The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

Farm_Management

Farm_Management

แบบ มคอ. ๓

รายละเอยี ดของรายวชิ า
ชือสถาบนั อุดมศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลาํ ปาง
วทิ ยาเขต/คณะ/ภาควชิ า คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์

๑. ชือและรหสั รายวชิ า หมวดที ๑ ข้อมูลทวั ไป
วชิ า ๕๐๐๒๑๐๙ ชือวชิ า การจดั การฟาร์ม (Farm Management)

๒. จํานวนหน่วยกติ
๓ หน่วยกติ

๓. หลกั สูตรทเี ปิ ดการสอนรายวชิ านี
วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์

๔. อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบรายวชิ า
อาจารย์ ปิ ยะรัตน์ ทองธานี

๕. ภาคการศึกษา / ชันปี ทเี รียน
ภาคการศึกษาที ๑/ ชนั ปี ที ๒

๖. วชิ าบังคบั ก่อนสําหรับรายวชิ านี
ไม่มี

๗. วชิ าทตี ้องเรียนร่วมกบั รายวชิ านี
ไม่มี

๘. สถานทเี รียนถ้าไม่เปิ ดสอนในทตี ังหลกั ของสถาบนั
ไม่มี

๙. วนั ทจี ัดทาํ ข้อกาํ หนดจําเพาะของรายวชิ า หรือวนั ทที บทวนล่าสุด
๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๒



แบบ มคอ. ๓

หมวดที ๒ จุดมุ่งหมายและวตั ถุประสงค์
๑. จุดมุ่งหมายของรายวชิ า

เพือใหน้ กั ศึกษามีความรู้ความเขา้ ใจเกียวกบั ความสาํ คญั ของระบบการจดั การฟาร์มประเภท
ของฟาร์ม รวมทงั การจดั การโดยใชห้ ลกั เศรษฐศาสตร์ สามารถนาํ ความรู้ทีไดร้ ับไปปรับใชใ้ นธุรกิจ
ฟาร์มและสามารถถ่ายทอดความรู้ใหก้ บั ผอู้ ืนได้

๒. วตั ถุประสงค์ในการพฒั นา/ปรับปรุงรายวชิ า
๑. เพือใหน้ กั ศึกษาไดร้ ู้และเขา้ ใจในหลกั และระบบการทาํ ฟาร์ม
๒. เพอื ใหน้ กั ศึกษาไดศ้ ึกษาและคน้ ควา้ หลกั เศรษฐศาสตร์ในการทาํ ฟาร์ม
๓. เพอื ใหน้ กั ศึกษาสามารถนาํ ความรู้ในการจดั การฟาร์มไปประกอบอาชีพการจดั การฟาร์มได้

หมวดที ๓ ลกั ษณะการดําเนินการ
๑. คําอธิบายรายวชิ า

Farm Management สภาวการณ์ทาํ ฟาร์มในประเทศไทย ประเภทของฟาร์ม การนาํ หลกั การ
จดั การและหลกั เศรษฐศาสตร์มาใชป้ ระโยชนใ์ นการทาํ ฟาร์ม หลกั พิจารณาในการจดั การฟาร์ม ไดแ้ ก่
การเช่า การซือฟาร์ม การใชเ้ ครดิต การทาํ บญั ชี การวดั ผลสาํ เร็จในการทาํ ฟาร์มและปัญหาต่าง ๆ ที
เกียวกบั การจดั การฟาร์ม

๒. จํานวนชัวโมงทใี ช้ต่อภาคการศึกษา

บรรยาย สอนเสริม การฝึ กปฏิบัติ/งาน การศึกษาด้วยตนเอง
๓๐ ชวั โมง ภาคสนาม/การฝึ กงาน
ตามความตอ้ งการ ศึกษาดว้ ยตนเอง
เฉพาะบุคคล ๓๐ ชวั โมง 3 ชวั โมงต่อสปั ดาห์
ต่อภาคการศึกษา

๓. จํานวนชัวโมงต่อสัปดาห์ทอี าจารย์ให้คาํ ปรึกษาและแนะนําทางวชิ าการแก่นักศึกษาเป็ นรายบุคคล
๒ ชวั โมงต่อสปั ดาห์ (วนั พธุ หรือพฤหสั บดี ตงั แต่เวลา ๑๔.๐๐ – ๑๖.๐๐ น.)



