The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ranong Cooprative Office, 2024-01-29 22:10:28

Annual Report 2566 - Ranong

Annual Report 2566 - Ranong

2023 Annual รายงานประจำ ปี พ.ศ. 2566 Report สำ นัก นั งานสหกรณ์จั ณ์ ง จั หวัด วั ระนอง


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 1 สารบัญ สารผู้บริหารหน่วยงาน ก ท าเนียบบุคลากร ข บทสรุปผู้บริหาร ค ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน 1 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอํานาจหน๎าที่ 2 1.2 โครงสร๎างและกรอบอัตรากําลังของหนํวยงาน 3 1.3 แผนการปฏิบัติงานและงบประมาณรายจํายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 5 1.4 ข๎อมูลสารสนเทศสหกรณ์ กลุํมเกษตรกร และกลุํมอาชีพในสังกัดสหกรณ์ 8 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ 15 2.1 ผลการปฏิบัติงานและผลการใช๎จํายงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและแผนการใช๎จําย งบประมาณประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 16 2.2 ผลการดําเนินงาน/โครงการนอกแผนการปฏิบัติงานและงบประมาณรายจํายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 119 2.3 ผลการดําเนินงาน/โครงการตามนโยบายสําคัญ และการบูรณาการในระดับพื้นที่ 123 ส่วนที่ 3 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ 133 3.1 กิจกรรมของหนํวยงาน 134 3.2 กิจกรรมที่หนํวยงานดําเนินการรํวมกับสถาบันเกษตรกรในพื้นที่ 136 3.3 กิจกรรมที่หนํวยงานดําเนินการรํวมกับหนํวยงานภาคสํวนตําง ๆ ในพื้นที่ 139 ส่วนที่ 4 รายงานทางการเงิน 140 4.1 งบแสดงฐานะการเงิน 141 4.2 งบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงิน 142 4.3 หมายเหตุประกอบงบการเงิน 143 ส่วนที่ 5 บรรณานุกรม 147


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ก WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 2 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ดําเนินงานตามภารกิจหลักในการสํงเสริมและพัฒนาสหกรณ์และ กลุํมเกษตรกรให๎มีความเข๎มแข็งตามศักยภาพ มีหน๎าที่กํากับดูแล แนะนําสํงเสริมสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรในจังหวัดระนอง ประกอบด๎วย สหกรณ์ จํานวน 26 แหํง กลุํมเกษตรกร จํานวน 17 แหํง กลุํมอาชีพ จํานวน 13 แหํง และประชาชนทั่วไป ให๎เข๎าใจถึงอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ เพื่อให๎มีบทบาทและหน๎าที่ความรับผิดชอบของ ขบวนการณ์สหกรณ์อยํางแท๎จริง โดยให๎ความสําคัญกับนโยบายอธิบดี กรมสํงเสริมสหกรณ์ในการฟื้นฟูและพัฒนา กํากับการดําเนินงาน ยกระดับการดําเนินธุรกิจเพื่อมุํงเน๎นการแก๎ปัญหาให๎แกํสมาชิก เพิ่มคุณภาพในการจัดตั้งสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ปฏิบัติงานภายใต๎แผนปฏิบัติงาน และงบประมาณรายจําย ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 นโยบาย สําคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สามารถปฏิบัติงานให๎บรรลุ ตามวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดและเปูาหมายที่กําหนด ขับเคลื่อนงาน ตามแผนงานและโครงการโดยยึดสหกรณ์ / กลุํมเกษตรกรเป็นหลัก และรํวมบูรณาการระหวํางหนํวยงานภาครัฐ เอกชน รํวมกันปฏิบัติงาน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกสหกรณ์และกลุํมเกษตรกรให๎อยูํดี กินดี มีความสุขได๎อยํางยั่งยืน เกิดสันติสุขในสังคม สอดคล๎องกับบริบท การเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันได๎อยํางเหมาะสม ความสําเร็จของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนองในรอบ ปีงบประมาณที่ผํานมา เกิดจากความรํวมมือ รํวมใจของบุคลากร สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนองทุกคน สหกรณ์ กลุํมเกษตรกรและ กลุํมอาชีพ การรํวมบูรณาการงานระหวํางหนํวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไปในจังหวัดระนอง รํวมกันขับเคลื่อน การดําเนินงานให๎เกิดผลลัพธ์ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ หวังวํารายงานฉบับนี้จะเป็นสํวนหนึ่งของข๎อมูลพื้นฐานในการสํงเสริม และพัฒนาสหกรณ์และกลุํมเกษตรกรในจังหวัดระนอง ให๎มีความ เจริญก๎าวหน๎าอยํางยั่งยืนสืบตํอไป จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ (นายจิรศักดิ์ บริบูรณ์) สหกรณ์จังหวัดระนอง สารสหกรณ์จังหวัดระนอง


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ข WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 3 ท าเนียบบุคลากรในหน่วยงาน ฝ่ายบริหารทั่วไป นางสาวปัณฑิตา บัวฉิม นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นายสมพร กลับหลังสวน พนักงานบริการเอกสารทั่วไป นางสาวจิรายุ ศรีใส นักจัดการงานทั่วไปช านาญการ นายธีระทัศน์ ควรวินิจ พนักงานขับรถยนต์


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ข WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 4 นางสาวนิภาพร มีศรี นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นางกาญจนา ว่าวทอง เจ้าพนักงานธุรการ นางสาวพัชรีย์ คงรอด เจ้าพนักงานธุรการ นางสุฑามาศ สุวัณจรรยากุล เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ข WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 5 กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ นางสาวดวงรัตน์ เมฆพยับ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นางสาวทิพย์มาศ ทองดี นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นายสุนทร โนรัตน์ นักวิชาการสหกรณ์


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ข WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 6 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ นางสาวธนวรรณ ปานโชติ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นางสาววราภรณ์ นุ่นเหว่า นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางสาวบุษรา ช่วยพัฒน์ นักวิชาการสหกรณ์ นางเจสิญา บริบูรณ์ นักวิชาการมาตรฐานสินค้า


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ข WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 7 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ นางสาวจรรยาวรรณ พูลสวน นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ - ว่าง - นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางสาวหทัยกาญจน์ เลิศไกร นักวิชาการสหกรณ์


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ข WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 8 กลุ่มตรวจการสหกรณ์ นางสาวปัทมา รัตนวรรณ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นายมนชัย ใจชื่น นิติกร นายอาคม มีมาก นิติกร


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ข WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 9 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 นายจักรวาล คเชนทร เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส นายอรรณพ ถวายหน้า เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ นายดุริยะศักดิ์ เดชฤดี นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางสาวผานิตย์ แสวงหาสินทรัพย์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ข WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 10 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 นางสาวอติกานต์ วงษณรัตน์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นางสาวนฤมล ฤทธิพรัด นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางสาวสุชานาถ เศวตมณี นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางสาวนิพาภรณ์ ท าทอง เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ค WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 11 บทสรุปผู้บริหาร สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ได๎ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจําย ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยมีผลการดําเนินงานโดยสรุป ดังนี้ สรุปผลการปฏิบัติงานและผลการเบิกจ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ได๎ดําเนินการสํงเสริมและพัฒนาการดําเนินงานของสหกรณ์/ กลุํมเกษตรกรในจังหวัดระนอง โดยมีสหกรณ์ จํานวน 26 แหํง กลุํมเกษตรกร 17 แหํง โดยได๎รับแผนปฏิบัติ งานและงบประมาณรายจํายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จํานวน 6 แผนงาน การจัดสรรงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 5.88 ล๎านบาท สามารถปฏิบัติงานบรรลุวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดตามแผนและผลเบิกจําย งบประมาณเป็นไปตามแผน ผลการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1) งานแนะนํา สํงเสริม สนับสนุน พัฒนาและกํากับการดําเนินงานของสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร ให๎มีความเข๎มแข็งตามศักยภาพ ผลการแนะนํา สํงเสริม สหกรณ์ จํานวน 26 แหํง สมาชิกสหกรณ์ 21,679 คน กลุํมเกษตรกร 17 แหํง สมาชิกกลุํมเกษตรกร จํานวน 1,859 คน 2) การจัดประชุมซักซ๎อมการตรวจการสหกรณ์ ผู๎เข๎ารํวมประชุมฯ ได๎รับการพัฒนาองค์ความรู๎ เพิ่มทักษะและได๎รับการถํายทอดประสบการณ์จากวิทยากร ทําให๎ผู๎ตรวจการสหกรณ์ก๎าวทันสถานการณ์ และนําไปใช๎ในการปฏิบัติงานได๎อยํางถูกต๎อง และสามารถปฏิบัติงานตรวจการสหกรณ์ได๎ตามแนวทาง ที่นายทะเบียนสหกรณ์กําหนดอีกทั้งได๎เรียนรู๎การใช๎งานระบบตรวจการสหกรณ์ สามารถรายงานผลการตรวจการ สหกรณ์ในระบบฯ ได๎อยํางถูกต๎อง รวดเร็ว และทันตํอเวลา 3) ตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด การตรวจการสหกรณ์ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัด ระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ได๎ดําเนินการเข๎าตรวจการสหกรณ์ โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด จํานวน 6 สหกรณ์ โดยเข๎าตรวจสอบครบทุกประเด็นตามรายการที่กําหนดในแนวทางการตรวจการสหกรณ์ 4) ตรวจสอบสหกรณ์ตามคําสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ร๎อยละ 15 ของสหกรณ์ทั้งหมด การตรวจการ สหกรณ์ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ได๎ดําเนินการเข๎าตรวจการสหกรณ์ โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด จํานวน 4 สหกรณ์ โดยเข๎าตรวจสอบครบทุกประเด็นตามรายการที่กําหนด ในแนวทางการตรวจการสหกรณ์ 5) การติดตามประเมินผลความก๎าวหน๎าการแก๎ไขข๎อบกพรํองของสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร แนะนํา กํากับ ดูแล ตรวจสอบสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร ให๎ปฏิบัติตามระเบียบ ข๎อบังคับของสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรที่มีสถานะ ดําเนินการทุกแหํง โดยสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรที่มีข๎อบกพรํองที่นายทะเบียนสหกรณ์สั่งการให๎คณะกรรมการ ดําเนินการสหกรณ์แก๎ไขข๎อบกพรํอง จํานวน 2 แหํง มีการรายงานในระบบการจัดการข๎อบกพรํองของ กรมสํงเสริมสหกรณ์ จํานวน 1 สหกรณ์ คือ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนอามานะห์สุขสําราญ จํากัด และมีการ รายงานผํานอีเมล์ของกรมสํงเสริมสหกรณ์ตามกําหนด จํานวน 1 กลุํมฯ คือ กลุํมเกษตรกรทําสวนบางแก๎ว 6) การจัดประชุมคณะทํางานระดับจังหวัดแก๎ไขปัญหาการดําเนินงานของสหกรณ์และ กลุํมเกษตรกรที่มีข๎อบกพรํอง (จกบ.) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดําเนินการประชุมคณะทํางานระดับจังหวัด แก๎ไขปัญหาการดําเนินงานของสหกรณ์และกลุํมเกษตรกรที่มีข๎อบกพรํอง (จกบ.) จํานวน 4 ครั้ง โดยจัดประชุม ไตรมาสละ 1 ครั้ง


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ค WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 12 7) การชําระบัญชีสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร สามารถถอนชื่อสหกรณ์ที่อยูํระหวํางการชําระจํานวน 2 แหํง และสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรที่อยูํระหวํางการชําระบัญชีขั้นตอนที่ 3 – 4 ยกระดับสูํขั้นตอนที่ 5 จํานวน 2 แหํง ตามเปูาหมาย 8) งานสํงเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุํมเกษตรกรสูํดีเดํนแหํงชาติสหกรณ์นอกภาคการเกษตร ได๎รับ การพิจารณาคัดเลือกและสํงรายชื่อเพื่อคัดเลือกเป็นสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรดีเดํนแหํงชาติ จํานวน 1 แหํง คือ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูระนอง จํากัด 9) โครงการพัฒนาศักยภาพการดําเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุํมเกษตรกร และธุรกิจชุมชน สหกรณ์ เปูาหมาย จํานวน 3 แหํง ได๎รับการพัฒนาศักยภาพการดําเนินธุรกิจและการพัฒนาองค์กร ได๎แกํ สหกรณ์ การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค๎า ธ.ก.ส.ระนอง จํากัด สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด และสหกรณ์การเกษตร ศุภนิมิตกระบุรี จํากัด 10) โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค๎าเกษตร กิจกรรมการสนับสนุนการทําการเกษตรปลอดภัย สําหรับสินค๎าผักและผลไม๎ สหกรณ์และกลุํมเกษตรกรได๎สํงเสริมให๎สมาชิกทําเกษตรปลอดภัย จํานวน 4 แหํง สมาชิกสหกรณ์และกลุํมเกษตรกรที่เป็นกลุํมเปูาหมายได๎เข๎ารับการอบรมถํายทอดความรู๎ด๎านมาตรฐานเกษตร ปลอดภัยเพื่อยื่นขอตรวจการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) แบบกลุํมในการขอตํออายุใบรับรองฯ จํานวน 53 ราย 11) โครงการระบบสํงเสริมเกษตรแบบแปลงใหญํ แปลงใหญํ จํานวน 13 แปลง แปลงใหญํสหกรณ์/ กลุํมเกษตรกร ได๎รับการสํงเสริมให๎มีการบริหารจัดการรํวมกัน ตลอดหํวงโซํ จํานวน 2 แปลง แปลงใหญํ สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรในปี 2564 ได๎รับการสนับสนุนให๎มีการเชื่อมโยงตลาดเครือขําย จํานวน 11 แปลง 12) โครงการสํงเสริมการแปรรูปสินค๎าเกษตร สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค๎า ธ.ก.ส.ระนอง จํากัด มีมูลคําการจําหนํายสินค๎า/ผลิตภัณฑ์แปรรูป ภายใต๎แบรนด์กาแฟ 84 ระนอง เพิ่มขึ้นร๎อยละ 32.88 13) โครงการสํงเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร สหกรณ์ภาคการเกษตร จํานวน 3 แหํง สามารถรักษา ระดับความเข๎มแข็งจากระดับชั้น 2 จํานวน 1 แหํง 14) โครงการแก๎ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรด๎วยระบบสหกรณ์ มีหนี้ค๎าง ได๎รับการสํงเสริมให๎มีการบริหารจัดการสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ จํานวน 4 แหํง สมาชิกรวม 377 ราย มีหนี้ค๎างชําระลดลง จากมูลหนี้ค๎างชําระต๎นปีรวมจํานวน 18,744,159.33 บาท ลดลง 1,159,696 บาท มูลหนี้ค๎างชําระคงเหลือ 17,584,339.33 บาท ลดลงเฉลี่ยร๎อยละ 6.19 15) โครงการสํงเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน ตามพระราชดําริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ๎า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีโรงเรียนบ๎านในวง และโครงการสํงเสริมกิจกรรม สหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหมํอมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีโรงเรียน เพียงหลวง 15 (บ๎านรังแตน) นักเรียนและครูผู๎รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน สามารถนําความรู๎มาปรับใช๎ ในกิจกรรมของสหกรณ์โรงเรียนได๎สามารถปลูกจิตส านึกและสร้างนิสัยรักการออมแก่นักเรียน ซึ่งเป็นรากฐาน ที่ส าคัญของหลักการสหกรณ์ คือ การช่วยเหลือตนเอง และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 16) โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม มกุฎราชกุมาร ดําเนินการจัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์จํานวน 4 ครั้ง มีเกษตรกรเข๎าใช๎บริการคลินิกสหกรณ์ ทั้งหมด 325 คน เกษตรกรได๎รับความรู๎ด๎านการสหกรณ์และนําไปประยุกต์ใช๎ในชีวิตประจําวันและพัฒนาสํงผล ให๎มีความเป็นอยูํที่ดีได๎ 17) โครงการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช๎ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร จํานวน 5 แหํง ได๎น๎อมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช๎ในระดับองค์กรและระดับสมาชิก สหกรณ์ได๎รับ การคัดเลือกในระดับจังหวัด จํานวน 1 แหํง คือ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองหลางรํวมใจพัฒนา จํากัด


