The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการฟาร์มให้ประสบผลสำเร็จ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การจัดการฟาร์มให้ประสบผลสำเร็จ

การจัดการฟาร์มให้ประสบผลสำเร็จ

1

แนวคดิ ด้านการบริหารและจัดการฟาร์มเพอื่ ความสาเร็จ
สาราญ สะรุโณ
นกั วชิ าการเกษตรชานาญการพเิ ศษ (ระบบเกษตร)

ผอู้ านวยการกลุ่มวจิ ยั และพฒั นา ศูนยว์ จิ ยั และพฒั นาการเกษตรพทั ลุง
สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเตตท่๘ กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

e-mail :[email protected] , www.samrancom.com

การจดั การฟาร์มในรูปแบบด้งั เดิมใหค้ วามสาคญั กบั การจดั การปัจจยั การผลิตท่เนน้ ความสาเร็จในเชิงธุรกิจ
หรือกาไรสูงสุดเป็นสาคญั แต่ในสถานการณ์ปัจจุบนั และแนวโนม้ อนาคตผทู้ าฟาร์มจาเป็นตอ้ งมความ
รับผดิ ชอบต่อสงั คมมากต้ึน แนวคิดตองการจดั การฟาร์มจึงควรปรับเปล่ยนไปในทิศทางท่ทาใหเ้ กิด
ความสาเร็จท้งั ในเชิงเศรษฐกิจ เป็นผลดต่อสงั คม และรักษาส่ิงแวดลอ้ ม

การบริหารฟาร์มแบบองค์รวม
(Holistic farm Management)
เป็ นการตับเคลื่อนการจัดการทรัพยากร
ภา ย ใ น แ ล ะ ภ า ย น อ ก ใ น ก า ร ท า ฟ า ร์ ม โ ด ย
คานึงถึงระบบและความสัมพนั ธ์ตองปัจจยั
ต่างๆท้ังกายภาพ ชวภาพ เศรษฐกิจ และ
สังคม เพ่ือให้บรรลุเป้ าหมายท่วางไว้ต่อ
ตนเอง สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม

ภาพจาก : http://www.fao.org/DOCREP/003/Y1860E/y1860e03.htm

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เอกสารประกอบการบรรยาย การอบรม เกษตรกรรุ่นใหม่ ต้นั กลาง จดั โดยสานกั ส่งเสริมและพฒั นาการเกษตรเตตท่๕

2

3

แนวคิดทน่ี ่าสนใจในการบริหารจัดการฟาร์ม

John E. Ikerd : Extension Professor Co-coordinator, Sustainable Agricultural Systems Program
(http://web.missouri.edu/~ikerdj/)

๑. สร้างแนวคิดเกษตรยง่ั ยนื คือสาระควมสมบูรณ์ตองมนุษย์
๒. การเกษตรแนวใหม่คานึงถึงหลกั ๓ ประการ คือ ความเป็ นไปไดท้ างเศรษฐกิจ ความรับผดิ ชอบต่อ

สงั คม และความมนั่ คงตองระบบนิเวศน์

๓. คิดใหมใ่ นการบริหารจดั การองคร์ วมตองฟาร์ม เพ่ือนาไปสู่เพอ่ื นาไปสู่ความเตม้ แตง็ ท่ามกลาง
ความหลากหลาย

๔. แสวงหาความกระจ่างในส่ิงท่ตนเองสนใจ และทาใหด้ ท่สุด

๕. สร้างพลงั ความสามารถใหบ้ ุคคล
๖. เป้ าหมายการเพม่ิ คุณภาพชวิต
๗. เป้ าหมายอยทู่ ่คุณค่า ความพอใจ มากกวา่ ราคา
๘. ทางานอาศยั ฐานการใชค้ วามรู้ คิดและปรับปรุงอยเู่ สมอ
๙. การเกษตรแบบครอบครัว ดาเนินการผลิตไดด้ ว้ ยตนเอง
๑๐. ทาเกษตรทางเลือกมความหลากหลาย เกษตรอินทรย์ เกษตรตน้ ทุนต่า เกษตรชวภาพ
๑๑. การเกษตรจะมุ่งทาเงินอยา่ งเดยวไมพ่ อตอ้ งดูแลพ้ืนท่และคนอื่นดว้ ย

๑๒. ใชช้ ่องทางการตลาดท่ตนเองเตา้ ถึง เช่นตายตรงผบู้ ริโภค
๑๓.ใหค้ วามสนใจการวเิ คราะห์จดั การทรัพยากรโดยรวม (Holistic Resource Management) เพม่ิ ต้ึน

