน้นั (อดุลย์ จาตุรงคกลุ )

พฤติกรรมผบู้ ริโภคหมายถงึ ศกึ ษาหนว่ ยการซอื้ กระบวนการแลกเปลี่ยนทเ่ี กย่ี วข้องกับการไดม้ า การบริการ แลว้ จากัด
อันเก่ียวกับสินค้าบริการ ประสบการณแ์ ละความคดิ (ดารา ทพ่ี กั ปราณ, 2542 : 3)

2.3.1 ตลาดเปา้ หมาย ได้แก่ กลุ่มวัยรนุ่ นกั เรยี น นักศึกษา

2.3.2 สงิ่ ทผี่ ้บู รโิ ภคตอ้ งการซือ้ ได้แก่ ของกนิ ที่หอม กรอบ อร่อย

2.3.3 ทาไมผบู้ รโิ ภคถงึ จึงซอ้ื ได้แก่ หิว

2.3.4 ใครมีสว่ นรว่ มในการตดั สนิ ใจซื้อ ไดแ้ ก่ เพือ่ น คนรอบขา้ ง ทีเ่ คยทาน

2.3.5 ผู้บริโภคซ้ือท่ีไหน ได้แก่ ตามวนั งานท่ีเกดิ ข้ึน ตามสถานที่ตา่ งๆ

2.3.6 ผู้บรโิ ภคซอ้ื อย่างไร ไดแ้ ก่ จะประกอบไปด้วย ขนั้ ตอนในการตดั สินใจซอื้ และการประเมินผลทางเลอื ก เช่น เพอ่ื น
บอกว่า โดจิน เรอื่ งนี้ นา่ สนใจมาก หรือผซู้ ้อื ได้ติดตามผลติ ภณั ฑจ์ ากมนั เทศอยูแ่ ล้ว

2.3.7 ประโยชนของการศึกษาเกี่ยวกบั พฤติกรรมของผูบ้ ริโภค
นักการตลาดจะไดป้ ระโยชนจ์ ากการศกึ ษาขัน้ ตอนของกระบวนการตัดสินใจของผ้ซู อ้ื วา่ จะซ้อื สนิ คา้ หรือไม่
เพื่อทีจ่ ะพจิ ารณาดูว่าในแต่ละขน้ั ตอนของกระบวนการตดั สติ ใจของผบู้ รโิ ภคน้ัน นักการตลาดจะสามารถ
จัดส่วนประสมทางการตลาดใหเ้ ขา้ ไปมีอทิ ธพิ ลต่อการตัดสินใจของผู้บรโิ ภคไดอ้ ยา่ งไรบ้าง

2.4 ผบู้ รโิ ภคจะมีกระบวนการในการตดั สินใจซ้ือ 5 ขน้ั ตอน ได้แก่ ความตอ้ งการไดร้ ับการกระตุ้นหรอื การ
รับรถู้ งึ ความต้องการ (Need arousal or Problem recognition)
การแสวงหาขอ้ มูล (Information search)
การประเมินทางเลอื ก (Evaluation of alternatives)
การตัดสินใจซ้ือ (Purchase decision)
และพฤตกิ รรมหลังการซือ้ (Postpurchase behavior) ดังรายละเอียดของแต่ละขน้ั ตอนต่อไปนี้

2.4.1.1. ความตอ้ งการได้รบั การกระตุ้นหรือการรบั รถู้ งึ ความต้องการ (Need arousal or Problem recogni-
tion)

จุดเรม่ิ ต้นของกระบวนการซอื้ คอื การท่ีผู้บริโภคตระหนกั ถงึ ปญั หาหรือถูกกระต้นุ ใหเ้ กิดความต้องการ สง่ิ กระตุ้น
ความตอ้ งการของผ้บู ริโภคอาจเป็นสิ่งกระตนุ้ ภายในร่างกายหรือนกั การตลาดอาจสรา้ งสิ่งกระตนุ้ ทางการตลาด
เพื่อกระตุ้นใหผ้ ู้บริโภคเกดิ ความต้องการขนึ้ ได้ นกั การตลาดจะต้องรูถ้ งึ การใชต้ ัวกระต้นุ ใหเ้ กดิ ความต้องการ
ในบางครั้งความต้องการได้รบั การกระตนุ้ และคงอยู่เปน็ เวลานาน แต่ความตอ้ งการนน้ั ยังไมถ่ ึงระดบั ทจี่ ะทาให้
เกิดการกระทา เช่น นักการตลาดอาจกระตุ้นให้ผู้บรโิ ภคซ้ือเสอ้ื ผ้าใหม่ ๆ โดยการออกแบบหรอื เสนอแฟชัน่ ใหมๆ่
สาหรบั ผู้นิยมแต่งกายตามแฟชนั่ หรือการท่ีต้องมีการโฆษณาสินคา้ ซา้ ๆ รว่ มกบั การลดแลกแจกแถมเพ่ือกระต้นุ
ความตอ้ งการของผู้บริโภคท่ตี ้องการความประหยดั ดังนั้นนกั การตลาดอาจจะต้องทาการวิจัยเพือ่ ให้ทราบ
ถึงความตอ้ งการหรอื ปัญหาของผู้บริโภคทีจ่ ะนาไปสกู่ ารซ้อื ผลิตภัณฑ์ของตน เช่น การนาเสนอรถยนต์ขนาดเล็ก