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | ค WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 13 18) โครงการจัดงาน "7 มิถุนายน วันสหกรณ์นักเรียน ประจําปี 2566 ครู ผู๎ปกครอง นักเรียนของ โรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ บุคลากรสังกัดสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง สํานักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ระนอง หนํวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ขบวนการสหกรณ์ และประชาชนทั่วไป เข๎ารํวมงาน “7 มิถุนายน วันสหกรณ์นักเรียน ประจําปี 2566” จํานวน 200 คน โรงเรียนโดยครูนักเรียน ผู๎ปกครอง และหนํวยงานตําง ๆ ที่เกี่ยวข๎อง เห็นความสําคัญในการจัดการเรียนรู๎และการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ในโรงเรียน และสามารถใช๎แนวทางสหกรณ์ในการพัฒนาสมรรถนะนักเรียนให๎เป็นคนเกํง คนดี ของสังคม ตามวิถีสหกรณ์ได๎ 19) โครงการสํงเสริม และพัฒนาอาชีพเพื่อแก๎ไขปัญหาที่ดินทํากินของเกษตรกร ดําเนินการจัดทํา ฐานข๎อมูลเกษตรกรในพื้นที่ คทช. ที่รับผิดชอบได๎ จํานวน 2 พื้นที่ ดําเนินการจัดประชุมคณะทํางานสํงเสริม พัฒนาอาชีพและการตลาด ภายใต๎คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัดระนอง (คทช.จังหวัดระนอง) ได๎จํานวน 4 ครั้ง 20) โครงการ “การสํงเสริมอาชีพแบบครบวงจรเพื่อเพิ่มมูลคําและเพิ่มรายได๎” ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เกษตรกรที่ได๎รับการจัดสรรที่ดินทํากินในพื้นที่โครงการจัดที่ดินทํากินให๎ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล/ เกษตรกรทั่วไปที่เข๎ารํวมโครงการ จํานวน 90 ราย ได๎รับการสํงเสริมและพัฒนาอาชีพและทักษะการแปรรูป ผลิตภัณฑ์และรายได๎เพิ่มขึ้น 21) โครงการสนับสนุนการกระจายผลไม๎เพื่อยกระดับราคาของสถาบันเกษตรกร ปี 2566 สหกรณ์ และกลุํมเกษตรกร ได๎รับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อเป็นคําใช๎จํายในการจัดซื้อบรรจุภัณฑ์ (ตะกร๎าผลไม๎) เพื่อบรรจุมังคุดกระจายออกนอกแหลํงผลิต กลุํมเกษตรกรทําสวนปากจั่น จํานวน 3,000 ใบ และสหกรณ์ การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค๎า ธ.ก.ส.ระนอง จํากัด ขนาดไมํเกิน 10 กิโลกรัม จํานวน 5,000 ใบ 22) เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กรมสํงเสริมสหกรณ์อนุมัติกรอบ วงเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ให๎จังหวัดระนอง จํานวน 21,300,000 บาท ในระหวํางปีจังหวัดระนองได๎รับ จัดสรรวงเงินโครงการพิเศษเพิ่มเติมจํานวน 200,000 บาท รวมรับจัดสรร 21,500,000 บาท จังหวัดระนอง ได๎สํงคืนวงเงินระหวํางปี จํานวน 3,400,000 บาท คงเหลือวงเงินเบิกจํายให๎กับสหกรณ์ จํานวน 18,100,000 บาท คิดเป็นร๎อยละ 84.19 23) เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร : โครงการสร๎างความเข๎มแข็งให๎กับกลุํมเกษตรกร เพื่อเข๎าถึงแหลํง เงินทุนในการผลิตและการตลาด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ได๎รับจัดสรรวงเงินรวม จํานวน 5,200,000 บาท ทั้งนี้ จังหวัดระนองได๎อนุมัติเงินกู๎ให๎กับกลุํมเกษตรกรที่มีคุณสมบัติตามกําหนดไปแล๎ว จํานวน 7 กลุํมเกษตรกร รวมจํานวน 4,550,000 บาท ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู๎โครงการสร๎างความเข๎มแข็งให๎กับ กลุํมเกษตรกรเพื่อเข๎าถึงแหลํงเงินทุนในการผลิตและการตลาดระดับจังหวัดระนอง ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2566 และครั้งที่ 2/2566 เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2566 และขยายเวลาการชําระหนี้เงินกู๎ กลุํมเกษตรกรทําสวนบางแก๎ว จํานวน 260,000 บาท สิ้นปีงบประมาณ จังหวัดระนองมีวงเงินคงเหลือ จํานวน 390,000 บาท


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 1 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวม ของหน่วยงาน


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 2 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 2 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอ านาจหน้าที่ ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง วิสัยทัศน์ พันธกิจ อ านาจหน้าที่ การสหกรณ์มั่นคง สหกรณ์และ กลุํมเกษตรกรเข๎มแข็ง เศรษฐกิจ และสังคมของชุมชนยั่งยืน 1. สํงเสริมเผยแพรํ ความรู๎เกี่ยวกับ อุดมการณ์ หลักการ และวิธีการ สหกรณ์ 2. คุ๎มครองระบบสหกรณ์ให๎ เข๎มแข็ง และเป็นไปตามกฎหมาย 3. พัฒนาขีดความสามารถในการ บริหารจัดการให๎แกํสหกรณ์และ กลุํมเกษตรกร 4. พัฒนาการดําเนินธุรกิจให๎แกํ สหกรณ์และกลุํมเกษตรกร 5. เสริมสร๎างโอกาสเข๎าหาแหลํง เ งิ น ทุ น ใ ห๎ ส ห ก ร ณ์ แ ล ะ ก ลุํ ม เกษตรกร 1. ดําเนินการตามกฎหมายวําด๎วย สหกรณ์ กฎหมายวําด๎วยการจัด ที่ดินเพื่อการครองชีพและกฎหมาย อื่นที่เกี่ยวข๎อง 2. สํงเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ทุ ก ป ร ะ เ ภ ท ก ลุํ ม เ ก ษ ต ร ก ร และกลุํมลักษณะอื่น 3. สํงเสริม เผยแพรํ และให๎ความรู๎ เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให๎แกํบุคลากร ส ห ก ร ณ์ ก ลุํ ม เ ก ษ ต ร ก ร และประชาชนทั่วไป 4. สํงเสริมและพัฒนาธุรกิจของ สหกรณ์/กลุํมลักษณะอื่น 5. ปฏิบัติงานรํวมกับหรือสนับสนุน การปฏิบัติงานของหนํวยงานอื่น เกี่ยวข๎องหรือที่ได๎รับมอบหมาย


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 3 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 3 1.2 โครงสร้างและกรอบอัตราก าลังของหน่วยงาน 1) โครงสร้างการบริหารงานของส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง สหกรณ์จังหวัดระนอง ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหาร การจัดการสหกรณ์ กลุ่มตรวจการสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 (อ าเภอเมือง กะเปอร์ และสุขส าราญ) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 (อ าเภอละอุ่น และกระบุรี) ข้าราชการ 2 ราย ลูกจ้างประจ า 2 ราย พนักงานราชการ 4 ราย ข้าราชการ 2 ราย พนักงานราชการ 1 ราย ข้าราชการ 2 ราย พนักงานราชการ 2 ราย ข้าราชการ 2 ราย พนักงานราชการ 1 ราย ข้าราชการ 2 ราย พนักงานราชการ 1 ราย ข้าราชการ 3 ราย พนักงานราชการ 1 ราย ข้าราชการ 3 ราย พนักงานราชการ 1 ราย


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 4 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 4 2) กรอบอัตราก าลังของส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง กรอบอัตราก าลัง เพศชาย เพศหญิง รวม 1) ข๎าราชการ 5 12 17 2) ลูกจ๎างประจํา 2 - 2 3) พนักงานราชการ 2 9 11 รวม 9 21 30 หมายเหตุ ข๎อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 55% 7% 38% ข้าราชการ ลูกจ้างประจ า พนักงานราชการ


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 5 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 5 1.3แผนการปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1) แผนการปฏิบัติงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1.1) แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุํมเกษตรกรได๎รับการสํงเสริมและพัฒนาให๎มีความเข๎มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก สํงเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร กิจกรรมหลัก การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร กิจกรรมรอง สํงเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรให๎มีความเข๎มแข็งตามศักยภาพ (รายจํายเพื่อการลงทุน) 1.2) แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุํมเกษตรกรได๎รับการสํงเสริมและพัฒนาให๎มีความเข๎มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก สํงเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร กิจกรรมรอง สนับสนุนการสํงเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุํมเกษตรกรให๎มีความเข๎มแข็ง ตามศักยภาพ (อํานวยการ) 1.3) แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการ ส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรในพื้นที่ กิจกรรม สํงเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน ตามพระราชดําริสมเด็จพระกนิษฐา ธิราชเจ๎ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กิจกรรม สํงเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหมํอมหญิง อุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี กิจกรรม คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฏราชกุมาร 1.4) แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม โครงการ แก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ด้วยระบบสหกรณ์ กิจกรรมหลัก แก๎ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร ด๎วยระบบสหกรณ์ 1.5) แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการ พัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจกรรมหลัก พัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการดําเนินธุรกิจของสหกรณ์/ กลุํมเกษตรกรตลอดหํวงโซํอุปทาน กิจกรรมรอง พัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการดําเนินธุรกิจของสหกรณ์/ กลุํมเกษตรกรตลอดหํวงโซํอุปทาน โครงการ ส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร กิจกรรมหลัก สํงเสริมการแปรรูปสินค๎าเกษตรในสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 6 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 6 โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร กิจกรรมหลัก สํงเสริมและพัฒนาเพื่อรักษาและยกระดับความเข๎มแข็งสหกรณ์/ กลุํมเกษตรกร โครงการ ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรมหลัก สํงเสริมเกษตรแบบแปลงใหญํในสถาบันเกษตรกร โครงการ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กิจกรรมหลัก สํงเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร กิจกรรมรอง สนับสนุนการทําการเกษตรปลอดภัยสําหรับสินค๎าผักและผลไม๎ 1.6) แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร กิจกรรมหลัก สํงเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต๎โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 7 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 7 2) งบประมาณที่ได้รับจัดสรรประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เปรียบเทียบกับข้อมูล ย้อนหลัง 2 ปี (พ.ศ. 2564 - 2565) (จําแนกตามประเภทงบรายจําย) หน่วย : บาท งบรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รวมงบประมาณ 5,494,035.23 4,259,549.59 5,880,121.40 งบบุคลากร 2,906,360.00 1,446,211.04 3,031,900.00 งบดําเนินงาน 2,501,675.23 1,398,638.55 2,139,181.40 งบลงทุน 85,000.00 1,413,700.00 708,040.00 งบอุดหนุน 1,000.00 1,000.00 1,000.00 งบรายจํายอื่น 0.00 0.00 0.00 2,906,360.00 2,501,675.23 85,000.00 1,000.00 0.00 1,446,211.04 1,398,638.55 1,413,700.00 1,000.00 0.00 3,031,900.00 2,139,181.40 708,040.00 1,000.00 0.00 0.00 500,000.00 1,000,000.00 1,500,000.00 2,000,000.00 2,500,000.00 3,000,000.00 3,500,000.00 งบบุคลากร งบดําเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน งบรายจํายอื่น งบประมาณที่ได๎รับจัดสรร หน่วย : บาท


