The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดผลทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามโครงการสร้างและพัฒนาคุณภาพข้อสอบวัดสมรรถนะของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามแนว PISA-Like ระหว่างวันที่ 22-25 เดือนกันยายน พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมวีวิช จังหวัดขอนแก่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างเครื่องมือวัดผลทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามแนว PISA-Like และนำมาใช้บูรณาการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสมรรถนะดังกล่าว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างเครื่องมือวัดผลทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามโครงการสร้าง และพัฒนาคุณภาพข้อสอบวัดสมรรถนะของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามแนว PISA-Like

การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดผลทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามโครงการสร้างและพัฒนาคุณภาพข้อสอบวัดสมรรถนะของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามแนว PISA-Like ระหว่างวันที่ 22-25 เดือนกันยายน พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมวีวิช จังหวัดขอนแก่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างเครื่องมือวัดผลทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามแนว PISA-Like และนำมาใช้บูรณาการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสมรรถนะดังกล่าว

1
รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบัติการสรา งเครื่องมือวัดผลฯ ตามแนว PISA-Like

ระหวางวันที่ 22-25 เดอื นกันยายน พ.ศ. 2561

2

รายงานผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ

สรางเครื่องมือวัดผลทางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามโครงการสราง
และพัฒนาคุณภาพขอสอบวดั สมรรถนะของผเู รียน ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 6

ตามแนว PISA-Like

วนั ที่ 22-25 เดือนกนั ยายน พ.ศ. 2561

ของ
นายธชั วฒุ ิ กงประโคน
ตําแหนง ครู อนั ดับ คศ.2
วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการ
โรงเรยี นอนุบาลชยั ภมู ิ
สาํ นักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาชยั ภูมิ เขต 1
สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารสรางเคร่ืองมือวัดผลฯ ตามแนว PISA-Like
ระหวา งวันที่ 22-25 เดอื นกันยายน พ.ศ. 2561

3

บนั ทึกขอความ จงั หวัดชัยภูมิ
สว นราชการโรงเรยี นอนบุ าลชัยภมู ิ อาํ เภอเมือง
ที่ วนั ที่ เดือน พ.ศ. 2561
เรื่อง รายงานผลการประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการสรางเครื่องมือวัดผลทางการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตามโครงการสราง
และพฒั นาคุณภาพขอสอบวัดสมรรถนะของผเู รียน ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 6 ตามแนว PISA-Like

เรยี น ผูอํานวยการโรงเรียนอนุบาลชัยภมู ิ

ดวยขาพเจา นายธัชวุฒิ กงประโคน ตําแหนง ครู อันดับ คศ.2 วิทยฐานะ ครูชํานาญ
การ ไดเขารวมการประชุมเชิงปฏิบัติการสรางเครื่องมือวัดผลทางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามโครงการสราง
และพฒั นาคุณภาพขอสอบวัดสมรรถนะของผเู รียน ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 6 ตามแนว PISA-Like ระหวา ง
วันที่ 22-25 เดือนกันยายน พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมวีวิช จังหวัดขอนแกน โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือ สราง
เคร่ืองมือวัดผลทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามแนว PISA-Like และนํามาใชบูรณาการการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูใหสอดคลอ งกับสมรรถนะดังกลา ว

บัดนี้ไดดําเนินการจัดทําเสร็จส้ินเรียบรอยแลว จึงเสนอรายงานผลการนําเสนอตามท่ี
แนบมาดว ยนี้

จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบและพจิ ารณา ลงช่อื ..………………………….……………….
( นายธชั วฒุ ิ กงประโคน )
ผูร ายงาน

ความเหน็ ของหัวหนา กลุมงานวิชาการ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

ลงช่อื ...............................................
(..............................................)

ความเหน็ ของรองผูอํานวยการกลุมงานบริหารวิชาการ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ...............................................
(..............................................)

ความเหน็ ของผูอํานวยการโรงเรยี นอนบุ าลชัยภมู ิ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................
(..............................................)

รายงานผลการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารสรา งเครื่องมือวัดผลฯ ตามแนว PISA-Like
ระหวา งวนั ที่ 22-25 เดือนกันยายน พ.ศ. 2561

ก4

คํานาํ

การจัดทํารายงานสรุปผลการดําเนินงานการประชุมเชิงปฏิบัติการสรางเครื่องมือวัดผลทางการ
ศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ตามโครงการสรางและพัฒนาคุณภาพขอสอบวัดสมรรถนะของผูเรียน ชน้ั ประถมศึกษา
ปท่ี 6 ตามแนว PISA-Like ระหวางวันที่ 22-25 เดือนกันยายน พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมวีวิช จังหวัด
ขอนแกน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ สรางเครื่องมือวัดผลทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามแนว PISA-Like และ
นาํ มาใชบ รู ณาการการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหส อดคลองกบั สมรรถนะดังกลาว

หวังวาเอกสารเลมน้ี จะเปนประโยชนสําหรับโรงเรียนหรือผูท่ีสนใจ และผูท่ีกําลังจะพัฒนา
ผูเรยี นใหม ีคุณภาพทัง้ ในดาน ความรู ทกั ษะและคณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค ใหม ผี ลสมั ฤทธ์ทิ ส่ี งู ขนึ้ ตอไป

ลงชอื่ ……………..………………………
( นายธชั วฒุ ิ กงประโคน )

ตาํ แหนง ครู วิทยฐานะครูชํานาญการ

รายงานผลการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารสรางเครื่องมือวัดผลฯ ตามแนว PISA-Like
ระหวางวนั ท่ี 22-25 เดอื นกันยายน พ.ศ. 2561

1

เอกสารอ้างอิง

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารสรา งเคร่ืองมือวัดผลฯ ตามแนว PISA-Like
ระหวางวันท่ี 22-25 เดอื นกันยายน พ.ศ. 2561

2
รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบัติการสรา งเครื่องมือวัดผลฯ ตามแนว PISA-Like