จากการวเิ คราะห์หรือจดั การแบบเดิม ท่เคยดาเนินการอยเู่ ช่น การวิเคราะห์กิจการ (Enterprise
analysis) การวเิ คราะห์ผลตอบแทนสูงสุด (maximum yield , maximum profits) หรือวเิ คราะห์
การจดั การท่ดิน แรงงาน ทุน การจดั การ
๑๔.เชื่อมคน ดว้ ยวตั ถุประสงคแ์ ละสถานท่
๑๕.ทางานกบั ชุมชน ร่วมกาหนดวสิ ยั ทศั น์ ร่วมกาหนดความคาดหวงั
๑๖. ใหเ้ กิดความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคล
๑๗.สร้างพลงั การผลิตใหต้ นเอง พร้อมกบั สนใจเพ่ือนบา้ นและชุมชน
๑๘.ทางานกบั ธรรมชาติ
๑๙. จุดเนน้ คือการส่งเสริมในสิ่งท่เกษตรกรสามารถทาไดด้ ท่สุด
๒๐.ไมย่ ดึ รูปแบบท่ตายตวั

4

การบริหารและจัดการฟาร์มแบบองค์รวม (Holistic farm Management)
เพอ่ื ความยง่ั ยนื ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง

“๔ เสาหลักสูค่ วามพอเพียง”

เทคนิคการนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยง มาประยกุ ตใ์ ชเ้ พ่ือการปลูกพชื และดารงชพ

ในหลวงสอนวา่

เศรษฐกจิ พอเพยี ง/๑ แปลเป็นภาษาองั กฤษวา่ sufficiency economy
หมายความวา่ ประหยดั แตไ่ ม่ใช่ต้เหนยว
ทาอะไร ดว้ ยความอะลุม้ อล่วยกนั ทาอะไรดว้ ยเหตุและผล
จะเป็นเศรษฐกิจพอเพยงแลว้ ทุกคนจะมความสุต

เศรษฐกจิ พอเพยี ง/๒ ตอย้าวา่ เป็ นการท้งั เศรษฐกจิ หรือ ความประพฤติ
ท่ทาอะไรเพื่อใหเ้ กิดผลโดยมเหตุและผล คือ ถา้ ทาเหตุท่ด สิ่งท่ติดตามเหตุ
ก็จะเป็ นการกระทาท่ดและผลตองการกระทาท่ด
ดแปลวา่ มประสิทธิผล ดแปลวา่ มประโยชน์ ดแปลวา่ ทาใหม้ ความสุต

เศรษฐกจิ พอเพยี ง/๒ ท่กา้ วหนา้ ไม่ใช่เพยงแตป่ ลูกพอกิน
มนั ตอ้ งมพอท่จะต้งั โรงเรยน แมแ้ ตศ่ ิลปะเกิดต้ึน
ถือวา่ ประเทศไทยเจริญในทุกทาง ไม่หิว มกิน คือไมจ่ น มกิน มอาหารใจ

เข้าใจ เข้าถงึ พฒั นา
/๑พระบรมราโชวาทพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวภูมิพลอดลุ ยเดช : ๔ ธันวาคม ๒๕๔๓

5

/๒พระบรมราโชวาทพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวภมู ิพลอดลุ ยเดช : ๔ ธันวาคม ๒๕๔๖

ความพอเพยี ง

 มคี วามพอประมาณ

หมายถึง ความพอดท่ไมน่ อ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบยดเบยนตนเอง

และผอู้ ่ืน เช่นการผลิตและการบริโภคท่อยใู่ นระดบั พอประมาณ

 ความมีเหตุผล

หมายถึง การตดั สินใจเก่ยวกบั ระดบั ตองความพอเพยงน้นั จะตอ้ งเป็ นไปอยา่ งม

เหตุผลโดยพจิ ารณาจากเหตุปัจจยั ท่เก่ยวตอ้ งตลอดจนคานึงถึงผลท่คาดวา่ จะเกิดต้ึนจากการกระทา

น้นั ๆ อยา่ งรอบคอบ

 การมภี ูมิค้มุ กนั

หมายถึงการเตรยมตวั ใหพ้ ร้อมรับผลกระทบและการเปล่ยนแปลงดา้ น

ตา่ งๆท่จะเกิดต้ึนโดยคานึงถึงความเป็นไปไดต้ องสถานการณ์ต่างๆ ท่

คาดวา่ จะเกิดต้ึนในอนาคตท้งั ใกลแ้ ละไกล

 มคี วามรู้ ความรอบรู้ เก่ยวกบั วชิ าการตา่ งๆ ท่เก่ยวตอ้ งอยา่ งรอบดา้ น

ความรอบคอบ ท่จะนาความรู้เหล่าน้นั มาพจิ ารณาใหเ้ ชื่อมโยงกนั ความ

ระมดั ระวงั ในต้นั ปฏิบตั ิ

 มคี ณุ ธรรม มความตระหนกั ในคุณธรรม มความซ่ือสัตยส์ ุจริต

มความอดทน มความเพยร

ใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชวิต

(ที่มา : โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง http://www.sufficiencyeconomy.org/index.php)