แบบ มคอ. ๓

หมวดที ๔ การพฒั นาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
๑. คุณธรรมจริยธรรม

๑.๑ คุณธรรม จริยธรรมทตี ้องพฒั นา
- มีวนิ ยั การตรงต่อเวลาและรับผดิ ชอบต่อหนา้ ที
- มีความชือสตั ย์ สุจริต
- เคารพสิทธิ และรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ืน
- การคาํ นึงถึงบุคคลอืน เห็นแก่ประโยชนส์ ่วนรวมมากกวา่ ประโยชนส์ ่วนตวั
- การประพฤติตนเป็ นคนดี มีศีลธรรม

๑.๒ วธิ ีการสอนทจี ะใช้พฒั นาการเรียนรู้
บรรยายสอดแทรกการอบรมสังสอนใหน้ กั ศึกษาในชวั โมงเรียน โดยยกตวั อยา่ งและใหน้ กั ศึกษา

ร่วมแสดงความคิดเห็น ผลดีและผลเสียของการปฏิบตั ิตนใหเ้ ป็นผทู้ ีมีคุณธรรม การตรงต่อเวลา หนา้ ที
และความรับผดิ ชอบทงั ต่อตนเองและสังคม โดยใหค้ าํ นึงถึงผอู้ ืน เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกวา่
ประโยชน์ส่วนตวั และประพฤติปฏิบตั ิตนเป็ นคนดีใหพ้ อ่ แม่ไดภ้ าคภมู ิใจ

๑.๓ วธิ ีการประเมินผล
- สงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ชนั เรียน การส่งงานทีไดร้ ับมอบหมาย
- สงั เกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงาน ความเอาใจใส่ในงานของนกั ศึกษาเป็นรายบุคคล
- ตรวจรายงานทีไดร้ ับมอบหมาย ทีศึกษาดว้ ยตวั เองและมีการอา้ งอิงเอกสารทีนาํ มาใชอ้ ยา่ ง
ถูกตอ้ งและเหมาะสม

๒. ความรู้
๒.๑ ความรู้ทตี ้องได้รับ
มีความรู้ความเขา้ ใจเกียวกบั ความสาํ คญั ของระบบการจดั การฟาร์ม ขอบเขตของการผลิตและ

ลกั ษณะการจดั รูปและส่วนประกอบของฟาร์มรวมทงั ปัจจยั การผลิตทีเกียวขอ้ งในทุกประเภทโดยเนน้
ทีการใชห้ ลกั การทางเศรษฐศาสตร์เขา้ มาช่วยในการตดั สินใจ

๒.๒ วธิ ีการสอน
- บรรยาย ประกอบ power point พร้อมยกตวั อยา่ ง
- ผสู้ อนสาธิตขนั ตอนปฏิบตั ิ
- ใหน้ กั ศึกษาฝึกปฏิบตั ิจริง
- ใหน้ กั ศึกษาไปคน้ ควา้ ขอ้ มูลและมานาํ เสนอเพอื แลกเปลียนความรู้หนา้ ชนั เรียน