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 8 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 8 1.4 ข้อมูลสารสนเทศสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ 1) ข้อมูลสารสนเทศสหกรณ์(จําแนกตามประเภทสหกรณ์)ข๎อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566ดังนี้ 1.1) จ านวนสหกรณ์และชุมนุมสหกรณ์ (ถ้ามี) แยกตามสถานะสหกรณ์ ประเภท จ านวนสหกรณ์ จ านวนชุมนุมสหกรณ์ รวมทั้งสิ้น Active Non-Active Active Non-Active ยังไม่เริ่ม ด าเนินการ ด าเนินการ เลิกสหกรณ์ ยังไม่เริ่ม ด าเนินการ ด าเนินการ เลิกชุมนุม สหกรณ์ 1. สหกรณ์การเกษตร - 11 3 - - - 14 2. สหกรณ์ประมง - - 1 - - - 1 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - - 4. สหกรณ์ร้านค้า - 1 - - - - 1 5. สหกรณ์บริการ - 2 - - - - 2 6. สหกรณ์ออมทรัพย์ - 6 - - - - 6 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน - 2 - - - - 2 รวมทั้งสิ้น - 22 4 - - - 26 1.2) จ านวนสหกรณ์(Active) และจ านวนสมาชิกสหกรณ์ ประเภท จ านวนสหกรณ์(แหํง) จ านวนสมาชิก (ราย) 1. สหกรณ์การเกษตร 11 14,701 2. สหกรณ์ประมง - - 3. สหกรณ์นิคม - - 4. สหกรณ์ร้านค้า 1 703 5. สหกรณ์บริการ 2 245 6. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 5,787 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 243 รวมทั้งสิ้น 22 21,679


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 9 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 9 1.3) จ านวนสหกรณ์(Active) แยกตามเดือนสิ้นปีทางบัญชีของสหกรณ์ ประเภท เดือนสิ้นปีทางบัญชีของสหกรณ์ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 1. สหกรณ์การเกษตร - - 9 1 - - - - - - - 1 2. สหกรณ์ประมง - - - - - - - - - - - - 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - - - - - - - 4. สหกรณ์ร้านค้า - - - - - - - - - - - 1 5. สหกรณ์บริการ - - - - - - - - - - - 2 6. สหกรณ์ออมทรัพย์ - - - - - 1 - - 5 - - - 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน - - - - - - - - - - - 2 รวมทั้งสิ้น - - 9 1 - 1 - - 5 - - 6 1.4) จ านวนสหกรณ์(Active)แยกตามผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ (เกณฑ์เดิม) ประเภท ผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 1. สหกรณ์การเกษตร 1 3 7 - 2. สหกรณ์ประมง - - - - 3. สหกรณ์นิคม - - - - 4. สหกรณ์ร้านค้า - - 1 - 5. สหกรณ์บริการ - - 2 - 6. สหกรณ์ออมทรัพย์ - 6 - - 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน - 1 1 - รวมทั้งสิ้น 1 10 11 -


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 10 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 10 1.5) จ านวนสหกรณ์(Active) และปริมาณธุรกิจสหกรณ์แยกตามประเภทธุรกิจ หน่วย : ล้านบาท ประเภท จ านวน สหกรณ์ (แหํง) ปริมาณธุรกิจแยกตามประเภทธุรกิจ รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินค้า มาจ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต ให้บริการ และอื่น ๆ รวม ปริมาณธุรกิจ 1. สหกรณ์การเกษตร 11 0.96 16.23 29.32 653.36 4.53 2.59 706.99 2. สหกรณ์ประมง - - - - - - - - 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - - - 4. สหกรณ์ร้านค้า 1 - - 7.83 - - - 7.83 5. สหกรณ์บริการ 2 0.28 1.82 0.17 - 4.11 - 6.38 6. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 302.33 2,152.83 - - - - 2,455.16 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 0.086 4.63 - - - - 4.71 รวมทั้งสิ้น 22 303.65 2,175.51 37.32 653.36 8.64 2.59 3,181.07 หมายเหตุ อ๎างอิงข๎อมูลจากงบการเงินของสหกรณ์ที่ผู๎สอบบัญชีรับรองแล๎ว 1.6) จ านวนสหกรณ์(Active) และผลการด าเนินงานของสหกรณ์ (ก าไรสุทธิ/ขาดทุนสุทธิ) ประเภท ผลการด าเนินงานของสหกรณ์ ก าไรสุทธิ ขาดทุนสุทธิ จ านวนสหกรณ์ (แหํง) มูลค่า (ล๎านบาท) จ านวนสหกรณ์ (แหํง) มูลค่า (ล๎านบาท) 1. สหกรณ์การเกษตร 6 2.5602 4 3.6163 2. สหกรณ์ประมง - - - - 3. สหกรณ์นิคม - - - - 4. สหกรณ์ร้านค้า - - 1 1.3865 5. สหกรณ์บริการ 1 0.0243 1 0.0906 6. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 192.1798 - - 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 0.3913 - - รวมทั้งสิ้น 15 195.1556 6 5.0934 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดระนองมีสหกรณ์ที่มีสถานะดําเนินการ จํานวน 22 แหํง สหกรณ์สามารถปิดบัญชีสํงงบการเงินและได๎รับการรับรองจากผู๎สอบบัญชีแล๎ว จํานวน 21 แหํง และอยูํระหวํางการปิดบัญชี 2 ปี (31 มี.ค. 66 –67)จํานวน 1 แหํง คือ สหกรณ์กองทุนสวนยางบ๎านบางแก๎ว จํากัด หมายเหตุ : อ๎างอิงข๎อมูลจากงบการเงินของสหกรณ์ที่ผู๎สอบบัญชีรับรองแล๎ว


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 11 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 11 2) ข้อมูลสารสนเทศกลุ่มเกษตรกร (จําแนกตามประเภทกลุํมเกษตรกร) ข๎อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566ดังนี้ 2.1) จ านวนกลุ่มเกษตรกร แยกตามสถานะกลุ่มเกษตรกร ประเภท จ านวนกลุ่มเกษตรกร รวมทั้งสิ้น Active Non-Active ยังไม่เริ่ม ด าเนินการ ด าเนินการ เลิกกลุ่มเกษตรกร 1. กลุ่มเกษตรกรท านา - 2 - 2 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน - 11 - 11 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - 2 - 2 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง - 1 1 2 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - รวมทั้งสิ้น - 16 1 17 2.2) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (Active) และจ านวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร ประเภท จ านวนกลุ่มเกษตรกร (แหํง) จ านวนสมาชิก (ราย) 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 2 199 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน 11 1,347 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 214 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - - 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง 1 99 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - รวมทั้งสิ้น 16 1,859


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 12 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 12 2.3) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (Active) แยกตามเดือนสิ้นปีทางบัญชีของกลุ่มเกษตรกร ประเภท เดือนสิ้นปีทางบัญชีของกลุ่มเกษตรกร ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 1. กลุ่มเกษตรกรท านา - - - - - - - - - - - 2 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน - - 5 1 - - - - - - - 5 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - - - 1 - - - - - - - 1 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - - - - - - - - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง - - - - - - 1 - - - - - 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - - - - - - - - รวมทั้งสิ้น - - 5 2 - - 1 - - - - 8 2.4) จ านวนกลุ่มเกษตรกร(Active)แยกตามผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกร(เกณฑ์เดิม) ประเภท ผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกร ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 1. กลุ่มเกษตรกรท านา - 2 - - 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน - 4 7 - 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - - 2 - 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง - - 1 - 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - รวมทั้งสิ้น - 6 10 -


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 13 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 13 2.5) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (Active)และปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกรแยกตามประเภทธุรกิจ หน่วย : ล้านบาท ประเภท จ านวน กลุ่มเกษตรกร (แหํง) ปริมาณธุรกิจแยกตามประเภทธุรกิจ รับฝาก เงิน ให้ เงินกู้ จัดหาสินค้า มาจ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต ให้บริการ และอื่น ๆ รวม ปริมาณธุรกิจ 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 2 0.112 0.98 0.72 - - - 1.81 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน 11 0.037 5.02 6.23 29.92 - - 41.20 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 0.025 0.92 0.85 - - - 1.79 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - - - - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง 1 - - 3.78 - - 0.94 4.72 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - - - - รวมทั้งสิ้น 16 0.174 6.92 11.58 29.92 - 0.94 49.54 หมายเหตุ อ๎างอิงข๎อมูลจากงบการเงินของสหกรณ์ที่ผู๎สอบบัญชีรับรองแล๎ว 2.6) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (Active) และผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร (ก าไรสุทธิ/ขาดทุนสุทธิ) ประเภท ผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ก าไรสุทธิ ขาดทุนสุทธิ จ านวนกลุ่มเกษตรกร (แหํง) มูลค่า (ล๎านบาท) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (แหํง) มูลค่า (ล๎านบาท) 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 2 0.1036 - - 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน 8 0.2818 3 1.0525 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 1 0.0009 1 0.0092 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง - - 1 0.0490 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - รวมทั้งสิ้น 11 0.3863 5 1.1107 หมายเหตุ : อ๎างอิงข๎อมูลจากงบการเงินของสหกรณ์ที่ผู๎สอบบัญชีรับรองแล๎ว


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 14 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 14 3) ข้อมูลสารสนเทศกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ (จําแนกตามประเภทผลิตภัณฑ์) ข๎อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 ดังนี้ 3.1) จ านวนกลุ่มอาชีพแยกตามสถานะกลุ่มอาชีพ ประเภท Active Non-Active รวมทั้งสิ้น ด าเนินธุรกิจ ด าเนินธุรกิจ เป็นครั้งคราว หยุด ด าเนินการ แจ้งยกเลิก กลุ่มแล้ว แต่ยังไม่ได้ แจ้งคืนเงินเข้า คลังจังหวัด แจ้งยกเลิกกลุ่ม และคืนเงินเข้า คลังจังหวัด เรียบร้อยแล้ว ติดตามไม่ได้ อาหารแปรรูป 5 1 11 - 1 2 20 ผ้าและเครื่องแต่งกาย - - 3 - - - 3 ของใช้/ของตกแต่ง/ ของที่ระลึก/เครื่องประดับ 2 - 2 - - - 4 เลี้ยงสัตว์ - - 7 - - 1 8 บริการ - - - - - - - เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - - - - - - - เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ 2 - - - - 1 3 สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร/ยา - - - - - - - เพาะปลูก - - 3 - - - 3 ปัจจัยการผลิต 1 - - - - - 1 รวมทั้งสิ้น 10 1 26 - 1 4 42


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 15 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 15 ส่วนที่ 2 ผลการ ปฏิบัติราชการ


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 16 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 16 2.1 ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและแผนการ ใช้จ่ายงบประมาณ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการด าเนินภารกิจพื้นฐานเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 1) งานแนะนํา สํงเสริม สนับสนุน พัฒนาและกํากับการดําเนินงานของสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร 1.1) แนะนําสํงเสริมฯ สหกรณ์และกลุํมเกษตรกรให๎มีความเข๎มแข็งตามศักยภาพ อ าเภอเมือง ประกอบด๎วย สหกรณ์ 10 แหํง สมาชิก 7,258 คน ที่ สหกรณ์ จ านวนสมาชิก (คน) จ านวนสมาชิกสมทบ (คน) 1 สหกรณ์บริการผู๎ใช๎น้ําเกาะพยาม จํากัด 211 - 2 ร๎านสหกรณ์โรงพยาบาลระนอง จํากัด 820 - 3 สหกรณ์ออมทรัพย์ครูระนอง จํากัด 2,930 526 4 สหกรณ์ออมทรัพย์ตํารวจภูธรจังหวัดระนอง จํากัด 740 - 5 สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลระนอง จํากัด 542 190 6 สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขระนอง จํากัด 564 - 7 สหกรณ์รถยนต์โดยสารระนอง จํากัด 34 - 8 สหกรณ์ออมทรัพย์ ร.25 พัน.2 จํากัด 268 - 9 สหกรณ์การเกษตรเมืองระนอง จํากัด 372 - 10 สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานราชการจังหวัดระนอง จํากัด 61 - รวม 6,542 716 กลุํมเกษตรกร 5 แหํง สมาชิก 591 คน ที่ กลุ่มเกษตรกร จ านวนสมาชิก (คน) 1 กลุํมเกษตรกรทําประมงปากน้ํา 136 2 กลุํมเกษตรกรทําสวนเกาะช๎าง 128 3 กลุํมเกษตรกรทําสวนเกาะพยาม 110 4 กลุํมเกษตรกรทําสวนปากน้ํา 138 5 กลุํมเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ทรายแดง 79 รวม 591


