The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

GPAS 5 Steps 2562 ALL

GPAS 5 Steps 2562 ALL

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

รายงานการอบรม

การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรเู พอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตาม
มาตรฐานและตวั ช้วี ดั ในหลกั สูตรและทกั ษะทจ่ี ําเปน ในศตวรรษท่ี 21 ใหผ ูเ รยี น

พรอ มเปน พลเมืองในยคุ ประเทศไทย 4.0 ดวยการเรยี นรแู บบ Active
Learning ผานกระบวนการคดิ ขนั้ สูง GPAS 5 Steps
จดั โดยสถาบันพฒั นาคณุ ภาพวิชาการ(พว.)

วนั ท่ี 28 มีนาคม 2562 ณ หองเกียรติยศ โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ

ของ
นายธชั วุฒิ กงประโคน
ตําแหนง ครู อนั ดบั คศ.๒
วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการ
โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
สํานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาชยั ภมู ิ เขต ๑
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

รายงานผลการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒

บนั ทกึ ขอความ จงั หวัดชัยภูมิ
สวนราชการโรงเรยี นอนบุ าลชัยภมู ิ อาํ เภอเมือง
ท่ี วันที่ เดอื น พ.ศ. ๒๕๖๒
เรื่อง รายงานผลการอบรม

เรยี น ผูอํานวยการโรงเรียนอนบุ าลชยั ภูมิ
ดวยขาพเจา นายธัชวุฒิ กงประโคน ตําแหนง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการ ไดเขารวมการ

ประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรูเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม
มาตรฐานและตัวชวี้ ดั ในหลักสูตรและทักษะท่จี ําเปนในศตวรรษที่ 21 ใหผ ูเ รียนพรอมเปนพลเมืองในยุค
ประเทศไทย 4.0 ดวยการเรียนรแู บบ Active Learning ผานกระบวนการคิดขั้นสูง GPAS 5 Steps จัด
โดยสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.) วันที่ 28 มีนาคม 2562 ณ หองเกียรติยศ โรงเรียนอนุบาล
ชยั ภูมิ

บัดนี้ขาพเจาไดเ ขา รวมประชมุ เชิงปฏบิ ัติการตามโครงการดงั กลาวเรยี บรอ ยแลว จงึ เสนอรายงาน
ผลการอบรมตามเอกสารที่แนบมาพรอมนี้

จงึ เรยี นมาเพือ่ โปรดทราบและพิจารณา
ลงช่ือ
( นายธชั วุฒิ กงประโคน )
ครู วิทยฐานะครชู ํานาญการ
ผูร ายงาน

ความเห็นของหัวหนากลุมงานวชิ าการ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

ลงช่ือ...............................................
(..........................................)

ความเห็นของรองผูอํานวยการกลุม งานบริหารวิชาการ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................
(..........................................)

ความเห็นของผูอํานวยการโรงเรยี นอนบุ าลชัยภมู ิ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................
(..........................................)

รายงานผลการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ

ระหวา งวนั ที่ ๒๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒

คาํ นาํ
รายงานการไปราชการเลมนี้ จัดทําขึ้นเพ่ือรายงานผล การประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนา
คุณภาพการจัดการเรียนรูเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดในหลักสูตร
และทักษะที่จําเปนในศตวรรษท่ี 21 ใหผูเรียนพรอมเปนพลเมืองในยุคประเทศไทย 4.0 ดวยการเรียนรู
แบบ Active Learning ผานกระบวนการคิดขั้นสูง GPAS 5 Steps จัดโดยสถาบันพัฒนาคุณภาพ
วิชาการ(พว.) วนั ที่ 28 มนี าคม 2562 ณ หองเกียรตยิ ศ โรงเรียนอนบุ าลชัยภูมิ
ขอขอบคุณ ผูอํานวยการโรงเรียนอนุบาลชยั ภมู ิ ที่สนับสนุนใหเขารวมการอบรมเชิงปฏบิ ัติการ
ดังกลาว