แบบ มคอ. ๓

หมวดที ๔ การพฒั นาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา (ต่อ)
- ตงั คาํ ถามก่อนและหลงั การบรรยาย
- เปิ ดโอกาสใหน้ กั ศึกษาแสดงความคิดเห็น
- ใหน้ กั ศึกษาไปศึกษาดูงานในรายวชิ า และเขียนสรุปผลการศึกษาดูงานนอกสถานที
๒.๓ วธิ ีการประเมินผล
- ประเมินผลจากการตอบคาํ ถามโดยการซกั ถามเป็นรายบุคคล เพือประเมินความตงั ใจใน
ขณะฟังบรรยาย
- การส่งรายงาน และความครบถว้ ยของขอ้ มลู ทีนาํ เสนอหนา้ ชนั เรียน
- ประเมินงานภาคปฏิบตั ิการในแปลง
- ทดสอบยอ่ ย สอบกลางภาค และสอบปลายภาคเรียน
๓. ทกั ษะทางปัญญา
๓.๑ ทกั ษะทางปัญญาทตี ้องพฒั นา
- ดา้ นการอ่านและการคน้ ควา้ ขอ้ มูลความรู้จากตาํ รา สือสิงพิมพ์ อินเทอร์เน็ท
- ดา้ นการวเิ คราะห์สิงทีเรียนรู้และความสามารถในการนาํ มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั งานในภาคปฏิบตั ิ
- ดา้ นการสรุปเนือหาทีผา่ นการเรียนรู้ภายในหอ้ งเรียน
๓.๒ วธิ ีการสอน
- กาํ หนดหวั ขอ้ และใหน้ กั ศึกษาทาํ การสืบคน้ ขอ้ มูลแลว้ นาํ เสนอ
- เชือมโยงเนือหาในภาคบรรยายร่วมกบั การปฏิบตั ิจริงในแปลง
- ใหน้ กั ศึกษาฝึกสรุปเนือหาทีไดเ้ รียนรู้จากหอ้ งเรียน ใหก้ ระชบั และเขา้ ใจง่าย
๓.๓ วธิ ีการประเมิน
- การนาํ เสนอหนา้ ชนั เรียน
- ถาม-ตอบในระหวา่ งอยใู่ นชนั เรียนและการคาํ นวนโจทยต์ วั อยา่ ง
- ทดสอบยอ่ ย สอบกลางภาคและสอบปลายภาคเรียน
๔. ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ
๔.๑ ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบทตี ้องพฒั นา
- ความรับผดิ ชอบต่อตนเองและส่วนรวม
- ความสามารถในการทาํ งานร่วมกบั เป็ นกลุ่ม



แบบ มคอ. ๓

หมวดที ๔ การพฒั นาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา (ต่อ)
๔.๒ วธิ ีการสอน

- จดั กิจกรรมและแบ่งหนา้ ทีรับผดิ ชอบภายในกลุ่ม ทาํ ขอ้ ตกตลการทาํ งานร่วมกนั และนาํ
เสนอผลงาน

- จดั กิจกรรมกลุ่มและใหท้ ุกคนในกลุ่มแสดงความคิดเห็น
๔.๓ วธิ ีการประเมิน

- รูปแบบของการนาํ เสนองาน สังเกตพฤติกรรมการตอบขอ้ ซกั ถามของแต่ละคน
- นกั ศึกษาประเมินผลกิจกรรม ความพึงพอใจ ขอ้ ควรปรับปรุงเพือใหเ้ กิดการพฒั นาตนเอง
๕. ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การสือสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
๕.๑ ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การสือสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศทตี ้องพฒั นา
- การคาํ นวณตวั เลขอยา่ งถูกตอ้ งและสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ์ ชเ้ กียวกบั การคาํ นวณตวั เลข
และปัจจยั ทีอาจจะมีผลต่อการเปลียนแปลงของตวั เลข
- สามารถใชโ้ ปรแกรมสาํ เร็จรูปในการคาํ นวณตวั เลข
๕.๒ วธิ ีการสอน
- สอนเทคนิคการคาํ นวณตวั เลขอยา่ งง่ายเพอื ใหน้ กั ศึกษามองภาพไดช้ ดั เจน โดยเนน้ การสอน
เป็ นรายบุคคล
- ยกตวั อยา่ งและใหน้ กั ศึกษาแต่ละรายแสดงความคิดเห็น
- สอนการใชโ้ ปรแกรมและใหน้ กั ศึกษาทดลองคาํ นวณตวั เลขโดยการใชโ้ ปรแกรมสาํ เร็จรูป
๕.๓ วธิ การประเมินผล
- กาํ หนดโจทยต์ วั อยา่ งการคาํ นวณตวั เลขใหน้ กั ศึกษาคาํ นวณตวั เลขเพอื หาคาํ ตอบดว้ ยตนเอง
- กาํ หนดขอ้ มูลเชิงตวั เลขสถิติ การขายวตั ถุดิบทางการเกษตร และตวั เลขการผลิตทีป้ อนเขา้ สู่
ระบบอุตสาหกรรมในแต่ละปี แลว้ ใหน้ กั ศึกษาศึกษาแนวโนม้ ในอนาคต
- กาํ หนดโจทยต์ วั อยา่ งและใหน้ กั ศึกษาคิดคาํ นวณตวั เลขเพือหาคาํ ตอบโดยใชโ้ ปรแกรม
สาํ เร็จรูป