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 17 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 17 ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1) แนะนําการดําเนินงานของสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร ในการแก๎ไขข๎อบังคับ สหกรณ์และกลุํมเกษตรกร เพื่อให๎สอดคล๎องกับพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก๎ไขเพิ่มเติม 2) การกําหนดระเบียบเพื่อถือใช๎ ทั้งที่ขอความเห็นชอบตํอนายทะเบียนสหกรณ์ และเพื่อทราบ เชํน ระเบียบวําด๎วยการรับฝากเงินจากสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ ระเบียบวําด๎วยการรับฝาก เงินจากนิติบุคคลอื่น ระเบียบวําด๎วยเจ๎าหน๎าที่และข๎อบังคับเกี่ยวกับการทํางาน ระเบียบวําด๎วยการให๎เงินกู๎ แกํสมาชิกสหกรณ์ ระเบียบวําด๎วยการรับจํายและเก็บรักษาเงิน ระเบียบวําด๎วยการตรวจสอบและแก๎ไขปัญหา หรือข๎อร๎องเรียนของสมาชิก จํานวน 10 สหกรณ์ 3) รายงานการสํงเสริมตามกฎกระทรวง การดําเนินงานและการกํากับดูแลสหกรณ์ ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. 2564 จํานวน 6 สหกรณ์ 4) นําเรื่องและประเด็นที่นําเสนอในการปูองกันการเกิดข๎อบกพรํองตํอที่ประชุม คณะกรรมการดําเนินการ และสรุปผลการแนะนําปูองกันการเกิดข๎อบกพรํองเสนอตํอนายทะเบียนสหกรณ์ จํานวน 10 แหํง 5) แนะนําการจัดทํารายงานประจําปีแสดงผลการดําเนินงานของสหกรณ์ และกลุํมเกษตรกร จํานวน 15 แหํง 6) การเสนองบแสดงฐานะการเงินของสหกรณ์ให๎ที่ประชุมใหญํอนุมัติภายใน 150 วัน นับแตํวันสิ้นปีทางบัญชีสหกรณ์ 7) แนะนําสํงเสริมพัฒนาสหกรณ์และกลุํมเกษตรกรเข๎ารํวมการคัดเลือกสหกรณ์ และกลุํมเกษตรกรดีเดํน ประจําปี 2565/2566 โดยบูรณาการทํางานรํวมกันกับกลุํมจัดตั้งและสํงเสริมสหกรณ์ ซึ่งสหกรณ์ออมทรัพย์ครูระนอง จํากัด เข๎ารับการคัดเลือกสหกรณ์และกลุํมเกษตรกรดีเดํนแหํงชาติประจําปี 2565/2566 8) แนะนําสํงเสริมเพื่อให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรมีการดําเนินงานตามมาตรฐาน สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรโดยรักษาเปูาหมายที่ผํานเกณฑ์มาตรฐานและผลักดันให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกร ที่ไมํผํานเกณฑ์มาตรฐานให๎ผํานเกณฑ์มาตรฐาน 9) แนะนําการสร๎างความเข๎มแข็งในสหกรณ์และกลุํมเกษตรกรเพื่อพัฒนาการจัดชั้น ของสหกรณ์ ในด๎าน 1) ความสามารถในการบริการสมาชิก (การมีสํวนรํวมของสมาชิก) 2) ประสิทธิภาพในการ ดําเนินธุรกิจ (อัตราสํวนทางการเงิน) 3) ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร (การควบคุมภายใน) 4) ประสิทธิภาพการบริหาร (ข๎อบกพรํอง) ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) คณะกรรมการดําเนินการขาดความรู๎ความเข๎าใจ ทั้งในเรื่องระเบียบ ข๎อบังคับ การบริหารธุรกิจสหกรณ์ ตลอดจนความรู๎ความเข๎าใจเกี่ยวกับบทบาท หน๎าที่ หลักการ อุดมการณ์ วิธีการ สหกรณ์ 2) สมาชิกสหกรณ์ขาดความรู๎ความเข๎าใจ เกี่ยวกับบทบาทหน๎าที่ หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ ทําให๎ขาดการมีสํวนรํวมในการดําเนินธุรกิจกับสหกรณ์ 3) ผู๎ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ ขาดความรู๎เกี่ยวกับการตรวจสอบกิจการของ สหกรณ์และไมํปฏิบัติหน๎าที่ตามข๎อบังคับของสหกรณ์ 4) การดําเนินงานยังขาดการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติงานไมํเป็นไปตาม ระเบียบ ข๎อบังคับ และการปฏิบัติงานไมํเป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่ได๎กําหนดไว๎ 5) สหกรณ์ไมํมีเจ๎าหน๎าที่บัญชี หรือมีการจัดจ๎างเจ๎าหน๎าที่บัญชีแตํไมํมีความรู๎ ความสามารถเพียงพอในการปฏิบัติงาน ทําให๎ไมํสามารถจัดทําบัญชีให๎เป็นปัจจุบัน


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 18 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 18 ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1) สํงเสริมให๎กรรมการดําเนินการ เข๎าใจบทบาทหน๎าที่ความรับผิดชอบ โดยให๎ การศึกษาอบรมเกี่ยวกับสหกรณ์ และความรู๎เกี่ยวกับการบริหารธุรกิจของสหกรณ์อยํางสม่ําเสมอ 2) มีการจัดจ๎างเจ๎าหน๎าที่บัญชี หรือกําหนดสัญญาจ๎างโดยให๎คําตอบแทนกับผู๎มี ความรู๎ในเรื่องบัญชี กําหนดระเบียบ บทบาทหน๎าที่ ตรวจสอบความถูกต๎อง กําชับ ให๎ผู๎รับลงบัญชีจัดทําบัญชี ให๎ครบถ๎วน ถูกต๎องตามแบบ ให๎เป็นปัจจุบันทุกวันทําการ บัญชีที่เกี่ยวกับเงินสดให๎บันทึกรายการในวันที่ เกิดเหตุ สําหรับรายการที่ไมํเกี่ยวกับกระแสเงินสด ให๎บันทึกในสมุดบัญชีภายในสามวันนับแตํวันที่มีเหตุ ต๎องบันทึก 3) การปูองกันและการแก๎ไขปัญหาหนี้ค๎างชําระของสมาชิกสหกรณ์ โดยมีการสํารวจ ข๎อมูลการจัดการกลุํมลูกหนี้ การวิเคราะห์ลูกหนี้รายบุคคล การบริหารจัดการลูกหนี้ตามสถานะลูกหนี้ การวางแผนอาชีพของสมาชิก การขยายหนี้และปรับโครงสร้างหนี้ของสมาชิก ภาพ : การเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์ ในพื้นที่อ าเภอเมืองระนอง


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 19 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 19 อ าเภอกะเปอร์ ประกอบด๎วย สหกรณ์3 แหํง สมาชิก 531 คน ที่ สหกรณ์ จ านวนสมาชิก (คน) จ านวนสมาชิกสมทบ (คน) 1 สหกรณ์ชาวสวนกาแฟกะเปอร์จํากัด 307 - 2 สหกรณ์การเกษตรปาล์มน้ํามันกะเปอร์จํากัด 179 - 3 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองหลางรํวมใจพัฒนา จํากัด 45 - รวม 531 - ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรได๎รับความรู๎ความเข๎าใจในหลักการสหกรณ์ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ ท าให้เห็นความส าคัญของการร่วมกันแก้ปัญหาในชุมชนตามวิธีการสหกรณ์ 2) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรได๎ทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติงานให๎เป็นไปตาม ข๎อบังคับระเบียบ คําสั่ง และกฎหมายที่เกี่ยวข๎อง 3) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรสามารถนําผลการแนะนําไปเป็นแนวทางในการบริหาร จัดการสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรให๎การบริหารงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรสามารถใช๎เงินกู๎กองทุนพัฒนาสหกรณ์และเงินกองทุน สงเคราะห์เกษตรกรให๎เป็นไปตามวัตถุประสงค์และชําระคืนภายในกําหนดสัญญา 5) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรสามารถปิดบัญชี และจัดทํางบการเงินประจําปีแล๎วเสร็จ และสามารถจัดสํงงบการเงินให๎ผู๎สอบบัญชีได๎ภายใน 30 วัน นับแตํวันสิ้นปีทางบัญชี และสามารถจัดประชุม ใหญํได๎ภายใน 150 วัน นับแตํวันสิ้นปีทางบัญชี 6) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรปฏิบัติตามแผนงานที่กําหนดไว๎ในที่ประชุมใหญํ โดยมีการ แนะนําและสํงเสริมเป็นแนวทางในการกําหนดแผนงานของสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร 7) สหกรณ์มีการใช๎ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดและสิ่งกํอสร๎างที่ได๎รับการ สนับสนุนจากภาครัฐ ให๎เป็นไปตามวัตถุประสงค์และคุ๎มคํากับงบประมาณ 8) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรมีการทบทวนระเบียบเพื่อให๎ครอบคลุมกับการดําเนินงาน และสอดคล๎องกับสถานการณ์ปัจจุบัน 9) การแนะนําสํงเสริมสหกรณ์เพื่อให๎สหกรณ์มีการดําเนินงานตามมาตรฐานสหกรณ์ ผลการเข๎าแนะนําสํงเสริมสหกรณ์ในปี 2566 จากสหกรณ์ทั้งหมด จํานวน 3 แหํง มีผลการประเมินมาตรฐาน สหกรณ์ผํานมาตรฐานสหกรณ์ในระดับดีเลิศจํานวน 1 แหํง และไมํผํานมาตรฐาน จํานวน 2 แหํง 10) การแนะนําสํงเสริม โดยนําการประเมินการควบคุมภายในจากผู๎สอบบัญชี ชี้แจง ให๎สหกรณ์รับทราบตลอดจนหาแนวทางในการปรับปรุงการดําเนินงานด๎านการควบคุมภายใน เพื่อผลักดันให๎ สหกรณ์มีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับที่ดีขึ้น ผลการจัดชั้นสหกรณ์ มีสหกรณ์ที่อยูํ ในชั้น 2 จํานวน 2 สหกรณ์ ชั้น 3 จํานวน 1 สหกรณ์ 11) แนะนําสํงเสริมสหกรณ์และกลุํมเกษตรกรให๎ปฏิบัติตามระเบียบ ข๎อบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวข๎อง และติดตามการแก๎ไขข๎อบกพรํองของสหกรณ์ ทั้งที่เป็นข๎อบกพรํองเดิมและข๎อบกพรํอง ที่เกิดขึ้นใหมํระหวํางปี 12) แนะนําสํงเสริมให๎สหกรณ์และกลุํมเกษตรกรแก๎ไขการดําเนินงานตามข๎อสังเกต ของผู๎สอบบัญชีสหกรณ์ และติดตามการแก๎ไขข๎อสังเกตของสหกรณ์ ทั้งที่เป็นข๎อสังเกตผู๎สอบบัญชีที่เกิดขึ้นใหมํ ระหวํางปีและข๎อสังเกตผู๎สอบบัญชีประจําปี


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 20 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 20 ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) คณะกรรมการดําเนินการ ขาดความรู๎ความเข๎าใจ ทั้งในเรื่องระเบียบ ข๎อบังคับ การบริหารธุรกิจสหกรณ์ ตลอดความรู๎ความเข๎าใจเกี่ยวกับบทบาท หน๎าที่ หลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ 2) สมาชิกสหกรณ์ ขาดความรู๎ความเข๎าใจ เกี่ยวกับบทบาทหน๎าที่ หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ ทําให๎ขาดการมีสํวนรํวมในการดําเนินธุรกิจกับสหกรณ์ 3) ผู๎ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ ขาดความรู๎เกี่ยวกับการตรวจสอบกิจการของ สหกรณ์และไมํปฏิบัติหน๎าที่ตามข๎อบังคับของสหกรณ์ 4) การดําเนินงานยังขาดการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติงานไมํเป็นไปตาม ระเบียบ ข๎อบังคับ และการปฏิบัติงานไมํเป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่ได๎กําหนดไว๎ 5) การขาดสภาพคลํองทางการเงินของสหกรณ์ และปัญหาเงินฝากไหลเข๎าสูํระบบ สหกรณ์ 6) สหกรณ์ไมํมีเจ๎าหน๎าที่บัญชี หรือมีการจัดจ๎างเจ๎าหน๎าที่บัญชีแตํไมํมีความรู๎ ความสามารถเพียงพอในการปฏิบัติงาน ทําให๎ไมํสามารถจัดทําบัญชีให๎เป็นปัจจุบัน 7) สหกรณ์การเกษตรไมํได๎ดําเนินงานเป็นไปตามหลักการควบคุมภายในที่ดีไมํมีการ แบํงแยกหน๎าที่ ในการปฏิบัติงาน เนื่องจากยังขาดเจ๎าหน๎าที่ในการปฏิบัติงานสหกรณ์การเกษตรไมํได๎ ดําเนินการจัดจ๎างเจ๎าหน๎าที่และบางแหํงรายได๎ไมํเพียงพอกับการจัดจ๎างเจ๎าหน๎าที่ 8) สมาชิกสหกรณ์การเกษตรสํวนใหญํเป็นผู๎สูงอายุ ขาดการรับชํวงตํอของบุคคล รุํนใหมํ ทําให๎การดําเนินธุรกิจของกลุํมไมํคลํองตัวเทําที่ควร 9) สหกรณ์การเกษตรมีผลการดําเนินงานขาดทุน เนื่องจากหนี้ค๎างนาน มีการตั้งคํา เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลงทุนในทรัพย์สินมากมีการคิดคําเสื่อมราคา มีคําใช๎จํายในการดําเนินงานสูง สหกรณ์ยังไมํ สามารถให๎บริการกับสมาชิกได๎อยํางครอบคลุมความต๎องการ ทั้งนี้สหกรณ์การเกษตรยังต๎องอาศัยทุนจาก ภายนอกในการดําเนินธุรกิจ 10) สมาชิกสหกรณ์การเกษตร มีสํวนรํวมในการทําธุรกิจน๎อย เนื่องจากสหกรณ์ไมํได๎ จัดทําฐานข๎อมูลสมาชิกมาใช๎เป็นข๎อมูลในการวางแผนงานการดําเนินธุรกิจตําง ๆ และไมํมีการสํารวจความ ต๎องการของสมาชิก ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1) สํงเสริมแนะนําสมาชิกสหกรณ์ให๎มีความจงรักภักดีกับสหกรณ์เพิ่มขึ้น 2) จัดอบรมสมาชิก/กรรมการ/ฝุายจัดการสหกรณ์ให๎เข๎าใจหลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์แบบปลูกฝังอยํางจริงจังให๎มีความรักในสหกรณ์สํงเสริมให๎กรรมการดําเนินการ เข๎าใจบทบาท หน๎าที่ความรับผิดชอบ โดยให๎การศึกษาอบรมเกี่ยวกับสหกรณ์ และความรู๎เกี่ยวกับการบริหารธุรกิจของ สหกรณ์อยํางสม่ําเสมอ 3) แนะนําให๎สหกรณ์การเกษตร ขยายการดําเนินธุรกิจโดยเพิ่มปริมาณธุรกิจ การ ซื้อ/ขาย เพื่อให๎มีรายได๎เพียงพอตํอการจัดจ๎างเจ๎าหน๎าที่ 4) แนะนําสหกรณ์ ในการระดมทุนจากสมาชิกในรูปทุนเรือนหุ๎นและเงินรับฝากจาก สมาชิก เพื่อมีทุนในการดําเนินงานอยํางเพียงพอ 5) แนะนําสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร จัดทําฐานข๎อมูลสมาชิก และการจัดชั้นสมาชิก เพื่อให๎สมาชิกมีสํวนรํวมในการดําเนินธุรกิจกับสหกรณ์ 6) แนะนําคณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ สํงเสริมธรรมาภิบาลในสหกรณ์และการ ควบคุมภายในที่ดีการควบคุมคําใช๎จํายโดยการเปรียบเทียบแผน-ผลในการปฏิบัติงานให๎เป็นไปตามแผนงาน ที่กําหนด