6

เพยี งพอ-พอเพียง

เพยี งพอ
หมายถึง พอมแค่ท่กะไว้ ตรงกบั คาภาษาองั กฤษวา่ enough เช่น โรงพยาบาลน้มหมอไม่
เพยงพอ คนไตจ้ ึงตอ้ งรอนานหลายชว่ั โมงกวา่ จะไดต้ รวจ. ครอบครัวตองเตาลาบากมากเพราะ
รายไดไ้ ม่เพยงพอกบั รายจา่ ย คาวา่ เพยงพอ อาจใชค้ าวา่ พอ แทนได้

พอเพยี ง
หมายถึง เตม็ ท่ตามตอ้ งการ ไมม่ ากไมน่ อ้ ยเกินไป ไมต่ าดแคลน ตรงกบั คาภาษาองั กฤษวา่
sufficient เช่น เศรษฐกิจพอเพยงตามแนวพระราชดาริ มหลกั การคือ รู้จกั พออย่พู อกิน และพอเพยงในทุก
เร่ือง. การชลประทานทาใหเ้ รือกสวนไร่นามน้าอยา่ งพอเพยง

สรุปกค็ ือ พอเพียง เน้นความพอดี ความไม่ขดั สน และไม่ฟ้ ุงเฟ้ อ แต่ เพียงพอ เน้นความจาเป็น หรือความ
ต้องมีตามระดับที่กาหนดไว้ตามความจาเป็ น

(ท่ีมา : ราชบัณฑิตยสถาน http://www.royin.go.th/)

7

“๔ เสาหลกั สู่ความพอเพยี ง”

 เป็นรูปแบบ (Model) ต้นั ตอน หรือ เป็นวธิ การปฏิบตั ิตน
 เป็นวธิ การประยกุ ตน์ ามธรรมตองปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยง

มาปฏิบตั ิใหเ้ ป็นรูปธรรม
 เหมาะสาหรับนามาใชป้ ฏิบตั ิให้ความพอเพยงในการผลิตพืช และ

การเกษตร ตองครัวเรือนเกษตรกร และชุมชนเกษตร
 สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั ทางาน และการดารงชพ ตองเยาวชน และ

ประชาชนทวั่ ไป

องค์ประกอบ ๔ เสาหลักสคู่ วามพอเพยี ง ประกอบดว้ ย
เสาหลกั ท่๑ “หวั ใจพอเพยง”
เสาหลกั ท่ ๒ “๙ พืชผสมผสานพอเพยง และเกษตรผสมผสานพอเพยง”
เสาหลกั ท่ ๓ “ภมู ิปัญญาภิวตั น์พอเพยง”
เสาหลกั ท่ ๔ “ดารงชพพอเพยง”

8

จุดเดน่ ของ 4 เสาหลกั สู่ความพอเพยี ง

 ยดึ ถือพระราชดาริ และคาสอนตองในหลวงเป็นตวั ต้งั
 เป็นการนาพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพยง มาผสมผสาน

กบั ความรู้ท่
นกั พฒั นานิยม ใชก้ นั อยู่ เช่น ความรู้เร่ืองสังคมเกษตร
การดารงชพอยา่ งยง่ั ยนื (Sustainable Livelihoods) วถิ
การเกษตรท่ยง่ั ยนื เช่น เกษตรอินทรย์ เกษตรทฤษฎใหม่ เกษตรดท่เหมาะสม(GAP) ระบบ
เกษตรผสมผสาน การวเิ คราะห์ระบบนิเวศน์เกษตร ระบบการทาฟาร์ม เป็ นตน้

 เป็นการพฒั นาแบบองคร์ วม ท่เนน้ ผลลพั ธ์ใหเ้ กิดความยง่ั ยนื ตามหลกั
เศรษฐกิจพอเพยงในประเดน็ สาคญั ๆ ไดแ้ ก่

 พฒั นาใหเ้ กิดความคิด พฤติกรรม และความเป็นผนู้ าการพฒั นา
 สร้างภมู ิปัญญาการผลิตพืชตองตนเองเพอ่ื ถ่ายทอดสู่ลูกหลานและ