แบบ มคอ. ๓

หมวดที ๕ แผนการสอนและการประเมนิ ผล

๑. แผนการสอน

สัปดาห์ที หวั ข้อ/ จํานวน กจิ กรรมการเรียน ผู้สอน
๑-๒
บทที ๑ : การจัดการฟาร์ม ชัวโมง
- ความนาํ
- ความสาํ คญั ของการจดั การ ๖ - บรรยาย อ.ปิ ยะรัตน์

ฟาร์ม - ถาม ตอบ ทองธานี
- ความหมายของการจดั การ
ฟาร์ม - จดั กลุ่มแสดงความ
- ขอบเขตของการทาํ งานของ
คิดเห็น
ผจู้ ดั การฟาร์ม
- การจดั รูปและ - ใหน้ กั ศึกษาทาํ สมาธิ
ส่วนประกอบ
ก่อนการเรียน 10 นาที
ของฟาร์ม (Farm

Organization) อ.ปิ ยะรัตน์
ทองธานี
- การดาํ เนินงานฟาร์ม
- การจดั การฟาร์มนนั จะตอ้ ง
จดั การใครบา้ ง
- ลกั ษณะการทาํ ฟาร์มเมือ
เทียบกบั ธุรกิจดา้ นอืน
- ส่วนประกอบของฟาร์ม
- คณะฯมีการจดั สรร
งบประมาณใหม้ ีอุปกรณ์ดา้ น
การเรียนการสอนอยา่ ง
เพียงพอ
๓ บทที ๒ : ปัจจัยการผลติ และ ๓ - บรรยาย

- ถาม ตอบ


แบบ มคอ. ๓

๑. แผนการสอน

สัปดาห์ที หัวข้อ/ จํานวน กจิ กรรมการเรียน ผู้สอน
ชัวโมง
๓ - แรงงาน
(ต่อ) - ทุน - ใหน้ กั ศึกษาทาํ สมาธิ
ก่อนการเรียน 10 นาที
- การประกอบการ

(Enterpreneurship)

- คุณลกั ษณะของเกษตรกร

หรือผจู้ ดั การฟาร์มทีดี

- สิงจาํ เป็นทีทาํ ใหเ้ กษตร

ไดร้ ับความสาํ เร็จจากการ

ทาํ ฟาร์ม

๔ - ๕ บทที ๓ : กฎทาง ๖ - บรรยาย อ.ปิ ยะรัตน์
เศรษฐศาสตร์ทใี ช้ - ถาม ตอบ ทองธานี

ในการจัดการฟาร์ม - จดั กลุ่มแสดงความ

- ความนาํ คิดเห็น
- กฎผลไดล้ ดนอ้ ยถอยลง - เพิมทกั ษะการ
คํานวณโดยกําหนด
(Law of Diminishing โจทยก์ ารคาํ นวณแบบ
ตวั อยา่ ง
Returns)
- กฎการใชข้ องแทนกนั