ระหวางวันที่ 22-25 เดอื นกันยายน พ.ศ. 2561

3
รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบัติการสรา งเครื่องมือวัดผลฯ ตามแนว PISA-Like

ระหวางวันที่ 22-25 เดอื นกันยายน พ.ศ. 2561

4
รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบัติการสรา งเครื่องมือวัดผลฯ ตามแนว PISA-Like

ระหวางวันที่ 22-25 เดอื นกันยายน พ.ศ. 2561

5
รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบัติการสรา งเครื่องมือวัดผลฯ ตามแนว PISA-Like

ระหวางวันที่ 22-25 เดอื นกันยายน พ.ศ. 2561

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้ดาเนินการจัดการทดสอบความรู้ความคิดรวบยอดตาม

มาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานครบทุกหลักสูตร ได้แก่ O-NET การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ

ข้ันพ้ืนฐาน (ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551) B-NET การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ

ดา้ นพระพุทธศาสนา (ตามหลกั สูตรโรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา ตามหลกั สตู รการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2554

และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551) I-NET การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอิสลามศึกษา (ตามหลักสูตร

อิสลามศึกษาแกนกลางพุทธศักราช 2546 และหลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551)

N-NET การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (ตามหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับ

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551) และ V-NET การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (ตามหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546) รวมท้ังให้บริการ

การทดสอบทางการศึกษา ได้แก่ ความถนัดท่ัวไป (GAT) และความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพ (PAT) และวิชาสามัญ 9 วิชา

ท่ีใช้เป็นองค์ประกอบหน่ึงในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลาง TCAS (Thai University Central

Admission System) โดยในปี พ.ศ. 2561 สทศ. ไดด้ าเนนิ การจดั การทดสอบรวม 20 ประเภทการสอบ ดังนี้

ที่ ประเภทการสอบ ผมู้ สี ทิ ธิส์ อบ จานวน วิชา ขอ้ สอบ
ศูนยส์ อบ สนามสอบ หอ้ งสอบ

1 V-NET ปวช.3 147,190 30 377 5,056 4 160

2 V-NET ปวส.2 132,604 30 364 4,562 4 160

3 I-NET ตอนตน้ 33,581 25 223 1,309 8 210

4 I-NET ตอนกลาง 22,196 32 197 919 8 275

5 I-NET ตอนปลาย 10,278 20 120 446 8 355

6 N-NET ประถมศกึ ษา ครัง้ ท่ี 2/2560 7,240 77 896 1,005 5 200

7 N-NET ม.ตน้ ครั้งที่ 2/2560 56,638 77 1,057 1,097 5 200

8 N-NET ม.ปลาย ครั้งที่ 2/2560 81,878 77 1,051 3,174 5 200

9 E-Testing N-NET 2/2560 ม.ต้น 140 2 2 2 5 200

10 E-Testing N-NET 2/2560 ม.ปลาย 153 2 2 2 5 200

11 B-NET ม.ต้น 7,077 12 16 246 4 250

12 B-NET ม.ปลาย 3,044 12 16 107 4 250

13 E-Testing B-NET ม.ต้น 62 1 1 1 4 250

14 E-Testing B-NET ม.ปลาย 12 1 1 1 4 250

15 O-NET ป.6 794,264 186 4,142 29,129 4 126

16 O-NET ม.3 696,378 227 4,243 25,372 4 170

17 E-Testing O-NET ม.3 858 6 6 6 4 170

18 O-NET ม.6 387,917 18 394 15,472 5 348

19 GAT/PAT ปีการศึกษา 2561 259,882 18 216 8,573 14 1,249

20 วชิ าสามัญ 9 วิชา ปกี ารศึกษา 2561 200,750 18 163 6,509 9 445

รวมทกุ ประเภทการสอบ 2,842,142 871 13,487 102,988 113 5,668

สทศ. ดาเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติตามมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติเทียบเคียง
มาตรฐานสากลท่ีจัดทาขึ้นในปี พ.ศ. 2555 ประกอบดว้ ย 5 มาตรฐาน ดงั น้ี

1. มาตรฐานบุคลากรด้านการทดสอบ เป็นมาตรฐานเพ่ือประกันคุณภาพว่า บุคลากรที่

เกยี่ วข้องกับการทดสอบ ประกอบดว้ ย ผอู้ อกข้อสอบ ผกู้ ลั่นกรองข้อสอบ (ด้านเน้ือหา ด้านวัด
และประเมนิ ผล ดา้ นภาษา) ผบู้ รหิ ารการทดสอบระดับศนู ย์สอบและระดบั สนามสอบ ตลอดจน
ผู้คุมสอบ มีคุณภาพ มีคุณสมบัติและหน้าท่ีตามมาตรฐานสากล โดยมีจุดเน้นต้องเป็นคนดี
มีคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์ ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน มีความรู้ ความสามารถ และ
มีประสบการณ์ในการออกข้อสอบ ทั้งน้ี สทศ. ได้ให้ครู (ระดับสถานศึกษา) ออกข้อสอบ
เพื่อประกันว่า ข้อสอบออกตามหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ไม่ได้ออกเกินหลักสูตรฯ ครูของครู
(คณาจารย์ระดับมหาวิทยาลัยเป็นผู้กลั่นกรองระดับท่ี 1) และครูของครูของครู (นักวิชาการ/คณาจารย์มหาวิทยาลัย/
ผ้ทู รงคณุ วุฒิ เปน็ ผู้กล่นั กรองระดับที่ 2 และ 3 ตามลาดบั )