นายธชั วุฒิ กงประโคน
ครู วทิ ยฐานะครชู ํานาญการ

ผรู ายงาน

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

สารบัญ

เรอื่ ง หนา
รายงานผลการประชุมปฏบิ ัติการ................................................................................................... ๑
ภาคผนวก....................................................................................................................................... ๑๐

- ภาพประกอบการอบรม................................................................................................ ๑๑

รายงานผลการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ

ระหวางวนั ที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒



รายงานผลการประชุมปฏิบตั กิ าร

การพัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนรูเพอ่ื ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามมาตรฐานและตวั ชว้ี ดั
ในหลักสูตรและทกั ษะทจ่ี าํ เปนในศตวรรษที่ 21 ใหผูเรียนพรอมเปนพลเมอื งในยุคประเทศไทย 4.0

ดว ยการเรยี นรูแบบ Active Learning ผานกระบวนการคดิ ขน้ั สงู GPAS 5 Steps

--------------------------------------------------------------------------------------------------------
การวเิ คราะหค วามสัมพันธระหวา งมาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด ในหลกั สตู ร กบั ทักษะการคดิ
แนวทางสําคัญสูก ารออกแบบการจดั การเรียนรูท่ีมคี ณุ ภาพ

เปาหมายของการจัดการเรียนรูในหลักสูตร คือผูเรียนมีคุณภาพทุกดานผานเกณฑ
ตามท่ีหลักสูตรกําหนดไว ซึ่งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศัราช 2551 ไดกําหนด
เปาหมายคุณภาพผูเรียนไวใน จุดหมาย สมรรถนะสําคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการ
เรยี นรู และตวั ช้วี ดั โดยเฉพาะอยา งยิง่ มาตรฐานการเรยี นรูแ ละตวั ช้ีวัดไดกาํ หนดไวใ นทุกกลุมสาระการ
เรียนรูทุกระดับช้ันเพ่ือใชเปนจุดหมายปลายทางสําหรับการวัดและประเมินผลคุณภาพผูเรียนทุกคน
ผูสอนจึงตองเขาใจความหมายและความสําคัญของมาตรฐานและตัวช้ีวัดในหลักสูตรเปนพื้นฐาน
เบ้ืองตนทจ่ี ะนาํ ไปสูการออกแบบการจัดกจิ กรรมเรียนรู

ในกระบวนการของการออกแบบการจัดการเรียนรูในระดับหนวยการเรียนรูตามแนว
ทางการออกแบบ แบบ Backward Design ซึ่ง Grant Wiggin และ Jay Mc Tighe กําหนดไว 3
ขั้นตอน ใหเริ่มตนดวยการกําหนดเปาหมายคุณภาพผูเรียน ดังรายละเอียดท่ีกลาวไวตอนตน ตอมาให
กําหนดภาระงาน/ช้ินงาน หลักฐานรองรอยการแสดงออกของผูเรียน ซ่ึงเปนจุดสําคัญที่ใชตัดสินอางอิง
หรือยืนยันการบรรลุเปาหมายของการเรียนรูในหนวยการเรียนน้ันแลว และขั้นตอนสุดทายคือการ
ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู ในข้ันน้ีสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการไดนํากระบวนการเรียนรู
ตามโครงสรางการคิด GPAS มาดัดแปลงเปน GPAS 5 Steps เพ่ือใชในการออกแบบการจัดกิจกรรม
การเรียนรูในหนวยการเรียน การวิเคราะหความสัมพันธระหวางมาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ในหลักสูตร กับ
ทักษะการคิดจึงเปนแนวทางสําคัญท่ีจะทําใหการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรยี นรใู หบรรลุเปาหมาย
ไดอยางมีคุณภาพตรงตามมาตรฐาน/ตวั ชี้วดั ท่กี าํ หนด
แนวทางในการวิเคราะหความสัมพันธระหวางมาตรฐาน/ตัวชี้วัด ในหลักสูตร กับ ทักษะการคิด มี
แนวทางดําเนนิ การดังนี้