(Law

of substitution)
การลงทุน
- กฎวา่ ดว้ ยค่าเสียโอกาส

(Principle of Opportunity

Cost or Equal-Marginal

Resturn Principle)
- หลกั การตดั สินใจในเรือง



แบบ มคอ. ๓

๑. แผนการสอน

สัปดาห์ที หวั ข้อ/ จํานวน กจิ กรรมการเรียน ผู้สอน
6 อ.ปิ ยะรัตน์
ชัวโมง ทองธานี
๗-๘
บทที ๔ : ปัจจัยทกี าํ หนด ๓ - บรรยาย อ.ปิ ยะรัตน์
ทองธานี
ประเภทของฟาร์มในท้องถนิ - ถาม ตอบ

ต่าง ๆ - จดั กลุ่มแสดงความ
- ความนาํ คิดเห็น

- ปัจจยั ทีกาํ หนดตน้ ทุนการ

ผลิตในทอ้ งถินต่าง ๆ

- ปัจจยั ทีกาํ หนดราคาผลิตผล

ในทอ้ งถินต่าง ๆ

บทที ๕ : การเช่าและการซือ ๖ - บรรยาย
ฟาร์ม - ถาม ตอบ

- ความนาํ - จดั กลุ่มแสดงความ
- ขอ้ ดีของการเช่าฟาร์ม คิดเห็น

- ขอ้ เสียของการเช่าฟาร์ม

- ลกั ษณะของการฟาร์มเช่า

ฟาร์มโดยทวั ๆ ไป

- ขอ้ ดีของการซือฟาร์ม

- การประเมินราคาฟาร์ม

๙ - ๑๐ บทที ๖ : การรวมกจิ การ ๖ - บรรยาย อ.ปิ ยะรัตน์
ฟาร์มเข้าด้วยกนั
- ความนาํ - ถาม ตอบ ทองธานี
- การผลิตเฉพาะอยา่ งและ
การผลิตหลายอยา่ ง - จดั กลุ่มแสดงความ

(Specialization and คิดเห็น

Diversification)



แบบ มคอ. ๓

๑. แผนการสอน

สัปดาห์ที หัวข้อ/ จํานวน กจิ กรรมการเรียน ผู้สอน
๙ ñ ๑๐
(ต่อ) ชัวโมง อ.ปิ ยะรัตน์
ทองธานี
๑๑ - ขอ้ ดีของการผลิตเฉพาะ

อยา่ ง

- ขอ้ ดีของการผลิตหลาย

อยา่ ง

- ลกั ษณะความสัมพนั ธ์ของ

กิจการต่าง ๆ ในฟาร์ม

- หลกั การรวมกิจการฟาร์ม

เขา้ ดว้ ยกนั

บทที ๗ : การบนั ทกึ กจิ การ ๓ - บรรยาย
ฟาร์ม - ถาม ตอบ

- วตั ถุประสงค์ - จดั กลุ่มแสดงความ
- วธิ ีการบนั ทึกกิจการฟาร์ม คิดเห็น

- เวลาในการสาํ รวจทรัพยส์ ิน

ฟาร์ม

- วธิ ีการสาํ รวจทรัพยส์ ินและ

หนีสิน

- หลกั การในการคาํ นวณหา

ปริมาณผลผลิตคงเหลือ

- การประเมินราคาทรัพยส์ ิน

- การวเิ คราะห์การ

เปลียนแปลงของทรัพยส์ ิน



แบบ มคอ. ๓

๑. แผนการสอน

สัปดาห์ที หวั ข้อ/ จํานวน กจิ กรรมการเรียน ผู้สอน
๑๒ - ๑๓ ชัวโมง
บทที 8 : การวเิ คราะห์ธุรกจิ - บรรยาย อ.ปิ ยะรัตน์
๖ - ถาม ตอบ ทองธานี
- จดั กลุ่มแสดงความ
การทาํ ฟาร์ม คิดเห็น

- วเิ คราะห์การเปลียนแปลง

ของเงินทุน (Net Worth)