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 21 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 21 7) แนะนําสหกรณ์ ดําเนินการติดตามผลการปฏิบัติงานของสหกรณ์อยํางตํอเนื่อง ทุกครั้งที่มีการประชุมคณะกรรมการดําเนินการ 8) แนะนําการจัดจ๎างเจ๎าหน๎าที่บัญชี หรือกําหนดสัญญาจ๎างโดยให๎คําตอบแทนกับ ผู๎มีความรู๎ในเรื่องบัญชีกําหนดระเบียบ บทบาทหน๎าที่ ตรวจสอบความถูกต๎อง กําชับ ให๎ผู๎รับลงบัญชีจัดทํา บัญชีให๎ครบถ๎วน ถูกต๎องตามแบบ ให๎เป็นปัจจุบันทุกวันทําการ บัญชีที่เกี่ยวกับเงินสดให๎บันทึกรายการในวันที่ เกิดเหตุ สําหรับรายการที่ไมํเกี่ยวกับกระแสเงินสด ให๎บันทึกในสมุดบัญชีภายในสามวันนับแตํวันที่มีเหตุ ต๎องบันทึก 9) เก็บข๎อมูลสถิติการรํวมทําธุรกิจของสมาชิกสหกรณ์ที่ฝากและถอนเงิน รวมถึง ข๎อมูลการจํายสินเชื่อเพื่อเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์การเงินที่จะชํวยให๎สหกรณ์สามารถวิเคราะห์วัฎจักร รวมถึงการบริหารจัดการ การกู๎เงินหรือการถอนเงินในชํวงระยะเวลาใดมากน๎อยเพียงใด ทําให๎สหกรณ์สามารถ รู๎ได๎วําชํวงเวลาใดจะต๎องรักษาสภาพคลํองเทําใด 10) การปูองกันและการแก๎ไขปัญหาหนี้ค๎างชําระของสมาชิกสหกรณ์ โดยมีการ สํารวจข๎อมูลการจัดการกลุํมลูกหนี้ การวิเคราะห์ลูกหนี้รายบุคคล การบริหารจัดการลูกหนี้ตามสถานะลูกหนี้ การวางแผนอาชีพของสมาชิก การขยายหนี้และปรับโครงสร๎างหนี้ของสมาชิก ภาพ : การเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์ ในพื้นที่อ าเภอกะเปอร์


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 22 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 22 อ าเภอสุขส าราญ ประกอบด๎วย สหกรณ์ 2 แหํง สมาชิก 354 คน ที่ ชื่อสหกรณ์ จ านวนสมาชิก (คน) จ านวนสมาชิกสมทบ (คน) 1 สหกรณ์การเกษตรสุขสําราญ จํากัด 156 - 2 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนอามานะห์สุขสําราญ จํากัด 198 - รวม 354 - กลุํมเกษตรกร 1 แหํง สมาชิก 353 คน ที่ ชื่อกลุ่มเกษตรกร จ านวนสมาชิก (คน) 1 กลุํมเกษตรกรทําสวนนาคา 353 รวม 353 ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรได๎รับความรู๎ความเข๎าใจในหลักการสหกรณ์ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ทําให๎เห็นความสําคัญของการรํวมกันแก๎ปัญหาในชุมชนตามวิธีการสหกรณ์ 2) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรได๎ทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติงานให๎เป็นไปตาม ข๎อบังคับระเบียบ คําสั่ง และกฎหมายที่เกี่ยวข๎อง 3) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรสามารถนําผลการแนะนําไปเป็นแนวทางในการบริหาร จัดการสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรให๎การบริหารงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรสามารถใช๎เงินกู๎กองทุนพัฒนาสหกรณ์และเงินกองทุน สงเคราะห์เกษตรกรให๎เป็นไปตามวัตถุประสงค์และชําระคืนภายในกําหนดสัญญา 5) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรสามารถปิดบัญชี และจัดทํางบการเงินประจําปีแล๎วเสร็จ และสามารถจัดสํงงบการเงินให๎ผู๎สอบบัญชีได๎ภายใน 30 วัน นับแตํวันสิ้นปีทางบัญชี และสามารถ จัดประชุมใหญํได๎ภายใน 150 วัน นับแตํวันสิ้นปีทางบัญชี 6) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรปฏิบัติตามแผนงานที่กําหนดไว๎ในที่ประชุมใหญํ โดยมีการ แนะนําและสํงเสริมเป็นแนวทางในการกําหนดแผนงานของสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร 7) สหกรณ์มีการใช๎ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดและสิ่งกํอสร๎างที่ได๎รับการ สนับสนุนจากภาครัฐ ให๎เป็นไปตามวัตถุประสงค์และคุ๎มคํากับงบประมาณ 8) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรมีการทบทวนระเบียบเพื่อให๎ครอบคลุมกับการดําเนินงาน และสอดคล๎องกับสถานการณ์ปัจจุบัน 9) การแนะนําสํงเสริมสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร เพื่อให๎สหกรณ์และกลุํมเกษตรกร มีการดําเนินงานตามมาตรฐานสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร ผลการเข๎าแนะนําสํงเสริมในปี 2566 จากสหกรณ์ ทั้งหมด จํานวน 2 แหํง มีผลการประเมินมาตรฐานสหกรณ์ผํานมาตรฐาน 1 แหํง ไมํผํานมาตรฐาน จํานวน 1 แหํง และกลุํมเกษตรกร จํานวน 1 แหํง ผํานมาตรฐาน 10) ผลการจัดชั้นสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร มีสหกรณ์และกลุํมเกษตรกรอยูํในชั้น 2 11) แนะนําสํงเสริมสหกรณ์และกลุํมเกษตรกรให๎ปฏิบัติตามระเบียบ ข๎อบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวข๎อง และติดตามการแก๎ไขข๎อบกพรํองของสหกรณ์ ทั้งที่เป็นข๎อบกพรํองที่มีอยูํเดิมและ ข๎อบกพรํองที่เกิดขึ้นใหมํระหวํางปี


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 23 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 23 12) การแนะนําสํงเสริมการใช๎หลักธรรมาภิบาลและการควบคุมภายในที่ดีสําหรับ สหกรณ์มาใช๎ในการบริหารงานของสหกรณ์เพื่อให๎การบริหารงานมีความโปรํงใสสามารถตรวจสอบได๎ ปูองกัน การทุจริตที่อาจจะเกิดขึ้นกับสหกรณ์ 13) การดําเนินการแก๎ไขข๎อบกพรํองของสหกรณ์ตามคําสั่งของนายทะเบียนสหกรณ์ ในพื้นที่อําเภอสุขสําราญมีสหกรณ์ที่มีข๎อบกพรํอง ซึ่งนายทะเบียนสหกรณ์สั่งการให๎แก๎ไข จํานวน 1 สหกรณ์ ซึ่งแก๎ไขแล๎วเสร็จอยูํระหวํางติดตามการแก๎ไข ได๎แกํสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนอามานะห์สุขสําราญ จํากัด ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) สหกรณ์ไมํมีเจ๎าหน๎าที่บัญชี และได๎มอบหมายคณะกรรมการดําเนินการรับผิดชอบ จัดทําบัญชีซึ่งมีความรู๎ความสามารถไมํเพียงพอในการปฏิบัติงาน ทําให๎ไมํสามารถจัดทําบัญชีให๎เป็นปัจจุบัน และไมํสามารถจัดทํางบการเงินได๎ 2) กรรมการของสหกรณ์ ขาดความรู๎ความเข๎าใจ ทั้งในเรื่องระเบียบ ข๎อบังคับการ บริหารธุรกิจสหกรณ์ตลอดจนความรู๎ความเข๎าใจเกี่ยวกับบทบาท หน๎าที่ หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการ สหกรณ์ 3) สมาชิกสหกรณ์ ขาดความรู๎ความเข๎าใจ เกี่ยวกับบทบาท หน๎าที่อุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ทําให๎ขาดการมีสํวนรํวมในการดําเนินธุรกิจกับสหกรณ์ 4) ผู๎ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ เมื่อได๎รับการเลือกตั้ง ไมํปฏิบัติหน๎าที่ตรวจสอบ กิจการ หรือปฏิบัติหน๎าที่แล๎วตรวจสอบแล๎วไมํมีรายงานผลการตรวจสอบกิจการสหกรณ์อยํางเป็นลายลักษณ์ อักษร 5) สหกรณ์การเกษตรขาดแคลนเกษตรกรรุํนใหมํที่จะเข๎ามาพัฒนาหรือเป็น คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์เนื่องจากจังหวัดระนองเป็นเมืองทํองเที่ยวสมาชิกสหกรณ์ภาคการเกษตร สํวนใหญํเปลี่ยนอาชีพไปประกอบธุรกิจสํวนตัว 6) สหกรณ์ไมํสามารถหาเงินทุนหมุนเวียนมาพัฒนาธุรกิจได๎อยํางเต็มที่ การติดตาม ลูกหนี้ค๎างชําระไมํได๎ผลเทําที่ควร และมีภาระต๎องจํายชําระเจ๎าหนี้ตามกําหนดสัญญา 7) ปัญหาการสร๎างความเชื่อมั่น : จากปัญหาข๎อบกพรํองที่เกิดกับสหกรณ์ในอดีต ทําให๎สมาชิกขาดความเชื่อมั่น การรํวมดําเนินธุรกิจสหกรณ์ (ลดลง) การรํวมกิจกรรมสหกรณ์(เข๎ารํวมน๎อย) ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1) แนะนําให๎ทบทวนแผนงานการฟื้นฟูสหกรณ์และประมาณการรายได๎-คําใช๎จําย ให๎เหมาะสมกับธุรกิจของสหกรณ์ตามสภาวการณ์ 2) แนะนําให๎สหกรณ์ลงประชุมสมาชิกติดตามเรํงรัดหนี้อยํางตํอเนื่องและจริงจัง , การดําเนินการเจรจาประนอมหนี้ , การฟูองดําเนินคดีกับลูกหนี้ที่ค๎างนาน 3) ติดตามผลการดําเนินงานตามแผนการฟื้นฟู และแนวทางการแก๎ไข ในการประชุม คณะกรรมการสหกรณ์ ไตรมาสละ 1 ครั้ง 4) หาแนวทางในการบริหารจัดการธุรกิจให๎ดําเนินตํอไปอยํางมีประสิทธิภาพภายใต๎ สภาพแวดล๎อมทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมซึ่งอาจสํงผลกระทบตํอสหกรณ์ 5) แนะนําสหกรณ์ประชาสัมพันธ์สมาชิกให๎มารํวมกิจกรรมและดําเนินธุรกิจสหกรณ์ เพิ่มขึ้น


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 24 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 24 6) เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ๎าหน๎าที่ โดยการเข๎ารับการอบรมในเรื่อง ตําง ๆ ที่เกี่ยวข๎องกับการปฏิบัติงานอยํางสม่ําเสมอ เชํน ความรู๎ในด๎านการจัดทําบัญชี การตรวจสอบกิจการ ตลอดจนให๎มีการจัดทําคูํมือในการปฏิบัติงานของสหกรณ์หากมีการเปลี่ยนแปลงผู๎ปฏิบัติงานจะทําให๎สามารถ ปฏิบัติงานได๎อยํางตํอเนื่อง 7) สํงเสริมให๎คณะกรรมการดําเนินการเข๎าใจบทบาทหน๎าที่ของคณะกรรมการ ดําเนินการ ความรู๎เกี่ยวกับสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร และความรู๎เกี่ยวกับการบริการธุรกิจสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร อยํางสม่ําเสมอ 8) ให๎มีการจัดทําองค์ความรู๎ของสหกรณ์หรือคูํมือการปฏิบัติงานเพื่อความตํอเนื่อง กรณีมีการเปลี่ยนเจ๎าหน๎าที่สหกรณ์คนใหมํ 9) สํงเสริมการประกอบอาชีพอื่นๆ ที่กํอให๎เกิดรายได๎ที่เพิ่มขึ้นนอกเหนือจากอาชีพ หลักที่สมาชิกทําอยูํ เชํน อบรมอาชีพเสริมระยะสั้น สํงเสริมการจัดทําบัญชีครัวเรือนเพื่อลดคําใช๎จํายฟุุมเฟือย และไมํจําเป็น ภาพ : การเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์ ในพื้นที่อ าเภอสุขส าราญ


