The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การคิด ประถม ศิลปะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การคิด ประถม ศิลปะ

การคิด ประถม ศิลปะ

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรูเ้ พอื่ พัฒนาทกั ษะการคดิ

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑


กลมุ่ สาระการเรียนร
ู้

ศิลปะ


ระดับประ
ถมศกึ ษา


กลุ่มพัฒนากระบวนการเรยี นร
ู้
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน


๒๕๕๕

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาทักษะการคิด

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ ระดบั ประถมศกึ ษา





สงวนลิขสิทธ ิ์ กลุ่มพัฒนากระบวนการเรยี นรู้

สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ


พมิ พค์ รงั้ ที่ ๒ ๒๕๕๕


จำนวนพมิ พ ์ ๒๙,๐๐๐ เลม่


ผูจ้ ัดพมิ พ ์ กลุ่มพฒั นากระบวนการเรยี นรู้

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

กระทรวงศึกษาธกิ าร


พิมพท์ ี ่ โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั

๗๙ ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพมหานคร ๑๐๙๐๐

โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑

นายโชคดี ออสุวรรณ ผ้พู มิ พ์ผ้โู ฆษณา

คำนำ


ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน


พุทธศักราช ๒๕๕๑ การจัดการเรียนรู้ในหลักสูตรดังกล่าว ได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนา


ผู้เรียนทางด้านการคิดและกำหนดไว้เป็นสมรรถนะท่ีสำคัญของผู้เรียน ด้วยถือว่าเป็นทักษะ

ท่ีจะนำไปสู่การสร้างความรู้และการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ สำนักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงมีนโยบายส่งเสริมให้มีการนำทักษะการคิดลงสู่การปฏิบัต


ในห้องเรียนอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการจัดทำแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะ


การคดิ บรู ณาการใน ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สอดคลอ้ งตามตวั ชวี้ ดั และธรรมชาตขิ องแตล่ ะกลมุ่ สาระ
การเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สำหรับเป็นแนวทาง


ให้ครูผู้สอนนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในการจัดทำเอกสารได้แยกเป็นรายกลุ่มสาระ

การเรียนรู้ แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดทำเป็น ๒ เล่ม คือ ระดับชั้นประถมศึกษา ๑ เล่ม และ


ระดับช้ันมัธยมศึกษา ๑ เล่ม รวมเอกสารแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด


ท้งั ชดุ มี ๑๖ เลม่

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจึงหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารแนวทาง
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

พุทธศักราช ๒๕๕๑ น้ี จะเป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษา ครู อาจารย์ และผู้ท่ีสนใจนำไปใช้ในการ
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะการคิด อีกท้ังขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดทำเอกสารน
ี้

ให้สำเรจ็ ลุลว่ งด้วยดี








(นายชินภทั ร ภูมิรัตน)

เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

คำชีแ้ จง


แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด ตามหลักสูตรแกนกลาง


การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ น้ี มีจุดมุ่งหมายเพ่ือนำเสนอแนวทางการจัดกิจกรรม


การเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดซ่ึงเป็นสมรรถนะหลักสมรรถะหนึ่งตามหลักสูตรแกนกลางฯ

ที่สอดคล้องตามตัวชี้วัดและธรรมชาติของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ สำหรับครูผู้สอนเลือกนำไปใช้
ในการจัดการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองและเกิดทักษะ
ทางด้านการคิด สำหรับเอกสารนี้ใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด
กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ ระดบั ประถมศึกษา

สาระสำคัญในแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดฯ

ประกอบด้วย ๓ ส่วน ดังนี้

๑. การวเิ คราะห์ตวั ชีว้ ัดสกู่ ารพฒั นาทักษะการคดิ มีองค์ประกอบดงั น
ี้
๑.๑ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่กำหนด

ในหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

๑.๒ ผู้เรียนเรียนรู้อะไร/ทำอะไรได้ เป็นการวิเคราะห์จากตัวช้ีวัดให้เห็นว่า


ในแตล่ ะตัวชว้ี ัดผู้เรยี นควรจะมคี วามรูอ้ ะไรบ้าง และสามารถปฏบิ ัตสิ งิ่ ใดไดบ้ ้าง

๑.๓ ทักษะการคิด เป็นการวิเคราะห์ทักษะการคิดท่ีสัมพันธ์กับตัวช้ีวัดในแต่ละตัว
ซึ่งเป็นกระบวนการสำคัญท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการคิดไปสู่การสร้างช้ินงาน/ภาระงานได้สอดคล้อง
ตามมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวดั

๑.๔ ช้ินงาน/ภาระงาน เป็นการวิเคราะห์ช้ินงาน/ภาระงานที่สะท้อนความสามารถ
ของผู้เรยี นจากการใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะการคดิ ที่กำหนดไวซ้ ่ึงสอดคลอ้ งตามตวั ช้ีวัด

๑.๕ แนวการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด เป็นการระบุกระบวนการ

ของการคิด ที่จะนำไปจัดการเรยี นรู้เพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียนเกดิ ทักษะการคดิ ตามท่วี ิเคราะหไ์ ดจ้ ากตวั ช้ีวดั

๒. การจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พอ่ื พฒั นาทักษะการคดิ มีองค์ประกอบดังนี

๒.๑ ตัวช้ีวัด เป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์/เชื่อมโยงของแต่ละตัวช้ีวัดที่สามารถ

นำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันได้ในแต่ละช้ันปี/ภาคเรียน ซึ่งอาจมาจากกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน


หรือต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตัวชี้วัดบางตัวอาจต้องฝึกซ้ำ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาด้านทักษะ
การคดิ ให้สอดคล้องตามมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด

๒.๒ ความคิดรวบยอด เป็นการวิเคราะห์แก่นความรู้แต่ละตัวช้ีวัด ท่ีผู้เรียนจะได้รับ
จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามตวั ชวี้ ัดใน ขอ้ ๒.๑

๒.๓ สาระการเรียนรู้ เป็นสาระการเรียนรู้ที่นำมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนร
ู้

ตามตัวชีว้ ัด

๒.๔ ทักษะการคิด เป็นทักษะการคิดท่ีนำมาพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องตามมาตรฐาน


การเรียนร/ู้ ตวั ช้วี ัด ท่วี เิ คราะห์ไว้ตามข้อ ๒.๑

๒.๕ ชิ้นงาน/ภาระงาน เป็นชิ้นงาน/ภาระงานท่ีสะท้อนความสามารถของผู้เรียนและ

ทักษะการคดิ ตามตัวชี้วดั ทีน่ ำมาจัดกจิ กรรมรวมกนั

๒.๖ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นเทคนิค/วิธีการสอนท่ีจะใช้ในการพัฒนาผู้เรียน
และนำไปสู่การสร้างชิ้นงาน/ภาระงาน และสอดแทรกด้วยการใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิด


ที่กำหนดไว้ใหค้ รบถ้วนตามข้อ ๒.๔

อนึ่ง การวิเคราะห์ความสัมพันธ์/เชื่อมโยงของแต่ละตัวช้ีวัดเพื่อจัดกลุ่มสำหรับนำมา

จดั กิจกรรมการเรียนรรู้ ว่ มกันตามข้อ ๒ เปน็ การเสนอเพื่อเปน็ ตวั อย่าง ในทางปฏิบตั ิครูผสู้ อนสามารถ


ปรับเปลี่ยน หรือพัฒนาเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสม ท้ังนี้เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน


ในการพฒั นาทักษะการคิด


๓. ตัวอย่างการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ เป็นการนำผลการวิเคราะห์การจัดกิจกรรม

การเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด ข้อ ๒.๑-๒.๖ สู่การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ โดยวิธีการคิด

แบบย้อนกลับ (Backward Design) ใน ๓ ขน้ั ตอน

การกำหนดเป้าหมายการเรยี นร
ู้
การกำหนดหลกั ฐานการเรยี นรู้

การจัดกิจกรรมการเรยี นร
ู้



สารบญั


หนา้


คำนำ

คำช้ีแจง

สารบญั

สรุปทกั ษะการคดิ จากการวเิ คราะหต์ ามตวั ช้ีวดั ท่นี ำมาใช้ในการพัฒนาผเู้ รยี นในแต่ละระดบั ช้ัน

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ๑

การวเิ คราะหต์ วั ชีว้ ดั สู่การพัฒนาทักษะการคิด ๓

การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้เพอ่ื พฒั นาทักษะการคิด ๑๓

๒๕

ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๒ ๒๗

การวเิ คราะห์ตวั ชว้ี ัดสกู่ ารพัฒนาทกั ษะการคิด
การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพอ่ื พัฒนาทกั ษะการคดิ ๔๓

๕๗

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓
การวเิ คราะห์ตวั ชว้ี ดั สกู่ ารพฒั นาทกั ษะการคดิ ๕๙

การจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ พอ่ื พัฒนาทกั ษะการคดิ ๗๕

๙๓

ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ ๙๕

การวเิ คราะหต์ วั ชว้ี ดั สูก่ ารพัฒนาทักษะการคดิ
การจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ พื่อพฒั นาทกั ษะการคิด ๑๑๑

๑๒๗

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕
การวเิ คราะหต์ วั ชว้ี ัดสู่การพฒั นาทักษะการคดิ ๑๒๙

การจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาทักษะการคดิ ๑๔๗

๑๖๕

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๑๖๗

การวิเคราะห์ตวั ชีว้ ัดสกู่ ารพัฒนาทกั ษะการคิด
การจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ พื่อพฒั นาทักษะการคิด ๑๘๓

๑๙๙

ตัวอยา่ งหน่วยการเรยี นรู้ ๒๐๗

ภาคผนวก
คณะทำงาน ๒๑๓

สรปุ ทกั ษะการคดิ จากการวเิ คราะหต์ ามตวั ชว้ี ดั ท่นี ำมาใช้ในการพัฒนาผู้เรียนในแตล่ ะระดบั ชน้ั

กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ


ป.๖
ทักษะการเขยี น *ทักษะการนำความรู้ไปใช้ ทกั ษะการจำแนกประเภท ทักษะ
การระบุ ทักษะการสำรวจ ทักษะการสำรวจค้นหา ทักษะการรวบรวมข้อมูล
ทักษะการเชื่อมโยง *ทักษะการสรุปอ้างอิง ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้
ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการให้เหตุผล ทักษะการหาแบบแผน ทักษะ


การคดิ ลกึ ซึ้ง ทักษะกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ ทักษะการสรปุ ลงความเหน็


ป.๕

ทักษะการสังเกต ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการนำความรู้ไปใช้ ทักษะ


การจำแนกประเภท ทักษะการระบุ *ทักษะการตีความ ทักษะการสำรวจ ทักษะ
การรวบรวมข้อมลู ทักษะการเช่ือมโยง *ทักษการแปลความ ทักษะการใหเ้ หตุผล
ทักษะการทำให้กระจ่าง ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะการประยุกต์


ใชค้ วามรู้ ทักษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ทักษะการคดิ ลึกซึง้



ทักษะการฟัง ทักษะการสังเกต ทักษะการเขียน ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการนำ

ป.๔
ความรูไ้ ปใช้ ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะการระบุ ทกั ษะการรวบรวมข้อมูล ทกั ษะ
การสรุปย่อ ทักษะการให้คำจำกัดความ ทักษะการสรุปลงความเห็น ทักษะ

การวิเคราะห์ ทักษะการทำให้กระจ่าง ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ


การหาแบบแผน *ทักษะการใหเ้ หตุผล *ทักษะการตั้งคำถาม


ป.๓
ทักษะการฟัง ทักษะการพูด ทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะ


การเปรียบเทียบ ทักษะการนำความรู้ไปใช้ ทักษะการสำรวจ ทักษะการระบุ *ทักษะ


การรวบรวมขอ้ มลู *ทักษะการเช่อื มโยง ทกั ษะการใหเ้ หตุผล ทักษะการสรุปลงความเหน็
ทักษะการประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ ทักษะการคดิ ถูกทาง


ป.๒
ทักษะการฟัง ทักษะการสังเกต *ทักษะการจำแนกประเภท *ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะ
การนำความรู้ไปใช้ ทักษะการสำรวจ ทักษะการระบุ ทักษะการจัดกลุ่ม ทักษะการเช่ือมโยง
ทกั ษะการตง้ั เกณฑ์ ทกั ษะการประเมนิ


ป.๑
ทกั ษะการฟงั *ทกั ษะการสังเกต ทกั ษะการพูด ทักษะการจำแนกประเภท ทกั ษะการเปรียบเทียบ
ทักษะการนำความรไู้ ปใช้ ทักษะการสำรวจ ทกั ษะการระบุ *ทักษะการจดั กล่มุ ทกั ษะการเชอื่ มโยง
ทักษะการให้เหตุผล ทกั ษะการวิเคราะห์ ทักษะการประยุกต์ใชค้ วามรู้ ทกั ษะการคิดชดั เจน


*ทกั ษะการคดิ ท่ีเปน็ จุดเนน้ การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑


✦ การวเิ คราะห์ตัวชวี้ ดั สูก่ ารพฒั นาทกั ษะการคดิ

✦ การจดั กิจกรรมการเรียนร้เู พ่อื พฒั นาทกั ษะการคดิ



✦ การวิเคราะห์ตวั ช้วี ดั สู่การพฒั นาทักษะการคิด


การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิดเป็นการนำตัวช้ีวัด
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑ จาก ๓ สาระ ๖ มาตรฐาน
จำนวน ๑๘ ตวั ชว้ี ดั มาวิเคราะห์รายตวั ชว้ี ดั ใน ๔ ประเดน็ คือ ตัวชว้ี ดั แต่ละตัว


ผู้เรียนควรมีความรู้อะไรและทำอะไรได้ ทักษะการคิด ช้ินงาน/ภาระงาน
และแนวการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด ในแต่ละประเด็นจะมี
ความสมั พันธ์เชอ่ื มโยงกนั และสะท้อนคณุ ภาพผูเ้ รียนตามตัวชว้ี ดั

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์


มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห ์


วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ
อยา่ งอิสระช่ืนชม และประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั


ตวั ช้วี ดั
ผ้เู รยี นรู้อะไร/ทำอะไรได้
ทักษะการคดิ
ชน้ิ งาน/
แนวการจัดการเรียนร้

ภาระงาน
เพอื่ พฒั นาทักษะการคดิ


๑. อภปิ ราย
ผู้เรียนรูอ้ ะไร

๑. ทักษะการ อภปิ รายแสดง ๑. สังเกตเกีย่ วกับรปู ร่าง
เก่ยี วกบั
รูปร่าง ลกั ษณะและขนาด สังเกต
ความคดิ เหน็ เสนอ ลักษณะและขนาดของสิ่งตา่ ง ๆ
รปู ร่าง ของสงิ่ ตา่ ง ๆ รอบตัวใน ๒. ทกั ษะการ มุมมองของตนเอง
รอบตัวในธรรมชาตแิ ละ

ลกั ษณะและ ธรรมชาตแิ ละสิง่ ที่มนุษย์ จำแนกประเภท
ตอ่ สิง่ ที่มองเหน็ สง่ิ ท่มี นุษยส์ รา้ งขนึ้

ขนาดของ
สรา้ งขน้ึ
๓. ทักษะ
ตามธรรมชาตแิ ละ
๒. จำแนกและจดั กลุม่ ส่ิงต่าง ๆ
สิง่ ต่าง ๆ ผเู้ รยี นทำอะไรได
้ การจดั กลุ่ม
ส่ิงทมี่ นษุ ย์สร้างขน้ึ
ท่เี กดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ
รอบตัวใน อภิปรายเกีย่ วกับรูปรา่ ง