2. มาตรฐานดา้ นการพัฒนาแบบทดสอบ เปน็ มาตรฐานเพือ่ การประกันคุณภาพ

ว่า แบบทดสอบที่ใช้ในการวัดและประเมินมีการพัฒนาอย่างมีระบบ มีข้ันตอนการ
ดาเนินการท่ีเป็นมาตรฐานเช่ือถือได้ มีสารสนเทศเชิงประจกั ษ์ และเป็นแบบทดสอบท่ี
มคี ณุ ภาพด้านความตรง ความเทย่ี ง และมีความยุติธรรม สทศ. ได้ให้ผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี
(Stakeholders) ที่เกี่ยวข้องมาร่วมการสร้างและพัฒนาแบบทดสอบโดยเริ่มตั้งแต่การ
กาหนดตัวช้ีวัดต้องรู้/ตัวช้ีวัดที่สาคัญท่ีใช้ออกข้อสอบ (Test Blueprint) คุณลักษณะ
เฉพาะของแบบทดสอบ (Test Specification) รูปแบบข้อสอบ ทั้งน้ี ได้เผยแพร่
ตัวอย่างกระดาษคาตอบ Test Blueprint Test Specification รูปแบบข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบล่วงหน้าก่อนสอบ ทางเว็บไซต์ สทศ. เพ่ือให้ครูและนักเรียนรับทราบ
และเตรียมความพร้อมอย่างมีความเสมอภาคและเท่าเทียมกัน โดยเฉพาะมีการ
กาหนดให้ใช้บัตรข้อสอบ (Item Card) ในการออกข้อสอบแต่ละข้อ เพื่อให้ข้อสอบมี
ความตรง (Validity) ท่ีต้องการวัด และให้เขียนอธิบายตัวถูกและตัวผิด เพื่อประกัน
ความถูกต้องของการเฉลย

ตัวอยา่ งบัตรข้อสอบ (Item Card)

นอกจากน้ี ในแต่ละปี สทศ. ได้มีการประเมินคุณภาพของข้อสอบและนามาปรับปรุงการสร้างและพัฒนาข้อสอบ
ในปถี ัดไปใหด้ ียิง่ ขึน้ โดยใชร้ ะบบการสรา้ งขอ้ สอบแบบ PDCA

2.1 การพัฒนาระบบการสร้างข้อสอบ
สทศ. ได้นา PDCA cycle (Plan-Do-Check-Act) มาใช้เป็นกรอบการดาเนินงานในการสร้างข้อสอบให้มีการ

พฒั นาคณุ ภาพให้มากยงิ่ ข้นึ ตามลาดบั

1. กอ่ นสอบ

1. ประชุมคณะทางานผู้ออก/ผู้กลั่นกรองข้อสอบเพื่อทาข้อตกลง และสะท้อนผลของปีที่ผ่านมา โดยพิจารณาจากผลสอบในปีท่ีผ่านมาท้ังค่าสถิติ
ขนั้ พื้นฐาน ผลการวิเคราะห์ขอ้ สอบ (คา่ ความยากงา่ ย ค่าอานาจจาแนก) ขอ้ มลู จากสอ่ื ต่าง ๆ รวมทงั้ ผลการประชมุ “Public Hearings” เพือ่ การพัฒนา
แบบทดสอบให้ดขี ึ้น

2. การสร้างข้อสอบ (พัฒนา Test Blueprint สร้างข้อสอบตาม Item Card ให้สอดคล้องกับตัวอย่าง Test Blueprint และตารางสรปุ ความยากง่าย และ
มกี ารกลั่นกรองและการจัดชุดขอ้ สอบ รวมถึงการจดั ทาต้นฉบับแบบทดสอบ)

3. เผยแพร่ผังการสร้างแบบทดสอบ (Test Blueprint) (จานวนข้อ/คะแนน จาแนกตามตัวชี้วัดมาตรฐานการเรียนรู้ และสาระ) รูปแบบข้อสอบ
ตวั อยา่ งขอ้ สอบ และตวั อย่างกระดาษคาตอบ ทางเวบ็ ไซต์ สทศ. www.niets.or.th

3.3ห. ลหังลสงั อสบอบ 2.2ร.ะรหะวห่าวงา่ สงอสบอบ

1. ทบทวนความถกู ต้องของข้อสอบและเฉลย - ตรวจเย่ียมสนามสอบ
1.1 วิพากษข์ ้อสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ครู และนักเรยี น - การเกบ็ ขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพโดยการติดตามผลการสะท้อน
1.2 พิจารณาความถ่ีและร้อยละของการกระจายการตอบของแตล่ ะตัวเลอื ก
1.3 ผ้กู ลั่นกรองข้อสอบทบทวนในช่วงฝนกระดาษคาตอบ (เฉลย) ของส่อื ต่าง ๆ เพ่อื ใช้ในการประเมินตนเอง

2. ตรวจสอบคณุ ภาพของแบบทดสอบ
2.1 Data analysis โดยการใช้ทั้ง Classical test theory และ Modern
test theory สาหรับการประเมนิ ผลเชงิ ปริมาณ
- Test result (Descriptive statistics, etc.)
- Test analysis (Validity, Reliability, etc.)
- Item analysis (Difficulty/Discrimination, Guessing, etc.)
2.2 Content analysis จากการนาเสนอของสื่อต่าง ๆ และจากการประชุม
Public Hearing เพอ่ื ประเมนิ ผลเชงิ คุณภาพ

3. พัฒนาคุณภาพของแบบทดสอบ (Test Equating, Passing/Universal score
เพอื่ เปรียบเทียบกบั PISA ฯลฯ)

4. รายงานผลคะแนน O-NET เป็นคะแนนมาตรฐาน ทั้งระดับนักเรียน ระดับ
สถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ี ระดับสังกัด ระดับจังหวัด ระดับภาค ระดับ
ประเภท จาแนกตามตัวแปรอิสระ (Independent Variable) อาทิ เพศ
ขนาดโรงเรียน ท่ีตั้ง และรายงานผลสอบในระดับตัวช้ีวัด มาตรฐานการ
เรียนรู้ และสาระ เพ่ือนาผลคะแนนไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการเรียน
การสอน และการบรหิ ารการศกึ ษา

ตวั อย่างตารางแบบสรปุ ร้อยละ
ของค่าความยากง่ายของข้อสอบ

2.2 สทศ. มุ่งเน้นการสร้างข้อสอบต้องสะทอ้ นการจัดการเรยี นการสอนตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา

(1) ใหท้ กุ ภาคส่วนมารว่ มทาตัวชีว้ ดั ต้องรู้ ตัวช้วี ัดควรรู้ และ Test Blueprint
(2) ให้ครมู ีส่วนร่วมในการออกขอ้ สอบ
(3) ใช้บตั รข้อสอบ (Item Card) ทร่ี ะบตุ วั ช้วี ัดมาตรฐานการเรียนรู้แกนกลางในแตล่ ะสาระทอี่ อกขอ้ สอบข้อนน้ั ๆ
(4) วิเคราะห์ข้อสอบแลว้ นาไปปรบั ปรุงการสร้างขอ้ สอบในปถี ดั ไป

ท้ังนี้ ต้ังแต่ปีการศึกษา 2558 สทศ. ได้นาข้อสอบและเฉลยคาตอบ O-NET
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 (ทุกวิชา)

เผยแพรท่ างเว็บไซต์ www.niets.or.th เพอ่ื ใหโ้ รงเรียนและนกั เรียนไดศ้ ึกษาและนาไป
ปรบั ปรุงพัฒนาการเรยี นการสอนใหด้ ยี ิง่ ขึน้

3. มาตรฐานดา้ นการบริหารการทดสอบ

เป็นมาตรฐานเพื่อประกันว่าระบบการบริหารการทดสอบมีความชัดเจน ปฏิบัติได้จริง มีคุณภาพเป็นท่ียอมรับ
และเชื่อถือได้ในระดับชาติและระดับนานาชาติ โดยในปี พ.ศ.2556 สทศ. ได้จัดต้ังศูนย์เครือข่าย สทศ. ซ่ึงปัจจุบันมี
ศูนย์เครือข่าย 10 แห่ง (กระจายตามภูมิภาคท่ัวประเทศ) ประกอบด้วย ภาคเหนือ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ
มหาวิทยาลัยนเรศวร) ภาคกลาง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) ภาคตะวันออก
(มหาวิทยาลัยบูรพา) ภาคตะวันตก (มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์) ภาคใต้ (มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์และ
มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์) ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี) และในปี
พ.ศ. 2557 สทศ. ได้ออกระเบยี บสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาตฯิ วา่ ด้วยแนวทางปฏิบตั เิ กี่ยวกบั การดาเนินการ
ทดสอบท่ปี ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา

ในแต่ละปี สทศ. ได้จัดทาคู่มือและวีดิทัศน์สาหรับการจัดสอบแต่ละประเภท เพ่ือประชาสัมพันธ์
สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ ขน้ั ตอนการดาเนินงาน/แนวปฏิบตั ิ (ระดับ สทศ. ระดับศูนย์สอบ
และระดับสนามสอบ) ทั้งน้ี สทศ. ยังให้ความสาคัญเก่ียวกับเทคโนโลยีที่อาจส่อทุจริตในการสอบ
ซึ่งปัจจุบันได้มีการพัฒนาไปอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นแว่นตา ปากกา นาฬิกา ฯลฯ ดังน้ัน สทศ. จึงได้เน้นย้า
ให้ศนู ยส์ อบและกรรมการคมุ สอบคอยเฝ้าระวงั และตรวจสอบพฤติกรรมของผูเ้ ข้าสอบอยา่ งเครง่ ครดั รวมทงั้
เปิดช่องทางรบั เรือ่ งร้องเรียนและขอ้ เสนอแนะ ดงั นี้ (1) สายตรงผ้บู ริหาร (2) อเี มล์ [email protected]
(3) จดหมาย (4) Call Center 02-217-3800

สทศ. ได้วางแนวทางในการบริหารการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ได้แก่ การจัดสนามสอบ (O-NET ป.6
ให้จัดสนามสอบ กาหนด 1 กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนเป็น 1 สนามสอบ ส่วน O-NET ม.3 ให้จัดสนามสอบ กาหนด 1 อาเภอ/
กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนเป็น 1 สนามสอบ) การแต่งต้ังตัวแทนศูนย์สอบประจาสนามสอบ เพื่อทาหน้าท่ีดูแลความเรียบร้อย
ภายในสนามสอบ และทาหน้าที่ในการรับ-ส่งแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ การแต่งตั้งตัวแทน สทศ. ประจาสนามสอบ
เพือ่ ทาหน้าทสี่ ังเกตการปฏิบัติงานของสนามสอบและรายงานผลให้ สทศ. ทราบ การแตง่ ตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ
ศูนย์สอบแต่งต้ังคณะกรรมการระดับสนามสอบในตาแหน่ง หัวหน้าสนามสอบ กรรมการกลาง และกรรมการคุมสอบจาก
ต่างกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนที่เป็นสนามสอบท้ังชุด โดยใช้วิธีการหมุนไขว้กัน การรับ-ส่งกล่องแบบทดสอบ และกล่อง
กระดาษคาตอบ ศูนย์สอบต้องเก็บรักษากล่องแบบทดสอบและกล่องกระดาษคาตอบในห้องม่ันคง หรือห้องที่ปิดมิดชิด
โดยมีผู้ดูแลตลอดเวลา และปฏิบัติตามระเบียบขั้นตอนที่ สทศ. กาหนด จานวนชุดข้อสอบ เช่น O-NET ป.6 และ ม.3
มีข้อสอบแต่ละวิชา 6 ชุดวิชา (รหัสชุดวิชา 100 – 600) เป็นต้น การติดตามการบริหารการทดสอบ สทศ. ร่วมกับ
หน่วยงานต้นสังกัดรว่ มตรวจเยย่ี มศูนย์สอบและสนามสอบ ทัง้ ในชว่ งก่อนสอบ ระหว่างสอบ และหลังสอบ