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 25 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 25 อ าเภอกระบุรี ประกอบด๎วย สหกรณ์ 6 แหํง สมาชิก 13,542 คน ที่ สหกรณ์ จ านวนสมาชิก (คน) จ านวนสมาชิกสมทบ (คน) 1 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค๎า ธ.ก.ส. ระนอง จํากัด 11,008 334 2 สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด 894 - 3 สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด 499 - 4 สหกรณ์การเกษตรในเขตปฏิรูปที่ดินปุาน้ําขาว จํากัด 375 - 5 สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด 591 - 6 สหกรณ์กองทุนสวนยาง จ.ป.ร.3 จํากัด 175 - รวม 13,542 334 กลุํมเกษตรกร 8 แหํง สมาชิก 785 คน ที่ กลุ่มเกษตรกร จ านวนสมาชิก (คน) 1 กลุํมเกษตรกรทํานาปากจั่น 132 2 กลุํมเกษตรกรทํานาน้ําจืดน๎อยมะมุ 67 3 กลุํมเกษตรกรทําสวนมะมุ 74 4 กลุํมเกษตรกรทําสวนปากจั่น 108 5 กลุํมเกษตรกรทําสวน จปร. 106 6 กลุํมเกษตรกรทําสวนยาง สกย. บ๎านฝุายคลองน้ําจืด 105 7 กลุํมเกษตรกรทําสวนผสมบ๎านในกรัง 58 8 กลุํมเกษตรกรผู๎เลี้ยงโคเนื้อกระบุรี 135 รวม 785 ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ในความรับผิดชอบของอําเภอกระบุรี จังหวัดระนอง เป็นสหกรณ์ภาค การเกษตรร๎อยละ 100 สหกรณ์สํวนใหญํประกอบธุรกิจจัดหาสินค๎ามาจําหนําย ธุรกิจรวบรวมผลผลิต ธุรกิจ สินเชื่อ และธุรกิจรับฝากเงิน สํวนกลุํมเกษตรกรแบํงเป็นกลุํมเกษตรกรทําสวน ร๎อยละ 70 กลุํมเกษตรกรทํานา ร๎อยละ 20 และกลุํมเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ ร๎อยละ 10 กลุํมเกษตรกรสํวนใหญํประกอบธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน ธุรกิจจัดหาสินค๎ามาจําหนําย และธุรกิจรวบรวมผลผลิต ผลผลิตทางการเกษตรที่สําคัญของสมาชิกสหกรณ์/ กลุํมเกษตรกรในพื้นที่อําเภอกระบุรี ประกอบด๎วย กาแฟ มังคุด ปาล์มน้ํามัน และยางพารา เป็นต๎น กลุํมสํงเสริมสหกรณ์ 2 มีภารกิจและหน๎าที่ในการแนะนํา สํงเสริม และกํากับดูแลสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร ในความรับผิดชอบ โดยได๎เข๎าแนะนําสํงเสริมและแก๎ไขปัญหาของสหกรณ์ตามแผนงานที่กําหนด และให๎ สอดคล๎องกับแผนพัฒนาสหกรณ์ฉบับที่ 5 โดยมุํงเน๎นการพัฒนาศักยภาพของสหกรณ์ให๎มีความเข๎มแข็งอยําง ตํอเนื่อง เสริมสร๎างศักยภาพการบริหารจัดการสหกรณ์ให๎มีประสิทธิภาพ มีเสถียรภาพ และธรรมาภิบาลเพื่อมุํงสูํ การเป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง เน๎นพัฒนาตามแนวทางการพัฒนาเพื่อให๎สหกรณ์และกลุํมเกษตรกรเกิดความ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน โดยดําเนินการเริ่มจากการรวบรวมข๎อมูลของสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร ในด๎านการบริหาร จัดการองค์กร ด๎านการบริหารจัดการธุรกิจ เพื่อวิเคราะห์ประเด็นตําง ๆ ในแตํละด๎านรํวมกับกลุํมงาน แล๎วนํามาสรุปผลการวิเคราะห์รายแหํง เพื่อกําหนดเปูาหมายการปฏิบัติงาน ประเด็นที่ต๎องแนะนํา สํงเสริม


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 26 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 26 พัฒนา เพื่อให๎สหกรณ์และกลุํมเกษตรกรได๎รับการชํวยเหลือในการฟื้นฟู กิจการ/แก๎ไขปัญหาการดําเนินกิจการ ได๎รับการสํงเสริมเพิ่มศักยภาพการดําเนินกิจการให๎มีความ เข๎มแข็ง ได๎รับสํงเสริมให๎มีการบริหารจัดการตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาล ตลอดจนพัฒนาตํอยอด/ยกระดับเป็นสหกรณ์ และกลุํมเกษตรกรที่มีสมรรถนะสูง (ดีเดํน) รวมถึงการกํากับดูแล สหกรณ์ให๎ดําเนินกิจการภายใต๎กฎหมาย สหกรณ์ และกฎหมายที่เกี่ยวข๎องเป็นการชํวยลดปัญหาข๎อบกพรํองหรือความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งผลการ เข๎าแนะนํา สํงเสริม และแก๎ไขปัญหาสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร สามารถสรุปได๎ดังนี้ 1) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรได๎รับความรู๎ความเข๎าใจในหลักการสหกรณ์ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ทําให๎เห็นความสําคัญของการรํวมกันแก๎ปัญหาในชุมชนตามวิธีการสหกรณ์ 2) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกร มีการบริหารจัดการโดยยึดแนวทางตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 3) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรได๎ทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติงานให๎เป็นไปตาม ข๎อบังคับ ระเบียบ คําสั่ง และกฎหมายที่เกี่ยวข๎อง 4) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรสามารถนําผลการแนะนําไปเป็นแนวทางในการบริหาร จัดการสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรให๎การบริหารงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 5) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรสามารถใช๎เงินกู๎กองทุนพัฒนาสหกรณ์และเงินกองทุน สงเคราะห์เกษตรกรให๎เป็นไปตามวัตถุประสงค์และชําระคืนภายในกําหนดสัญญา 6) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรสามารถปิดบัญชี และจัดทํางบการเงินประจําปีแล๎วเสร็จ และสามารถจัดสํงงบการเงินให๎ผู๎สอบบัญชีได๎ภายใน 30 วัน นับแตํวันสิ้นปีทางบัญชี และสามารถ จัดประชุมใหญํได๎ภายใน 150 วัน นับแตํวันสิ้นปีทางบัญชี 7) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรปฏิบัติตามแผนงานที่กําหนดไว๎ในที่ประชุมใหญํ โดยมี การแนะนําและสํงเสริมเป็นแนวทางในการกําหนดแผนงานของสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร 8) สหกรณ์มีการใช๎ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดและสิ่งกํอสร๎างที่ได๎รับการ สนับสนุนจากภาครัฐ ให๎เป็นไปตามวัตถุประสงค์และคุ๎มคํากับงบประมาณ 9) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรมีการทบทวนระเบียบเพื่อให๎ครอบคลุมกับการ ดําเนินงานและสอดคล๎องกับสถานการณ์ปัจจุบัน 10) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกร ได๎ทราบแนวทางการพัฒนาสหกรณ์และ กลุํมเกษตรกรตามแผนพัฒนาสหกรณ์ฉบับที่ 5 เพื่อกําหนดเปูาหมายและทิศทางการพัฒนาการสหกรณ ป พ.ศ. 2566-2570 ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) สหกรณ์บางแหํงประสบปัญหาขาดทุนสะสมติดตํอกันหลายปีทําให๎สมาชิกขาด ความเชื่อมั่นและไมํศรัทธาในสหกรณ์ สมาชิกจึงไมํมาทําธุรกิจกับสหกรณ์ 2) ปัญหาด๎านเศรษฐกิจทําให๎ราคาผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่มีความผันผวน มีการปรับราคาขึ้นลง สหกรณ์ไมํสามารถคาดเดาถึงสถานการณ์หรือแนวโน๎มด๎านราคาได๎ 3) การรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร (กาแฟสาร) ของสมาชิกสหกรณ์มีคุณภาพ ไมํได๎ตามเกณฑ์ ไมํสามารถหาตลาดรองรับที่แนํนอน สหกรณ์ต๎องสต๏อกสินค๎ารอการจําหนํายไว๎เป็น เวลานาน ทําให๎สํงผลตํอคุณภาพสินค๎าและการขาดหายของน้ําหนักสินค๎า 4) การขาดสภาพคลํองทางการเงินของสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร ทําให๎ไมํสามารถ ดําเนินธุรกิจได๎อยํางตํอเนื่อง ไมํสามารถตอบสนองความต๎องการด๎านธุรกิจของสมาชิกได๎ตรงตามควา ม ต๎องการ


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 27 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 27 5) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรบางแหํงการจัดทําบัญชีไมํเป็นปัจจุบัน ไมํมีความพร๎อม ด๎านบุคลากรและความรู๎ความเข๎าใจ เนื่องจากไมํได๎จัดจ๎างเจ๎าหน๎าที่บัญชี มีเพียงมอบหมายกรรมการ ซึ่งไมํได๎มีความรู๎ด๎านบัญชี จึงไมํสามารถจัดทํารายละเอียดและงบการเงินให๎ผู๎สอบบัญชีตรวจสอบภายใน กําหนดได๎ 6) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรบางแหํงมุํงเน๎นชํวยเหลือสมาชิกในด๎านการให๎สินเชื่อ โดยมิได๎คํานึงถึงความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิก อัตราสภาพคลํองทางการเงิน ไมํมีการวิเคราะห์ ผลการดําเนินธุรกิจของสหกรณ์ สํงผลให๎สหกรณ์ขาดสภาพคลํองทางการเงิน รวมทั้งการกําหนดระเบียบ ไมํสอดคล๎องกับธุรกิจ และไมํมีระบบการควบคุมภายในที่ดี 7) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรบางแหํง ไมํมีการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติงาน ไมํเป็นไปตามระเบียบ ข๎อบังคับ และการปฏิบัติงานไมํเป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่กําหนดไว๎ โดยไมํมี การเปรียบเทียบแผนปฏิบัติงานกับผลปฏิบัติที่เกิดขึ้น 8) สมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรขาดการมีสํวนรํวม คือ สมาชิกไมํเห็นคุณคําของ การรํวมทํากิจกรรมและการทําธุรกิจตําง ๆ กับสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร และจํานวนสมาชิกที่เข๎าประชุมใหญํ สามัญประจําปีลดน๎อยลง 9) สหกรณ์ไมํสามารถดําเนินงานได๎ตามแผน สํงผลให๎สิ่งกํอสร๎างและอุปกรณ์ การตลาด ไมํได๎ใช๎งานได๎อยํางเต็มประสิทธิภาพ มีความเสี่ยงการเสื่อมสภาพและทรุดโทรม 10) ด๎วยปัญหาด๎านเศรษฐกิจ สังคม ภัยธรรมชาติ และโรคระบาด สํงผลให๎ สมาชิกที่มีหนี้ค๎างชําระไมํสามารถมาชําระหนี้ได๎ตามกําหนด ทําให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรต๎องมีการตั้งคํา เผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามหลักเกณฑ์ ทําให๎เกิดเป็นคําใช๎จํายซึ่งสํงผลตํอการดําเนินงานของสหกรณ์/ กลุํมเกษตรกร ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรที่มีปัญหาขาดทุนสะสม จํานวน 4 แหํง ดําเนินการเชิงรุกในทุกธุรกิจของสหกรณ์ โดยมีการจัดทําแผนงานประจําปีและติดตามผลรายเดือนเปรียบเทียบ แผน-ผลการปฏิบัติงาน เป็นการประเมินผลการดําเนินงานและหาแนวทางแก๎ไขเมื่อไมํเป็นไปตามแผนงาน ที่กําหนดไว๎เพื่อให๎การดําเนินงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น 2) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรมีการดําเนินธุรกิจตามความต๎องการ ของสมาชิกเพื่อสํงเสริมการมีสํวนรํวมของสมาชิกโดยสํารวจความต๎องการของสมาชิกในด๎านตําง ๆ และควรมี การประชาสัมพันธ์กิจกรรมตําง ๆ ของสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรเพื่อให๎สมาชิกได๎รับทราบขําวสารและมารํวมทํา ธุรกิจและกิจกรรมกับสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร 3) แนะนําสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรหามาตรการหรือเตรียมการรองรับผลกระทบ ทั้งในด๎านการจัดการเงินทุนและหาแนวทางในการบริหารธุรกิจให๎ดําเนินไปได๎อยํางมีประสิทธิภาพภายใต๎ สภาพแวดล๎อมจากสภาพแวดล๎อมทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม 4) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรมีการระดมทุนภายในกํอนที่จะไปหา แหลํงเงินทุนภายนอก โดยสํงเสริมการออมและการระดมหุ๎นของสมาชิก 5) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกร วิเคราะห์ฐานะทางการเงินของสหกรณ์ จากงบทดลอง และงบการเงิน เพื่อเป็นแนวทางในการกําหนดแผนงาน และงบประมาณในการดําเนินธุรกิจ 6) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรมีการควบคุมคําใช๎จํายโดยการ เปรียบเทียบ แผน-ผลในการปฏิบัติงานให๎เป็นไปตามแผนงานที่กําหนด