และสิง่ ทีม่ นุษย์สรา้ งขึ้น

ธรรมชาตแิ ละ ลกั ษณะและขนาดของส่งิ

๓. เปรยี บเทียบรปู ร่าง
สง่ิ ทมี่ นุษย์ ต่าง ๆ รอบตัวในธรรมชาต



ลกั ษณะและขนาดโดยบอก
สร้างขนึ้
และส่งิ ท่มี นุษย์สรา้ งข้นึ


ความเหมอื นความต่าง ๆ





ในธรรมชาตแิ ละส่งิ ท่ีมนุษย์




สรา้ งขนึ้





๔. อภปิ รายแสดงความคิด




เหน็ เกีย่ วกับรปู รา่ ง ลกั ษณะ





และขนาดของสิ่งต่าง ๆ






รอบตัวในธรรมชาติ และ





สงิ่ ทม่ี นุษย์สร้างข้นึ







๒. บอกความ ผู้เรยี นรู้อะไร
ทักษะ
อภิปรายแลกเปล่ียน ๑ . สงั เกตธรรมชาตแิ ละ


รู้สึกทม่ี ีตอ่ ความร้สู กึ ในธรรมชาติ การสังเกต
แสดงความคดิ เห็น สิ่งแวดลอ้ มรอบตัว

ธรรมชาตแิ ละ
และสง่ิ แวดล้อมรอบตัว

เกย่ี วกับความรู้สกึ ๒. บอกความร้สู ึกของตนเอง

สิ่งแวดล้อม

ผ้เู รยี นทำอะไรได

ทีม่ ีต่อธรรมชาติ ที่มตี อ่ ธรรมชาติและ

รอบตวั
บอกความรู้สกึ ต่อ
และสง่ิ แวดล้อม สง่ิ แวดล้อมรอบตัว


ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม
รอบตัว
๓. อภปิ รายแลกเปลย่ี น


รอบตัว


ความคิดเหน็ เกย่ี วกบั






ความรู้สึกทมี่ ตี ่อธรรมชาต





และสิ่งแวดลอ้ มรอบตวั







๓. มที ักษะ
ผู้เรยี นรูอ้ ะไร
ทกั ษะการนำ วาดภาพระบายส

๑. ทบทวนความรู้เกีย่ วกบั
พน้ื ฐาน

การใชว้ สั ดุ อุปกรณ์สร้าง ความรู้ไปใช
้ หรืองานปั้น
งานทศั นศิลป์

งานศิลปะ
๒. นำเสนอเก่ียวกบั วัสดุ

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้เพ่ือพัฒนาทกั ษะการคดิ ระดบั ประถมศึกษา

กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ

ตัวชวี้ ดั
ผเู้ รียนรู้อะไร/ทำอะไรได้
ทกั ษะการคิด
ช้นิ งาน/
แนวการจดั การเรียนรู้

ภาระงาน
เพ่ือพฒั นาทกั ษะการคดิ


ในการใชว้ ัสด

ผู้เรยี นทำอะไรได



อปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ นการสรา้ งงาน
อปุ กรณ

มที ักษะพนื้ ฐานในการใช้

ทัศนศิลป์ เช่น ดินเหนยี ว
สร้างงาน

วัสดุ อุปกรณ์ เชน่ ดินเหนยี ว

ดนิ น้ำมนั ดินสอ พ่กู นั
ทศั นศลิ ป
์ ดินน้ำมัน ดินสอ พกู่ นั

กระดาษ


กระดาษ สีเทียน สีน้ำ

สีเทียน สีน้ำ และดนิ สอสี


ดนิ สอสี สร้างงานทัศนศิลป์


๓. เปรยี บเทียบผลงานวาดภาพ




ดว้ ยวัสดุ อปุ กรณต์ า่ ง ๆ





๔. นำความรู้เกีย่ วกบั การใชว้ ัสด






และอุปกรณม์ าใช้ในการวาดภาพ




ระบายสี หรืองานปนั้







๔. สรา้ งงาน
ผู้เรียนรู้อะไร
๑. ทกั ษะ

๑. การทดลองใชส้ ี
๑. สงั เกตการใชส้ ีในการสรา้ ง
ทัศนศลิ ป

การใช้สีชนิดต่าง ๆ

การสงั เกต
ด้วยเทคนคิ งา่ ย ๆ
งานทัศนศิลป

โดยการ สร้างงานทัศนศลิ ป์ด้วย ๒. ทักษะ ๒. นำเสนอผลงาน
๒. นำเสนอชนิดและลักษณะ
ทดลองใชส้ ี เทคนิคง่าย ๆ
การนำความรู้ แลกเปล่ยี น
ของสีแตล่ ะชนดิ เช่น สีนำ้

ด้วยเทคนิค ผู้เรียนทำอะไรได
้ ไปใช้
ความคิดเหน็
สีโปสเตอร์ สีเทียน และสี

ง่าย ๆ
สรา้ งงานทัศนศิลป์โดย

ท่หี าไดใ้ นทอ้ งถิน่


การทดลองใชส้ นี ำ้


๓.สาธิตและฝึกปฏบิ ตั ิการ


สโี ปสเตอร์ สเี ทยี น และ


ทดลองใชส้ ใี นการสร้างงาน

สีทีห่ าไดใ้ นท้องถน่ิ


ดว้ ยเทคนิควิธกี ารตา่ ง ๆ





๔. เสนอผลงานแลกเปลยี่ น





ความคิดเหน็







๕. วาดภาพ ผู้เรียนรูอ้ ะไร
๑. ทกั ษะ

วาดภาพระบายสี ๑. ทบทวนความรู้เกีย่ วกบั


ระบายสภี าพ ธรรมชาติให้ความรสู้ กึ

การสงั เกต
ภาพธรรมชาตติ าม

รูปรา่ ง ลกั ษณะของสงิ่ ตา่ ง ๆ

ธรรมชาตติ าม เมื่อไดพ้ บเห็น
๒. ทกั ษะ ความร้สู กึ ของ ในธรรมชาต

ความร้สู กึ ของ ผู้เรียนทำอะไรได
้ การนำความรู้ ตนเอง
๒. สงั เกตรูปร่างลกั ษณะ


ตนเอง
วาดภาพระบายส ี

ไปใช้
ของส่งิ ต่าง ๆ ในธรรมชาต


ภาพธรรมชาติตามความ และจากประสบการณเ์ ดมิ

รูส้ ึกของตนเอง
๓. นำความร้ทู ไ่ี ด้จากการ
สงั เกตมาวาดภาพระบายส

ภาพธรรมชาตติ ามความรสู้ กึ

ของตนเอง

๔. นำเสนอภาพวาดพร้อม

บรรยายความรู้สึก


แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พอื่ พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดบั ประถมศึกษา

กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

สาระท่ี ๑ ทศั นศิลป


มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
งานทัศนศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย
และสากล


ตัวชีว้ ดั
ผเู้ รยี นรอู้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทกั ษะการคดิ
ชิ้นงาน/
แนวการจดั การเรยี นร
ู้
ภาระงาน
เพ่ือพัฒนาทักษะการคดิ


๑. ระบุงาน
ผเู้ รียนรอู้ ะไร
๑. สังเกตงานทัศนศลิ ป

๑. ทักษะ

อภิปรายแสดง ทพี่ บเห็นในชีวิตประจำวนั

ทัศนศิลปใ์ น งานทัศนศิลป์ในชีวิต

การสงั เกต
ความคดิ เหน็

๒. รวบรวมขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ าก


ชีวิตประจำวัน
ประจำวัน
๒. ทกั ษะ
เกีย่ วกบั

การสงั เกตงานทัศนศลิ ป


ผเู้ รยี นทำอะไรได
้ การสำรวจ
งานทัศนศลิ ป์ใน ทีพ่ บเห็นในชีวิตประจำวนั

ระบงุ านทศั นศลิ ป์ท่ี
ชวี ติ ประจำวัน
๓. นำความร้ทู ี่ได้มาอภปิ ราย

พบเห็นในชวี ิตประจำวนั
แสดงความคิดเห็นและ



ระบงุ านทัศนศลิ ป


ในชวี ิตประจำวัน


แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นร้เู พอื่ พฒั นาทกั ษะการคิด ระดบั ประถมศกึ ษา

กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ

สาระท่ี ๒ ดนตร


มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์
คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และ
ประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน


ตัวชวี้ ดั
ผู้เรียนรอู้ ะไร/ทำอะไรได้
ทกั ษะการคิด
ชิน้ งาน/
แนวการจัดการเรียนร
ู้
ภาระงาน
เพ่อื พัฒนาทักษะการคิด


๑. รวู้ ่าสิง่ ต่าง ๆ ผู้เรียนรู้อะไร

๑. ทักษะ

๑. ทำแบบทดสอบ ๑. ฟังเสยี งท่เี กิดจาก
สามารถกอ่ ส่งิ ตา่ ง ๆ สามารถก่อ การฟัง
การฟงั การจำแนก ธรรมชาตแิ ละเสยี งท่ีมนุษย์
กำเนดิ เสยี ง
กำเนิดเสยี งทแ่ี ตกตา่ งกัน
๒. ทกั ษะ
เสียงทม่ี แี หลง่ สรา้ งขึ้น

ที่แตกตา่ งกัน
ผเู้ รยี นทำอะไรได
้ การจำแนก
กำเนดิ แตกต่างกนั
๒. กำหนดเกณฑก์ ารจำแนก

จำแนกเสียง เสียงใดเปน็ ประเภท
๒. แสดงท่าทาง
เสียงทเี่ กิดขนึ้


เสยี งทเ่ี กดิ จากธรรมชาติ ๓. ทักษะ
ประกอบเสียงจาก
๓. จดั กล่มุ เสียงท่มี ีแหล่ง

หรือเสยี งท่ีมนษุ ยส์ รา้ งขึน้
การจัดกลมุ่
ธรรมชาตแิ ละเสียง
กำเนิดเหมอื นกันไว้ดว้ ยกัน




ท่มี นุษย์สร้างข้นึ
๔. สรุปผลการจำแนกเสียงว่า





เสยี งใดเปน็ เสียงท่เี กดิ จาก




ธรรมชาตหิ รอื เสยี งที่มนุษย์




สร้างข้นึ





๕. ทำแบบทดสอบการฟัง





๖. แสดงท่าทางประกอบเสยี ง





จากธรรมชาติและเสยี งที่




มนษุ ย์สรา้ งขึ้น







๒. บอกลกั ษณะ ผเู้ รยี นรอู้ ะไร
๑. ทักษะ

๑. พูดหรอื ร้อง ๑. ฟงั เสียง ดงั -เบาและ
ของเสียง
ความดงั -เบา เปน็

การฟงั
เพลงดว้ ยเสียง

จงั หวะชา้ -เรว็

ดงั -เบา และ ลักษณะหนง่ึ ของคุณสมบัติ ๒. ทกั ษะ
ดงั -เบา
๒. สังเกตลกั ษณะของเสียง
ความชา้ -เรว็ ของเสยี ง ความช้า-เรว็
การสังเกต
๒. เคาะจังหวะ
และจังหวะทฟ่ี งั

ของจงั หวะ
เป็นคณุ สมบัติของจงั หวะ
๓. ทกั ษะ
ช้า-เรว็
๓. บอกความเหมือน


ผเู้ รียนทำอะไร
การเปรียบเทียบ
๓. เคลอ่ื นไหว ความตา่ งของเสยี ง


บอกลกั ษณะของเสียง


ร่างกายประกอบ และจงั หวะ


ดัง-เบา และความช้า-เรว็


เสียงดงั -เบา และ ๔.พดู หรือร้องเพลงดว้ ยเสียง


ของจงั หวะ

จังหวะช้า-เร็ว
ดงั -เบา





๕. เคาะจงั หวะ ช้า-เรว็





๖. สรุปลกั ษณะของเสียง





ดัง-เบา จังหวะช้า-เรว็





๗. แสดงท่าทางประกอบของ




เสยี งดัง-เบา และจงั หวะ






ช้า-เร็ว


แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการคิด ระดบั ประถมศึกษา

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ

ตัวชว้ี ัด
ผเู้ รียนรู้อะไร/ทำอะไรได้
ทกั ษะการคดิ
ชนิ้ งาน/
แนวการจัดการเรยี นรู้

ภาระงาน
เพื่อพฒั นาทกั ษะการคิด


๓. ทอ่ งบทกลอน ผเู้ รียนรูอ้ ะไร

ทักษะการนำ

๑. ทอ่ งบทกลอน/ ๑. ทบทวนความร้แู ละ


รอ้ งเพลง
การอ่านบทกลอนและ

ความรู้ไปใช
้ รอ้ งเพลงง่าย ๆ ประสบการณเ์ กีย่ วกับ


ง่าย ๆ
รอ้ งเพลงประกอบจงั หวะ


ประกอบจังหวะ
การรอ้ งเพลงและอ่าน

ถกู ทำนองและจงั หวะ

๒. แสดงทา่ ทาง บทกลอน


ผเู้ รียนทำอะไรได

ประกอบบทกลอน ๒. ท่องบทกลอน หรือ



ท่องบทกลอนและ


และเพลงง่าย ๆ
รอ้ งเพลงประกอบจังหวะ


รอ้ งเพลงงา่ ย ๆ ประกอบ
๓. วาดภาพตามจินตนาการ
๓. แสดงท่าทางประกอบ


จงั หวะ

ประกอบบทกลอน บทกลอนและร้องเพลง




และเพลงประกอบ อยา่ งงา่ ย ๆ ตามจินตนาการ




จงั หวะทไี่ ด้ฟงั
๔. วาดภาพตามจินตนาการ




ประกอบบทกลอนและร้อง






เพลงประกอบจังหวะท่ไี ดฟ้ งั







๔. มีส่วนรว่ ม
ผเู้ รยี นรอู้ ะไร
๑. ทักษะ

๑. ร้องเพลงทีช่ ืน่ ชอบ
๑. ฟังเพลงทกี่ ำหนดพร้อมทัง้

ในกิจกรรม การร้องเพลง การเคาะจงั หวะ
การฟัง
๒. แสดงการ เคาะจงั หวะและเคลื่อนไหว
ดนตรอี ยา่ ง การเคล่ือนไหวประกอบทา่ ทาง ๒. ทกั ษะ เคลื่อนไหวร่างกาย ร่างกายอย่างอสิ ระดว้ ยความ
สนุกสนาน
เปน็ กิจกรรมทางดนตรที ี่ การนำความรู้
ประกอบเพลงด้วย สนกุ สนาน


สนกุ สนาน
ไปใช้
ความสนุกสนาน
๒. แบง่ กลุ่มรอ้ งเพลงท่ชี ื่นชอบ


ผูเ้ รยี นทำอะไรได

๓. แสดงความ
และเคาะจังหวะโดย

๑. ฟงั และรอ้ งเพลง


คิดเหน็ ตอ่ ผลงาน เคล่ือนไหวร่างกายอย่าง

ทชี่ ่ืนชอบ/เคาะจงั หวะ

ของตนเองและ
อสิ ระดว้ ยความสนกุ สนาน


๒. เคลอ่ื นไหวร่างกาย
ของเพือ่ น
๓. แสดงความคดิ เห็นต่อ


ประกอบบทเพลง


ผลงานของตนเอง



๓. มสี ่วนรว่ มกิจกรรมดนตร


และของเพื่อน


ด้วยความสนุกสนาน










๕. บอกความ ผู้เรยี นรอู้ ะไร
๑. ทักษะ

๑. ขับร้องเพลง

๑. ทบทวนความรู้และ


เก่ยี วข้องของ บทเพลงเป็นสว่ นหนึ่งที่ การพูด
ที่เกีย่ วขอ้ งในชีวติ ประสบการณใ์ นการฟังเพลง
เพลงทใ่ี ชใ้ น เกยี่ วข้องในชีวติ ประจำวัน ๒. ทักษะ
ประจำวนั
ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งในชวี ิตประจำวนั