4. มาตรฐานด้านการพิมพ์ข้อสอบ การรับ/ส่ง การตรวจให้คะแนน และ

การประเมนิ ผลเป็นมาตรฐาน เพอื่ ประกันคุณภาพวา่ ระบบการพมิ พ์ แบบทดสอบ
และกระดาษคาตอบ มีการควบคมุ และกากับการดาเนินงานอยา่ งมีขัน้ ตอนทช่ี ัดเจน
มี ม า ต ร ก า ร รั ก ษ า ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ ก า ร เ ก็ บ รั ก ษ า ค ว า ม ลั บ อ ย่ า ง รั ด กุ ม
มีกระบวนการตรวจให้คะแนนที่ถูกต้องมีระบบชัดเจนและตรวจสอบได้ โดยใช้
เทคโนโลยีและสารสนเทศในการตรวจสอบ ตรวจคะแนน และประมวลผล มีการ
รายงานผลด้วยคะแนนที่มีความหมาย และมีการแปลคะแนนอย่างเหมาะสม
เทียบเคียงกบั ผลการทดสอบแตล่ ะคร้ัง/ปี

5. มาตรฐานด้านการรายงานผลและการนาผลไปใช้ เป็นมาตรฐานเพื่อประกันว่า คุณภาพการรายงานมีความถูกต้อง

เหมาะสมเป็นธรรม สามารถนาผลไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ การสอน และการบริหารการศึกษา
นอกจากนี้ ได้เผยแพร่ผลวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบนาเสนอต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เผยแพร่ใบรายงานผลสอบ
O-NET ในระดับตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ในแต่ละสาระ โดยจาแนกตามตัวแปร (ขนาดโรงเรียน
ที่ต้ัง เขตพ้ืนท่ี ศึกษาธิการจังหวัด/ภาค ภูมิภาค และประเทศ รายสาระ) มี 4 แบบ ได้แก่ รายบุคคล รายโรงเรียน (มี 6 ฉบับ)
รายเขตพ้ืนที่ รายศึกษาธิการจังหวัดและศึกษาธิการภาค รวมถึงเผยแพร่ผลวิเคราะห์ O-NET ส่งให้ผู้บริหารสถานศึกษา/
เขตพ้ืนที่/ ศึกษาธิการจังหวัด/ ศึกษาธิการภาค เพื่อทราบและเป็นข้อมูลเปรียบเทียบและพัฒนาในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
ของตนเอง

แบบท่ี 1 รายงานระดับนักเรียนรายบุคคล เพ่ือใช้ประเมินตนเองและปรับปรุงการเรียนตลอดจนวางแผนการเรียนในระดับ
ท่ีสูงขึ้น โดยพิจารณาวา่ นักเรียนไดค้ ะแนนวิชาใดสูงสดุ (แข่งกับตัวเอง) และเมื่อเทียบกับเพื่อนในระดบั ขนาด จังหวัด สังกัด ภาคเดยี วกัน
และระดับประเทศ อยู่ที่ระดับใด (แข่งกับเพื่อน) เพ่ือให้รู้ระดับความสามารถของตนเอง รวมท้ังนาไปใช้ในการประเมินและวางแผน
การศึกษาตอ่ ในระดับที่สูงข้ึน

ตวั อย่างใบรายงานผลการทดสอบรายบคุ คล

แบบท่ี 2 รายงานระดบั สถานศึกษา เพอื่ ใช้สาหรับการปรับปรงุ คุณภาพการเรียนการสอน จานวน 6 ฉบับ
ฉบบั ที่ 1 ใบรายงานผลการทดสอบ O-NET ของนกั เรียนในสถานศกึ ษา
ฉบบั ท่ี 2 คา่ สถติ ิระดบั โรงเรยี น แยกตามมาตรฐานการเรยี นรใู้ นแตล่ ะรายวชิ า
ฉบับที่ 3 รอ้ ยละของนักเรียนทีต่ อบถกู ในแต่ละข้อของแต่ละรายวชิ า ระดบั โรงเรยี น
ฉบบั ท่ี 4 ช่วงคะแนนของผเู้ ขา้ สอบ แตล่ ะรายวชิ า ระดับโรงเรียน
ฉบบั ที่ 5 คา่ สถิตริ ะดบั โรงเรียน แยกตามสาระการเรยี นรแู้ ตล่ ะรายวิชา
ฉบบั ท่ี 6 คา่ สถติ ริ ะดบั โรงเรยี น แยกตามรายวชิ า

แบบที่ 3 รายงานระดบั เขตพนื้ ที่ จานวน 5 ฉบบั
ฉบับท่ี 1 ค่าสถติ ิพน้ื ฐาน ระดบั เขตพน้ื ท่ี และระดับโรงเรยี นต่าง ๆ ภายในเขตพืน้ ที่
ฉบบั ที่ 2 คา่ สถิตริ ะดบั เขตพืน้ ที่ แยกตามมาตรฐานการเรยี นรู้
ฉบับท่ี 3 ร้อยละของนกั เรยี นทีต่ อบถกู ในแตล่ ะขอ้ ระดบั เขตพืน้ ที่
ฉบับที่ 4 ช่วงคะแนนของผู้เขา้ สอบ
ฉบับที่ 5 ค่าสถิตริ ะดบั เขตพืน้ ที่ แยกตามสาระการเรียนรู้

แบบท่ี 4 รายงานระดบั จังหวัด และสานกั งานศึกษาธกิ ารภาค
รายงานค่าสถิตพิ ้ืนฐานภาพรวม และคา่ สถิติพน้ื ฐานระดบั โรงเรียน

สาหรับสานกั งานศึกษาธกิ ารภาค ศกึ ษาธิการจงั หวดั

การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้ใบรายงาน (จาแนกตามตัวแปร :
ขนาด ท่ตี ้ัง จังหวัด เขตพ้ืนท่ี ภูมภิ าค สังกัด และระดับประเทศ)

 สาหรบั นกั เรยี น : เพ่ือประเมินตนเองเปรียบเทียบกบั นักเรียนคนอน่ื และการวางแผนการศกึ ษาในระดับที่สูงขึ้น

 สาหรับนักการศึกษา : เพื่อการพัฒนาการประเมินผลในสถานศึกษาและการประเมินผลระดับชาติ ตลอดจนการ
พัฒนาการเรียนการสอนและหลกั สูตรในส่วนท่ีเก่ียวขอ้ ง