ทีเ่ หมาะสาหรับการขับขี่ในเมืองทมี่ ีปญั หาด้านท่ีจอดรถ เปน็ ตน้

2.4.2. การแสวงหาขอ้ มูล (Information search)

เม่อื ผบู้ รโิ ภคเกดิ ความต้องการแลวจะมกี ารแสวงหาข้อมูลเก่ยี วกับคุณลักษณะท่ีสาคัญเกี่ยวกบั ประเภทสินค้า
ราคาสินค้า สถานท่จี าหนา่ ย และขอ้ เสนอพิเศษต่าง ๆ เกี่ยวกับสนิ คา้ ทต่ี อ้ งการหลาย ๆ ยี่ห้อ นกั การตลาดควรจะ
สนใจถึงแหล่งขอ้ มูลตา่ ง ๆ ที่ผูบ้ รโิ ภคจะหาข้อมูลตา่ ง ๆ และอทิ ธิพลของแหล่งขอ้ มูลที่จะมตี ่อการตดั สนิ ใจซ้อื
ของผู้บรโิ ภค แหลง่ ขอ้ มลู ของผู้บรโิ ภคแบ่งไดเ้ ปน็ 4 กลมุ่ ได้แก่

- แหลง่ บคุ คล (Personal Sources) ไดแ้ ก่ เพ่ือนสนทิ ครอบครวั เพ่ือนบา้ น และผ้ใู กล้ชิด ซึง่ แหลง่ บคุ คลนี้
จะเป็นแหลง่ ข้อมลู ที่มีอิทธพิ ลตอ่ ผูบ้ รโิ ภคมากทีส่ ดุ
- แหลง่ การคา้ (Commercial Sources) ไดแ้ ก่ โฆษณาตา่ ง ๆ และพนกั งานของบริษทั
- แหล่งสาธารณะ (Public Sources) ไดแ้ ก่ สอ่ื มวลชนต่าง ๆ
- แหล่งทดลอง (Experimental Sources) ไดแ้ ก่ ผู้ท่ีเคยทดลองใช้สินค้านน้ั ๆ แลว้

นักการตลาดควรจะทราบว่าความสาคญั ของแหลง่ ขอ้ มูลจะแตกตา่ งกนั ไปตามชนดิ ของสินค้าและลกั ษณะ
ของผ้ซู ้อื พบวา่ โดยสว่ นมากผู้บรโิ ภคจะไดร้ ับข้อมลู เกยี่ วกับสนิ คา้ ประเภทสบู่ ยาสีฟนั จากโฆษณาต่าง ๆ แต่ใน
การซอ้ื รถยนต์ผบู้ ริโภคมกั จะหาขอ้ มูลจากการสอบถามผู้ที่เคยใช้ ดังนนั้ จงึ ควรจะทาการศกึ ษาว่าในสินค้า
ประเภทที่ตนขายน้นั ผบู้ รโิ ภคมีการหาขอ้ มลู จากแหล่งใดบา้ ง เพ่อื จะได้ใช้กาหนดในดา้ นแผนการตดิ ต่อสื่อสาร
กับผบู้ รโิ ภคตอ่ ไป

2.4.3. การประเมนิ ทางเลอื ก (Evaluation of alternatives)

เมอื่ ผบู้ ริโภคไดร้ ับข้อมูลขา่ วสารก็จะนามาใชใ้ ห้เป็นประโยชน์ในการเลอื ก โดยจะมกี ารกาหนดความตอ้ งการ
ของตนเองข้นึ พิจารณาลกั ษณะต่าง ๆ ของผลิตภัณฑ์ตรายีห่ ้อต่าง ๆ ท่ไี ด้รับขอ้ มูลมาทาการเปรียบเทยี บข้อดี
ข้อเสยี ของแต่ละยีห่ ้อ และเปรียบเทียบกับคุณสมบัติของผลติ ภัณฑ์ท่ตี นต้งั ไว้ โดยจะมเี รือ่ งของความเช่อื ความเชื่อ
ต่อตรายห่ี อ้ และเรื่องของทศั นคติตา่ ง ๆ เข้ามาเก่ียวขอ้ งดว้ ยก่อนทีจ่ ะตัดสนิ ใจเลอื กตรายหี่ ้อท่ีตรงกับความต้องการ
มากทีส่ ุด

2.4.4. การตดั สินใจซือ้ (Purchase decision)

เมอ่ื ผ่านข้ันของการประเมนิ ทางเลอื กตา่ ง ๆ แลว้ ผูบ้ รโิ ภคจะไดส้ นิ คา้ ตรายี่ห้อท่ีตรงกับความต้องการของตนเอง
มากทส่ี ดุ ทีต่ งั้ ใจจะซ้อื น่ันคือผูบ้ รโิ ภคจะเกดิ ความตัง้ ใจทีจ่ ะซอ้ื (Purchase Intention) ขึ้น แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามเมอ่ื ถงึ