ชีวติ ประจำวนั
ของมนุษย์
การนำความร
ู้
๒. แสดงความ
๒. ขับร้องและบอกความรู้สึก

ผเู้ รียนทำอะไรได
้ ไปใช
้ คดิ เหน็ จากเพลง

จากเพลงทไ่ี ดฟ้ งั จากจงั หวะ
๑. ฟังเพลงท่ใี ช้ในชีวิต ท่ีไดฟ้ ัง
ทำนอง เนอ้ื ร้อง

ประจำวนั เช่น เพลงกลอ่ มเด็ก ๓. วาดภาพ ๓. แสดงความคดิ เห็นเพลง

เพลงประกอบการละเลน่ ประกอบเพลง
ที่ไดฟ้ ังมคี วามเกีย่ วขอ้ งกับ
เพลงชาตไิ ทย และเพลง ทไี่ ดฟ้ ัง
ชีวติ ประจำวนั อย่างไร

สรรเสริญพระบารม

๔. วาดภาพประกอบบทเพลง
๒. บอกความเกีย่ วขอ้ ง
ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งในชวี ิตประจำวนั

ของเพลงกบั ชีวติ ประจำวนั




แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นร้เู พ่ือพัฒนาทักษะการคิด ระดบั ประถมศกึ ษา

กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ

สาระท่ี ๒ ดนตร


มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
ของดนตรีท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย

และสากล


ตัวชวี้ ัด
ผ้เู รียนรู้อะไร/ทำอะไรได้
ทกั ษะการคิด
ชิ้นงาน/
แนวการจัดการเรียนรู้

ภาระงาน
เพือ่ พฒั นาทักษะการคดิ


๑. เล่าถึงเพลง ผเู้ รียนรู้อะไร

๑. ทกั ษะ
๑. สำรวจที่มาของ
๑. กำหนดบทเพลงในทอ้ งถนิ่

ในทอ้ งถน่ิ
บทเพลงในท้องถ่ินเปน็ สิ่ง

การฟัง
บทเพลงในท้องถิน่
ท่จี ะศึกษา (๑ เพลง)


ที่มีคณุ ค่าควรศกึ ษา

๒. ทกั ษะการ ๒. เลา่ ถึงที่มาของ
๒. ฟังเพลงตามท่กี ำหนด/

ความเป็นมาและอนุรักษไ์ ว้
สำรวจ
บทเพลงในทอ้ งถนิ่
ศกึ ษาและสำรวจที่มา ผแู้ ตง่

ผู้เรียนทำอะไรได


ทำนอง เนอ้ื รอ้ งของบทเพลง

เลา่ ถึงทม่ี าและคุณค่า



ในทอ้ งถ่นิ


ท่ีควรศกึ ษาและอนรุ กั ษ



๓. นำเสนอขอ้ มลู โดยการเล่าถึง


ของเพลงในท้องถนิ่


ทีม่ าและคุณค่าท่คี วรศึกษา




อนุรกั ษ์ของบทเพลงในทอ้ งถ่นิ







๒. ระบสุ ่ิงท
่ี ผู้เรียนรอู้ ะไร
๑. ทักษะ

๑. สำรวจข้อมูล

๑. ศกึ ษาและสำรวจขอ้ มลู


ชน่ื ชอบใน ดนตรแี ละบทเพลง

การฟัง
ดนตรีในท้องถ่นิ
ดนตรีในท้องถ่ิน

ดนตรีทอ้ งถ่ิน
ในท้องถ่นิ มคี ุณค่าควร

๒. ทักษะ
๒. แสดงความ
๒. กำหนดเพลงในทอ้ งถิ่น

แกก่ ารชน่ื ชม
การสำรวจ
คดิ เห็นชนื่ ชอบ ที่ต้องการศกึ ษา

ผู้เรียนทำอะไรได
้ ๓. ทักษะ
บทเพลงในทอ้ งถนิ่
๓. ฟังเพลงท่ีกำหนด

ระบุสง่ิ ท่ีชนื่ ชอบในดนตรี

การระบ

(๑-๒ เพลง)

ท้องถิ่นและความนา่ สนใจ
๔. แสดงความคดิ เหน็ ชืน่ ชอบ
ของบทเพลงในทอ้ งถน่ิ
บทเพลงในท้องถ่นิ ประกอบ
ทีไ่ ด้ฟัง
ดนตรีทีใ่ ช้ในบทเพลง




แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูเ้ พือ่ พฒั นาทกั ษะการคิด ระดับประถมศึกษา

กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ิลปะ

สาระท่ี ๓ นาฏศิลป


มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์
คุณคา่ นาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความร้สู กึ ความคดิ อยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ช

ในชีวิตประจำวัน


ตวั ช้ีวดั
ผูเ้ รยี นรอู้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทกั ษะการคิด
ชนิ้ งาน/
แนวการจดั การเรยี นร
ู้
ภาระงาน
เพ่อื พฒั นาทกั ษะการคิด


๑. เลียนแบบ
ผูเ้ รยี นร้อู ะไร

ทักษะการ แสดงทา่ ทาง

๑. สังเกตการเคลอ่ื นไหวของ
การเคลือ่ นไหว
การเคล่อื นไหวร่างกาย สงั เกต
การเคล่อื นไหว ธรรมชาติ คน สัตว์ ส่งิ ของ


เลียนแบบธรรมชาติ


เลยี นแบบธรรมชาต ิ
๒. การเลยี นแบบการเคลื่อนไหว


คน สัตว์ สิง่ ของ

คน สตั ว์ สิ่งของ
ของธรรมชาติ คน สัตว์ ส่ิงของ


ผ้เู รียนทำอะไรได


๓. นำสง่ิ ทีส่ งั เกตและปฏิบัต ิ



แสดงการเคลอ่ื นไหว



ตามมาแสดงการเคลอื่ นไหว


เลียนแบบธรรมชาติ คน

อย่างอสิ ระ และสนุกสนาน


สตั ว์ สง่ิ ของอย่างอิสระ










๒. แสดงท่าทาง ผ้เู รยี นรอู้ ะไร
๑. ทักษะการ ๑. แสดงภาษาทา่

๑. สำรวจลกั ษณะของภาษาท่า

ง่าย ๆ เพ่ือ
การแสดงประกอบเพลง
ประยกุ ตใ์ ช้ แทนคำพดู
ท่สี อ่ื ความหมายแทนคำพูด

ส่ือความหมาย ทีเ่ กย่ี วกบั ธรรมชาตแิ ละ
ความรู้
๒. แสดงภาษาท่า ๒. ทบทวนการเคลื่อนไหว
แทนคำพูด
การใชภ้ าษาท่ารวมทง้ั
๒. ทกั ษะการ ประกอบเพลง
ของภาษาทา่


การประดษิ ฐ์ทา่ ทาง เชื่อมโยง

๓. คัดเลือกภาษาท่าทีส่ ื่อ

ประกอบเพลง


ความหมายแทนคำพดู มา

ผ้เู รยี นทำอะไรได


ประยุกตใ์ ช้กบั บทเพลง


แสดงท่าทางง่าย ๆ

๔. ตรวจสอบความเหมาะสม

ประกอบเพลงทีเ่ กย่ี วกบั

สอดคลอ้ งภาษาทา่ ท่ีสือ่ ความ

ธรรมชาตเิ พอ่ื ส่อื ความ

หมายแทนคำพูดและความ

หมายแทนคำพดู


เหมาะสม





๕. นำภาษาท่าทส่ี อื่ ความหมาย





แทนคำพูดมาประกอบเพลง





ทเี่ ก่ยี วกับธรรมชาต

































10 แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พ่อื พฒั นาทกั ษะการคิด ระดบั ประถมศึกษา

กล่มุ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

ตัวช้วี ดั
ผ้เู รียนรอู้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทักษะการคิด
ชน้ิ งาน/
แนวการจัดการเรยี นร
ู้
ภาระงาน
เพอ่ื พัฒนาทกั ษะการคดิ


๓. บอกสิ่งท่ี ผเู้ รียนรู้อะไร

ทกั ษะการให้ ๑. การสำรวจ ๑. รบั รแู้ ละรวบรวมขอ้ มูล


ตนเองชอบ มารยาทในการชมการแสดง
เหตุผล
ตนเอง
ทำการสำรวจตนเอง โดย


จากการดหู รอื ท่ีเพอ่ื นหรือตนเองแสดง
๒. การแสดง
ขีดเครื่องหมายถกู ตรงช่อง
ร่วมการแสดง
และความรู้สกึ จากการชม ความคิดเห็น

พฤตกิ รรมทเี่ คยปฏิบัติไมเ่ คย
การแสดง
เกีย่ วกับพฤติกรรม
ปฏบิ ัต

ผู้เรียนทำอะไรได้
ไม่เหมาะสม

๒. ค้นหาสาเหตุ การยอมรับ
บอกส่ิงทช่ี อบจากการ ในการชมการแสดง
ของสังคม โดยแยก
แสดงและการร่วมแสดง
พฤตกิ รรมไมค่ วรปฏบิ ตั อิ อก
รวมทัง้ บอกมารยาท

ให้เหลอื เฉพาะข้อควรปฏบิ ตั ิ

การเป็นผูช้ มและผ้แู สดง
๓. อธิบายให้เห็นความ
ทดี่ ี
สอดคลอ้ งของเหตแุ ละผล

ในเหตกุ ารณ์หรือการกระทำ


แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นร้เู พอ่ื พฒั นาทกั ษะการคิด ระดบั ประถมศึกษา
11
กล่มุ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์


มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า


ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย
และสากล


ตวั ช้วี ดั
ผเู้ รียนร้อู ะไร/ทำอะไรได
้ ทักษะการคดิ
ชิน้ งาน/
แนวการจดั การเรียนรู้

ภาระงาน
เพื่อพัฒนาทกั ษะการคิด


๑. ระบุ และเลน่ ผเู้ รยี นรูอ้ ะไร

ทักษะการ บอกชอ่ื การละเล่น

๑. ศึกษาขอ้ มลู การละเลน่


การละเล่น การละเล่นของเด็กไทย
วเิ คราะห
์ และแสดงการ
ของเดก็ ไทย

ของเดก็ ไทย
ท่มี ีกติกา และวธิ กี ารเล่น

ละเลน่ ของเด็กไทย ๒. วเิ คราะหข์ อ้ มูลการละเล่น

ผู้เรียนทำอะไรได้

๑ ชดุ
ของเด็กไทย


๑. บอกชือ่ และวธิ เี ลน่



๓. กำหนดเกณฑ์ในการ

การละเลน่ ของเดก็ ไทย


แยกแยะข้อมูลร่วมกนั


๒. แสดงการละเลน่ ของ


โดยมกี ติกาการเล่น


เด็กไทย


๔. หาความสัมพันธร์ ะหวา่ ง





องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ และ





ความสมั พันธ์ของข้อมลู





ในแตล่ ะองค์ประกอบ





๕. นำเสนอผลงานการละเล่น





ของเดก็ ไทย พรอ้ มทัง้






บอกวิธกี ารเล่น กฎ กตกิ า




ประโยชน์การนำไปใช้ใน





ชีวิตประจำวัน








๒. บอกสิ่งที่ ผู้เรียนรอู้ ะไร
ทกั ษะการ
๑. บอกสงิ่ ทตี่ นเอง

๑. ระบุความเหมือนและ
ตนเองชอบ ส่ิงทช่ี อบในการแสดง

เปรยี บเทียบ
ช่ืนชอบในการแสดง ความต่างของการแสดง

ในการแสดง นาฏศลิ ป์
นาฏศลิ ป
์ นาฏศลิ ป์แตล่ ะชดุ โดยแยก
นาฏศลิ ป
์ ผ้เู รยี นทำอะไร
๒. แยกประเภท
ตามความชอบ

บอกส่ิงทต่ี นเองชอบใน

นาฏศลิ ป์ท่ีตนเอง

๒. เปรียบเทยี บการแสดง

การแสดงนาฏศิลป์
ชอบและไมช่ อบ
นาฏศลิ ปแ์ ตล่ ะชุด และแยก
สิ่งทมี่ ลี กั ษณะแตกต่างออก
จากกนั โดยนำภาพการแสดง
หลาย ๆ ภาพมาวางเรียงกัน

ใหผ้ ู้เรยี นแยกตามความชอบ

๓. อธบิ ายแสดงความคิดเหน็

และบอกส่งิ ทตี่ นเองชอบใน
การแสดงนาฏศลิ ป์พร้อมบอก
เหตุผล


12 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนร้เู พ่ือพัฒนาทกั ษะการคดิ ระดบั ประถมศกึ ษา

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

✦ การจดั กจิ กรรมการเรียนร้เู พอื่ พัฒนาทักษะการคิด


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด เป็นการวิเคราะห์
ต่อเน่ืองจากการวิเคราะห์ตัวช้ีวัด โดยวิเคราะห์ใน ๖ ประเด็น คือ

ความสัมพันธ์/ความเช่ือมโยงของตัวช้ีวัดแต่ละตัวท่ีจะนำมาจัดกิจกรรม


การเรียนรู้ร่วมกันได้ ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรู้ ทักษะการคิด


ชนิ้ งาน/ภาระงาน และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

สาระท่ี ๑ ทศั นศลิ ป์


มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์


วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ


อย่างอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำวนั


ตวั ชว้ี ัด
ความคิด
สาระ
ทกั ษะการคดิ
ช้นิ งาน/
แนวการจดั

รวบยอด
การเรียนรู้
ภาระงาน
กจิ กรรมการเรียนรู


สาระที่ ๑
รูปรา่ ง ลักษณะ

๑. รปู ร่าง ลกั ษณะ ๑. ทกั ษะ

๑. อภปิ รายแสดง ๑. สังเกตเกยี่ วกับ
ทัศนศิลป
์ และขนาดของ

และขนาดของ
การสังเกต
ความคดิ เห็น รูปรา่ งลกั ษณะและ
มาตรฐาน ศ ๑.๑
สิ่งต่าง ๆ รอบตวั
สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั
๒. ทกั ษะ
เกีย่ วกับรูปรา่ ง
ขนาดของสง่ิ ตา่ ง ๆ
๑. อภปิ ราย
ในธรรมชาต

ในธรรมชาติ และ
การจำแนก

ลกั ษณะ และ รอบตวั

เก่ียวกับ
และสงิ่ ทีม่ นษุ ย

สงิ่ ท่มี นุษย์สรา้ ง ประเภท
ขนาดของสงิ่ ต่าง ๆ ปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ
รปู รา่ งลักษณะ สรา้ งขึน้ มีความ

ข้ึน
๓. ทักษะ
รอบตัวใน ในธรรมชาติและ

และขนาด
แตกตา่ งกันทำให
้ ๒. ความรสู้ ึกท่ีมี การนำความรู้

ธรรมชาติและส่งิ สง่ิ ทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขึน้

ของส่งิ ตา่ ง ๆ เกดิ ความรสู้ กึ

ตอ่ ธรรมชาติและ
ไปใช
้ ที่มนษุ ย์สร้างขึ้น
๒. การอภปิ ราย
รอบตัวใน ตา่ งกัน สามารถ สิ่งแวดลอ้ ม