 สาหรับครูและผู้บริหารสถานศึกษา : เพื่อการประเมินตนเองรวมท้ังการเปรียบเทียบกับผู้อื่น เพื่อเป็นการพัฒนา
คณุ ภาพการเรยี นการสอน และการตดั สนิ ใจเชิงนโยบายดา้ นการศกึ ษา

นอกจากนี้ ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2560 ส ท ศ . ไ ด้
พฒั นา “ระบบรายงานผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ด้วยแผนที่ของ
ประเทศไทย (Reporting System of Ordinary
National Educational Test with map of
Thailand)” โดยนาข้อมูลผลการทดสอบ O-NET
ในแต่ละระดับชั้น แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ซ่ึงผู้ท่ี
สนใจสามารถเลอื กปีการศึกษา ระดับช้ัน ประเภทการ
รายงาน และวิชา

ท้ังน้ี สทศ. ได้วิเคราะห์ค่าสถิติรูปแบบต่าง ๆ
และพัฒนารูปแบบการรายงานผลการทดสอบ O-NET
ให้มีความทันสมัยและมีความน่าสนใจ รวมถึงให้ผู้มี
ส่วนเกี่ยวข้องได้นาผลการวิเคราะห์ค่าสถิติ O-NET
ไปใช้ปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนในแต่ละ
ระดับให้ดียิ่งข้ึน ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์
www.niets.or.th

สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) จดั ตง้ั ข้นึ โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อบริหารจัดการ
และดาเนนิ การเกี่ยวกบั การศกึ ษา วิจยั พัฒนาและสง่ เสริมวิชาการด้านการทดสอบและประเมินผลทางการศกึ ษา รวมถงึ การ
พฒั นาบคุ ลากรด้านการทดสอบและการประเมินผลโดย สทศ. ไดม้ งุ่ เนน้ พฒั นาและส่งเสรมิ สมรรถนะครูทางดา้ นการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน เพ่ือตอบสนองต่อนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ในการใช้คะแนนการทดสอบ
ระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) เป็นองค์ประกอบหนง่ึ ในการตดั สินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
พุทธศักราช 2551 ดังน้ัน สทศ. จึงได้จัดโครงการให้บริการการทดสอบวัดสมรรถนะครูทางด้านการวัดและประเมินผล
การเรยี นรูข้ น้ึ เพอื่ ให้กระทรวงศึกษาธกิ าร หน่วยงานต้นสงั กดั และสถานศกึ ษานาผลการทดสอบไปใช้ในการประเมินผล
และพฒั นาครูดา้ นการวดั และประเมินผลการเรียนร้ขู องนกั เรียนได้

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2561 สทศ. ได้จัดให้บริการการทดสอบวัดสมรรถนะครูทางด้านการวัด
และประเมินผลการเรยี นรู้ ด้วยระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Testing) ในศูนย์ E-Testing ประจาศูนย์เครือข่ายของ สทศ. และ

ที่สานักงานของ สทศ. รวมจานวน 11 แห่ง และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ให้บริการการทดสอบวัดสมรรถนะ
ครูทางด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดยให้บริการทั้งในรูปแบบการทดสอบดว้ ยระบบอิเล็กทรอนกิ ส์

(E-Testing) และการทดสอบด้วยกระดาษ (Paper –based Testing) สาหรับหน่วยงานต้นสังกัดท่ี
สนับสนุนบุคลากรเข้ารับการทดสอบต้ังแต่ 350 คนข้ึนไป เพื่อสามารถให้บริการกลุ่มเป้าหมายให้ได้
ประโยชน์สูงสุด ซึ่งคุณสมบัติผู้สมัครต้องเป็นครูผู้สอน บุคลากรทางการศึกษา และผู้สนใจทั่วไป

ค่าสมคั รสอบ 200 บาท มีกาหนดการดังน้ี

คร้งั การสอบ ครั้งที่ 1/2562 ครงั้ ที่ 2/2562
กิจกรรม
ลงทะเบียนรับสมคั รสอบ 1 มีนาคม – 30 เมษายน 2562 20 พฤษภาคม – 20 กรกฏาคม 2562
ชาระเงิน 1 มีนาคม – 30 เมษายน 2562 20 พฤษภาคม – 20 กรกฏาคม 2562
แกไ้ ขขอ้ มูลสว่ นบคุ คล 1 มีนาคม – 30 เมษายน 2562 20 พฤษภาคม – 20 กรกฏาคม 2562
ประกาศเลขทน่ี ่ังสอบสถานที่สอบ
กาหนดการสอบ 17 พฤษภาคม 2562 7 สงิ หาคม 2562
วันเสาร์ที่ 8 มถิ ุนายน 2562 วันเสาร์ที่ 24 สงิ หาคม 2562
ประกาศผลสอบ เวลา 10.00 – 12.00 น.
เวลา 10.00 – 12.00 น.
21 มิถุนายน 2562
6 กนั ยายน 2562

สอบแล้วไดอ้ ะไร

ผเู้ ขา้ รับการทดสอบได้พัฒนาสมรรถนะทางด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดังน้ี
1. จัดทาแบบบันทึกผลการเรียนประจารายวิชา (ปพ.5) ที่ดาเนินการตามแนวปฏิบัติการวัด

และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

2. เขียนข้อสอบได้ตรงตามคุณภาพผู้เรียนที่กาหนดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สาระ และ
มาตรฐานการเรียนรู้ตลอดจนตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 รองรบั การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ

3.