เวลาท่ีจะทาการซือ้ จริง ๆ อาจมปี ัจจยั อ่ืน ๆ เข้ามามผี ลกระทบต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บรโิ ภคได้อีก ไดแ้ ก่ ปจั จยั
ทางด้านสังคม (Social factors) เช่น การที่นางสาวสดุ สวยชอบรถญปี่ ุ่นรนุ่ ขนาดเล็กประหยัดน้ามันและสะดวก
ในการจอด แต่ลกู นอ้ งในท่ีทางานท่ีซ้ือรถใหม่มีแต่คนใชร้ ถยุโรปแบบหรูหรา ราคาแพง อาจมีผลทาให้นางสาว
สุดสวยลังเลไม่กล้าซือ้ หรอื เปล่ียนใจไปซ้ือย่หี ้ออ่ืน เพราะเกิดความรู้สกึ ถึงความเส่ยี งว่าไม่เป็นท่ยี อมรับของคน
ในสงั คม และยังเกีย่ วข้องกับปัจจัยด้านสถานการณท์ เ่ี กย่ี วข้องกบั การซื้อ (Anticipated Situation Factors) เช่น
ในช่วงเวลาที่ตัดสินใจแลว้ ไปจนถงึ ช่วงเวลาท่ีจะซื้อจริงอาจเกดิ เหตุการณเ์ ปลีย่ นแปลงตา่ ง ๆ ขน้ึ ได้แก่ภาวะ
เศรษฐกิจตกต่า ผู้ซื้อตกงาน มีผเู้ คยใช้มาบอกวา่ สินคา้ ยหี่ อ้ นน้ั ๆ ไมด่ ี เป็นต้น ซึง่ จะมีผลทาให้ผู้บริโภคเกดิ ความ
ลงั เลใจในการซ้ือ ท้งั ๆ ทมี่ ีความต้ังใจซื้อแลว้ ดังนนั้ นักการตลาดไมอ่ าจจะเช่อื ถอื ไดเ้ ต็มหนึ่งรอ้ ยเปอร์เซน็ ต์วา่ การ
ทีผ่ ู้บริโภคมีความตง้ั ใจทจ่ี ะซอ้ื สนิ ค้าของเราแล้วจะตอ้ งมีการซ้ือเกดิ ขนึ้ จรงิ ๆ เพราะผบู้ ริโภคมักจะเกิดการรับรู้ถงึ
ความเส่ียง (Risk Perception) เกิดขน้ึ ซึง่ ผู้บริโภคมักจะทาการลดความเสียงใหก้ บั ตวั เองโดยการสอบถามจาก
ผทู้ ี่เคยใชห้ รอื เลือกซอื้ ยห่ี อ้ ทม่ี กี ารรับประกนั หรอื เลอื กเฉพาะยห่ี อ้ ท่ีมคี นใช้กันมากๆ(ไวใ้ จได)้ ดงั นัน้ นกั การตลาด
จะต้องพยายามใหผ้ บู้ รโิ ภคได้รับทราบขอ้ มูลตา่ ง ๆ เกย่ี วกับสนิ คา้ ให้ความชว่ ยเหลือแนะนาในการซอ้ื และมกี าร
รับประกันการซื้อครงั้ นน้ั ๆ เป็นต้น เพ่อื ชว่ ยให้ผบู้ รโิ ภคคลายความรู้สกึ เสี่ยงลงและตัดสินใจซอื้ ไดง้ ่ายข้นึ
5. พฤตกิ รรมหลงั การซื้อ (Postpurchase behavior)
ในปจั จบุ ันนักการตลาดไมไ่ ดส้ นใจเพราะการซอื้ ของผู้บริโภคยงั สนใจต่อไปถึงพฤตกิ รรมและความรู้สกึ หลงั การซือ้
ของผูบ้ ริโภคอกี ดว้ ย เน่ืองจากหากผบู้ รโิ ภคซื้อสนิ ค้าไปใชแ้ ล้วเกิดความพงึ พอใจในตัวสนิ ค้ากจ็ ะมกี ารซ้ือซ้าอีก
ในคราวต่อไป แต่ในทางตรงข้าม หากใช้แลว้ ไมพ่ อใจผบู้ รโิ ภคจะเกิดทศั นคตทิ ่ีไม่ดตี ่อตัวสินค้าและเลกิ ใชใ้ นที่สุด ดังนน้ั นกั การ
ตลาดจะต้องคอยตดิ ตามความรู้สกึ ของผู้บริโภคท่ีมีตอ่ สว่ นประสมทางการตลาดดา้ นต่าง ๆ เพอ่ื จะได้นามาปรับปรุงแก้ไขให้
เหมาะสมตอ่ ไป