ข้ันที่ 1 วิเคราะหคําสําคัญในตัวชี้วัดแตละตัววา คําสําคัญ (key word) หรือ พฤติกรรมท่ี
ตองการ การแสดงออกของผูเ รียนมีอะไรบา ง ในสถานการณ หรอื บรบิ ทเนือ้ หาอะไร ดงั ตัวอยาง

ภาษาไทย ป. 6
มฐ. ท 1.1ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการ
ดําเนินชวี ิต และมีนสิ ัยรักการอาน
ตวั ชี้วดั ท 1.1 ป. 6/1 อา นออกเสียงบทรอ ยแกวและบทรอ ยกรองไดถกู ตอง

คาํ สําคญั หรือพฤติกรรมที่ตองการ อานออกเสียง สถานการณหรือเน้ือหา บทรอย
แกว บทรอยกรอง

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒



คณติ ศาสตร ม. 1
มฐ. ค 1.2 เขาใจถึงผลท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธการ
ดาํ เนนิ การตางๆ และสามารถใชการดําเนนิ การในการแกป ญ หา
ตัวชี้วัด ค 1.2 ม.1/1 บวกลบคุณหารจํานวนเต็มและนําไปใชแ กปญหาตระหนักถึงความสมหตุ
สมผลของคําตอบ อธิบายผลท่เี กดิ ขึ้นจากการบวก การลบ การคูณ การหาร และบอกความสัมพันธของ
การบวกกบั การลบ การคูณกับการหารของจาํ นวนเตม็
คําสําคัญหรือพฤติกรรมที่ตองการ บวก ลบ คุณ หาร และ นําไปใชแกปญหา

ตระหนักถึงความสมหตุสมผลของคาํ ตอบ อธบิ ายผล
สถานการณห รอื เนื้อหา การบวก การลบ การคณู การหาร จํานวนเตม็
คาํ สําคญั หรือพฤติกรรมทตี่ อ งการ บอกความสมั พันธ
สถานการณห รือเน้อื หา การบวกกับการลบ การคณู กบั การหาร จาํ นวนเต็ม
ข้ันที่ 2 ศึกษาโครงสรางทักษะการคิด GPAS หรือ GPAS 5 Steps วามีการคิดก่ีระดับ
อะไรบาง แตละระดบั มีทกั ษะการคดิ อะไรบา ง
ข้ันท่ี 3 นําคําสําคัญในตัวช้ีวัดท่ีเปนพฤติกรรมที่ตองการ การแสดงออกของผูเรียนมาเทียบกับ

ระดบั การคดิ และทักษะการคิดวา ตรงกับระดบั ใด ทักษะใด ดังตัวอยางการวเิ คราะห
ลักษณะ
มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั คาํ สําคญั พฤติกรรม ระดับการคดิ /ทักษะการ
ของตัวชี้วัด คดิ
KPA
มฐ. ท 1.1ใชกระบวนการ 1. อา นออกเสียง
อานสรางความรูและความคิดเพื่อ (พฤติกรรมท่ี -  - คดิ ระดับApplying
นําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการ ตองการ) ทักษะการนาํ ความรูไป
ดําเนนิ ชีวิต และมนี สิ ัยรกั การอาน 2.บทรอ ยแกวและ ปรับใช (transferring)
ตัวช้ีวัด ท 1.1 ป. 6/1 อาน บทรอ ยกรอง
ออกเสียงบทรอยแกวและบทรอย (สถานการณหรอื
กรองไดถกู ตอง เนือ้ หา)