3. แปลผลข้อมูลและสารสนเทศของผลการทดสอบในช้ันเรียนและระดับชาติ (O-NET) ได้ถูกต้องในภาพรวมและ
รายบุคคล รายกลุ่มสาระการเรียนรู้ รายสาระ รายมาตรฐานการเรียนรู้ โดยเฉพาะครูสามารถนาผลสอบ ไปใช้
สาหรับวางแผนการพัฒนาการสอนและการยกระดบั ผลสมั ฤทธิข์ องนักเรียน

4. นาข้อมูลและผลการทดสอบในช้ันเรียนและระดับชาติ (O-NET) ไปใช้ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน
แบบ PDCA (Plan-Do-Check-Act)

สอบผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 60 จะได้รบั

1. ไดร้ ับการประเมนิ สมรรถนะทางด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรขู้ องตนเอง
2. ไดร้ บั ผลการประเมนิ สมรรถนะทางดา้ นการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ท่อี อกให้โดย สทศ.
3. เมื่อสอบผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 60 จะได้รับการพัฒนาด้านการสรา้ งเคร่ืองมอื วัดผลการเรียนรู้ของผู้เรยี น ใหม้ คี วามรู้

ความเข้าใจสามารถนาไปพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาใหด้ ยี ิง่ ขึน้
4. หากผู้เขา้ สอบสอบไม่ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 60 จะไดร้ ับการพฒั นาสมรรถนะดา้ นการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ให้

มากขึ้น โดยเป็นความร่วมมือระหว่าง สทศ. กับหน่วยงานต้นสังกัด ในการจัดการอบรมและพัฒนาให้ผู้เข้าสอบ
ท่มี ผี ลการทดสอบไมผ่ ่านเกณฑใ์ หส้ ามารถผา่ นเกณฑ์การทดสอบได้

ประเภทการสอบและสนามสอบ
 การทดสอบด้วยกระดาษ (Paper – based Testing)

กรณีเขตพ้ืนที่การศึกษา/สานักงานศึกษาธิการจังหวัด (ศธจ.)/กลุ่มโรงเรียนสนับสนุนค่าสมัครสอบให้ครู/
อาจารย์เข้ารับการทดสอบ ตั้งแต่ 350 คนขึ้นไปสทศ. จะเปิดสนามสอบให้ในจังหวัดนั้น และสนับสนุนวิทยากรการอบรม
พฒั นาสมรรถนะครฯู ก่อนการสอบโดยไมค่ ดิ คา่ ใช้จ่าย

 การทดสอบดว้ ยระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (E - Testing)

สทศ. ได้ดาเนินการทดสอบด้วยระบบ E - Testing เพ่ือขยายโอกาสทางการ
ทดสอบให้ผู้เข้ารับการทดสอบมากยิ่งขึ้น โดยมีเป้าหมายตอบสนองการทดสอบ
หลายคร้งั และรองรบั รูปแบบของขอ้ สอบทใ่ี ช้ส่ือมลั ติมเี ดียตา่ งๆ

www.niets.or.th

สาํ น

ดร.ชนาธิป ทยุ แป

นักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

1

ปจ จุบนั ทา นกาํ ลังเปนครูผ

1
2

3

4
5

ผสู อนอยใู นชวงไหนเอย ?

กาํ ลงั เรียนครู
เริม่ บรรจุ

สนุกกับการทํางาน

ใกลเ กษยี ณ
เกษยี ณอายรุ าชการ

การประเมนิ ในร

การประเมนิ ระดับนานาชาติ
การประเมนิ ระดับชาติ

การประเมนิ ระดบั เขตพน้ื ที่
การประเมินระดับสถานศึกษา
การทดสอบระดับชั้นเรยี น

ระบบการศกึ ษาไทย

PISA & TIMSS
ONET & NT

LAS
การประเมนิ ภายใน&ภายนอก

การทดสอบในช้นั เรยี น
ตามมาตรฐานและตัวชีว้ ัด

ขอสอบกลางทใ่ี ชเ ปน ขอ

ระดบั ชนั้ ป

กลุมสาระ ป.2
ป.4-5

ม.1-2

4

อสอบปลายภาค/ปลายป

ป.2, 4-5 และ ม.1-2

ภาษาไทย

ภาษาไทย / คณิตศาสตร / วทิ ยาศาสตร
ภาษาไทย / คณิตศาสตร / วิทยาศาสตร

/ สังคมศกึ ษาฯ / ภาษาตางประเทศ

4

ระบบการวัดและประเมนิ ผลในระด

คะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของผ
คะแนนเก็บระหวางภาคเรยี น

- คะแนนจิตพิสัย
- คะแนนสอบทา ยบท/กลางภาค
- คะแนนตรวจงาน/โครงการ
- คะแนนสอบภาคปฏิบัติ

ฯลฯ

5

ดับสถานศกึ ษาโดยใชขอสอบกลาง

ผูเรียนทีใ่ ชใ นการตดั สนิ ผลการเรียน
คะแนนสอบปลายภาค

ขอ สอบ ขอ สอบของ
กลาง โรงเรยี น/
(สพฐ.) เขตพ้นื ที่
(20 %) (80 %)

5

การทดสอบระดับน
กบั การทดสอบในชั้นเรียน (

ในปจ

การทดสอบระดบั Free co
นานาชาติ (PISA) Based ass

(เนอื้ หา

การทดสอบระดบั ชั้นเรยี น cont
(Classroom) Based ass
(เนื้อหาตา

นานาชาติ (PISA)
(Classroom Assessment)
จจุบัน

ontent - ขอ สอบเลอื กตอบ
sessment - ขอ สอบเขยี นตอบ
าท่วั ไป)

tent - ขอ สอบเลือกตอบ
sessment
ามตวั ช้ีวัด)

รูปแบบขอสอบอตั

การประเมินในระดบั นานาชาติ (PISA)
1. แบบสรา งคําตอบแบบปด
2. แบบเขียนตอบสั้น

3. แบบสรางคาํ ตอบแบบอิสระ

ตนยั หรือเขียนตอบ

การประเมินในระดับชน้ั เรยี น
1. แบบจาํ กดั คาํ ตอบหรือตอบสน้ั

(Restricted Response or Shot Essay
Item: RR)

2. แบบขยายคาํ ตอบหรือตอบอยา ง
อสิ ระ (Unrestricted Response or

extended Response: UR)

ตัวอยา งขอสอบเขียน

1. แบบสรา งคาํ ตอบแบบปด มลี กั ษ
ใหผ ูเ ขาสอบเขียนคําตอบที่เปนคาํ ตอ
ชัดเจน เชน

โจทย บริษทั ท่ที าํ ขนมปงกรอบช
...................................................
...................................................