การตดั สินใจซอื้ ของผู้บริโภคมีความสาคัญต่อความพอใจของผู้บรโิ ภคทไี่ ด้รบั มาก รอการตัดสินใจแต่ละครั้งทเ่ี กดิ ขึ้นจะ
หมายถงึ การยอมรับในร้านใดร้านหนึ่ง ตราสินคา้ ได้สนิ ค้าหน่งึ โดยเฉพาะ ฉะนนั้ การตดั สินใจซือ้ ของผู้บรโิ ภคท่ีมีประสิทธภิ าพจึง
หัวใจสาคัญของพฤติกรรมผ้บู รโิ ภค ด้วยเหตุนี้การตัดสนิ ใจของผู้บริโภคจงึ ปรากฏอย่ตู รงกลางแบบจาลอง ปัจจัยฐานบคุ คล
ทง้ั หมด อนั ได้แก่ ความตอ้ งการ แรงจงู ใจ บุคลิกภาพ จะนามาใช้พจิ ารณารว่ มกัน เพ่อื ใหก้ ารเลือกซ้อื เกิดขึ้นในตลาด และ
อิทธพิ ลของสงิ่ แวดลอ้ มภายนอกผ้บู ริโภคก็จะนามาใช้พจิ ารณาและใช้ประโยชนด์ ว้ ยเชน่ กัน จากข้อมูลความเป็นมาของ
พฤติกรรมผู้บริโภคท่ไี ด้กลา่ วมาแล้วเราก็สามารถเริ่มศึกษาถงึ รายละเอยี ดของกระบวนการตดั สินใจของผ้บู ริโภคไดอ้ ันจะทาให้
เราเห็นและเขา้ ใจถึงพฤติกรรมซื้อหรือไม่ซอื้ ของผบู้ รโิ ภควา่ เกิดขึ้นไดอ้ ย่างไร ฉะนั้นในบทเรียนนี้จงึ เป็นเร่ืองต่างๆท่วี า่ ดว้ ยการ
ตัดสินใจของผู้บรโิ ภค ในกระบวนการตัดสนิ ใจของผูบ้ รโิ ภค

โมเดลพฤติกรรมผบู้ รโิ ภค
ในการศึกษาถึงตลาดผู้บรโิ ภคน้นั จาเป็นอย่างยิง่ ทน่ี ักการตลาดจะตอ้ งทาความเข้าใจถงึ พฤตกิ รรมต่างๆ ของ

ผ้บู รโิ ภคที่เป็นสว่ นประกอบท่สี าคญั ที่สุดของตลาดผบู้ รโิ ภค รายการท่จี ะเขา้ ใจถึงสาเหตุหรือเหตผุ ลท่วี า่ ทาไมผ้บู ริโภคถึง
ตดั สินใจซ้อื หรือไม่ซ้ือผลิตภัณฑ์ตวั ใดตวั หนึ่งน้ัน Philip Kotler ได้อธบิ ายถงึ การพฤติกรรมของผ้บู รโิ ภคโดยอาศัย S-R The-
ory ในรปู ของแบบจาลองพฤตกิ รรมผูบ้ รโิ ภค ( A Model of consumer Behavior )ดงั แสดงไว้ในภาพ

( รปู ภาพที่ 2 (2.3.7) ประโยชนข์ องการศึกษาพฤติกรรมผ้บู รโิ ภค )

แบบจาลองพฤตกิ รรมผู้บรโิ ภค จะแสดงใหเ้ หน็ ถงึ เหตจุ งู ใจที่ทาใหเ้ กิดการตัดสนิ ใจซ้ือผลิตภัณฑ์ โดยมี

2.5 จดุ เรม่ิ ต้นจากการเกิดสิง่ กระตุ้น (Stimulis)

ท่ีผ่านเข้ามาในความรู้สกึ นึกคิดของผบู้ รโิ ภค (Buyer’s Black Box)
ที่เปรียบเสมือนกลอ่ งดาที่ผู้ผลิต หรือนักการตลาดไมส่ ามารถคาดคะเนได้เมอื่ ผบู้ รโิ ภครบั รู้ต่อส่งิ กระตุ้น
และเกดิ ความต้องการแลว้ จงึ จะเกิดการซอื้ หรือการตอบสนอง (Response) ขน้ึ โดยมรี ายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้

Philip Kotler and Gary Amstrong, Market an Introduction (New Jersey : Prentice-Hall, Inc, Second Edition,
1990) p.143

2.5.1. สงิ่ กระต้นุ ภายนอกของผซู้ ้ือ (Stimuli)
สิง่ ที่กระตนุ้ ความต้องการของผ้บู รโิ ภคอาจเกิดจากแรงกระตนุ้ ภายในรา่ งกายของผบู้ ริโภคเอง เช่น ความหวิ

ความกระหาย หรืออาจเปน็ สงิ่ กระตุ้นท่อี ยภู่ ายนอกซงึ่ ได้แก่สิ่งกระตุ้นทางการตลาด และส่งิ กระตุ้นอ่นื ๆ
สว่ นมากนักการตลาดจะให้ความสาคัญกบั สง่ิ กระต้นุ ภายนอก โดยพยายามจัดสิ่งกระตุ้นภายนอก โดยเฉพาะ
สิ่งกระตุ้นทางการตลาดให้สามารถจูงใจให้ผู้บรโิ ภคเกดิ ความต้องการซือ้ สนิ ค้าขึ้น

-สง่ิ กระตุ้นทางการตลาด (Marketing Stimuli)
สงิ่ กระตุ้นทางการตลาดเป็นสิ่งกระตุ้นทน่ี กั การตลาดสามารถควบคุมและจดั ใหม้ ีขนึ้ เป็นสิง่ กระตนุ้

ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับส่วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) ซ่งึ ประกอบด้วย สง่ิ กระตุน้ ดา้ นผลติ ภัณฑ์ เช่น
การออกแบบผลิตภณั ฑใ์ ห้สวยงามสะดุดตา ส่ิงกระตนุ้ ด้านราคา เช่น การกาหนดเงื่อนไขการชาระเงินหรือ