๔. ทกั ษะ
๒. วาดภาพ แสดงความคดิ เห็น
ธรรมชาติและ ถ่ายทอดเร่ืองราว
รอบตัว เชน่ รู้สกึ
การจดั กลมุ่
ระบายสีหรือ
เกย่ี วกบั รปู ร่าง
สิ่งท่มี นษุ ย์ ความรู้สึกสู่

ประทับใจกบั
งานปนั้
ลักษณะและขนาด
สรา้ งขน้ึ
งานศิลป์ โดย ความงามของ
ของส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว


รูจ้ กั เลอื กใช้วสั ด

บรเิ วณรอบ
๓. จำแนกจัดกลมุ่


๒. บอกความ อปุ กรณไ์ ดอ้ ย่าง

อาคารเรยี นหรือ
ส่งิ ต่าง ๆ เปน็ ส่งิ ที่
รสู้ ึกท่ีมีตอ่ เหมาะสม
รสู้ กึ ถึงความไม่
เกดิ ขึน้ เองและ
ธรรมชาติและ
เป็นระเบียบของ
มนุษย์สร้างข้ึน

สง่ิ แวดลอ้ ม
สภาพภายใน
๔. จำแนกรูปร่าง

รอบตัว

หอ้ งเรียน

ลกั ษณะและขนาด


๓. การใช้วัสดุ
โดยบอกความ
๓. มีทกั ษะ

อปุ กรณ์ เช่น

เหมอื นความแตกต่าง
พ้นื ฐานในการ
ดนิ เหนียว


และบอกความรูส้ ึก
ใช้วัสดุ
ดินน้ำมัน ดนิ สอ

เกี่ยวกับสงิ่ ตา่ ง ๆ ที่
อปุ กรณ ์

พกู่ ัน กระดาษ

สังเกตและจำแนก

สร้างงาน


สเี ทียน สนี ้ำ

๕. อธิบายความรู้
ทศั นศลิ ป

ดนิ สอสี สร้าง
และซกั ถามความคดิ

งานทัศนศิลป

เห็นเกี่ยวกบั การใช้



วัสดุ อุปกรณ์ในการ



สรา้ งงานทัศนศลิ ป์




๖. สรุปความรู้ร่วมกนั




๗. นำความรู้เก่ยี วกบั



การใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์




สร้างงานวาดภาพ

หรอื งานปัน้


14 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดับประถมศกึ ษา

กลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ

สาระที่ ๑ ทัศนศลิ ป์


มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห ์


วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ


อยา่ งอิสระ ชืน่ ชม และประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน


มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
งานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทย
และสากล


ตวั ชี้วดั
ความคิด
สาระ
ทกั ษะการคดิ
ชน้ิ งาน/
แนวการจดั

รวบยอด
การเรยี นรู
้ ภาระงาน
กิจกรรมการเรยี นรู


สาระท่ี ๑
การสังเกต งานทัศนศิลป์

๑. ทักษะ

๑. พูดแสดง ๑. รว่ มแสดงความ
ทศั นศิลป
์ ธรรมชาติการ ในชวี ติ ประจำวัน
การสงั เกต
ความคิดเห็น คิดเห็นงานทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๒
ทดลองใช้สดี ้วย ๒. ทักษะ
เกย่ี วกบั งาน
ท่ีพบเห็นในชีวิต
๑. ระบงุ านทศั น เทคนิคต่าง ๆ การสำรวจ
ทัศนศิลปใ์ น

ประจำวัน

ศิลป์ในชวี ิต และการวาดภาพ ๓. ทักษะ
ชีวติ ประจำวัน
๒. สงั เกตการใช้ส

ประจำวัน
ระบายสเี ปน็
การนำความร
ู้ ๒. ทดลองใชส้ ี ในการสรา้ งงาน


มาตรฐาน ศ ๑.๑
องค์ประกอบสำคญั ไปใช้
ด้วยเทคนคิ ง่าย ๆ
ทศั นศลิ ป์ตลอดจน
๔. สร้างงาน
ของการสรา้ งงาน
๓. วาดภาพ กระบวนการในการ
ทัศนศิลป์ ทศั นศิลป์ที่ ระบายสีภาพ สรา้ งสรรค

โดยการ พบเห็นในชวี ติ ธรรมชาติ
๓. นำเสนอชนิด

ทดลองใชส้ ี ประจำวนั
๔. นำเสนอผลงาน

และลกั ษณะของส


ด้วยเทคนิค การทดลองใช้สี แตล่ ะชนดิ เช่น สนี ำ้

งา่ ย ๆ
และผลงานการ สเี ทียน สีโปสเตอร

๕. วาดภาพ วาดภาพระบายสี ๔. ฝึกปฏิบตั ทิ ดลอง

ระบายสีภาพ
พร้อมบรรยายถึง การใช้สีในการสร้าง
ธรรมชาตติ าม กระบวนการ
งานด้วยเทคนิคต่าง ๆ

ความร้สู กึ ของ สรา้ งงานและ ๕. สังเกตรปู รา่ ง รูปทรง
ตนเอง
ความรสู้ ึกที่มีตอ่ สีสรรตา่ ง ๆ ใน

ผลงาน
ธรรมชาติแลว้ เลอื ก

จุดทส่ี นใจนำมาวาด

ภาพระบายสีตาม
ความรูส้ ึกของตนเอง

๖. นำเสนอผลงาน
จากการทดลองใชส้ ี
และภาพวาดระบายส


ภาพธรรมชาติพรอ้ ม
บรรยายกระบวนการ
สรา้ งสรรค์งานและ
ความรู้สึกทม่ี ีตอ่

ผลงานแต่ละประเภท


แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพอื่ พฒั นาทกั ษะการคิด ระดบั ประถมศึกษา
15
กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

สาระท่ี ๒ ดนตร


มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า


ดนตรีถ่ายทอดความรู้สึกความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช


ในชีวติ ประจำวนั


ตวั ชีว้ ดั
ความคดิ
สาระ
ทกั ษะการคดิ
ชน้ิ งาน/
แนวการจัด

รวบยอด
การเรียนร้
ู ภาระงาน
กิจกรรมการเรียนรู้


สาระท่ี ๒
เสยี งท่แี ตกตา่ ง การกำเนดิ ของ ๑. ทักษะการฟงั
๑. การทดสอบ

๑. ฟังเสียงท่เี กิดจาก
ดนตร
ี กันมีแหล่งกำเนดิ เสียง
๒. ทกั ษะ

การฟงั (จำแนก ธรรมชาติและเสียง


มาตรฐาน ศ ๒.๑
ทแ่ี ตกตา่ งกัน
- เสียงจาก การจำแนก
เสยี งทม่ี ีแหลง่ ทีม่ นุษย์สรา้ งข้นึ

๑. รู้วา่ ส่ิงตา่ ง ๆ
ธรรมชาติ
ประเภท
กำเนดิ แตกต่าง ๒. กำหนดเกณฑก์ าร
สามารถกอ่
- แหลง่ กำเนดิ ๓. ทกั ษะ

กัน)
จำแนกเสยี งท่เี กิดข้ึน

กำเนิดเสยี ง

ของเสียง
การจดั กลุ่ม
๒. เคล่อื นไหว ๓. จดั กล่มุ เสียง

ท่แี ตกตา่ งกนั

- สีสันของเสยี ง

ร่างกายประกอบ ท่มี ีแหล่งกำเนิด




เสยี งจาก เหมือนกันไวด้ ว้ ยกนั





ธรรมชาติและ ๔. สรุปผลการจำแนก




เสียงทมี่ นุษย์ วา่ เสียงใดเปน็ เสยี ง




สร้างข้ึน
จากธรรมชาติ หรอื






เสยี งทเี่ กดิ จากมนษุ ย






กระทำข้ึน






๕. ทำแบบทดสอบ





การฟงั






๖. แสดงทา่ ทาง





ประกอบเสยี ง






จากธรรมชาติ







และเสียงที่มนษุ ย์





สรา้ งขึ้น









16 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพ่ือพฒั นาทกั ษะการคิด ระดบั ประถมศกึ ษา

กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

ตัวชวี้ ดั
ความคิด
สาระ
ทกั ษะการคดิ
ช้ินงาน/
แนวการจดั

รวบยอด
การเรยี นรู
้ ภาระงาน
กจิ กรรมการเรยี นรู


มาตรฐาน ศ ๒.๑
เสียงมแี หลง่ ระดบั เสยี งดัง-เบา ๑. ทักษะการฟงั
๑. พดู หรอื ร้อง ๑. ฟังเสยี งดงั -เบา
๒. บอกลกั ษณะ กำเนดิ ทแ่ี ตกตา่ ง (Dynamic)
๒. ทักษะการ

เพลงดว้ ยเสยี ง และจงั หวะ ช้า-เร็ว

ของเสียง
กนั มลี กั ษณะ - อัตราความเรว็ สงั เกต
ดัง-เบา
๒. สงั เกตลกั ษณะของ
ดัง-เบา และ เฉพาะตวั คอื ของจังหวะ ๒. ทักษะการ
๒. เคาะจังหวะ เสียงและจงั หวะที่ฟัง

ความ ชา้ -เรว็ เสียงดัง-เบาและ
Tempo
เปรียบเทียบ
ช้า-เร็ว
๓. บอกความเหมือน-
ของจงั หวะ
มีจงั หวะช้า-เร็ว


๓. เคล่อื นไหว ความต่างของเสยี ง




รา่ งกายประกอบ และจังหวะ





เสยี ง ดัง-เบาและ ๔. พดู หรอื ร้องเพลง





จังหวะ ช้า-เร็ว
ดว้ ยเสยี งดัง-เบา






๕. เคาะจงั หวะช้า-เรว็






๖. สรปุ ลกั ษณะของ







เสยี งดงั -เบา







จงั หวะ ชา้ -เร็ว






๗. แสดงทา่ ทาง





ประกอบของเสยี ง






ดัง-เบา เพลงจงั หวะ





ช้า-เร็ว








มาตรฐาน ศ ๒.๑
การท่องบทกลอน
๑. การอา่ น ทกั ษะการนำ ๑. ทอ่ งบทกลอน/ ๑. ทบทวนความรแู้ ละ

๓. ทอ่ งบทกลอน ร้องเพลงงา่ ย ๆ
บทกลอน ความรไู้ ปใช
้ ร้องเพลงง่าย ๆ ประสบการณ์เกี่ยวกบั
ร้องเพลง
เปน็ กจิ กรรม ประกอบจงั หวะ

ประกอบจังหวะ
การร้องเพลงและ
งา่ ย ๆ
ดนตรที ี่ ๒. การรอ้ งเพลง
๒. แสดงทา่ ทาง อ่านบทกลอน


สนุกสนาน
ประกอบจงั หวะ

ประกอบบทกลอน/
๒. ท่องบทกลอน




เพลงง่าย ๆ
หรือรอ้ งเพลง




๓. วาดภาพ
ประกอบจงั หวะ





ตามจินตนาการ
๓. แสดงท่าทาง




ประกอบบทกลอน/
ประกอบบทกลอน





เพลงประกอบ และร้องเพลงงา่ ย ๆ




จงั หวะทีไ่ ด้ฟงั
ตามจนิ ตนาการ






๔. วาดภาพ

ตามจนิ ตนาการ
ประกอบบทกลอน

และรอ้ งเพลง
ประกอบจงั หวะ


ท่ไี ดฟ้ งั


แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรูเ้ พื่อพัฒนาทกั ษะการคิด ระดับประถมศึกษา
17
กลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ

ตวั ชีว้ ัด
ความคดิ
สาระ
ทักษะการคิด
ชิ้นงาน/
แนวการจดั

รวบยอด
การเรยี นรู
้ ภาระงาน
กจิ กรรมการเรยี นร
ู้

มาตรฐาน ศ ๒.๑
การมีส่วนรว่ ม กิจกรรมดนตร
ี ๑. ทักษะการฟัง
๑. ร้องเพลง

๑. ฟังเพลงท่ีกำหนด


๔. มสี ่วนร่วม
ในกิจกรรมดนตร

- การรอ้ งเพลง
๒. ทกั ษะการนำ

ท่ชี ่ืนชอบ
เคาะจงั หวะ
ในกจิ กรรม ทำให้เกดิ ความ

- การเคาะจังหวะ
ความรู้ไปใช
้ ๒. แสดงการ เคลอื่ นไหวรา่ งกาย


ดนตรีอยา่ ง สนุกสนาน
- การเคล่ือนไหว

เคลื่อนไหว อย่างอิสระดว้ ย
สนุกสนาน

ประกอบบทเพลง

ร่างกายประกอบ ความสนุกสนาน



ตามความดัง-เบา

เพลงด้วยความ ๒. แบ่งกลุ่มร้อง


ของบทเพลง

สนกุ สนาน
เพลงท่ชี ่ืนชอบ



ตามความช้า-เรว็

๓. แสดง
เคาะจงั หวะ


ของจงั หวะ

ความคิดเห็น

เคลอ่ื นไหวรา่ งกาย





ตอ่ ผลงานของ อยา่ งอสิ ระดว้ ยความ




ตนเองและ
สนุกสนาน





ของเพ่อื น
๓. แสดงความคิดเห็น





ต่อผลงานของตนเอง





และของเพ่อื น








มาตรฐาน ศ ๒.๑
บทเพลงเปน็
เพลงทใ่ี ช้ใน ๑. ทักษะการพดู
๑. ขับร้องเพลง
๑. ฟังเพลงทเี่ กยี่ วขอ้ ง

๕. บอกความ ส่วนหนึง่ ใน
ชีวิตประจำวนั
๒. ทกั ษะการนำ

ทเี่ กยี่ วข้อง
ในชวี ิตประจำวนั

เกีย่ วข้องของ ชวี ิตประจำวัน - เพลงกลอ่ มเดก็
ความรู้ไปใช้
ในชวี ิตประจำวัน
๒. แสดงความรู้สึก
เพลงทีใ่ ชใ้ น ของมนุษย
์ - บทเพลงประกอบ
๒. แสดงความ จากเพลงที่ได้ฟังจาก
ชวี ติ ประจำวนั

การละเลน่
รู้สกึ จากเพลง
จังหวะ ทำนอง

- เพลงสำคัญ ทไี่ ดฟ้ ัง
เน้ือร้อง

(เพลงชาตไิ ทย ๓. แสดงความ
๓. แสดงความ

เพลงสรรเสรญิ
คิดเหน็ จากเพลง คิดเหน็ เพลงท่ีได้ฟงั
พระบารมี)
ทีไ่ ดฟ้ งั
มีความเก่ียวข้องกับ
๔. วาดภาพ ชีวติ ประจำวัน

ประกอบเพลง
๔. วาดภาพประกอบ
ทไ่ี ดฟ้ งั
บทเพลงท่เี กย่ี วข้อง


ในชีวติ ประจำวัน


18 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรูเ้ พื่อพัฒนาทกั ษะการคิด ระดับประถมศึกษา

กลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ

สาระที่ ๒ ดนตร


มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
ของดนตรีที่เป็นมรดก ทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทย

และสากล


ตัวช้วี ดั
ความคิด
สาระ
ทักษะการคิด
ช้ินงาน/
แนวการจัด

รวบยอด
การเรียนร้
ู ภาระงาน
กิจกรรมการเรียนรู้


สาระที่ ๒
บทเพลงและ ที่มาของบทเพลง
๑. ทกั ษะการฟงั
๑. สำรวจทม่ี า ๑. กำหนดบทเพลง
ดนตร
ี ดนตรีในท้องถ่นิ ในทอ้ งถ่ิน
๒. ทกั ษะการ ของบทเพลง
ในทอ้ งถน่ิ หรอื เพลง
มาตรฐาน ศ ๒.๒
เป็นสงิ่ ท่ีมคี ณุ คา่
สำรวจ
๒. นำเสนอขอ้ มลู ประจำจงั หวัด

๑. เลา่ ถงึ เพลง
ควรศกึ ษาความ

โดยการเล่าถงึ
ทีจ่ ะศกึ ษา (๑ เพลง)

ในท้องถน่ิ
เป็นมาและ

ท่ีมาของบทเพลง
๒. ฟงั เพลงตาม


อนุรกั ษไ์ ว



ทก่ี ำหนด/ศกึ ษาและ





สำรวจข้อมลู ทีม่ า






ผแู้ ตง่ ทำนอง เนื้อร้อง





ของบทเพลงในทอ้ งถ่ิน






๓. นำเสนอข้อมลู







โดยการเลา่ ถึงท่ีมา





และคณุ ค่าทีค่ วรศึกษา





อนุรกั ษข์ องบทเพลง







ในทอ้ งถิ่น








มาตรฐาน ศ ๒.๒
บทเพลงใน

ความนา่ สนใจ ๑. ทกั ษะการฟงั
๑. สำรวจข้อมูล
๑. ศกึ ษาและสำรวจ


๒. ระบุสง่ิ ท
่ี ทอ้ งถิน่ มคี ณุ ค่า

ของบทเพลง

๒. ทักษะการ ดนตรีในทอ้ งถิ่น
ขอ้ มลู ดนตรใี นทอ้ งถิ่น

ช่นื ชอบใน น่าชน่ื ชม
ในทอ้ งถ่ิน
สำรวจ
๒. แสดงความคิด ๒. กำหนดเพลงใน
ดนตรีทอ้ งถ่ิน
๓. ทักษะการระบุ
เห็นสงิ่ ทีช่ ื่ชอบใน ทอ้ งถิ่นทต่ี อ้ งการศกึ ษา


ดนตรที อ้ งถน่ิ
๓. ฟังเพลงทีก่ ำหนด


(๑-๒ เพลง)

๔. ร่วมกันระบแุ สดง
ความคดิ เห็นสิ่ง


ท่ีช่ืนชอบในดนตรี
บทเพลงในท้องถิ่น

๔. แสดงความคดิ เห็น
ส่งิ ทชี่ น่ื ชอบบทเพลง
ในท้องถิน่ ประกอบ
ดนตรีทีใ่ ช้ในบทเพลง


แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ พ่ือพัฒนาทักษะการคิด ระดับประถมศึกษา
19
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์


มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์
คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต

ใช้ในชวี ิตประจำวัน


ตัวช้วี ัด
ความคิด
สาระ
ทักษะการคดิ
ชนิ้ งาน/
แนวการจดั

รวบยอด
การเรียนรู
้ ภาระงาน
กิจกรรมการเรียนรู้


สาระที่ ๓
การฝกึ ปฏบิ ัติ การเคล่ือนไหว ๑. ทักษะการ ๑. แสดงทา่ ทาง ๑. ทบทวนความรู้เดิม

นาฏศิลป
์ เลียนแบบการ ร่างกายลักษณะ สงั เกต
การเคลอ่ื นไหว โดยใหเ้ ลียนท่าทาง
มาตรฐาน ศ ๓.๑
เคลอื่ นไหว และ ต่าง ๆ
๒. ทักษะการ
เลียนแบบ คน สัตว์ สง่ิ ของตาม

๑. เลียนแบบการ แสดงทา่ ทางงา่ ย ๆ
- การเลียนแบบ
เชอื่ มโยง
ธรรมชาติ คน ความคดิ และจนิ ตนาการ

เคลื่อนไหว
เพื่อส่ือความหมาย ธรรมชาติ
๓. ทักษะการ
สตั ว์ สิ่งของ
๒. การแสวงหา


๒. แสดงท่าทาง แทนคำพูดเป็น - การเลยี นแบบ ประยกุ ตใ์ ช้

๒. แสดงภาษา ความรูใ้ หม่ จาก


งา่ ย ๆ เพื่อ
พนื้ ฐานเบอ้ื งต้น คน สัตว์ สง่ิ ของ
ความรู
้ ท่าทางแทนคำพดู
วดี ทิ ศั น์ เรือ่ งเสยี งท่ี
ส่ือความหมาย ของการแสดง - การใชภ้ าษาทา่
๓. แสดงภาษาทา่
แปลกแตกตา่ งกนั
แทนคำพดู
นาฏศลิ ป์ และ และการประดิษฐ์
ประกอบ
เพื่อฟังและพจิ ารณา

ละคร
ท่าประกอบเพลง


ขอ้ มูลตา่ ง ๆ



- การแสดง

๓. ศึกษาทำความเขา้ ใจ


ประกอบเพลง


จดั ประสบการณ์ใหม่


ท่ีเก่ยี วกบั

แบง่ กลมุ่ แล้ว



ธรรมชาติสัตว์


ผลดั กนั ออกเสียง





และแสดงทา่ ทาง






ให้เพ่อื นทาย






๔. ขน้ั แลกเปลีย่ น







ความร้คู วามเข้าใจ





กบั กลมุ่ ใหผ้ ้เู รยี น





ออกมาเฉลยทา่ ทาง





และเสียงที่เลยี นแบบ






นั้นหมายถงึ อะไร





เพราะเหตุใด






๕. การสรุปและจดั





ระเบียบความร ู้






ผ้สู อนวางผงั มโนทศั น







ใหผ้ ู้เรียนช่วยกัน






จดั กลุ่มตามหมวดหม
ู่





๖. การปฏิบตั ิและ





การแสดงผลงาน




แสดงบทบาทสมมุติ

20 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นร้เู พ่อื พัฒนาทกั ษะการคิด ระดบั ประถมศกึ ษา

กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ

ตัวช้ีวดั
ความคิด
สาระ
ทกั ษะการคิด
ชิ้นงาน/
แนวการจดั

รวบยอด
การเรียนรู
้ ภาระงาน
กจิ กรรมการเรยี นร้







ละครสัน้ ๆ เชน่





กระต่ายกบั เต่า หรอื





แสดงประกอบเพลง





งา่ ย ๆ เชน่ เพลงกา





เพลงช้าง เพลงกอไผ






๗. การประยุกต







ใชค้ วามรู้ นำความรู้





เร่ืองการใช้เสยี ง





และทา่ ทางส่ือ






ความหมายทใี่ ชใ้ น





ชวี ติ ประจำวนั เช่น





เสียงโอย๊ ! โถ! ออ๋ !





เฮ้อ! โอโฮ! ว้าย!








มาตรฐาน ศ ๓.๑
การปฏบิ ัตติ น

การเป็นผชู้ มทีด่ ี
ทักษะการ

๑. การสำรวจ ๑. รบั รแู้ ละรวบรวม
๓. บอกสงิ่ ท่ี เปน็ ผู้ชมทีด่ ี ให้เหตุผล
ตนเอง
ขอ้ มูลในการสำรวจ
ตนเองชอบ และมสี มาธ

๒. การแสดง
ตนเอง โดยขดี
จากการดู ในการชม ทำให้ ความคดิ เห็น

เครือ่ งหมายถกู ตรง
หรือร่วมการ รับรูอ้ รรถรสของ
เก่ียวกับพฤติกรรม

ชอ่ งพฤตกิ รรมท่เี คย
แสดง
การแสดงไดด้ ี
ไมเ่ หมาะสม
ปฏบิ ตั ไิ ม่เคยปฏบิ ตั ิ

ในการชม

๒. คน้ หาสาเหต ุ

การแสดง
การยอมรับของสังคม

โดยแยกพฤติกรรม
ไม่ควรปฏิบตั อิ อก
เหลอื เฉพาะขอ้ ควร
ปฏิบัติ

๓. อธบิ ายใหเ้ ห็น
ความสอดคล้องของ

เหตแุ ละผลในเหตกุ ารณ

หรือการกระทำนั้น ๆ
โดยการชมวีดทิ ัศน์
แลว้ แสดงบทบาท
สมมุตเิ ป็นพฤติกรรม
ทไ่ี ม่เหมาะสม ขณะ
ชมการแสดงเพ่ือให้
ร่วมกนั วิจารณ


อยา่ งมีเหตุผล


แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ พอ่ื พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดับประถมศึกษา
21
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

สาระท่ี ๓ นาฏศิลป


มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า


ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทย
และสากล


ตัวชี้วดั
ความคดิ
สาระ
ทกั ษะการคดิ
ชิน้ งาน/
แนวการจดั

รวบยอด
การเรียนรู
้ ภาระงาน
กจิ กรรมการเรยี นรู


สาระท่ี ๓

การละเลน่

การละเล่นของ ทกั ษะการ บอกชอ่ื การ

๑. ศกึ ษาข้อมูล


นาฏศลิ ป์
ของเดก็ ไทยมี เดก็ ไทย
วเิ คราะห์
ละเลน่ และแสดง การละเล่นของ


มาตรฐาน ศ ๓.๒
เอกลักษณข์ อง - วิธกี ารเล่น

การละเลน่ ของ เดก็ ไทย

๑. ระบแุ ละเลน่ ความเป็นไทย - กติกา

เด็กไทย
๒. ต้งั วตั ถุประสงค


การละเล่น ควรอนรุ ักษไ์ ว้


๑ ชดุ
ในการวเิ คราะห์
ของเด็กไทย




ข้อมลู การละเลน่





ของเด็กไทย






๓. กำหนดเกณฑ






การจำแนกแยกแยะ





ขอ้ มูล รว่ มกันวาง





กติกาในการเลน่





แตล่ ะชดุ






๔. หาความสัมพนั ธ์





ระหว่างองคป์ ระกอบ





ตา่ ง ๆ โดยแบง่ กลุ่ม






รับผดิ ชอบการละเลน่






ของเด็กไทย






กลุ่มละ ๑ ชุด






๕. นำเสนอผลงาน






การละเล่นของเด็กไทย





พร้อมทั้ง บอกวธิ กี าร





เล่น กฎ กติกา





ประโยชน์การนำไป





ใชใ้ นชีวิตประจำวัน
































22 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พ่อื พฒั นาทักษะการคดิ ระดับประถมศึกษา

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ

ตวั ชีว้ ดั
ความคดิ
สาระ
ทกั ษะการคิด
ชน้ิ งาน/
แนวการจดั

รวบยอด
การเรยี นรู
้ ภาระงาน
กจิ กรรมการเรยี นรู้


มาตรฐาน ศ ๓.๒
นาฏศิลป์ไทย
การแสดง

ทักษะการ

๑. บอกส่ิงทตี่ นเอง
๑. ระบุความเหมอื น


๒. บอกสิ่งที่ มหี ลายประเภท
นาฏศิลป
์ เปรียบเทียบ
ช่ืนชอบในการ และความแตกตา่ ง



แสดงนาฏศิลป์
ของการแสดงนาฏศลิ ป์
ตนเองชอบ
มคี วามออ่ นช้อย ๒. แยกประเภท
แต่ละชดุ โดยแยก
ในการแสดง นมุ่ นวล ทำให้ นาฏศลิ ปท์ ตี่ นชอบ ตามความชอบ

นาฏศิลป์
เกดิ ความ

และไม่ชอบ
๒. เปรยี บเทยี บ


การแสดงนาฏศิลป์
ประทับใจท


แตกตา่ งกัน
แต่ละชุดและแยก

สง่ิ ท่ีมีลักษณะแตกต่าง

ออกจากกนั โดย
ภาพนำภาพการ
แสดงหลาย ๆ ภาพ
มาวางเรียง ให


ผ้เู รียนแยกตาม
ความชอบ

๓. อธิบายแสดง
ความคิดเห็นและ


บอกส่งิ ทตี่ นเองชอบ

ในการแสดงนาฏศิลป


พร้อมบอกเหตุผล




แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้เพ่อื พัฒนาทกั ษะการคิด ระดบั ประถมศกึ ษา
23
กลุม่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ



ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๒


✦ การวิเคราะห์ตวั ชว้ี ัดสูก่ ารพฒั นาทกั ษะการคดิ

✦ การจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ พอ่ื พฒั นาทกั ษะการคดิ



✦ การวเิ คราะห์ตัวช้ีวัดสกู่ ารพัฒนาทกั ษะการคดิ


การวิเคราะห์ตัวช้ีวัดสู่การพัฒนาทักษะการคิดเป็นการนำตัวช้ีวัด
กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๒ จาก ๓ สาระ ๖ มาตรฐาน
จำนวน ๒๕ ตัวช้ีวดั มาวิเคราะหร์ ายตัวชี้วดั ใน ๔ ประเด็น คือ ตวั ชวี้ ัดแตล่ ะตัว

ผู้เรียนควรมีความรู้อะไรและทำอะไรได้ ทักษะการคิด ชิ้นงาน/ภาระงาน

และแนวการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด ในแต่ละประเด็นจะม

ความสัมพนั ธเ์ ชอ่ื มโยงกันและสะทอ้ นคุณภาพผู้เรยี นตามตวั ช้วี ดั

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์


มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์


วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อ


งานศลิ ปะอย่างอสิ ระ ชนื่ ชม และประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั


ตวั ชีว้ ัด
ผูเ้ รยี นรอู้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทักษะการคดิ
ชิ้นงาน/
แนวการจดั การเรียนร้

ภาระงาน
เพอื่ พฒั นาทกั ษะการคิด


๑. บรรยาย
ผเู้ รียนรู้อะไร

๑. ทักษะ

วาดภาพรูปรา่ ง ๑. สงั เกตส่ิงตา่ ง ๆ รอบตวั


รปู รา่ ง รูปทรง รูปร่าง รปู ทรงทพ่ี บใน การสงั เกต
รูปทรงจากธรรมชาต

ิ ในธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม

ที่พบใน ธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ๒. ทักษะ
พรอ้ มเขยี นบรรยาย
๒. บอกรปู รา่ ง รปู ทรงที่พบ

ธรรมชาตแิ ละ เชน่ รปู วงกลม รี สามเหลย่ี ม การเปรียบเทยี บ

ในธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อม

สิ่งแวดล้อม
สี่เหล่ยี ม และกระบอก


๓. เปรียบเทยี บความเหมือน

ผเู้ รียนทำอะไรได


ความตา่ งของรูปรา่ ง รูปทรง

บรรยายรูปรา่ ง รูปทรง



ทพี่ บในธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม


ท่ีพบในธรรมชาติและ



๔. วาดภาพรูปร่าง รปู ทรงจาก

สง่ิ แวดล้อม


ธรรมชาตพิ ร้อมเขยี นบรรยาย







๒. ระบุทัศนธาตุ ผเู้ รยี นรอู้ ะไร
๑. ทกั ษะ

๑. บันทึกการ ๑. สนทนาซกั ถามความรู้


ท่อี ยใู่ น
การใช้เส้น สี รูปรา่ งและ การสงั เกต
สังเกต
เกีย่ วกับความหมายองคป์ ระกอบ

สง่ิ แวดล้อม รูปทรงในงานทศั นศิลปแ์ ละ

๒. ทกั ษะ
๒. นำเสน้ ส ี
ของทัศนธ์ าต

และงาน

สิง่ แวดล้อม เช่น งานวาด

การระบ
ุ รูปรา่ ง และรปู ทรง ๒. สังเกต ทศั นธาตุท่ีปรากฏ
ทัศนศลิ ป์ งานป้นั และงานพิมพ์ภาพ