- วเิ คราะห์รายไดส้ ุทธิของ

ครอบครัวทีเป็ นเงินสด

- วดั จากรายไดส้ ุทธิของ

ฟาร์มทีเป็ นเงินสด

- วเิ คราะห์หาผลตอบแทน

จากการใชแ้ รงงานการ

จดั การของผจู้ ดั การ

- วเิ คราะห์หาเปอร์เซ็นตผ์ ล

ตอบแทนจากการลงทุน

- วเิ คราะห์ส่วนเหลียม

ทงั หมด (Gross

Margins)
- วเิ คราะห์หาจุดคุม้ ทุน

(Break Even Point)
- วเิ คราะห์ตน้ ทุนเฉลียต่อ

หน่วยของผลิตผล (ATC-

Average Total Cost)
- วเิ คราะห์รายไดเ้ พิม (MR)

และตน้ ทุนเพมิ (MC)

๑๐

แบบ มคอ. ๓

๑. แผนการสอน หัวข้อ/ จํานวน กจิ กรรมการเรียน ผู้สอน
สัปดาห์ที

ชัวโมง

๑๔ บทที ๙ : ปัจจัยทที าํ ให้ฟาร์ม ๓ - บรรยาย อ.ปิ ยะรัตน์
๑๕ - ๑๖ ได้กาํ ไรแตกต่างกนั
- ความนาํ - ถาม ตอบ ทองธานี
- ปัจจยั ทางธรรมชาติ
- ปัจจยั ทางเศรษฐกิจ - จดั กลุ่มแสดงความ
- ปัจจยั ดา้ นการจดั การหรือ
คิดเห็น
ปัจจยั ทีเกียวกบั ตวั เกษตร
กรของ ๖ - บรรยาย อ.ปิ ยะรัตน์
- ปัจจยั ดา้ นสถาบนั ทีเกียวขอ้ ง
- ถาม ตอบ ทองธานี
บทที ๑๐ : สินเชือเพอื การ
จัดการฟาร์ม - จดั กลุ่มแสดงความ
- ความหมายของสินเชือ
- ประเภทของสินเชือ คิดเห็น
- แหล่งสินเชือแบ่งออกเป็ น 2
แหล่ง
- ธนาคารเพอื การเกษตรและ

สหกรณ์การเกษตร
- การใหบ้ ริการสินเชือการ

เกษตร ของเกษตรกรจาก
แหล่งต่าง ๆ
- เกษตรกรจะเตรียมการ
อยา่ งไรในการขอกเู้ งิน

๑๑

๑. แผนการสอน แบบ มคอ. ๓
ผู้สอน
สัปดาห์ที หวั ข้อ/ จํานวน กจิ กรรมการเรียน

ชัวโมง

๑๕ - ๑๖ - ขอ้ ความพิจารณาของ

(ต่อ) เกษตร

ในการกยู้ มื เงินหรือให้

สินเชือ

- หลกั ในการขยายปริมาณ

เงินกขู้ องเกษตร

- ปัญหาสินเชือเพือการทาํ

ฟาร์ม

๑๒

แบบ มคอ. ๓

๒. แผนการประเมินผลการเรียนรู้

กจิ กรรมที ผลการเรียนรู้ วธิ ีการประเมิน สัปดาห์ที สั ดส่ วนของการ
๑. การสอน ประเมิน ประเมิน
๑.๑ - บรรยายตาม ทุกสปั ดาห์ ๗๐%
๒. การมอบ ๒.๑ ๒.๒ ตาํ ราและถาม ทุกสัปดาห์ ๑๐%
หมายงาน ๓.๑ ตอบ และทาํ ๑, ๔, ๖, ๑๐, ๑๒
๕.๑ แบบทดสอบ ๘ ๓๐%
๓. การมีความ สอบทา้ ยบท ๑๗ ๓๐%
รับผดิ ชอบ ๑.๔ - สอบกลางภาค ๒๐%
๒.๓ ๒.๔ - สอบปลายภาค ทุกสปั ดาห์ ๑๐%
๓.๒ ๓.๓ - การส่งรายงาน ๕%
๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ การปฏิบตั ิงาน
๕.๒ - งานในภาค ๕%
ปฏิบตั ิ
๑.๒ ๑.๓ - การส่งรายงาน ๑๐%
การศึกษาดูงาน
นอกสถานที
- การเขา้ ชนั
เรียน