การเสนอส่วนลดท่ีดีกวา่ คแู่ ข่งขนั สง่ิ กระตุน้ ดา้ นการจัดชอ่ งทางการจดั จาหน่าย เชน่ มกี ารจัดผลิตภัณฑ์
ใหม้ จี าหนา่ ยอย่างทัว่ ถึง และสิง่ กระตุน้ ดา้ นการสง่ เสรมิ การตลาด เชน่ การลดแลกแจกแถม การโฆษณา
ทส่ี ม่าเสมอ สิ่งตา่ ง ๆ เหลา่ นี้หากนกั การตลาดสามารถเข้าใจถงึ ความต้องการของผู้บรโิ ภค และสามารถ
จดั สิง่ กระตนุ้ ทางการตลาดใหเ้ หมาะสมกับความต้องการของกลุม่ ลูกค้าแล้วยอ่ มจะเป็นเครอ่ื งมือทสี่ ามารถ
จะกระตุ้นผู้บริโภคใหเ้ กิดความต้องการได้ ซึง่ จะนาไปสูพ่ ฤตกิ รรมการซือ้ ในทีส่ ุด

- สิ่งกระตุน้ อนื่ ๆ (Other Stimuli)
สงิ่ กระตุน้ อน่ื ๆ จะเป็นสิง่ กระตุ้นทอ่ี ยู่ภายนอกองคก์ ารและนกั การตลาดไมส่ ามารถควบคุมได้

ส่งิ กระตุ้นเหลา่ นีไ้ ด้แก่ สงิ่ กระต้นุ ทางเศรษฐกิจ เช่น ภาวะเศรษฐกิจ รายไดข้ องผูบ้ รโิ ภคจะมีผลต่อ
ความต้องการซือ้ ของผู้บรโิ ภค สิ่งกระตุน้ ทางเทคโนโลยี เชน่ เทคโนโลยีการส่ือสารทที่ นั สมยั และรวดเรว็
ทาให้ผบู้ รโิ ภคต้องการใชโ้ ทรศพั ทม์ อื ถอื กนั มากขึ้น สิ่งกระตนุ้ ทางกฎหมายและการเมือง เชน่ กฎหมาย
เพ่ิมหรอื ลดภาษีสินค้าชนดิ ใดชนิดหนงึ่ จะมผี ลต่อความต้องการในสินค้าชนดิ นน้ั และสิ่งกระตุน้ ทางวฒั นธรรม
เชน่ ขนบธรรมเนยี มประเพณใี นเทศกาลต่าง ๆ จะเปน็ ตวั กระตนุ้ ให้เกดิ ความต้องการสนิ คา้ บางอย่าง
ในเทศกาลนน้ั ๆ เป็นตน้

2.5.2. ความรู้สกึ นกึ คดิ ของผู้ซ้อื (Buyer’s Black Box)
กลอ่ งดาหรอื ความรู้สึกนกึ คิดของผซู้ ื้อ เป็นส่วนท่ีไดร้ บั อทิ ธิพลมาจากลักษณะของผูซ้ อ้ื (Buyer Characteristic)
ซ่ึงไดร้ บั อิทธพิ ลมาจาก ปจั จัยด้านวัฒนธรรม ปัจจยั ดา้ นสงั คม ปัจจยั สว่ นบุคคล และปัจจัยทางจิตวิทยา
(ซ่ึงจะไดก้ ล่าวถงึ รายละเอียดต่อไป) และยงั ไดร้ ับอทิ ธพิ ลมาจากกระบวนการตดั สนิ ใจของผ้ซู ้อื (Buyer
Decision Process) ทปี่ ระกอบได้ด้วยขน้ั ตอนตา่ ง ๆ 5 ขน้ั ตอน ได้แก่ การรับรปู้ ญั หา การค้นหาข้อมูล
การประเมินทางเลือก การตดั สนิ ใจซือ้ และพฤติกรรมหลังการซ้ือ(รายละเอยี ดจะได้กล่าวถึงในหัวข้อ
กระบวนการตดั สนิ ใจของผซู้ ื้อ)

2.5.3. การตอบสนองของผซู้ ื้อ (Buyer’s Responses)
การตอบสนองของผซู้ ้อื หรือการตดั สินใจซอื้ ของผ้บู รโิ ภค ผบู้ รโิ ภคจะมกี ารตดั สินใจในเรื่องตา่ ง ๆ ดังนี้
การเลือกผลิตภัณฑ์ (Product Choice) ทจ่ี ะมาตอบสนองความตอ้ งการ เช่น เลอื กขา้ วตม้ กงุ้ เปน็ อาหารเช้า
หรอื เลือกนมสดเป็นอาหารเชา้ การเลือกตราสนิ ค้า (Brand Choice) เชน่ หากตอ้ งการด่ืมนมเป็นอาหารเชา้
แลว้ จะดมื่ นมสดตราอะไร การเลอื กผู้ขาย (Dealer Choice) การเลือกเวลาในการซือ้ (Purchase Time)
การเลือกปรมิ าณในการซือ้ (Purchase Amount) เป็นต้น