มาวาดภาพ
ในส่งิ แวดล้อมและงานทัศนศิลป

โดยเน้นเรอ่ื ง ผู้เรียนทำอะไรได


พรอ้ มท้งั บนั ทึกการสังเกต

เสน้ สี รปู รา่ ง ระบทุ ศั นธาตทุ ่ีปรากฏใน

๓. ระบุทัศนธาตุที่ปรากฏใน
และรูปทรง
สิง่ แวดล้อมและงานทัศนศลิ ป ์


สงิ่ แวดลอ้ มและงานทศั นศลิ ป


โดยเน้นเรอ่ื งเสน้ สี รูปรา่ ง


โดยเน้นเรื่อง เส้น สี รูปร่าง

และรปู ทรง


และรปู ทรง





๔. วาดภาพโดยใช้เสน้ ส





รปู รา่ งและรูปทรงเป็น






องค์ประกอบ







๓. สรา้ งงาน
ผเู้ รยี นรูอ้ ะไร
ทกั ษะการนำ วาดภาพ
๑. ทบทวนความรู้เก่ียวกับ
ทศั นศิลป

การใชเ้ ส้น รูปรา่ งสร้าง ความรูไ้ ปใช
้ โดยใชเ้ สน้ และ

การสร้างงานทศั นศ์ ิลป์

ตา่ ง ๆ โดยใช้ งานทศั นศิลป์

รูปร่างเป็น

๒. ทดลองสร้างงานทศั นศิลป์
ทัศนธาตทุ ่ี ผเู้ รยี นทำอะไรได

องคป์ ระกอบ
โดยใชท้ ศั นธาตุที่เนน้ เสน้
เนน้ เส้น
สรา้ งงานทศั นศลิ ป



และรูปรา่ งเปน็ องค์ประกอบ

รปู รา่ ง
โดยใช้ทัศนธาตุทเี่ นน้ เส้น


๓. แสดงความคิดเกย่ี วกบั

รปู ร่าง


การทดลองสร้างงานทศั นศิลป


๔. สร้างสรรค์งานทัศนศลิ ป


โดยใชท้ ัศนธาตทุ เ่ี น้นเส้น

28 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคดิ ระดับประถมศึกษา

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ

ตวั ช้ีวดั
ผเู้ รยี นรอู้ ะไร/ทำอะไรได้
ทักษะการคดิ
ช้นิ งาน/
แนวการจดั การเรียนรู้

ภาระงาน
เพือ่ พฒั นาทกั ษะการคดิ







และรปู ร่างเป็นองคป์ ระกอบ





๕. สรปุ ความคิดเห็นจาก





ภาพวาดร่วมกนั







๔. มที กั ษะพนื้ ฐาน
ผู้เรยี นร้อู ะไร
ทักษะการนำ ภาพปะติด
๑. ทบทวนความรู้ในการสรา้ ง


ในการใชว้ ัสดุ วสั ดุ อปุ กรณส์ ร้างสรรค
์ ความรู้ไปใช
้ งานทัศนศิลป์
งานทัศนศลิ ป์

อปุ กรณ์ สรา้ ง งานทศั นศลิ ป์ ๓ มิต

๓ มิติ
๒. แนะนำสาธิตวิธใี ชว้ สั ดุ
งานทศั นศลิ ป์ ผู้เรียนทำอะไรได


อปุ กรณใ์ นการสร้างงาน

๓ มติ ิ
มีทักษะพื้นฐานในการใช้



ทศั นศลิ ป์ ๓ มติ


วสั ดุ อุปกรณส์ ร้างงาน



๓. สร้างงานทัศนศิลป์ ๓ มติ


ทศั นศลิ ป์ ๓ มติ ิ


โดยใช้วสั ดุ อุปกรณ์ ตาม




ความเหมาะสม







๕. สรา้ งภาพ
ผเู้ รียนรอู้ ะไร
ทักษะการนำ สรา้ งภาพปะติด ๑. อภิปราย ซักถามความร
ู้

ปะตดิ โดย
การสรา้ งภาพปะ ติด

ความรู้ไปใช้
โดยการตดั

ในการสร้างงานทัศนศลิ ป์


การตัดหรอื
โดยการตดั หรือฉกี กระดาษ

หรอื ฉีกกระดาษ
โดยการสรา้ งภาพปะติด

ฉีกกระดาษ
ผู้เรียนทำอะไรได



โดยการตัดหรือฉีกกระดาษ


บอกเทคนคิ และวิธีการ



๒. ฝึกปฏิบตั ิ ตัด ปะ ฉีก

สร้างภาพ ปะตดิ ได้ โดย


กระดาษ


การตดั หรือฉกี กระดาษได้


๓. สร้างสรรคง์ านศิลปโ์ ดย





ตดั ปะ ฉกี กระดาษ







๖. วาดภาพเพ่ือ ผเู้ รยี นรูอ้ ะไร
๑. ทกั ษะการ วาดภาพครอบครวั
๑. สงั เกตประสบการณ์


ถ่ายทอด
การวาดภาพสามารถถ่ายทอด
สังเกต
ตนเองและ

เกีย่ วกบั เรอื่ งราวที่เกิดขน้ึ


เรื่องราว
เรอ่ื งราวเกี่ยวกับครอบครัว ๒. ทักษะ เพือ่ นบา้ น
ในชวี ติ ประจำวนั

เกี่ยวกับ ของตนเองและเพือ่ นบ้าน
การนำความรู้
๒. แลกเปลยี่ นความคดิ เห็น
ครอบครวั ของ ผู้เรียนทำอะไรได
้ ไปใช้

เร่อื งราวเก่ยี วกบั ครอบครวั

ตนเองและ วาดภาพเพอื่ ถา่ ยทอด

ของตนเองและเพื่อนบ้าน

เพ่อื นบา้ น
เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ครอบครัว

๓. เปรียบเทยี บประสบการณ


ของตนเองและเพอื่ นบ้าน


ในครอบครวั ของตนเอง


ได้


และเพือ่ นบ้าน





๔. คัดเลอื กประสบการณ






ท่นี ่าสนใจ





๕. วาดภาพเพ่อื ถ่ายทอด





เรื่องราวเกี่ยวกบั ครอบครัว






ของตนเองและเพอื่ นบ้าน





แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพฒั นาทกั ษะการคิด ระดบั ประถมศึกษา
29
กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

ตวั ช้ีวัด
ผเู้ รยี นรู้อะไร/ทำอะไรได้
ทกั ษะการคดิ
ช้ินงาน/
แนวการจัดการเรียนรู้

ภาระงาน
เพื่อพัฒนาทกั ษะการคิด


๗. เลอื กงาน ผู้เรยี นรู้อะไร

๑. ทกั ษะ
อภปิ รายความคิด ๑. สังเกตงานทัศนศิลป์

ทัศนศลิ ป์ การรับรู้ทางการเหน็ และ
การสงั เกต
เห็นและข้อเทจ็ จริง ๒. เลือกงานทัศนศิลป

และบรรยาย เนอื้ หาเรื่องราว
๒. ทักษะ
เกยี่ วกับเน้อื หา
ท่ีนา่ สนใจ

ถึงสิ่งทมี่ องเห็น ผู้เรยี นทำอะไรได
้ การสำรวจ
เร่ืองราวของ
๓. ศึกษาและรวบรวมข้อมูล

รวมถึงเนอ้ื หา ๑. ระบทุ ศั นธาตทุ ม่ี องเหน็

งานทัศนศิลป์
เพ่อื ใหไ้ ด้ขอ้ เทจ็ จริงเกี่ยวกบั

เรอ่ื งราว
ในงานทศั นศลิ ป์


งานทัศนศลิ ป์ท่ีเลอื ก


๒. อธบิ ายแสดงความ



๔. นำเสนอขอ้ มลู จรงิ


คิดเห็นเก่ียวกับเนอื้ หา



เก่ยี วกบั เนอ้ื หาเร่ืองราวของ



เรื่องราวในงานทัศนศลิ ป


งานทัศนศิลป์ พร้อมแสดง





ความคดิ เห็นเพ่มิ เติม และ





ยกตัวอย่างผลงาน







๘. สรา้ งสรรค์ ผู้เรียนรอู้ ะไร
๑. ทกั ษะ

งานโครงสรา้ ง ๑. ทบทวนความรเู้ ร่อื ง


งานทศั นศลิ ป์ วิธีการและการเลอื กใช้ การสำรวจ
เคลอื่ นไหวเปน็

รปู แบบของงานทศั นศิลป

เปน็ รปู แบบ วัสดุ อปุ กรณ์ สำหรับ

๒. ทกั ษะ
ภาพแขวน
๒. สำรวจเนือ้ หาเร่อื งราว

งานโครงสรา้ ง สร้างงานทัศนศิลป์

การนำความรู

งานทศั นศิลป์เป็นรูปแบบ


เคล่ือนไหว
ในท้องถ่นิ
ไปใช้
งานโครงสรา้ งเคลื่อนไหว

ผู้เรยี นทำอะไรได
้ ๓. รวบรวมข้อเท็จจรงิ และ

อภิปรายแสดงความคิด ความคิดเห็นเก่ยี วกับสงิ่ ท่ี
เห็นเกีย่ วกบั วธิ ีการสรา้ ง สำรวจ

งานและวัสดุ อุปกรณ์ทใี่ ช้ ๔. นำเสนอข้อเทจ็ จริงและ
ในการสร้างงานทศั นศิลป

ตวั อยา่ งของวสั ดุ อปุ กรณ


ในทอ้ งถนิ่
ในการทำภาพแขวน

๕. แนะนำขน้ั ตอนและวิธีการ
ทำภาพแขวน

๖. แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

ในการสรา้ งสรรคท์ ศั นศิลป์

เปน็ รปู แบบงานโครงสร้าง

เคล่ือนไหว

๗. ฝึกปฏิบตั ทิ ำภาพแขวน


30 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ พือ่ พัฒนาทักษะการคดิ ระดับประถมศกึ ษา

กลุม่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ

สาระที่ ๑ ทศั นศิลป์


มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า


งานทัศนศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทย
และสากล


ตวั ช้ีวัด
ผู้เรยี นรูอ้ ะไร/ทำอะไรได้
ทักษะการคิด
ชนิ้ งาน/
แนวการจัดการเรยี นรู้

ภาระงาน
เพ่อื พฒั นาทกั ษะการคิด


๑. บอกความ ผู้เรียนรู้อะไร

๑. ทักษะ

๑. พดู แสดง

๑. สำรวจงานทัศนศิลป


สำคญั ของ ทัศนศิลปท์ ่พี บเหน็

การสังเกต
ความคดิ เห็นเกีย่ วกบั

ที่พบเห็นในชวี ติ ประจำวนั

งานทัศนศลิ ป์ ในชีวิตประจำวนั
๒. ทกั ษะการ
ความสำคัญของ
๒. อภิปรายแสดงความคิดเหน็

ทพ่ี บเห็นใน ผู้เรียนทำอะไรได
้ สำรวจ
งานทศั นศิลปท์ ี่ เกย่ี วกับความสำคญั

ชีวติ ประจำวนั
บอกความสำคัญของงาน
พบเหน็ ในชีวิต ของงานทศั นศลิ ป์กบั



ทัศนศิลปท์ ส่ี ัมพนั ธ์กบั

ประจำวนั
ชีวิตประจำวนั


ชวี ติ ประจำวัน

๒. ยกตวั อย่าง
๓. สรปุ ความสำคญั ของ




ผลงาน
งานทัศนศลิ ป์ที่พบเห็น






ประเภทตา่ ง ๆ






ในชวี ติ ประจำวนั







๒. อภปิ ราย
ผเู้ รยี นร้อู ะไร
๑. ทักษะ

พูดแสดง
๑. สำรวจงานทัศนศลิ ป


เกย่ี วกับงาน วธิ กี ารและการเลอื กใช้

การสังเกต
ความคดิ เห็น

ประเภทต่าง ๆ ในทอ้ งถิน่

ทศั นศิลป์ วัสดุ อปุ กรณ์ สำหรับ

๒. ทกั ษะ
เกี่ยวกับงานทัศนศิลป

๒. นำเสนอผลการสำรวจ

ประเภท
การสร้างงานทัศนศิลป์

การสำรวจ
ประเภทตา่ ง ๆ

๓. จำแนกงานทศั นศลิ ป


ตา่ ง ๆ ใน ในท้องถน่ิ
๓. ทกั ษะการ ในทอ้ งถ่นิ
ประเภทตา่ ง ๆ

ท้องถิน่ โดย ผเู้ รยี นทำอะไรได
้ จำแนกประเภท

๔. ศึกษาวิเคราะหว์ สั ดแุ ละ
เนน้ ถึงวิธีการ อภิปรายแสดงความ

อุปกรณ์ทใ่ี ชส้ รา้ งงานทัศนศิลป

สร้างงานและ คดิ เห็น เก่ียวกับวิธีการ

๕. อภิปรายแสดง


วัสดุ อุปกรณ์ สรา้ งงานศิลปะท้องถ่ิน

ความคิดเห็นเกี่ยวกบั วิธกี าร
ท่ีใช
้ และวสั ดุ อปุ กรณท์ ่ใี ช
้ สรา้ งงานและวสั ดุ อปุ กรณ



ทใี่ ช้สรา้ งงานทศั นศลิ ป์


ประเภทตา่ ง ๆ ในท้องถ่ิน






แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้เู พือ่ พฒั นาทักษะการคดิ ระดับประถมศกึ ษา
31
กล่มุ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ

สาระท่ี ๒ ดนตร


มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์
คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึกความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และ
ประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั


ตัวชีว้ ดั
ผเู้ รียนรอู้ ะไร/ทำอะไรได้
ทกั ษะการคิด
ช้ินงาน/
แนวการจัดการเรียนรู

ภาระงาน
เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการคดิ


๑. จำแนกแหล่ง ผเู้ รียนรอู้ ะไร

๑. ทกั ษะ

๑. ผงั มโนทศั น์

๑. ฟงั เสียงจากแหล่งกำเนิด
กำเนดิ ของ เสียงทีแ่ ตกต่างกนั มาจาก การสงั เกต
แหล่งกำเนิดของ

เสยี งหลากหลาย

เสยี งทไี่ ดย้ นิ
แหลง่ กำเนดิ เสยี งท่ีต่างกัน ๒. ทักษะ
เสยี งทไี่ ด้ยนิ
๒. สังเกตเสียงทีไ่ ด้ยินจาก

ทงั้ เสียงเคร่อื งดนตรี

การจำแนก ๒. ตารางการ แหลง่ กำเนิดเสียงทีม่ ีความ

และเสยี งมนุษย์
ประเภท
เปรยี บเทยี บ
แตกต่างกัน


ผู้เรียนทำอะไรได
้ ๓. ทกั ษะการ เสยี งมนษุ ยก์ ับ ๓. แยกเสียงทีเ่ หมอื นกันตา่ งกนั