มฐ. ค 1.2 เขาใจถึงผลที่เกิดข้ึนจาก 1.บวก ลบ คุณ - - Applying
การดําเนินการของจํานวนและ หาร ทกั ษะการนําความรูไป
ความสัมพันธการดําเนินการตางๆ ปรับใช(transferring)
และสามารถใชการดําเนินการในการ
แกปญหา 2.นาํ ไปใชแ กป ญ หา -  - Applying
การแกป ญหา
ตัวช้ีวัด ค 1.2 ม.1/1 บวกลบคุณหาร - (problem solving)
จํ า น ว น เ ต็ ม แ ล ะ นํ า ไ ป ใ ช แ ก ป ญ ห า
ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ค ว า ม ส ม ห ตุ ส ม ผ ล ข อ ง 3.ตระหนกั ถึงความ  การกํากบั ตนเอง
คําตอบ อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการ สมหตสุ มผล (Self-regulating)การ
ตรวจสอบและควบคุม

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวา งวนั ที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒



มาตรฐาน/ตัวชี้วัด คาํ สาํ คัญ ลักษณะ ระดับการคดิ /ทกั ษะการ
พฤตกิ รรม คิด
บวก การลบ การคูณ การหาร และ ของตัวช้ีวัด
บอกความสัมพันธของการบวกกับการ KPA การคิด (Meta
ลบ การคูณกบั การหารของจํานวนเตม็ 4.อธิบายผล Cognition)

(พฤติกรรมท่ี  - - การจดั กระทาํ ขอมูล
ตอ งการ) (Processing)ทักษะการ
การบวก การลบ สรุปเชอ่ื มโยง
การคูณ การหาร (connecting) ไตรต รอง
จํานวนเต็ม ดวยเหตผุ ล (reasoning)
(สถานการณห รือ
เน้อื หา)

5. บอก   - การจัดกระทําขอมลู
ความสมั พนั ธ (Processing)ทักษะการ
(พฤติกรรมท่ี สรปุ เชือ่ มโยง
ตอ งการ)การบวก (connecting)
กับการลบ การคูณ
กบั การหารจํานวน
เต็ม(สถานการณ
หรอื เน้อื หา)

รายงานผลการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร

ระหวางวันที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒


การนําความรคู วามเขาใจความสมั พันธร ะหวางมาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด ในหลกั สตู ร กับ ทักษะการคิด ไป
ใชประโยชนในการออกแบบการเรยี นรู

ทักษะการคิดตามโครงสรางการคิด GPAS มีความสัมพันธโดยตรงกับกรวยประสบการณหรือ
ปรามิดการเรียนรู (Learning Pyramid)ของ เอดการ เดล การออกแบบกิจกรรมการเรียนรูให
สอดคลองกับกรวยประสบการณ (Learning Pyramid) และโครงสรางทักษะการคิดจึงเปนความ
สอดคลองของกิจกรรมการเรียนรูที่ผสมผสานทั้ง ทักษะการคิดข้ันพื้นฐาน(Lower Order Thinking :
LOT) ในทักษะขน้ั การสังเกต รวบรวมขอมลู (Gathering : G) ซ่งึ เปน การเรยี นรูแบบ Passive Learning
ตอเนื่องไปกับการเรียนรูแบบ Active Learning ในทักษะข้ันการจัดกระทําขอมูล (Processing : P)
สัมพันธเปนกระบวนการตอเน่ืองจนถึงทักษะการคิดขั้นสูง (Higher Order Thinking : HOT) ในทักษะ
ข้ันการประยุกตใชความรูสูการปฏิบัติจริง(Applying : A) และขั้นตรวจสอบและประเมินตนเอง (Self-
regulating : S )

การจดั การเรียนรตู ามแนวคิด Active Learning ไดมกี ารปรับแนวคิดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู
ทเ่ี ปน Passive Learning ในขน้ั การฟงบรรยาย การอา น หรอื การดกู ารสาธิต ใหเปน Active Learning
และมีประสิทธิภาพมากข้ึน โดยอาจมอบหมายงานใหผุเรียนปฏิบัติกิจกรรม ในรูปแบบตางๆ เชน
กิจกรรมรายบุคคล กิจกรรมแบบจับคู กิจกรรมกลุมยอยที่ไมเปนทางการ กิจกรรมตามความสนใจ และ
โครงงานนกั เรียนกลมุ เลก็ หรือกลมุ ใหญ ซง่ึ มลี กั ษณะสาํ คัญในการออกแบบการเรียนรู ไดแ ก