นตอบตามแนว PISA

ษณะเปนขอสอบทม่ี ีขอคําถามแลว
อบถกู ตอ ง ที่มีลกั ษณะเฉพาะและ

ชอ่ื บรษิ ทั อะไร
...................................................
...................................................

ตัวอยา งขอ สอบเขียน

2. เขยี นตอบสัน้ ๆ มลี ักษณะเปนข
สอบเขยี นคาํ ตอบส้ัน ๆ ในทีว่ า งท่เี ต
คาํ ตอบเปนตวั หนังสือ วาดภาพ และ

โจทย ถา นักเรยี นตองการหาเสนท
ใตดินจากสถานซี าโตไ ปยงั สถานีปา
ใชเดินทางลงในแผนที่
......................................................
......................................................

นตอบตามแนว PISA

ขอสอบที่มขี อคาํ ถาม และใหผเู ขา
ตรยี มไวในแบบทดสอบ ซึ่งอาจเขยี น
ะ/หรือเขียนตัวเลข เชน
ทางส้ันท่ีสดุ เพื่อเดินทางดวยรถไฟ
าไม จงเขียนเสน ทางทนี่ ักเรียนจะ

......................................................
..........................................

ตวั อยางขอ สอบเขียน

3. สรา งคําตอบแบบอสิ ระ มลี ักษณ
เขาสอบอธิบายคําตอบหรือใหเหตผุ ล
เขาใจทม่ี ตี อคาํ ถาม ผูเขา สอบควรเข
ไวใ ห จํานวนเสนบรรทัดจะเปน ตัวบ
เขยี นตอบ

โจทย ลกั ษณะอยา งใดของภาพยน
โกรธแคน
......................................................
......................................................

นตอบตามแนว PISA

ณะเปนขอ สอบท่มี ขี อคาํ ถามแลวใหผ ู
ลประกอบคําตอบทีแ่ สดงความ
ขียนคําตอบในเสนบรรทัดท่กี าํ หนด
บอกความยาวอยาง คราว ๆ ท่ีควร

นตร ทท่ี ําใหค นในเมืองมาซอนโด

.........................................................
...........................................

รปู แบบขอ สอบเขยี นตอบในการ

1. แบบสรา งคาํ ตอบแบบปด
2. แบบเขียนตอบสนั้
3. แบบสรางคาํ ตอบแบบอิสระ

รทดสอบระดบั นานาชาติ (PISA)

ระดบั พฤตกิ รรมทางสมองขัน้ พน้ื ฐาน
• ความจํา
• ความเขาใจ
• การนําไปใช

ระดบั พฤตกิ รรมทางสมองขนั้ สงู
• การวเิ คราะห
• การประเมินคา
• การสรางสรรค

รปู แบบขอ สอบแบบเ

1. แบบจํากดั คาํ ต
(Restricted Response

เขยี น

2. แบบขยายคาํ ตอบ
(Unrestricted Response

เขียนตอบในชัน้ เรียน

ตอบหรือตอบสนั้
e or Shot Essay Item)

นตอบ

4. แบบกลมุ คําตอบ
บหรอื ตอบอยสาัมงพอันิสรธะ(
or extended Response)

1.แบบจาํ กัดคําต
(Restricted Response o

เปน ลกั ษณะขอ สอบท
ภายใตเงื่อนไขท่ีกาํ หนด แ
ชัดเจน

(ออกยาก แ

ตอบหรอื ตอบสน้ั
or Shot Essay Item: RR)
ทใี่ หคิดและเขยี นคาํ ตอบ
และมีแนวของคาํ ตอบท่ี
แตต รวจงา ย)

ตัวอยา งขอสอบแบบจํา
(restricted-resp

การเลอื กตัง้ สมาชกิ สภาผูแ
สมาชิกวฒุ สิ ภา ตามรัฐธรรมน
เหมอื นและความแตกตางกนั
2. …………………………………………
………….................................

ากดั คําตอบหรือตอบสั้น
ponse question)
แทนราษฎร กับการเลือกตัง้
นูญฉบับปจจุบันมีความ
นอยา งไร
…………………………………………
...............................................

ตวั อยางขอ สอบในระด

โจทย ลวดยาว 44 เซนตเิ
รปู ส่ีเหลย่ี มจตั รุ สั ยาวดา นละ 2
จัตรุ ัสมากทสี่ ุด ........................

ทม่ี า

ดับชาติและนานาชาติ

เมตร ถา นาํ มาตดั แลวดดั ใหเปน
เซนตเิ มตร จะไดรูปสีเ่ หลี่ยม
..... รปู
า: ดัดแปลงจากขอ สอบ สสวท.

ตัวอยา งขอสอบในระด

โจทย นาํ รปู สีเ่ หล่ียมจตั รุ สั จํานวน
ภาพ ซงึ่ มพี นื้ ท่รี วมกันท้งั หมด 245
ตอ ไปน้ี

ก. พน้ื ท่ีรูปส
ตอบ.....

ข. รปู สเี่ หล
ตอบ.....

ค. จากรปู ค
ตอบ.....

ดับชาตแิ ละนานาชาติ

น 5 รูปท่มี ีพ้ืนท่เี ทา กนั มาตอ กนั ดงั
5 ตารางเซนตเิ มตร จงหาคาํ ตอบ

สเี่ หลย่ี มจัตุรสั จํานวน 1 รูป
...........................ตารางเซนติเมตร
ลย่ี มจตั รุ สั ยาวดานละเทา ใด
...........................เซนติเมตร
ความยาวเสน รอบรปู เปนเทาใด
...........................เซนตเิ มตร

ทม่ี า: ดัดแปลงจากขอ สอบโครงการ TIMSS

ตัวอยางขอ สอบในระด

โจทย รูปแสดงลูกเตา 6 รปู มีชอ่ื ต
(e) และ (f) เปน กฎของลูกเตา ค
ขา มสองหนารวมกันขามสองหนา ร

จงเขีย
ของล

ท่ีมา: ดดั แปลงจากขอสอบโครงการ PISA


Click to View FlipBook Version