2.6 งานวิจยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง

นรินพร มหาธนวณิชย์ (2547 : 43) สง่ิ ทกี่ ระต้นุ ความตอ้ งการของผูบ้ รโิ ภคอาจเกดิ จากแรงกระตุ้นภายในรา่ งกายของ
ผ้บู ริโภคเอง เช่น ความหวิ ความกระหาย หรืออาจเปน็ ส่ิงที่กระตนุ้ ทอ่ี ยูภ่ ายนอกซ่งึ ไดแ้ ก่ ส่งิ กระตนุ้ ทางการตลาด และสง่ิ
กระตุ้นอนื่ ๆ ส่วนมากนกั การตลาดจะใหค้ วามสาคัญกับส่งิ กระตนุ้ ภายนอก โดยพยายามจดั สงิ่ กระตุ้นภายนอก โดยเฉพาะส่ิง
กระตุ้นทางการตลาดให้สามารถจูงใจให้ผู้บรโิ ภคเกดิ ความต้องการซอื้ สนิ ค้าขน้ึ หาก

บทที่ 3
วธิ กี ารศึกษาค้นคว้าและอปุ กรณ์

3.1 การศกึ ษาข้อมูล
3.2 ขั้นตอนการทาผลิตภณั ฑ์จาก มนั เทศ
3.3 วิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูล

3.1 การศึกษาข้อมลู

3.1.1 การศึกษาคน้ คว้าเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีเกยี่ วกบั ผลติ ภัณฑ์จากมันเทศ
3 1.1.1 ศกึ ษาเก่ยี วกบั วธิ กี ารแปรรูปผลิตภณั ฑ์
3.1.1 2 ศกึ ษาเกย่ี วกับมันเทศ
3.1.1.3 ศึกษาการแปรรูปมันเทศ
3.1.1.4 อปุ กรณก์ ารทา การแปรรปู มันเทศ

3.2 ข้นั ตอนการทาผลติ ภัณฑ์จาก มันเทศ
3.2.1วิธีการทาผลิตภัณฑจ์ ากมันเทศรปู

ขัน้ ตอนท่ี 1 เลอื กมนั เทศท่แี ก่แลว้ และมลี กั ษณะท่ีสมบูรณ์
ขนั้ ตอนที่ 2 นามนั เทศมาลา้ งนา้
ขัน้ ตอนที่ 3 นามันเทศมาปอกเปลือกออก แลว้ หั่นเป็นแผน่ บางๆ

( รปู ภาพท่ี 3 3.2 ขนั้ ตอนการทาผลติ ภณั ฑจ์ าก มันเทศ )

ขนั้ ตอนท่ี 4 นามนั เทศไปล้างน้า แลว้ เอาลงในนา้ ปูนใส

( รูปภาพท่ี 4 3.2 ข้นั ตอนการทาผลิตภัณฑจ์ าก มันเทศ )

ขน้ั ตอนที่ 5 นามะเขือเทศมาล้างนา้ ปูนใสออก
ขน้ั ตอนท่ี 6 นามนั เทศไปทอด

( รปู ภาพที่ 5 3.2 ขัน้ ตอนการทาผลิตภัณฑ์จาก มนั เทศ )

ขั้นตอนที่ 7 เปิดเตาแก๊สแลว้ นาน้ามันใสก่ ระทะแลว้ รอน้ามนั เดอื ด
ขั้นตอนที่ 8 นามันเทศลงในกระทะ รอจนวันที่สุขพอดี แล้วตกั ออก

( รปู ภาพท่ี 6 3.2 ข้นั ตอนการทาผลิตภัณฑ์จาก มนั เทศ )

ขัน้ ตอนที่ 9 นาไปเขย่าดว้ ยผงปรงุ รส
3.3.2 อปุ กรณ์

1.มันเทศ
2.น้ามนั พชื
3.มีดปอก
4.เขยี ง
5.น้าปูนใส
6.ชามภาชนะ
7.เตาแกส๊
8.ตะหลิว
9.ตองชอน
10.ผงเขย่าปรุงรส

3.3 การวิเคราะห์และประมวลผล

3.3.1 ขนั้ ตอนการวิเคระหแ์ ละประมวลผล มขี นั้ ตอนดังน้ี
ข้นั ตอนการทา วิธที ่ี 1 นามันเทศมาหัน่ เป็นแทง่ รูปส่เี หล่ียม ล้างนา้ แลว้ นาไปทอด ทอดออกมาแลว้ มนั เทศ

ไม่กรอบและเห่ียว
ข้ันตอนการทา วธิ ีท่ี 2 น้ามนั เทศมาห่นั เปน็ แท่งรูปส่เี หลี่ยม ล้างน้า นาไปตากแดด แล้วนามาทอด ทอด

ออกมาแลว้ มนั เทศไมก่ รอบและเหย่ี ว และไม่มรี สชาตขิ องมนั เทศ
ข้ันตอนการทา วิธที ่ี 3 นามนั เทศมาหนั่ เปน็ แทง่ รปู ส่ีเหล่ียม ลา้ งน้า แลว้ นาไปแช่นา้ ปูนใส 30 นาที แล้ว

นามาทอด ถอดออกมาแล้วมันเทศไมก่ รอบและเห่ียว
ขนั้ ตอนการทา วธิ ีที่ 4 นามันเทศมหันต์เปน็ แท่งรปู สีเ่ หลีย่ ม ล้างน้า แลว้ นาไปแช่นา้ ปูนใส 30 นาที แล้วนาไป