๑. จำแนกแหลง่ กำเนิดของ เปรียบเทียบ
เสยี งดนตรี
๔. กำหนดเกณฑ์ของเสียง

เสยี งทไ่ี ดย้ ิน


และแหล่งกำเนิดของเสยี ง



๒. บอกความรสู้ กึ


ท่ไี ดย้ นิ


เมื่อได้ยนิ เสียงตา่ ง ๆ


๕. แยกเสียงตามแหลง่




กำเนิดของเสียงทไี่ ดย้ ิน





๖. เขียนผังมโนทัศน์จำแนก





แหลง่ กำเนิดของเสียงทไ่ี ดย้ นิ





๗. ทำตารางเปรยี บเทยี บเสียง





ท่เี กิดจากเครอื่ งดนตรี






และเสียงมนุษย







๒. จำแนก ผู้เรียนรูอ้ ะไร
๑. ทกั ษะ

ทำผงั มโนทศั น

๑. ฟังเสียงดนตรีในหลาย ๆ
คุณสมบัติ เสยี งดนตรีสงู -ต่ำ,
การสงั เกต
เรื่องคณุ สมบตั
ิ ลกั ษณะและสังเกตสงิ่ ที่
ของเสยี ง
ดงั -เบา, ยาว-สน้ั

๒. ทกั ษะ
ของเสียงสูง-ต่ำ,
ตอ้ งการจำแนก

สูง- ตำ่

เปน็ คุณสมบัติของเสียง

การจำแนก ดัง-เบา, ยาว-สน้ั ,
๒. สังเกตลกั ษณะเสียงท่ี
ดัง-เบา

ดนตรี
ประเภท
ของดนตร
ี เหมือนกนั ต่างกนั

ยาว-ส้ัน
ผเู้ รยี นทำอะไรได


๓. กำหนดเกณฑ์ลักษณะ

ของดนตร
ี จำแนกคุณสมบัตขิ อง



ของเสียงท่ีไดย้ ิน


เสยี งสงู -ต่ำ ดัง-เบา


๔. จัดกล่มุ ลกั ษณะเสยี ง


ยาว-สน้ั ของดนตร


ทีเ่ หมือนกันไว้ดว้ ยกนั





๕. ทำผงั มโนทัศน์เรื่อง




คุณสมบัตขิ องเสยี งสงู -ตำ่ ,




ดงั -เบา, ยาว-สั้น ของดนตร


32 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรูเ้ พ่อื พัฒนาทกั ษะการคิด ระดับประถมศกึ ษา

กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

ตวั ชี้วัด
ผเู้ รียนรูอ้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทกั ษะการคิด
ช้นิ งาน/
แนวการจดั การเรยี นร
ู้
ภาระงาน
เพอื่ พฒั นาทักษะการคิด


๓. เคาะจงั หวะ ผเู้ รียนรอู้ ะไร

๑. ทกั ษะ
๑. ฟังเพลงและ
๑. ศกึ ษาเน้อื หาของบทเพลง

หรอื การเคาะจงั หวะหรอื

การตง้ั เกณฑ์
เคาะจงั หวะ
๒. ระบลุ ักษณะสำคญั ของ


เคล่อื นไหว การเคลื่อนไหวรา่ งกาย

๒. ทกั ษะ
๒. แสดงทา่ ทาง
การเคาะจงั หวะหรือการเคล่ือนไหว

รา่ งกาย
ให้สอดคล้องกับเนือ้ หา
การประเมิน
เคล่อื นไหว
ใหส้ อดคลอ้ งกบั บทเพลง

ใหส้ อดคลอ้ ง ของเพลงเปน็ การถา่ ยทอด

ประกอบเพลง
๓. นำการเคาะจงั หวะและ
กบั เนอ้ื หา
ความรสู้ ึกและความชนื่ ชม


การเคลอ่ื นไหวรา่ งกายมา
ของเพลง
ทมี่ ตี ่อดนตร


กำหนดระดบั คุณภาพ


ผู้เรียนทำอะไรได


๔. ฟังเพลงและเคาะจังหวะ


เคาะจงั หวะหรอื

๕. ระบุระดบั คณุ ภาพของ


เคล่อื นไหวร่างกายให้

การเคาะจังหวะและการแสดง

สอดคล้องกบั เน้อื เพลง


ทา่ ทางเคลือ่ นไหวประกอบเพลง


ได้อยา่ งเหมาะสม


๖. แสดงการเคาะจงั หวะและ




เคลื่อนไหวประกอบเนอื้ หา






ในบทเพลง







๔. รอ้ งเพลง
ผู้เรียนรูอ้ ะไร
ทักษะ
รอ้ งเพลง
๑. สนทนาซักถามความร


งา่ ย ๆ

การรอ้ งเพลงที่เหมาะสม
การนำความร
ู้
เกย่ี วกบั บทเพลง

ทเ่ี หมาะสม
กับวยั เปน็ การแสดงออก ไปใช

๒. รับรแู้ ละเลือกบทเพลง

กบั วยั
ทางดนตรดี ว้ ยความสนุกสนาน


ทีน่ า่ สนใจ


ผเู้ รยี นทำอะไรได


๓. นำความรู้ท่มี ีและประสบการณ


รอ้ งเพลงงา่ ย ๆ ได



มาประยุกตเ์ พอ่ื รอ้ งเพลง


เหมาะสมกับวัย


แบบงา่ ย ๆ และเหมาะสมกับวัย







๕. บอก
ผู้เรียนรอู้ ะไร
๑. ทักษะ
๑. ขบั ร้องเพลง ๑. ฟงั เพลงเพ่อื สังเกตและรบั ร
ู้

ความหมาย บทเพลงมีความหมาย
การฟัง
เป็นกล่มุ
ความหมายของบทเพลงเพ่อื
และความ มบี ทบาทหน้าทแ่ี ละ
๒. ทักษะ
๒. เขยี นสรุป
ให้เข้าใจและจดจำ

สำคัญของ ความสำคัญทแ่ี ตกตา่ งกนั
การเช่อื มโยง
ความหมาย

๒. บอกข้อมลู เกยี่ วกบั
เพลงที่ไดย้ ิน
ผู้เรยี นทำอะไรได
้ และความสำคญั บทเพลงท่ฟี งั ให้ได้มากที่สุด

บอกความหมาย บทบาท ของเพลงท่ีได้ยิน
๓. เช่ือมโยงความหมายของ
หนา้ ทีค่ วามสำคญั ของเพลง บทเพลงและขอ้ มูลท่ีเคยรบั ร


ทีไ่ ด้ยนิ เชน่ เพลงปลกุ ใจ
มากอ่ นหรอื จากประสบการณ์

และเพลงสอนใจ
๔. ขับร้องเพลงเป็นกลุ่มเชน่

เพลงสอนใจหรอื เพลงปลุกใจ

๕. สรุปอธบิ ายความหมาย
และความสำคัญของเพลงทีฟ่ ัง


แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพอ่ื พฒั นาทักษะการคิด ระดับประถมศกึ ษา
33
กลุม่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ

สาระท่ี ๒ ดนตรี


มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
ของดนตรีท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย

และสากล


ตวั ช้วี ัด
ผ้เู รียนรูอ้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทักษะการคดิ
ช้นิ งาน/
แนวการจดั การเรยี นรู้

ภาระงาน
เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการคดิ


๑. บอกความ ผู้เรยี นรู้อะไร

๑. ทักษะ

แผนภมู เิ คร่อื ง ๑. พิจารณาข้อมูลความ
สัมพันธ์ของ บทเพลงในทอ้ งถนิ่

การฟัง
ดนตรีและเพลง

สมั พันธ์ของเสียงร้อง เสยี ง
เสยี งร้อง มีลักษณะเสียงรอ้ งและ ๒. ทักษะ
ในท้องถนิ่
เครือ่ งดนตรใี นเพลงทอ้ งถ่นิ

เสยี งเครอื่ ง เสียงเครอ่ื งดนตรีทีม่ ีความ การเชื่อมโยง

๒. เลือกขอ้ มลู ทมี่ คี วาม
ดนตรีใน สัมพันธก์ ัน การบอกความ

เกย่ี วข้องกนั มาสัมพนั ธ์กนั
เพลงทอ้ งถิ่น สัมพนั ธไ์ ด้เป็นการเหน็

โดยอาศยั ความรู้
โดยใช้คำ
คุณค่าของวัฒนธรรม


ประสบการณเ์ ดิมและ
ง่าย ๆ
ท้องถนิ่


หาความร้แู ละข้อมลู ใหม


ผูเ้ รยี นทำอะไรได


๓. อธบิ ายความสมั พันธแ์ ละ

บอกความสัมพันธ์ของ



ความหมายของข้อมลู


เสยี งร้อง เสียงเครื่องดนตรี


ที่นำมาเช่อื มโยงกนั


ในเพลงทอ้ งถ่ิน โดยใช


๔. เขยี นแผนภมู ิความ

คำงา่ ย ๆ ได้


สมั พันธ์ของเสียงร้อง เสียง




เครื่องดนตรใี นเพลงทอ้ งถิน่







๒. แสดงและ
ผเู้ รยี นรูอ้ ะไร
ทกั ษะการนำ แสดงและเข้าร่วม ๑. ทบทวนความรู้เกี่ยวกบั
เขา้ ร่วม การแสดงและการเขา้
ความรู้ไปใช้
กิจกรรมดนตรี

จังหวะ ดนตรี การร้องเพลง

กจิ กรรม
รว่ มกิจกรรมทางดนตร
ี ในงานสำคญั ของ
การเคลื่อนไหวรา่ งกาย

ทางดนตรี

ในท้องถ่นิ เป็นการ โรงเรยี น
ที่มอี ย่เู ดิม

ในทอ้ งถนิ่
แสดงออกถงึ การเห็นคณุ คา่ ๒. ร่วมกนั พิจารณาและ
ของมรดกทางวัฒนธรรม
อภิปรายความเหมอื นกนั

ผูเ้ รยี นทำอะไรได
้ ของสถานการณ์ใหมก่ ับ


แสดงดนตรีและเข้าร่วม สถานการณเ์ ดมิ ที่เคยเรียนรู้

กิจกรรมทางการแสดง ๓. วางแผนนำความรเู้ ดมิ ไป
ดนตรีในทอ้ งถนิ่ ในโอกาส
ปรับใช้ในการแสดงและ

พเิ ศษ เชน่ วนั สำคัญใน
เข้ารว่ มกิจกรรมทางดนตร

โรงเรยี นหรือวนั สำคญั

๔. แสดงและเข้าร่วมกิจกรรม
ของชาติ
ทางดนตรีในโอกาสต่าง ๆ




34 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นร้เู พอื่ พฒั นาทักษะการคิด ระดบั ประถมศึกษา

กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ

สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป์


มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์
คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต

ใช้ในชีวิตประจำวัน


ตัวชี้วดั
ผู้เรยี นรอู้ ะไร/ทำอะไรได้
ทักษะการคิด
ช้ินงาน/
แนวการจัดการเรียนร
ู้
ภาระงาน
เพือ่ พัฒนาทักษะการคิด


๑. เคลอื่ นไหว ผเู้ รยี นรอู้ ะไร

ทกั ษะการ ๑. บอกวิธกี าร ๑. ใชป้ ระสาทสัมผัสท้ัง ๕
ขณะอย่กู ับที่ วิธีการเคลอ่ื นไหวอย่าง

สงั เกต
เคล่อื นไหวอยา่ งม

สังเกตและสำรวจการ
และเคลอื่ นท่
ี มรี ปู แบบ ทง้ั การนง่ั


รูปแบบ ท้งั การนั่ง

เคล่ือนไหวของคนในขณะ


การยนื และการเดนิ

การยืน และ

อยู่กบั ที่ และเคลอื่ นท่ี เช่น


ผู้เรียนทำอะไรได

การเดนิ
การนงั่ การยืน และการเดนิ

บอกวธิ ีการ และฝึก


๒. แสดงการ โดยดสู อ่ื หรอื การสาธิตเพ่ือ

พร้อมท้งั แสดงการเคล่ือนไหว

เคลื่อนไหวอย่างมี เป็นข้อมูลในการคิดจำแนก

อยา่ งมีรูปแบบ ทงั้ การนง่ั

รูปแบบ ท้ังการนัง่ ความเหมือนและความต่าง

การยนื และการเดิน


การยืน และการ ของการเคลื่อนไหวอย่กู บั ท่ี

ประกอบเพลง

เดนิ ประกอบเพลง
และเคลอื่ นท่ี โดยใช้คำถาม





ช่วยในการกระตุ้นความคดิ




จนสามารถค้นพบความรู้หรอื




คำตอบได้ดว้ ยตนเอง





๒. ฝกึ ปฏิบตั ิการเคลอ่ื นไหว





ขณะอยกู่ บั ทีแ่ ละเคลอ่ื นท่






ท้ังในรูปแบบการยืน การเดิน





และน่งั พร้อมทั้งอธบิ ายและ




เปรียบเทียบรปู แบบการยืน




เดนิ และน่ัง





๓. นำความรู้จากการ




เคลื่อนไหวท้ังทา่ นง่ั ยนื และ




เดนิ มาทำท่าประกอบเพลง





และแสดงพร้อมกัน





๔. รว่ มกนั ช่นื ชมและแสดง
ความคดิ เห็นในการแสดง
พร้อมทง้ั สรปุ ความร้เู รอื่ ง
ลักษณะการเคลอื่ นไหว

อยกู่ ับท่ีและเคล่ือนท
ี่



แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพ่ือพฒั นาทกั ษะการคดิ ระดบั ประถมศึกษา
35
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ

ตัวชว้ี ดั
ผเู้ รียนรอู้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทักษะการคิด
ชิน้ งาน/
แนวการจดั การเรียนรู้

ภาระงาน
เพ่อื พัฒนาทักษะการคิด


๒. แสดงการ ผูเ้ รยี นรอู้ ะไร

ทกั ษะการนำ ๑. บอกหลกั การ ๑. ทบทวนความรูเ้ ก่ียวกบั
เคล่อื นไหว
หลกั การประดษิ ฐ์ ทา่ ทาง ความรไู้ ปใช้
ประดิษฐ์ทา่ ทางการ การเคลอ่ื นไหวอย่กู บั ทแี่ ละ
ท่สี ะท้อน การเคลอื่ นไหวอยา่ งมี


เคลอื่ นไหวอยา่ งมี เคล่ือนท่ี

อารมณข์ อง รปู แบบประกอบเพลง

รูปแบบประกอบ ๒. อา่ น และร้องเพลงเกย่ี ว
ตนเองอยา่ ง เก่ยี วกับส่งิ แวดล้อม

เพลง
กบั สิง่ แวดลอ้ มพรอ้ มท้ังบอก
อิสระ
ผ้เู รียนทำอะไรได

๒. การประดิษฐ์ ความหมายของเนื้อรอ้ ง


ประดิษฐ์ท่าทางการ
ท่าทางการ ๓. นำความรเู้ รอ่ื งราวการ

เคลอ่ื นไหวอย่างมีรปู แบบ


เคลอ่ื นไหวอย่างมี เคลื่อนไหวรา่ งกายมา

ประกอบเพลงเกยี่ วกับ

รูปแบบประกอบ ประยุกตใ์ ช้กับเพลงเกยี่ วกบั

สิ่งแวดลอ้ ม

เพลงเก่ียวกับ
สงิ่ แวดล้อม โดยรว่ มกนั คิด



สงิ่ แวดล้อม
ประดษิ ฐท์ า่ ทางการ




เคล่อื นไหวใหส้ อดคลอ้ ง




และส่อื ถึงอารมณ์ความหมาย




ของเพลง จากนนั้ ร่วมกัน





ฝึกและแสดง พร้อมทง้ั ช่ืนชม




กนั และกัน





๔. ร่วมกันสรปุ ความร้เู ร่ือง




หลกั การประดษิ ฐท์ ่าทาง





การเคล่อื นไหวอยา่ งมรี ูปแบบ




ประกอบเพลงเก่ียวกับ





ส่ิงแวดล้อม







๓. แสดงท่าทาง ผู้เรียนรอู้ ะไร
๑. ทักษะ

๑. บอกหลักและ ๑. ศกึ ษานาฏยศัพทส์ ว่ นลำคอ
เพ่ือสอื่
หลักและวิธกี ารปฏิบตั ิ การเปรยี บ วธิ ีการปฏิบตั