• กาํ หนดวตั ถุประสงควิธีทาํ กจิ กรรมใหชัดเจน
• รวมผังกราฟก กราฟ แผนภูมิ ฯลฯ ลงในการบรรยาย การอาน หรือจากการชม
การสาธิต
• ทําคาํ อธบิ ายประกอบสง่ิ ทีน่ ําเสนอ เพือ่ ใหเ นอ้ื หาชัดเจน
• ใหคําแนะนําหรือชปี้ ระเด็นสาํ คัญในเนอ้ื หาทีบ่ รรยาย การอา น หรอื การสาธิต
• ใหผ ูเรยี นทาํ กิจกรรมสน้ั ๆ สลบั เปล่ียนใหแตกตา งกันในแตล ะชว งเวลา
• ใหเวลาผูเรยี นในการสรา งคําถาม
• ใหผ เู รยี นสรุปประเด็นสาํ คัญ

รายงานผลการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ

ระหวา งวนั ที่ ๒๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๕ Self - regulating
แผนภาพแสดงความสมั พนั ธระหวางกรวยประสบการณ(Learning Pyramid)

กบั โครงสรา งทกั ษะการคดิ GPAS

Applying
Processing
Gathering

นอกจากนสี้ ถาบันพัฒนาคุณภาพวชิ าการ(พว.) ยังไดน ํา กระบวนการเรยี นรูแบบ 5
Steps มาบูรณาการเขากับโครงสรา งทักษะการคิด GPAS เปน กระบวนการเรยี นรแู บบ GPAS 5 Steps
โดยเพ่ิมเติม ข้ันส่ือสารและนําเสนอ (Applying the Communication Skill ) เขาไปในขั้นตอนการ
ออกแบบการเรียนรูดังรายละเอยี ดข้นั ตอน GPAS 5 Steps

STEP 1 ขั้นสังเกต รวบรวมขอ มูล (Gathering)
STEP 2 ขัน้ คดิ วเิ คราะหและสรุปความรู (Processing)
STEP 3 ข้ันปฏิบัติและสรุปความรูหลังการปฏิบัติ(Applying and Constructing
the Knowledge )
STEP 4 ข้ันสอ่ื สารและนาํ เสนอ (Applying the Communication Skill )
STEP 5 ขัน้ ประเมินเพ่ือเพม่ิ คณุ คา (Self - regulating)
การนาํ ความสัมพันธข องมาตรฐาน/ตัวช้ีวัดในหลักสูตรกบั โครงสรางทกั ษะการคดิ
GPAS หรอื GPAS 5 steps มาเปน แกนในการจดั กระบวนการเรยี นรูและออกแบบการเรียนรูใน
บทเรียนหรือหนวยการเรียนตางๆ จงึ เปนการออกแบบการเรยี นรูท่ีเนนการเรยี นรแู บบ Active
Learning เปน กระบวนการหลัก ทจ่ี ะชว ยใหผูเรียนมคี วามคงทนในการเรยี นรใู นระดบั สูง เกดิ การ
เรยี นรูท ่ีครอบคลมุ ทกั ษะการคดิ การแกปญหา การส่ือสาร การใชท กั ษะชวี ติ และการทาํ งานเปนทีม
ตรงตามเปาหมายของหลกั สตู รและแนวทางพฒั นาสมรรถนะบุคคลในศตวรรษที่ 21 ตอบสนองความ
ตองการการพัฒนาประเทศไปสูยคุ ประเทศไทย 4.0

รายงานผลการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ

ระหวา งวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒



การนําความรูความเขา ใจความสัมพนั ธร ะหวางมาตรฐาน/ตัวชี้วัด ในหลกั สูตร กับ ทกั ษะการคดิ ไป
ใชป ระโยชนใ นการประเมินผลการเรยี นรู
แนวคิดสําคัญของการประเมินผลการเรียนรคู ือ “ประเมินเพอื่ เรยี น” โดยเฉพาะการประเมนิ ใน
ชั้นเรยี น ไมวา จะเปน การประเมินกอนเรียน ระหวางเรยี น หรอื หลังเรียนในบทเรียนแตบทหรอื หนวย
การเรยี นตองเนน การประเมนิ สภาพจริงเพ่ือนาํ ไปใชประโยชนใ นการปรับปรงุ เนือ้ หาหลักสตู ร วิธจี ัดการ
เรียนรแู ละการประเมนิ ผลในครงั้ ตอไป วา บรรลุเปาหมายคุณภาพผเู รยี นตามท่กี ําหนดไวในแตล ะ
บทเรียนหรอื ไมเ พยี งใด การนําผลการวเิ คราะหความสมั พันธระหวางมาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด ในหลักสตู ร กับ
ทกั ษะการคิด ไปใชในการวดั ประเมินผลเพื่อพฒั นาการเรยี นรนู ้ัน มีแนวทางดาํ เนินการดังนี้
ขั้นท่ี 1 เลือกวิธกี ารวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู ใหส อดคลองกบั ลักษณะพฤติกรรม
ของตัวชว้ี ดั และหลักฐานรองรอยการแสดงออกของผเู รยี นจากการจัดกิจกรรมการเรยี นรู ที่
เปนความสามารถผูเรียนในดานนน้ั ๆ ซ่ึงมแี นวทางพิจารณาวธิ กี ารประเมินตามสภาพจริง ดงั
ตวั อยาง
ลักษณะพฤติกรรม แหลงขอมูล หลกั ฐาน วธิ กี ารวดั และ เครอื่ งมอื
ของตัวชี้วดั การแสดงออกของ ประเมินผล
ผเู รียน
ความรู - คะแนนจากการ - ทดสอบ - แบบทดสอบ
(Knowledge) ทดสอบ - ตรวจการเขียน - แบบตรวจการ
- เอกสารรายงาน/ รายงาน/ เขียนรายงานแบบ
แบบฝกหดั แบบฝกหดั จดั อนั ดับคุณภาพ
- ขอมลู จากการ - รับฟงการ (rubrics)
นําเสนอดวยวาจา นําเสนอรายงาน
ของผูเ รยี น

ทักษะกระบวนการ พฤติกรรมการปฏิบัติ -สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ
(Process Skill) กจิ กรรมตาม -ประเมนิ ผลงาน ทักษะ
กระบวนการเรยี นรูใน ภาคปฏบิ ตั ิ กระบวนการ
บทเรยี น ทาํ งาน
- แบบประเมนิ
คุณภาพชน้ิ งาน
แบบจดั อนั ดับ
คณุ ภาพ(rubrics)
ฯลฯ
คุณลกั ษณะพึง -พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกต
ประสงค(Attribute) แสดงออกที่สอดคลอง ประเมนิ พฤติกรรม
กบั คุณลักษณะที่ การปฏบิ ตั ติ น
กําหนด

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร

ระหวางวนั ที่ ๒๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒



ลกั ษณะพฤตกิ รรม แหลง ขอ มลู หลกั ฐาน วธิ ีการวดั และ เคร่ืองมือ
ของตัวช้ีวดั การแสดงออกของ ประเมนิ ผล