ตากแดด นามาทอด ถอดออกมาแล้วมันเทศไม่กรอบ เห่ียว และไม่มีรสชาตขิ องมันเทศ
ข้นั ตอนการทา วธิ ที ี่ 5 นามันเทศเป็นฝอยเล็กๆ ล้างนา้ แล้วนาไปทอด ถอดออกมาแล้วกรอบและอมนา้ มนั

มาก พอเวลาผ่านไปไมน่ านมันเทศเร่มิ เหีย่ ว
ขน้ั ตอนการทา วธิ ที ี่ 6 นามันเทศมหันตเ์ ปน็ ฝอยเลก็ ๆ ล้างนา้ แช่นา้ ปนู ใส 30 นาที แล้วนาไปทอด ทอด

ออกมาแลว้ กรอบและอมนา้ มันมาก พอเวลาผ่านไปไม่นานมนั เทศเรม่ิ เหี่ยว
ขน้ั ตอนการทา วิธที ่ี 7 นามันเทศมาหัน่ เป็นแผ่นบางๆ นามนั เทศไปลา้ งน้า ไปแช่น้าปูนใส 30 นาที แล้วนา้

ขึ้นจากน้าปูนใส แล้วนาไปทอด พอทอดเสร็จแลว้ มันเทศมีความกรอบและคงรูปสวยงาม รสชาตยิ ังคงเปน็ มนั เทศ เวลาผ่านไป
มนั เทศก็ยงั มคี วามกรอบเหมือนเดิม

บทท่ี 4
ผลการศึกษาคน้ คว้า

ผลการศึกษาค้นควา้ เก่ียวกับผลิตภัณฑ์จากมนั เทศเก่ียวกบั การแปลรปู มันเทศ

4.1การคน้ คว้าสูตรของผลิตภัณฑ์จากมนั เทศ

ตารางท่ี 4.1 การคน้ ควา้ สตู รของผลติ ภัณฑ์จากมันเทศ
สตู รที่ 1 มนั เทศทเี่ ป็นรปู ร่าง แท่งส่ีเหลียม
สตู รท่ี 2 มนั เทศที่เป็นรปู ร่าง ฝอยเล็กๆ
สูตรที่ 3 มันเทศที่เป็นรปู รา่ ง แผน่ บางๆ

ประเมนิ สูตร

สตู ร

ความกรอบ รสชาติ รูปร่าง สี

สูตรท่ี 1 ไมก่ รอบ อรอ่ ย สวยงาม สสี วย ตามสีของมนั
สูตรที่ 2 เล็กเกินไป เทศ
สูตรที่ 3 ไมค่ อ่ ยกรอบ อรอ่ ย แต่อมน้ามนั สวย คงรปู
สีสวย ตามสขี องมนั
กรอบมาก อรอ่ ย เทศ

สีสวย ตามสขี องมนั
เทศ

( รปู ภาพที่ 7 4.1 การคน้ คว้าสูตรผลติ ภัณฑ์จากมนั เทศ )

จากตารางที่ 4.1 จากการศึกษาสูตรผลิตภัณฑจ์ ากมนั เทศ พบวา่ สูตรท่ี 3 มนั เทศทเ่ี ป็นรูปร่าง แผ่นบางๆ จะมคี วามกรอบ
รสชาติอร่อย รปู ร่างท่ีสวยงามและคงรปู สีสวยตามสีของมนั เทศ

4.2 ผลการศกึ ษาค้นคว้าเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์จากมนั เทศ ได้ผลดงั ตารางที่ 4.2

ตารางที่ 4.2 ระดับความพงึ พอใจทไี ดจ้ ากการทดลองการชิมผลิตภณั ฑ์จากมนั เทศ 50 คน
หมายเหตุ 5=พอใจมากที่สดุ 4=พอใจมาก 3=พอใจ 2=พอใช้ 1=ปรับปรงุ

ระดบั ความพึงพอใจ คา่ เฉลีย่ ความหมาย

ลาดับ รายการ 54 32 1 มาก
30 15 5 4.50 พอใช้
1 รสชาติ 15 25 10 4.10 พอใช้
2 ความกรอบ 10 25 15 3.90 มาก
3 กลิน่ ของขนม 11 17 14 8 3.62
4 ความน่า
45 5 4.90 มากที่สดุ
รบั ประทาน
5 ราคา 111 87 44 8 4.20 ปานกลาง

รวม

( รปู ภาพที่ 8 4.2 ผลการศกึ ษาค้นควา้ เกย่ี วกับผลิตภัณฑ์เทศ )

จากตารางที่ 4.2 พบว่าท้ัง 50 คนมคี วามพงึ พอใจในระดับปานกลางโดยมีค่าเฉลี่ย 4.20 และเมอื่ พจิ ารณารายข้อพบว่า
มคี วามพึงพอใจในระดบั มากท่สี ุด 1 ขอ้ คือ ราคา (ค่าล่ียอยทู่ ี่ 4.90) มีความพงึ พอใจในระดับมากจานวน 2 ข้อ คือ รสชาติ
และความนา่ รกั ประทาน (ค่าเฉลยี่ อยู่ที่ 4.50,3.62) มคี วามพึงพอใจในระดับพอใช้จานวน 2 ข้อ คือ