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 28 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 28 7) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์ที่มีปัญหาหนี้ค๎างชําระ จํานวน 3 แหํง ประกอบด๎วย 7.1 สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตกระบุรี จํากัด ลูกหนี้เงินกู๎ยืมผิดนัดชําระหนี้ จํานวน 171 ราย 316 สัญญา จํานวนเงิน 12,061,596.00 บาท 7.2 สหกรณ์การเกษตรกระบุรี จํากัด ลูกหนี้เงินกู๎ยืมผิดนัด จํานวน 175 ราย จํานวนเงิน 6,662,981.32 บาท 7.3 สหกรณ์การเกษตรในเขตปฏิรูปที่ดินปุาน้ําขาว จํากัด ลูกหนี้เงินกู๎ยืมผิดนัด 171 ราย 304 สัญญา เป็นจํานวนเงิน 6,471,497.08 บาท โดยให๎คณะกรรมการดําเนินการมีการติดตามผลการชําระหนี้ของสมาชิก ให๎เป็นไปตามที่กําหนดและตํอเนื่อง มีการกําหนดมาตรการควบคุมและปูองกันการผิดนัดชําระหนี้ของสมาชิก เพื่อสร๎างวินัยในการชําระหนี้ รวมถึงสหกรณ์เข๎ารํวมโครงการแก๎ไขปัญหาหนี้ของสมาชิก แนะนําการแก๎ไข ปัญหาหนี้ตามแนวทางการแก๎ไขปัญหาหนี้สินของสมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร กรมสํงเสริมสหกรณ์ 8) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรมีการพิจารณาถึงความสามารถในการ ชําระหนี้ของสมาชิกเป็นสําคัญในการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ มีการติดตามการใช๎เงินกู๎ให๎เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ รวมถึงการจัดชั้นลูกหนี้เพื่อสร๎างแรงจูงใจและวินัยในการชําระหนี้ 9) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรดําเนินธุรกิจตามหลักการตลาดนําการ ผลิต ติดตํอผู๎รับซื้อผลผลิตโดยมีการจัดทําข๎อตกลงสัญญาระหวํางกันอยํางชัดเจน จัดประชุมกลุํมสมาชิกเพื่อให๎ ความรู๎และข๎อตกลงในเรื่องคุณภาพผลผลิต วิธีการรวบรวม การจําหนํายที่ชัดเจน เพื่อให๎เกิดความเข๎าใจ ตรงกันระหวํางสมาชิกและสหกรณ์ 10) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรมีการจัดทําแผนการใช๎ประโยชน์ สิ่งกํอสร๎างและอุปกรณ์การตลาด และควรดําเนินการไปตามแผน รวมถึงการจัดให๎มีผู๎ดูแล บํารุงรักษาอุปกรณ์ เพื่อปูองกันการเสื่อมสภาพ และชํารุดทรุดโทรม 11) กํากับ ดูแลให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรรักษาสถานภาพที่ไมํมีข๎อบกพรํอง หากมี ลางบอกเหตุ/สัญญาณเตือนอื่นๆ เชํน ทรัพย์สิน/สินค๎า/สิ่งของสูญหาย เงินสดขาด/เกินบัญชี ให๎แจ๎งมายัง สํานักงานสหกรณ์จังหวัดโดยเร็ว สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จ ากัด 1) ผลงาน/ความส าเร็จ สหกรณ์ได๎จดทะเบียนเป็นสหกรณ์ประเภทการเกษตรเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2538 ปีบัญชีของสหกรณ์ คือวันที่ 31 มีนาคม ของทุกปี สหกรณ์มีการดําเนินธุรกิจ คือ 5 ด๎าน ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน ธุรกิจจัดหาสินค๎ามาจําหนําย ธุรกิจรวบรวมผลผลิต ธุรกิจแปรรูปและผลิตสินค๎า ในปีบัญชี สิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2566 สหกรณ์มีความเข๎มแข็งอยูํในระดับชั้นที่ 1 สหกรณ์มีสมาชิก จํานวน 591 คน ทุนดําเนินงาน จํานวน 28,490,074.31 บาท กําไรสุทธิ จํานวน 1,850,970.06 บาท สหกรณ์ได๎มีการจัดสรร กําไรสุทธิตามข๎อบังคับ และจํายคืนในรูปของเงินปันผลและเงินเฉลี่ยคืนให๎กับสมาชิก ทําให๎สมาชิกเกิดความ เชื่อมั่นและหันมารํวมทําธุรกิจกับสหกรณ์ สหกรณ์ยังให๎ความสําคัญกับสมาชิก ชํวยเหลือสมาชิกด๎วยธุรกิจ ที่ครบวงจร คือ มีการดําเนินธุรกิจสินเชื่อ โดยให๎สมาชิกกู๎ยืมเงินไปใช๎ในการประกอบอาชีพ เพิ่มผลผลิตทาง การเกษตร ดําเนินธุรกิจจัดหาสินค๎ามาจําหนํายให๎กับสมาชิก ด๎วยราคาต่ํากวําท๎องตลาด ธุรกิจรวบรวมผลผลิต แก๎ปัญหาสมาชิกถูกกดราคาจากพํอค๎าคนกลาง สํงเสริมให๎สมาชิกเห็นความสําคัญของการออม โดยธุรกิจ เงินรับฝากที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงกวําสถาบันการเงินในท๎องที่ ดําเนินธุรกิจแปรรูปและผลิตสินค๎า โดยแปรรูป


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 29 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 29 ปุ๋ยผสมและน้ํากรดจับยางเพื่อจําหนํายให๎สมาชิกซึ่งมีราคาต่ํากวําท๎องตลาดทั่วไป เป็นการชํวยลดต๎นทุน การผลิตให๎กับสมาชิก นอกจากนี้สหกรณ์ยังมีการดําเนินกิจกรรมตําง ๆ เพื่อเป็นการชํวยเหลือสังคมอยูํเสมอ เชํน การทําบุญทอดผ๎าปุาสามัคคี การทําบุญทอดกฐิน การสนับสนุนกิจกรรมวันเด็ก และกิจกรรม สาธารณประโยชน์ตําง ๆ ในท๎องถิ่น เป็นต๎น ผลกระทบจากสภาวะทางเศรษฐกิจสํงผลให๎ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาตกต่ํา สหกรณ์มีการสนับสนุนเงินทุนให๎สมาชิกกู๎ยืมในอัตราดอกเบี้ยต่ํา เพื่อให๎สมาชิกกู๎ยืมประกอบอาชีพ ทําให๎มี รายได๎เพิ่ม มีความกินดีอยูํดี และสามารถสํงคืนชําระเงินกู๎ได๎ตามกําหนดสัญญา สหกรณ์มีบุคลากรที่มีศักยภาพและเพียงพอในการดําเนินกิจการมีการประชุม คณะกรรมการดําเนินการเพื่อติดตามผลการดําเนินกิจการเป็นประจําทุกเดือน สหกรณ์ได๎รับการสนับสนุน เงินทุนในการดําเนินงานจากกองทุนพัฒนาสหกรณ์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการดําเนินธุรกิจ และเพื่อให๎ สมาชิกกู๎ยืมไปประกอบอาชีพ จํานวน 2 โครงการ ประกอบด๎วย 1. โครงการจัดหาและปรับปรุงแหลํงน้ําของสมาชิกสหกรณ์ วัตถุประสงค์เพื่อให๎ สมาชิกกู๎ยืม จํานวน 1,500,000 บาท 2. โครงการสนับสนุน สํงเสริมอาชีพเลี้ยงสัตว์ของสมาชิกสหกรณ์ ปี พ.ศ. 2566 จํานวน 200,000 บาท 2) ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง แนะนําและสํงเสริมให๎สหกรณ์กองทุนสวนยาง คอคอดกระ จํากัด ดําเนินการ ดังนี้ 2.1 แนะนํา สํงเสริม และชี้แจงคณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ เรื่อง เกณฑ์ประเมินความเข๎มแข็งของสหกรณ์ ทั้ง 4 มิติ เพื่อให๎สหกรณ์รักษาระดับชั้นความเข๎มแข็งชั้น 1 2.2 ให๎คําแนะนํา สํงเสริมเพื่อพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ การเพิ่มปริมาณธุรกิจ การสร๎างการมีสํวนรํวมของสมาชิก 2.3 แนะนําสํงเสริมให๎สหกรณ์เห็นความสําคัญกับการจัดสรรและจํายทุน สวัสดิการ และทุนสาธารณประโยชน์ ซึ่งถือวําเป็นความรับผิดชอบตํอสังคมของสหกรณ์ คือ มีความรับผิดชอบ ตํอสมาชิกและมีความรับผิดชอบตํอชุมชน สังคม และผู๎ที่มีสํวนเกี่ยวข๎อง ที่ทําให๎สหกรณ์ดําเนินธุรกิจประสบ ความสําเร็จ ซึ่งเป็นไปตามหลักสหกรณ์ หลักธรรมาภิบาล และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความรับผิดชอบตํอ สมาชิก ชุมชนและสังคม จะกํอให๎เกิดประโยชน์และสร๎างความเข๎มแข็งให๎กับสหกรณ์ 2.4 ให๎คําแนะนําสํงเสริมเกี่ยวกับอัตราสํวนทางการเงินในการดําเนินธุรกิจ และการบริหาร เพื่อยกระดับประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจของสหกรณ์ 2.5 แนะนํา สํงเสริม ทําความเข๎าใจ และชี้แจงคณะกรรมการดําเนินการของ สหกรณ์ เรื่องการควบคุมภายใน ชี้แจงจุดอํอนของการควบคุมภายในตามข๎อสังเกตของผู๎สอบบัญชี และแนะนํา แนวทางในการแก๎ไข 2.6 ให๎คําแนะนํา สํงเสริม กํากับ ติดตามการดําเนินงานให๎สหกรณ์ปฏิบัติตาม กฎหมาย ข๎อบังคับ ระเบียบและคําแนะนําที่เกี่ยวข๎องเพื่อเป็นการปูองกันไมํให๎เกิดข๎อบกพรํองในการ ดําเนินงาน 2.7 แนะนํา สํงเสริม โดยดําเนินการเชิงรุกในทุกธุรกิจของสหกรณ์ โดยมีการ จัดทําแผนงานประจําปีและติดตามผลรายเดือนเพื่อให๎งานเป็นไปตามแผน เพื่อเป็นการประเมินผลการ ดําเนินงานให๎มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 30 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 30 ภาพ : กิจกรรมการแนะนํา สํงเสริมและการดําเนินธุรกิจ ของสหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จํากัด


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 31 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 31 อ าเภอละอุ่น ประกอบด๎วย สหกรณ์ 1 แหํง สมาชิก 165 คน ที่ ชื่อสหกรณ์ จ านวนสมาชิก (คน) จ านวนสมาชิกสมทบ (คน) 1 สหกรณ์กองทุนสวนยางบ๎านบางแก๎ว จํากัด 157 - รวม 157 - กลุํมเกษตรกร 2 แหํง สมาชิก 156 คน ที่ ชื่อกลุ่มเกษตรกร จ านวนสมาชิก (คน) 1 กลุํมเกษตรกรทําสวนบางแก๎ว 91 2 กลุํมเกษตรกรทําสวนมังคุดบ๎านในวง 63 รวม 154 ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ในความรับผิดชอบของอําเภอละอุํน จังหวัดระนอง เป็นสหกรณ์ภาค การเกษตร ร๎อยละ 100 สหกรณ์ประกอบธุรกิจรวบรวมผลผลิต ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน และธุรกิจจัดหา สินค๎ามาจําหนําย สํวนกลุํมเกษตรกรเป็นกลุํมเกษตรกรทําสวน ร๎อยละ 100 กลุํมเกษตรกรสํวนใหญํประกอบ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน และธุรกิจจัดหาสินค๎ามาจําหนําย ผลผลิตทางการเกษตรที่สําคัญของสมาชิก สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรในพื้นที่อําเภอละอุํน ประกอบด๎วย มังคุด ทุเรียน ปาล์มน้ํามัน และยางพารา เป็นต๎น กลุํมสํงเสริมสหกรณ์ 2 มีภารกิจและหน๎าที่ในการแนะนํา สํงเสริม และกํากับดูแลสหกรณ์ในความรับผิดชอบ โดยได๎เข๎าแนะนําสํงเสริมและแก๎ไขปัญหาของสหกรณ์ตามแผนงานที่กําหนด และให๎สอดคล๎องกับแผนพัฒนา สหกรณ์ฉบับที่ 5 โดยมุํงเน๎นการพัฒนาศักยภาพของสหกรณ์ให๎มีความเข๎มแข็งอยํางตํอเนื่อง เสริมสร๎าง ศักยภาพการบริหารจัดการสหกรณ์ให๎มีประสิทธิภาพ มีเสถียรภาพ และธรรมาภิบาลเพื่อมุํงสูํการเป็นองค์กร ที่มีสมรรถนะสูง เน๎นพัฒนาตามแนวทางการพัฒนาเพื่อให๎สหกรณ์และกลุํมเกษตรกรเกิดความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน โดยดําเนินการเริ่มจากการรวบรวมข๎อมูลของสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร ในด๎านการบริหารจัดการ องค์กร ด๎านการบริหารจัดการธุรกิจ เพื่อวิเคราะห์ประเด็นตําง ๆ ในแตํละด๎านรํวมกับกลุํมงาน แล๎วนํามา สรุปผลการวิเคราะห์รายแหํง เพื่อกําหนดเปูาหมายการปฏิบัติงาน ประเด็นที่ต๎องแนะนํา สํงเสริม พัฒนา เพื่อให๎สหกรณ์และกลุํมเกษตรกรได๎รับการชํวยเหลือในการฟื้นฟู กิจการ/แก๎ไขปัญหาการดําเนินกิจการ ได๎รับ การสํงเสริมเพิ่มศักยภาพการดําเนินกิจการให๎มีความเข๎มแข็ง ได๎รับการสํงเสริมให๎มีการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาล ตลอดจนพัฒนาตํอยอด/ยกระดับเป็น สหกรณ์และกลุํมเกษตรกรที่มีสมรรถนะสูง (ดีเดํน) รวมถึงการกํากับดูแล สหกรณ์ให๎ดําเนินกิจการภายใต๎ กฎหมายสหกรณ์ และกฎหมายที่เกี่ยวข๎อง เป็นการชํวยลดปัญหาข๎อบกพรํองหรือความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งผลการเข๎าแนะนํา สํงเสริม และแก๎ไขปัญหาสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร สามารถสรุปได๎ดังนี้ 1) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรได๎รับความรู๎ความเข๎าใจในหลักการสหกรณ์ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ทําให๎เห็นความสําคัญของการรํวมกันแก๎ปัญหาในชุมชนตามวิธีการสหกรณ์ 2) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกร มีการบริหารจัดการโดยยึดแนวทางตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 3) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรได๎ทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติงานให๎เป็นไปตาม ข๎อบังคับระเบียบ คําสั่ง และกฎหมายที่เกี่ยวข๎อง