ผูเรยี น

ขน้ั ที่ 2 วเิ คราะหลักษณะเครื่องมือทส่ี อดคลอ งกบั ทักษะการคิดและระดับการคิดท่ี
สมั พันธกบั ตวั ชีว้ ดั ดงั ตวั อยา ง
ตัวชว้ี ัด ค 1.2 ม.1/1 บวกลบคุณหารจํานวนเตม็ และนาํ ไปใชแ กปญ หาตระหนักถึง
ความสมหตุสมผลของคาํ ตอบ อธิบายผลทเี่ กดิ ขน้ึ จากการบวก การลบ การคูณ การหาร และ
บอกความสมั พันธของการบวกกับการลบ การคูณกบั การหารของจํานวนเต็ม
ลกั ษณะพฤตกิ รรม ระดับการคดิ /ทกั ษะ ลกั ษณะเคร่ืองมือท่ี
คาํ สาํ คญั ของตัวชี้วัด การคิด สอดคลอ งกับตัวชว้ี ัดและ
ระดบั การคิด/ทักษะการคิด
1.บวก ลบ คุณ ทักษะกระบวนการ Applying -แบบทดสอบคดิ เลขเร็วและ
หาร (Process Skill) ทักษะการนาํ ความรู ใหแ สดงวธิ ีทาํ
ไปปรบั - แบบตรวจการเขยี น
ใช( transferring) รายงานแบบจดั อนั ดับ
คุณภาพ(rubrics)ท่ีมีการ
ประเมนิ กระบวนการนาํ
ความรไู ปใช
2.นาํ ไปใช ทกั ษะกระบวนการ Applying - แบบทดสอบแกโ จทย
แกปญหา (Process Skill) การแกปญ หา ปญหาและใหแสดงวธิ ีทํา
(problem solving)
3.ตระหนกั ถงึ ความ คุณลักษณะพึง การกํากบั ตนเอง - แบบประเมนิ ผลการตรวจ
สมหตสุ มผล ประสงค(Attribute) (Self- คาํ ตอบจากการแกโ จทย
regulating)การ ปญหา
ตรวจสอบและควบคุม - แบบประเมนิ การอธิบาย
การคิด (Meta เหตผุ ลของการดําเนนิ การ
Cognition)
4.อธิบายผล ความรู การจัดกระทาํ ขอมลู - แบบตรวจการเขยี น
(พฤติกรรมท่ี (Knowledge) (Processing) ทกั ษะ รายงานแบบจัดอันดับ
ตองการ) การสรุปเชอื่ มโยง คณุ ภาพ(rubrics)ที่มีการ
การบวก การลบ (connecting) ประเมินการอธิบายและให
การคณู การหาร ไตรตรองดว ยเหตุผล เหตุผลสรุปเชอ่ื มโยงเหตแุ ละ
จาํ นวนเต็ม (reasoning ผล
(สถานการณห รือ
เน้อื หา)

รายงานผลการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ

ระหวา งวันท่ี ๒๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒



คาํ สําคัญ ลักษณะพฤตกิ รรม ระดบั การคิด/ทกั ษะ ลักษณะเคร่ืองมือที่
5. บอก ของตัวชี้วดั การคิด สอดคลอ งกับตัวชีว้ ัดและ
ความสัมพนั ธ ความรู การจดั กระทาํ ขอมลู ระดบั การคดิ /ทักษะการคิด
(พฤติกรรมท่ี (Knowledge) (Processing)ทักษะ แบบตรวจการเขยี นรายงาน
ตองการ)การบวก ทักษะกระบวนการ การสรุปเชอ่ื มโยง แบบจัดอนั ดบั คณุ ภาพ
กับการลบ การคูณ (Process Skill) (connecting) (rubrics)ทีม่ ีการประเมินการ
กบั การหารจํานวน อธบิ ายและใหเ หตผุ ลสรุป
เต็ม(สถานการณ เช่อื มโยงเหตแุ ละผล
หรือเน้อื หา)