บทท่ี 5
สรปุ และอภปิ รายผลการศึกษา

การจดั ทาโครงงานวิทยาศาสตรเ์ รอื่ ง ผลิตภณั ฑ์จากมนั เทศ มีวัตถุประสงค์เพอ่ื เรียนรกู้ ารแปรรูปผลิตภัณฑ์ แปรรูปพืชไร่
เพ่อื ทีจ่ ะหาหารายไดใ้ หก้ บั ครอบครัว และสร้างรายได้ใหก้ บั คนในชุมชน ทาการศกึ ษาค้นควา้ เพื่อจุดประสงค์ดังกล่าว ใน
การศกึ ษาครงั้ น้ี ไดศ้ กึ ษาความชอบในการกนิ ของคนในวัยต่างๆ เพ่อื เป็นแนวทางในการแปรรูปผลิตภัณฑท์ มี่ คี ุณภาพ

5.1 สรุปผลการศกึ ษา

ในการแปรรปู มนั เทศ โดยการ ปลอกเปลือกมนั เทศ ฝานมนั เทศให้เปน็ แผ่นบางๆ แล้วนาไปแช่ในน้าปูนใส 30 นาที
แล้วนาไปทอด ทอดออกมาแลว้ นาไปใส่ผงปรุงรส
เพยี งเทา่ น้ีก็กลายเปน็ ผลติ ภณั ฑ์จากมนั เทศแล้ว

5.2 ประโยชนท์ ไี่ ด้รับ

5.2.1 ได้รบั ความรูจ้ ากการศึกษาค้นควา้ การทาผลิตภัณฑ์จากมันเทศ จนไดผ้ ลงานทพ่ี งึ พอใจ
5.2.2 เกิดความสามคั คใี นกลุม่ ทาใหก้ ารทางานราบรืน่ ไปได้ดี ไม่มีการเข้าใจผิดกนั แต่อยา่ งใด
5.2.3 สามารถเผยแพรว่ ิธีการทา ให้กบั บุคคลอน่ื ทีส่ นใจ อยากจะรวู้ ิธีการทาขนมในโครงงานได้

5.3 ขอ้ เสนอแนะ

จากการศกึ ษาคน้ ควา้ น้ี สมาชิกในกลมุ่ ได้มีข้อเสนอแนะดงั น้ี
คณะผู้จัดทาโครงงาน ควรมีการประชุมวางแผนการมากข้ึน เพ่ือแกป้ ญั หาต่างๆที่เกิดข้นึ และคณะผ้จู ัดทาโครงงาน ควรวางแผน
ในการผสานงานให้เปน็ ระบบ มีการแบง่ หน้าที่การรับผิดชอบ ให้ตรงตามตาแหนง่ งาน เพอื่ การทางานจะไดม้ ีประสทิ ธิภาพมาก
ย่งิ ข้ึน

บรรณานุกรม

1. พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ และคณะ. ทรัพยากรพืชในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ 9: พืชใหค้ าร์โบไฮเดรต 140 ชอ่ื พรรณไม้แห่ง
ประเทศไทย (ช่ือพฤกษศาสตร์ – ชื่อพื้นเมอื ง). กรมป่าไม้ 379 หนา้ . มูลนิธโิ ตโยตา้ ประเทศไทยและสถาบันวิจยั โภชนาการ
มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. 2541. มหัศจรรย์ผกั 108. พิมพ์คร้ังท่ี4. 411 หนา้ . สถาบันการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ . 2542. ผกั
พน้ื บ้านภาคกลาง 279 หน้า.
พรพล รมยน์ กุ ูล. การถนอมอาหาร. กรุงเทพ: สานกั พิมพ์โอเดยี นสโตร์, 2545.วไิ ล รงั สาดทอง. เทคโนโลยกี ารแปรรปู อาหาร.
กรุงเทพ: Text and Journal Publication Ltd, 2545. นฤดม บญุ หลง และกล้าณรงค์ ศรีรอต. อาหารเพอ่ื มนุษย์ สานักพิมพ์
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, 2545.

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก

ภาพขัน้ ตอนการทาผลิตภัณฑจ์ ากมนั เทศ

ภาพประกอบ

ภาคผนวก ข
แบบสอบถามความพงึ พอใจ

แบบสอบถาม

เรอื่ ง ผลติ ภณั ฑจ์ ากมันเทศ
สว่ นที่1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
คาชแ้ี จง : โปรดใส่เครอ่ื งหมายถูกต้อง ลงหนา้ คาตอบท่เี ปน็ จรงิ มากที่สดุ

1. เพศ 2) หญงิ
1) ชาย

2. อายุ 2) 19 – 21 ปี
1) 16 – 18 ปี 4) 25 ปขี ึน้ ไป
3) 22 – 24 ปี

3. อาชพี 2)
1) พนักงานเอกชน 3)
3) ข้าราชการ/ลูกจ้างรัฐ/รฐั วสิ าหกิจ
5) อ่ินๆ………….

4. รายได้เฉลี่ยต่อเดือน

1) ต่ากว่าหรอื เทยี บเทา่ 2,000 บาท 2) 2,001 – 3,000 บาท
5,000 บาทข้ึนไป
3) 3,001- 4,000 บาท 3)


Click to View FlipBook Version