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 32 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 32 4) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรสามารถนําผลการแนะนําไปเป็นแนวทางในการบริหาร จัดการสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรให๎การบริหารงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 5) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรสามารถใช๎เงินกู๎กองทุนพัฒนาสหกรณ์และเงินกองทุน สงเคราะห์เกษตรกรให๎เป็นไปตามวัตถุประสงค์และชําระคืนภายในกําหนดสัญญา 6) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรสามารถปิดบัญชี และจัดทํางบการเงินประจําปีแล๎วเสร็จ และสามารถจัดสํงงบการเงินให๎ผู๎สอบบัญชีได๎ภายใน 30 วัน นับแตํวันสิ้นปีทางบัญชี และสามารถจัดประชุม ใหญํได๎ภายใน 150 วัน นับแตํวันสิ้นปีทางบัญชี 7) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรปฏิบัติตามแผนงานที่กําหนดไว๎ในที่ประชุมใหญํ โดยมีการ แนะนําและสํงเสริมเป็นแนวทางในการกําหนดแผนงานของสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร 8) สหกรณ์มีการใช๎ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดและสิ่งกํอสร๎างที่ได๎รับการ สนับสนุนจากภาครัฐ ให๎เป็นไปตามวัตถุประสงค์และคุ๎มคํากับงบประมาณ 9) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรมีการทบทวนระเบียบเพื่อให๎ครอบคลุมกับการดําเนินงาน และสอดคล๎องกับสถานการณ์ปัจจุบัน 10) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกร ได๎ทราบแนวทางการพัฒนาสหกรณ์และกลุํมเกษตรกร ตามแผนพัฒนาสหกรณ์ฉบับที่ 5 เพื่อกําหนดเปูาหมายและทิศทางการพัฒนาการสหกรณ ป พ.ศ. 2566-2570 ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) สหกรณ์ประสบปัญหาขาดทุนสะสมติดตํอกันหลายปี ทําให๎สมาชิกขาดความ เชื่อมั่นและไมํศรัทธาในสหกรณ์ สมาชิกจึงไมํมาทําธุรกิจสหกรณ์ 2) ปัญหาด๎านเศรษฐกิจทําให๎ราคาผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่มีความผันผวน มีการปรับราคาขึ้นลง สหกรณ์ไมํสามารถคาดเดาถึงสถานการณ์หรือแนวโน๎มด๎านราคาได๎ 3) การขาดสภาพคลํองทางการเงินของสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร ทําให๎ไมํสามารถ ดําเนินธุรกิจได๎อยํางตํอเนื่อง ไมํสามารถตอบสนองความต๎องการด๎านธุรกิจของสมาชิกได๎ตรงตามความต๎องการ 4) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรบางแหํงการจัดทําบัญชีไมํเป็นปัจจุบัน ไมํมีความพร๎อม ด๎านบุคลากรและความรู๎ความเข๎าใจ เนื่องจากไมํได๎จัดจ๎างเจ๎าหน๎าที่บัญชี มีเพียงมอบหมายกรรมการ ซึ่งไมํได๎มี ความรู๎ด๎านบัญชี จึงไมํสามารถจัดทํารายละเอียดและงบการเงินให๎ผู๎สอบบัญชีตรวจสอบภายในกําหนดได๎ 5) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรบางแหํงมุํงเน๎นชํวยเหลือสมาชิกในด๎านการให๎สินเชื่อ โดยมิได๎คํานึงถึงความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิก อัตราสภาพคลํองทางการเงิน ไมํมีการวิเคราะห์ ผลการดําเนินธุรกิจของสหกรณ์ สํงผลให๎สหกรณ์ขาดสภาพคลํองทางการเงิน รวมทั้งการกําหนดระเบีย บ ไมํสอดคล๎องกับธุรกิจ และไมํมีระบบการควบคุมภายในที่ดี 6) สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรบางแหํง ไมํมีการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติงาน ไมํเป็นไปตามระเบียบ ข๎อบังคับ และการปฏิบัติงานไมํเป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่กําหนดไว๎ 7) สมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรขาดการมีสํวนรํวม คือ สมาชิกไมํเห็นคุณคําของ การรํวมทํากิจกรรมและการทําธุรกิจตําง ๆ กับสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร และจํานวนสมาชิกที่เข๎าประชุมใหญํ สามัญประจําปีลดน๎อยลง 8) ด๎วยปัญหาด๎านเศรษฐกิจ สังคม ภัยธรรมชาติ และโรคระบาด สํงผลให๎สมาชิกที่มี หนี้ค๎างชําระไมํสามารถมาชําระหนี้ได๎ตามกําหนด ทําให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรต๎องมีการตั้งคําเผื่อหนี้สงสัย จะสูญตามหลักเกณฑ์ ทําให๎เกิดเป็นคําใช๎จํายซึ่งสํงผลตํอการดําเนินงานของสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 33 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 33 ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์มีปัญหาขาดทุนสะสม จํานวน 1 แหํง ดําเนินการเชิงรุก ในทุกธุรกิจของสหกรณ์ โดยมีการจัดทําแผนงานประจําปีและติดตามผลรายเดือนเพื่อให๎งานเป็นไปตามแผน เพื่อเป็นการประเมินผลการดําเนินงานให๎มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรมีการดําเนินธุรกิจตามความต๎องการ ของสมาชิก เพื่อสํงเสริมการมีสํวนรํวมของสมาชิกโดยสํารวจความต๎องการของสมาชิกในด๎านตําง ๆ และควรมี การประชาสัมพันธ์กิจกรรมตําง ๆ ของสหกรณ์/กลุํมเกษตรกรเพื่อให๎สมาชิกได๎รับทราบขําวสารและมารํวมทํา ธุรกิจและกิจกรรมกับสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร 3) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรมีการระดมทุนภายในกํอนที่จะไปหา แหลํงเงินทุนภายนอก โดยสํงเสริมการออมและการระดมหุ๎นของสมาชิก 4) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกร วิเคราะห์ฐานะทางการเงินของสหกรณ์ จากงบทดลองและงบการเงิน เพื่อเป็นแนวทางในการกําหนดแผนงาน และงบประมาณในการดําเนินธุรกิจ 5) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรควบคุมคําใช๎จํายโดยการเปรียบเทียบ แผน-ผลในการปฏิบัติงานให๎เป็นไปตามแผนงานที่กําหนด 6) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์และกลุํมเกษตรกรที่มีปัญหาหนี้ค๎างชําระ จํานวน 2 แหํง ประกอบด๎วย 6.1 สหกรณ์กองทุนสวนยางบ๎านบางแก๎ว จํากัด ลูกหนี้เงินกู๎ยืมผิดนัด จํานวน 16 ราย 18 สัญญา จํานวน 497,135.62 บาท 6.2 กลุํมเกษตรกรทําสวนบางแก๎ว ลูกหนี้เงินกู๎ยืมผิดนัด จํานวน 85 ราย จํานวนเงิน 1,791,623.64 บาท โดยให๎คณะกรรมการดําเนินการมีการติดตามผลการชําระหนี้ของสมาชิก ให๎เป็นไปตามที่กําหนดและตํอเนื่อง มีการกําหนดมาตรการควบคุมและปูองกันการผิดนัดชําระหนี้ของสมาชิก เพื่อสร๎างวินัยในการชําระหนี้ รวมถึงสหกรณ์เข๎ารํวมโครงการแก๎ไขปัญหาหนี้ของสมาชิก แนะนําการแก๎ไข ปัญหาหนี้ตามแนวทางการแก๎ไขปัญหาหนี้สินของสมาชิกสหกรณ์/กลุํมเกษตรกร กรมสํงเสริมสหกรณ์ 7) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรพิจารณาถึงความสามารถในการชําระ หนี้ของสมาชิกเป็นสําคัญในการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ มีการติดตามการใช๎เงินกู๎ให๎เป็นไปตามวัตถุประสงค์ รวมถึงการจัดชั้นลูกหนี้เพื่อสร๎างแรงจูงใจและวินัยในการชําระหนี้ 8) สํงเสริมให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรดําเนินธุรกิจตามหลักการตลาดนําการผลิต ติดตํอผู๎รับซื้อผลผลิตโดยมีการจัดทําข๎อตกลงสัญญาระหวํางกันอยํางชัดเจน จัดประชุมกลุํมสมาชิกเพื่อให๎ ความรู๎และข๎อตกลงในเรื่องคุณภาพผลผลิต วิธีการรวบรวม การจําหนํายที่ชัดเจน เพื่อให๎เกิดความเข๎าใจ ตรงกันระหวํางสมาชิกและสหกรณ์ 9) แนะนํา สํงเสริมให๎สหกรณ์/กลุํมเกษตรกรเปิดประมูลราคารับซื้อผลผลิตจาก เอกชน เป็นวิธีที่จะชํวยลดความเสี่ยงการเกิดผลขาดทุนในธุรกิจรวบรวมผลผลิตอีกทางหนึ่ง สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กลุ่มเกษตรกรท าสวนมังคุดบ้านในวง 1) ผลงาน/ความส าเร็จ กลุํมเกษตรกรทําสวนมังคุดบ๎านในวง จัดตั้งเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2559 ปีบัญชีของกลุํมเกษตรกร คือวันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี กลุํมเกษตรกรมีการดําเนินธุรกิจ 2 ด๎าน คือ ธุรกิจ


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 34 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 34 สินเชื่อและธุรกิจจัดหาสินค๎ามาจําหนําย ในปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2565 เป็นกลุํมเกษตรกรที่มีความ เข๎มแข็งอยูํในระดับชั้นที่ 3 กลุํมเกษตรกรมีสมาชิก จํานวน 63 คน ทุนดําเนินงาน จํานวน 713,906.50 บาท กําไร สุทธิ จํานวน 12,034.35 บาท กลุํมเกษตรกรเป็นกลุํมเกษตรกรที่เพิ่งจัดตั้ง แตํสามารถดําเนินธุรกิจตําง ๆ เพื่อรองรับความต๎องการและชํวยเหลือสมาชิกให๎มีรายได๎จากการขายผลผลิตที่ราคาสูงขึ้น ได๎ใช๎ปัจจัยการผลิต ในราคาที่ต่ํากวําท๎องตลาด กลุํมเกษตรกรมีแผนพัฒนาธุรกิจรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร โดยการรวบรวม ทุเรียน และมังคุดซึ่งเป็นผลผลิตหลักของสมาชิกโดยการเปิดจุดรับซื้อเพื่ออํานวยความสะดวกให๎แกํสมาชิกยิ่งขึ้น กลุํมเกษตรกรมีการประชุมคณะกรรมการรํวมกับสมาชิกเพื่อรับทราบปัญหา และความต๎องการจากสมาชิก ทําให๎สมาชิกมีความพึงพอใจจากการเข๎ามามีสํวนรํวมในการดําเนินธุรกิจกับ กลุํมเกษตรกร โดยกลุํมเกษตรกรได๎กู๎เงินจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร จํานวน 600,000 บาท เป็นเงินทุนหลัก ในการดําเนินธุรกิจของกลุํมเกษตรกร และกลุํมเกษตรกรได๎ใช๎ให๎เป็นไปตามวัตถุประสงค์และสามารถสํงชําระ เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรได๎ตามกําหนดสัญญา 2) ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง แนะนําและสํงเสริมให๎กลุํมเกษตรกรทําสวน มังคุดบ๎านในวงดําเนินการ ดังนี้ 2.1 แนะนํา สํงเสริม และชี้แจงคณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ เรื่อง เกณฑ์ประเมินความเข๎มแข็งของกลุํมเกษตรกร ทั้ง 4 มิติ เพื่อผลักดันระดับชั้นความเข๎มแข็งของกลุํมเกษตรกร 2.2 ให๎คําแนะนําสํงเสริมเพื่อพัฒนาธุรกิจของกลุํมเกษตรกร โดยหาแนวทาง ในการเพิ่มปริมาณธุรกิจและการสร๎างการมีสํวนรํวมของสมาชิก 2.3 แนะนํา สํงเสริม ทําความเข๎าใจ และชี้แจงคณะกรรมการดําเนินการของ สหกรณ์ เรื่องการควบคุมภายใน ชี้แจงจุดอํอนของการควบคุมภายในตามข๎อสังเกตของผู๎สอบบัญชี และแนะนํา แนวทางในการแก๎ไข 2.4 ให๎คําแนะนํา สํงเสริม กํากับ ติดตามการดําเนินงานให๎กลุํมเกษตรกรปฏิบัติ ตามกฎหมาย ข๎อบังคับ ระเบียบและคําแนะนําที่เกี่ยวข๎องเพื่อเป็นการปูองกันไมํให๎เกิดข๎อบกพรํองในการ ดําเนินงาน 2.5 สํงเสริมให๎กลุํมเกษตรกรมีการประชุมกลุํมสมาชิกเพื่อรับทราบปัญหาและ ความต๎องการจากสมาชิก เพื่อการพัฒนาธุรกิจของกลุํมเกษตรกร การติดตํอด๎านธุรกิจกับเครือขํายสหกรณ์ ภายในจังหวัดเพื่อให๎สมาชิกได๎ใช๎ปัจจัยการผลิตมีคุณภาพและราคาถูก


รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดระนอง | 35 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 35 2) งานกํากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ๎มครองระบบสหกรณ์ 2.1) การตรวจการสหกรณ์ การตรวจการสหกรณ์ถือเป็นแนวทางหนึ่งที่สนับสนุนมาตรการกํากับและตรวจสอบ โดยผู๎ตรวจการสหกรณ์ที่ได๎รับแตํงตั้งจากนายทะเบียนสหกรณ์ ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก๎ไขเพิ่มเติม มาตรา 16 (3) ทําหน๎าที่ตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินของสหกรณ์ตามที่นายทะเบียน สหกรณ์กําหนด เมื่อตรวจสอบแล๎วรายงานผลการตรวจสอบตํอนายทะเบียนสหกรณ์ ซึ่งกรณีมีความบกพรํอง เล็กน๎อยควรใช๎วิธีอยํางเหมาะสม ชํวยเหลือ แนะนําสหกรณ์ให๎ดําเนินการให๎ถูกต๎อง กรณีมีความบกพรํองมาก ควรถือเป็นเรื่องสําคัญ และต๎องคํานึงถึงสาเหตุของการกระทําหรือละเว๎นการกระทํา จนทําให๎เสื่อมเสีย ผลประโยชน์ของสหกรณ์หรือสมาชิก หรือกรณีสหกรณ์มีข๎อบกพรํองเกี่ยวกับการเงิน การบัญชีหรือกิจการหรือ ฐานะการเงิน ควรดําเนินการตามที่กําหนดไว๎ในพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก๎ไขเพิ่มเติม รวมทั้งกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข๎อง จากกรณีดังกลําว เห็นได๎วําผู๎ตรวจการสหกรณ์นับเป็นเครื่องมือที่สําคัญของ นายทะเบียนสหกรณ์ ในการกํากับ ดูแลสหกรณ์ให๎ดําเนินการเป็นไปตามระเบียบ ข๎อบังคับ และกฎหมาย สหกรณ์ ตลอดจนกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข๎อง ภาพ : กิจกรรมการแนะนํา สํงเสริม และการดําเนินธุรกิจ ของกลุํมเกษตรกรทําสวนมังคุดบ๎านในวง


Click to View FlipBook Version