ข้ันที่ 3 สรางเกณฑประเมินเชิงคุณภาพใหสอดคลองกับตัวช้ีวัดและระดับการคิด/ทักษะการ
คิด โดยปกติเกณฑประเมินคุณภาพของพฤติกรรมและช้ินงานภาระงานระหวางเรียนนิยมสรางเกณฑ
ประเมินแบบจําแนกองคประกอบมติ ิการประเมิน (Analytic rubrics Score) เพ่ือนําผลการประเมินแต
ละมิติไปใชในการปรับปรุงการจัดการเรียนรูหรือใหผูเรียนรับรูจุดท่ีควรปรับปรุงพฤติกรรมและช้ินงาน
ของตนเองในรายละเอียดยอยๆ เพ่ือเปนแนวทางในการปรับปรุงตนเองและพรอมที่จะพัฒนาคุณภาพ
ของตนใหสูงขึ้นไดดวยตนเอง ดังตัวอยางเกณฑการประเมินตามตัวช้ีวัด ท 2.1 ป.6/4 เขียนเรียงความ
(เชิงสารคด)ี
คําอธิบายระดับคุณภาพ
มิตกิ ารประเมนิ ปรับปรงุ พอใช ดี ดีมาก
1. คําศัพท ใชคําศัพทภาษา ใชคําศัพทภาษา ใ ช ศั พ ท ใชศัพทเทคนิคที่
พดู ท่ัวไป สื่อคว ามได พ อ หลากหลายเชิง สอดคลองกบั เร่ือง
เขา ใจ ความคิดรวบยอด ท่ีเขยี น
หรอื นามธรรม
2. โครงสรา ง รู ป ป ร ะ โ ย ค ไ ม ใ ช ป ร ะ โ ย ค ไ ด ใชประโยคขยายมี ใชประโยคขยาย
ไวยากรณ ส อ ด ค ล อ ง กั บ สั้ น ๆ มี ค ว า ม การเช่ือมคําเชื่อม ซั บ ซ อ น มี ก า ร
หลักไวยากรณ ถูกตองตามหลัก ประโยคไดถูกตอง เ ชื่ อ ม คํ า เ ชื่ อ ม
จํานวนมาก ไวยากรณ ต า ม ห ลั ก ประโยคไดถูกตอง
ไ ว ย า ก ร ณ เ ป น ต า ม ห ลั ก
สวนใหญ ไ ว ย า ก ร ณ เ ป น
ส ว น ใ ห ญ ใ ช
สํานวนภาษาได
3. สาระเรือ่ งราว เ ส น อ เ ร่ื อ ง ไ ม เ ส น อ เ รื่ อ ง เสนอเรื่องมีสาระ เสนอเร่ืองมีสาระ
ต อ เ นื่ อ ง เ ป น เ รี ย ง ลํ า ดั บ ไ ด เ รี ย ง ลํ า ดั บ เ รี ย ง ลํ า ดั บ
ลําดับไมไดสาระ ต อ เ นื่ อ ง ต ล อ ด ต อ เ นื่ อ ง ต ล อ ด

รายงานผลการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร

ระหวางวันที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒



มิติการประเมนิ ปรบั ปรุง คําอธิบายระดบั คุณภาพ ดีมาก
พอใช ดี
ใจความตามช่ือ ใจความบางตอน เ ร่ื อ ง แ ต ข า ด เรื่องมีจุดเนนหรือ
เร่ือง ไมต อ เนือ่ ง จุดเนนหรือขอคิด ขอคิดคติสอนใจ
จากเรื่อง จากเรือ่ ง
4. กรอบความคดิ กระจายเปนจุด สมั พันธบางตอน สัมพันธตอเน่ือง สัมพันธตอเน่ือง
โครงเร่อื ง ยอ ย มาก ทั้งเร่อื ง

รายงานผลการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร

ระหวา งวันท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๐

ภาคผนวก

- ภาพประกอบการอบรม

รายงานผลการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๑

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๒

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๓

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๔

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๕

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๖

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๗

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๘

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๙

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๐

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๑

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๒

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๓

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๔

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๕

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๖

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๗

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๘

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๙

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๐

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๑

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๒

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๓

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๔

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๕

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๖

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๗

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๘

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๙

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๔๐

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๔๑

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๔๒

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๔๓

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๔๔

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๔๕

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ระหวางวนั ท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒


Click to View FlipBook Version