และภาษาทา่ ทใ่ี ช้ส่อื

ความหมาย นาฏศลิ ปโ์ ดยการฝกึ ภาษาท่า เทียบ
นาฏศิลป์ ด้วยการใช
้ ความหมายแทนคำพูด และ
แทนคำพดู
สื่อความหมาย แทน ๒. ทักษะ
ภาษาทา่ สอ่ื ความ อากปั กิรยิ า


อากปั กิริยา และการฝกึ
การจำแนก

หมายแทน ๒. จำแนกประเภทของ


นาฏยศัพทใ์ นส่วนลำตัว
ประเภท
อากปั กิรยิ า และ นาฏยศพั ท์สว่ นลำคอ และ

ผู้เรียนทำอะไรได

การฝึกนาฏยศัพท์ ภาษาทา่ ทใี่ ชส้ ื่อความหมาย


บอกหลกั วธิ ีการปฏิบัต


ส่วนลำตัว
๓. เปรยี บเทยี บความแตกตา่ ง

และแสดงนาฏศลิ ปด์ ้วย
๒. แสดงภาษาท่า
ของนาฏยศัพท์และภาษาท่า

การใชภ้ าษาทา่ สอื่ ความ
สอ่ื ความหมายแทน

๔. ระบุส่ิงที่สงสยั ในการ

หมายแทนอากปั กิรยิ า

อากัปกิรยิ า
แสดงภาษาทา่ และนาฏยศัพท


และการฝกึ นาฏยศัพท


๓. แสดงทา่ ทาง


ส่วนลำตัว

นาฏศัพท์ส่วนลำตัว



36 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ พื่อพัฒนาทกั ษะการคิด ระดบั ประถมศกึ ษา

กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ

ตัวชี้วดั
ผ้เู รยี นรูอ้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทกั ษะการคิด
ชิ้นงาน/
แนวการจดั การเรียนร้

ภาระงาน
เพือ่ พัฒนาทกั ษะการคิด








๔. จดั ทำผงั

๕. ใช้วธิ ีการต่าง ๆ ให้เกดิ

มโนทศั น์ภาษาทา่ ความชัดเจน โดยยกตัวอย่าง



และนาฏยศัพท์ และสาธติ จนเกิดความเข้าใจ




ส่วนลำตวั
๖. อธบิ ายสงิ่ ทีค่ ลมุ เครอื ให้




กระจ่างชดั เจน โดยเน้น





ภาษาทา่ แทนอากปั กริ ิยา






และนาฏยศัพท์สว่ นลำคอ





๗. สรุปความรรู้ ่วมกนั โดย




การบอกหลกั และวธิ ีการ




ปฏบิ ตั ินาฏศิลปด์ ังกลา่ ว




พร้อมทัง้ จัดทำผงั มโนทัศน






ภาษาท่า และนาฏยศัพท์







๔. แสดงท่าทาง ผู้เรียนรอู้ ะไร
ทักษะการนำ การใชท้ ่านาฏยศพั ท
์ ๑. เกบ็ รวบรวมความรู้


ประกอบ การใชภ้ าษาทา่ และ

ความรู้ไปใช้
มาประกอบจงั หวะ
ในเรือ่ งหลักการใช้ภาษาท่า
จังหวะ อยา่ ง นาฏยศพั ท์ประกอบจังหวะ
พน้ื เมอื งอย่าง และนาฏยศพั ทป์ ระกอบจงั หวะ
สร้างสรรค์
สามารถแสดงออกได


สร้างสรรค์
อยา่ งสรา้ งสรรค์


อย่างสรา้ งสรรค์


๒. นำความร้ทู ร่ี วบรวมไดม้ า

ผ้เู รียนทำอะไรได


เช่อื มโยงกบั การชมการสาธติ

สร้างสรรคท์ ่าทางประกอบ



ภาษาท่าและนาฏยศพั ท



การเคลือ่ นไหวตามจงั หวะ


พร้อมทัง้ ฝกึ ปฏบิ ัติ


อย่างเหมาะสม


๓. ร่วมกันสรา้ งสรรค์ภาษาท่า





และนาฏยศพั ท์ประกอบ




จังหวะอย่างสรา้ งสรรค์ โดย




การฝึกให้พร้อมเพรียงกนั





๔. แสดงภาษาท่า และ





นาฏยศพั ทป์ ระกอบจงั หวะ




พร้อมทง้ั ช่นื ชมและ






ใหข้ อ้ เสนอแนะ





๕. สรปุ ความรู้เรอ่ื งหลักการ




ใชภ้ าษาท่า และนาฏยศัพท





ประกอบจงั หวะ




















แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูเ้ พ่ือพฒั นาทกั ษะการคดิ ระดับประถมศกึ ษา
37
กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ

ตัวชวี้ ดั
ผู้เรยี นรอู้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทกั ษะการคิด
ช้นิ งาน/
แนวการจดั การเรยี นร
ู้
ภาระงาน
เพ่อื พัฒนาทักษะการคิด


๕. ระบุมารยาท ผเู้ รียนรอู้ ะไร

ทกั ษะการนำ
๑. บอก

๑. ชมการแสดงนาฏศิลป


ในการชม
มารยาทในการชม

ความรู้ไปใช้
ข้อควรปฏิบตั ิและ จากวีดทิ ัศน์เพ่ือสงั เกต
การแสดง
การแสดง
ไมค่ วรปฏิบัตใิ นการ พฤตกิ รรมการเป็นผูช้ ม

ผู้เรยี นทำอะไรได
้ เข้าชมการแสดง
๒. สนทนาซักถามถึง
บอกและปฏิบัตมิ ารยาท

๒. ปฏิบัติตนเปน็
พฤติกรรมการชมการแสดง
ในการชมการแสดง
ผู้เข้าชมท่ีด
ี โดยรว่ มกนั วพิ ากษว์ จิ ารณ์
พฤตกิ รรมของผูท้ ่ีอยูข่ ้าง
เคยี งและผทู้ ่ีสังเกตเหน็

๓. นำขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการ
สังเกตมาเชือ่ มโยงกับ


ความร้ใู หม่ในเรอื่ งมารยาท

ในการชมการแสดงจากน้นั
ร่วมกันบอกขอ้ ปฏบิ ตั ิและ

ไม่ควรปฏบิ ัตใิ นการเข้าชม
การแสดง

๔. ใชค้ ำถามเพอ่ื กระตุ้น

ความคิดจนรบั รถู้ งึ ผลดี


ของการเปน็ ผูเ้ ข้าชมท่ีดี

จากน้นั ใหน้ ำความรูไ้ ปใช้
ปฏบิ ตั ิตนในการเปน็ ผูเ้ ข้าชม
การแสดงท่ีด

๕. ชื่นชมผทู้ ี่ปฏิบัตติ นเป็น

ผู้เขา้ ชมทีด่ ี และสรุปความรู้
เรอ่ื งมารยาทในการชม


การแสดง


38 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนร้เู พื่อพัฒนาทกั ษะการคดิ ระดับประถมศึกษา

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ

สาระท่ี ๓ นาฏศลิ ป์


มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า


ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทย
และสากล


ตวั ชีว้ ดั
ผเู้ รียนรอู้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทกั ษะการคิด
ชิ้นงาน/
แนวการจดั การเรียนรู้

ภาระงาน
เพ่อื พฒั นาทักษะการคดิ


๑. ระบแุ ละเลน่ ผ้เู รียนรู้อะไร
๑. ใช้ประสาทสัมผัสทง้ั ๕
๑. ทกั ษะการ ๑. จัดกลุ่มการ

สำรวจการละเลน่ พืน้ บ้าน
การละเลน่ ชอ่ื การละเลน่ พ้นื บ้านของ สังเกต
ละเลน่ พน้ื บ้าน แต่ละภาคจากภาพทใ่ี ห้ช่นื ชม

พ้ืนบา้ น
เด็กไทยแต่ละภาค พรอ้ ม ๒. ทักษะ
แตล่ ะภาค
๒. สังเกตความเหมือนและ

ท้ัง กฎ และกตกิ าการเลน่
การจดั กล่มุ
๒. แสดงการ
ความตา่ งของการละเลน่


ผู้เรียนทำอะไรได

ละเล่นพื้นบ้าน พืน้ บา้ นในแต่ละภาค


สงั เกต และจดั ทำผงั

แต่ละภาค
๓. ร่วมกนั ให้ขอ้ มูลในการ

มโนทศั นก์ ารละเล่นพน้ื บา้ น


สังเกตการละเลน่ พ้ืนบา้ น

ของแต่ละภาคพรอ้ มท้ัง

แต่ละภาค


บอกกฎ กติกาและร่วมการ

๔. จัดกลมุ่ การละเลน่ พืน้ บ้าน

ละเลน่ พืน้ บา้ นแตล่ ะภาค


แตล่ ะภาค





๕. แบง่ กลุ่มศกึ ษากตกิ า





การละเลน่ พนื้ บา้ นแต่ละภาค





๖. แต่ละกลุ่มฝกึ การละเลน่




พ้นื บา้ น





๗. ผลดั กันนำเสนอผลงาน





การละเลน่ พ้ืนบ้านแต่ละภาค




พรอ้ มทง้ั ชื่นชม และให





ขอ้ เสนอแนะ





๘. ร่วมกันสรปุ ความรูเ้ รอื่ ง




การจัดกลมุ่ การละเล่นพ้นื บา้ น





แตล่ ะภาค พร้อมทง้ั กฎ




กตกิ า และวธิ ีการละเลน่





พนื้ บา้ นนั้น ๆ
































แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เพอ่ื พัฒนาทกั ษะการคดิ ระดับประถมศกึ ษา
39
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ

ตัวชวี้ ัด
ผเู้ รยี นรู้อะไร/ทำอะไรได้
ทกั ษะการคดิ
ชิน้ งาน/
แนวการจัดการเรียนรู

ภาระงาน
เพือ่ พัฒนาทกั ษะการคิด


๒. เชอื่ มโยงส่ิงท่ี ผูเ้ รียนร้อู ะไร

ทักษะ

๑. แผนผังแสดง ๑. ทบทวนการละเลน่ พนื้ บา้ น
พบเห็นใน
ทม่ี า และลกั ษณะเดน่ ของ การเชอื่ มโยง
ลักษณะเดน่ ของ แต่ละภาค พรอ้ มทง้ั ชมการ
การละเล่น การละเลน่ พ้ืนบ้าน และ
การละเล่นพน้ื บา้ น
แสดงดังกล่าวและศกึ ษาทม่ี า
พนื้ บา้ นกับ
ลักษณะเด่นของการดำรง
และลักษณะเดน่ ของการแสดงพืน้ บา้ น แลว้
สง่ิ ทพ่ี บเหน็ ชวี ติ ของคนไทยในปจั จุบัน

ของการดำรงชวี ติ
จำแนกสิง่ ท่ีพบเหน็ หรอื
ในการ
ผ้เู รียนทำอะไรได

ของคนไทยใน ลกั ษณะเดน่ ออกเปน็ ประเดน็
ดำรงชีวติ
จำแนกและเชอ่ื มโยง


ปจั จบุ ัน
ต่าง ๆ โดยบนั ทึกไว้ใน

ของคนไทย
ลกั ษณะเด่นของการละเลน่
๒. แสดงการ
รปู แบบของผังมโนทศั น์



พ้ืนบ้านและลักษณะเด่น
ละเล่นพ้ืนบา้ น

เพ่อื เก็บรวบรวมไว้เป็นข้อมลู


ของการดำรงชีวติ ของคน

๒. สนทนาถงึ เหตุการณ์และ

ไทยในปัจจบุ นั พรอ้ มทงั้


สิง่ ทีพ่ บเห็นในการดำรงชวี ติ


แสดงการละเล่นพ้ืนบา้ น

ของคนไทยในปัจจุบัน


รว่ มกัน


จากนน้ั นำข้อมลู จากสงิ่ ที่




พบเหน็ ในการละเลน่ พนื้ บา้ น




มาเชอ่ื มโยงกบั สิ่งท่พี บเห็น





ในการดำรงชวี ติ ของคนไทย




ในปัจจุบนั โดยชว่ ยกันวิเคราะห





และเปรยี บเทยี บถึงความ





แตกต่าง หรือความสอดคล้อง




ของสง่ิ ที่พบเห็นนนั้ ๆ แลว้




เขียนแผนผงั ความเชอ่ื มโยง




สอดคล้องและความแตกตา่ ง




กนั ของสิง่ ท่พี บเห็นจาก





การละเลน่ พ้นื บา้ น และ






การดำรงชีวติ ของคนไทย






ในปัจจบุ ัน





๓. ร่วมกันแสดงการละเลน่




พน้ื บ้าน





๔. ร่วมกันหาแนวทางอนรุ ักษ์




การละเลน่ พน้ื บา้ น และการ




สร้างสรรคก์ ารดำรงชวี ติ ของ




คนไทยในปจั จบุ นั




















40 แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพื่อพฒั นาทักษะการคิด ระดับประถมศึกษา

กล่มุ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ

ตัวชวี้ ดั
ผู้เรียนรอู้ ะไร/ทำอะไรได้
ทกั ษะการคดิ
ชิน้ งาน/
แนวการจัดการเรยี นรู

ภาระงาน
เพ่อื พัฒนาทกั ษะการคดิ


๓. ระบสุ ง่ิ ท

ี ผเู้ รยี นรู้อะไร

ทักษะ
๑. บอกคุณค่า ๑. สังเกตการละเลน่ พนื้ บา้ น
ช่นื ชอบและ
คุณค่าและประโยชน์

การระบุ
และประโยชน
์ แต่ละภาคจากนัน้ กำหนดให้
ภาคภูมิใจ

ของการละเล่นพน้ื บ้าน
การละเล่นพนื้ บา้ น
ทกุ คนระบุส่งิ ทีช่ ่นื ชอบและ
ในการละเลน่
ผเู้ รยี นทำอะไรได
้ ๒. ระบุ สิ่งท
่ี
ภาคภูมใิ จในการละเล่น

พนื้ บา้ น
บอกคุณค่า และ ชนื่ ชอบและ

พื้นบา้ นออกมาเปน็ ประเดน็

ประโยชนข์ องการละเล่น ภาคภูมใิ จในการ

พร้อมท้ังเหตผุ ลทีส่ อดรบั
พ้ืนบ้านรวมทงั้ ระบสุ ิง่ ท
ี่ ละเล่นพ้ืนบา้ น
แลว้ จบั คู่กับเพือ่ น เพอ่ื แลก
ชน่ื ชอบและภาคภูมใิ จในการ ๓. แสดงการ
เปลี่ยนความคดิ เห็นซึ่งกัน
ละเลน่ ดงั กลา่ วพรอ้ มท้งั ละเล่นพ้ืนบา้ น
และกัน

จดั การละเลน่ พื้นบา้ น
๒. เช่อื มโยงความรู้จาก

การสังเกตกับประสบการณ์

๓. รว่ มกันบอกความ

ภาคภมู ใิ จในคุณคา่ และ
ประโยชนข์ องการละเลน่

พ้ืนบา้ น

๔. นำเสนอผลงานการแสดง

การละเล่นพน้ื บา้ น


แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนร้เู พ่ือพัฒนาทกั ษะการคดิ ระดบั ประถมศกึ ษา
41
กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ


Click to View FlipBook Version