๑๓

แบบ มคอ. ๓

หมวดที ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
๑. ตาํ ราและเอกสารหลกั

เกษม พิพฒั นป์ ัญญานุกลู และธีรวฒั น์ สมสิริกาญจนคุณ. การวางแผนและควบคุมการผลติ .
ประกอบเมไตร. กรุงเทพมหานคร. ๒๕๔๐

ไพบูลย์ สุวรรณโพธิศรี. การวางแผนและควบคุมธุรกจิ อุตสาหกรรม. กรุงเทพมหานคร. ๒๕๒๕
ฉตั ร ชาํ ชอง. หลกั การจัดการฟาร์ม. ไอเดียนสโตส. กรุงเทพมหานคร. ๒๕๒๖
๒. เอกสารและข้อมูลสําคญั
- ไม่มี
๓. เอกสารและข้อมูลแนะนํา
- เวปไซตร์ ะบบการจดั การฟาร์ม
- เวปไซตส์ ถิติ การส่งออก และกานาํ เขา้ สินคา้ และวตั ถุดิบ
- เวปไซตห์ อ้ งสมุดความรู้เกษตร มหาวทิ ยาลยั แม่โจ้

หมวดที ๗ การประเมินและปรับปรุงการดาํ เนินการของรายวชิ า
๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวชิ าโดยนักศึกษา

กิจกรรมทีจะนาํ ไปสู่การประเมินประสิทธิภาพของรายวชิ าโดยนกั ศึกษา มีดงั ต่อไปนี
๑.๑ การสนทนาแลกเปลียนระหวา่ งผเู้ รียนและอาจารยผ์ สู้ อนเกียวกบั เนือหาวชิ า สิงทีควร

จะแกไ้ ขปรับปรุงหรือพฒั นา
๑.๒ ใหน้ กั ศึกษาประเมินผสู้ อนเพือนาํ มาปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไปเพือนาํ มาปรับปรุง
๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน
การประเมินการสอนดาํ เนินการโดย
๒.๑ ตรวจรายงานของนกั ศึกษา
๒.๒ ประเมินการปฏิบตั ิงานของนกั ศึกษา
๒.๓ ประเมินจากผลการสอบของนกั ศึกษา
๒.๔ ทดสอบความรู้ภาคทฤษฎีโดยใชแ้ บบทดสอบ

๑๔

แบบ มคอ. ๓

๓. การปรับปรุงการสอน
พิจารณาจากผลประเมินผสู้ อนโดยนกั ศึกษาในรายวชิ า แลว้ นาํ ขอ้ เสนอแนะหรือขอ้ บกพร่อง

เหล่านนั มาปรับปรุงกลยทุ ธ์ทงั ดา้ นเนือหา วธิ ีการนาํ เสนอ การจดั กิจกรรมระหวา่ งเรียน ระดมความ
คิดเห็นจากคณะกรรมการในสาขาวชิ า และจดั ทาํ วจิ ยั ในชนั เรียน
๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิรายวชิ าของนักศึกษา

๔.๑ การทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน
๔.๒ การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนกั ศึกษาโดยอาจารยท์ ่านอืน
๔.๓ การทวนสอบการวดั ผลการสอบโดยผทู้ รงคุณวฒุ ิหรือคณะกรรมการในสาขาวชิ า
๕. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวชิ า

จากผลการประเมินในขอ้ ๑ และ ๒ มีการวางแผนปรับปรุงคุณภาพการสอนและรายละเอียด
ของรายวชิ า ดงั นี

๕.๑ ปรับปรุงเนือหาวชิ าตามขอ้ เสนอแนะของนกั ศึกษา รูปแบบการสอน กิจกรรมเพิมเติม
๔.๒ ปรับปรุงแบบทดสอบการเรียนรู้ของนกั ศึกษาอยา่ งเป็นระบบขนั ตอน ใหส้ ามารถวดั

ผลสัมฤทธิทางการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ


Click to View FlipBook Version