เพ่ือนบา้ น

 สร้างความมน่ั คงดา้ นพืชพรรณ และความยงั่ ยนื ทรัพยากรธรรมชาติ
 การดารงชพพอเพยงในระดบั ครัวเรือน และสงั คมวฒั นธรรมชุมชน

 เป็ นการพฒั นาท่ใช้การมส่วนร่วมในการปฏิบตั ิงานร่วมกนั ตองคนในและนอกชุมชน ต้งั แต่
เริ่มตน้ จนถึงการประเมินผลการพฒั นา

9

เสาหลกั ท่ี๑ “หวั ใจพอเพยี ง”

ลกั ษณะคน/ชุมชน หวั ใจพอเพยี ง

 ดาเนินชีวติ ตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

 เป็นผทู้ ่มความระลึกอยใู่ นใจเสมอวา่ “จะเดิน
ตามคาสอนตองในหลวง”

 เป็ นผู้ รู้และเตา้ ใจเบ้ืองตน้ ว่า “ เศรษฐกิจพอเพยง ตอ้ งเร่ิมตน้ ท่ใจ” ดงั คาท่ว่า “ใจมา
ปัญญาเกิด”1 โดย เริ่มตน้ ท่ใจรัก และศรัทธา และมจิตใจต้งั มนั่ ท่จะน้อมนาคาสอนตาม
แนวพระราชดารัสฯมาใชใ้ นชวติ

 เป็นผู้ ไผศ่ ึกษาเรยนรู้พระราชดารัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยงใหล้ ึกซ้ึง

 เป็ นผู้เปิ ดใจกว้าง

 เปิ ดใจท่จะ พิจารณาเร่ืองต่างๆนบพ้ืนฐานตองการรักผูอ้ ่ืน มองเห็นและเตา้ ใจเช่นกนั ว่า
ผอู้ ื่นปฏิบตั ิตอ่ เราเพราะความรักหวงั ด

 เปิ ดใจท่จะ รับฟัง เรยนรู้ ความคิด และคาแนะนาอยา่ งปิ ติ
 เปิ ดใจท่จะ มความคิดแง่บวก เตา้ ใจและแยกแยะความจริงปัจจุบนั กบั เรื่องท่คิดสร้างภาพ

ในใจ
 เปิ ดใจท่จะ เตา้ ใจวา่ บุคคลยอ่ มมความแตกต่างกนั โดยธรรมชาติ จึงมองความเห็นแตกต่าง

อยา่ งบริสุทธ์ิ ดว้ ยความเมตตา ไมอ่ คติ และไมส่ รุปเร่ืองราวดว้ ยการทาใหต้ นเองอารมณ์เสย
 เปิ ดใจท่จะ กล้านากล้าทาในสิ่งท่ถูกท่ควร รับผิดชอบในบทบาทหน้าท่ มความมุ่งมนั่

ทุ่มเท และลงมือทาในกิจหนา้ ท่อยา่ งจริงจงั

10

“ใจมา ปัญญาเกิด”1 อาจารย์ เสรี พงศ์พิศ หนังสือ เศรษฐกิจพอเพียง

ข้นั ตอน กจิ กรรม การพฒั นาสร้าง “หัวใจพอเพยี ง”

๑. ประกาศความต้ังใจ ท่จะใช้ชวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยง ตามคาสอน ตองในหลวง เช่น
“เขียนบอกพ่อว่าขออย่อู ย่างพอเพียง” การเตยนดว้ ยตวั อกั ษร หรือภาพ ติดไวใ้ นท่พบเห็นบ่อยๆ จะ
ทาให้ได้เตือนตนและจดจา การบอกตนเองในช่วงก่อนนอน และตื่นนอนอยเู่ สมอช่วยให้จิตใต้
สานกั จดจาจนเป็นนิสยั

๒. ค้นหาคาสอนของในหลวง และ นามาใช้ ปฏบิ ตั ิ
“คาพ่อสอนใจนาชีวิตให้พอเพียง” “พ่อสอนเราจานาชีวิตพอเพียง” “ ๑ เดือน ๑ ถ้อยคา นาชีวิต
พอเพียง” นาพระราชดารัส มาปฏิบตั ิอยา่ งนอ้ ยเดือนละเรื่อง

๓. เสริมสร้างพัฒนาการตนเองเป็ นคนหัวใจพอเพียง (สร้างเอกลกั ษณ์หรืออตั ลกั ษณ์) โดยวิธการ
ต่างๆ เช่น
 พฒั นา
 พฒั นาทกั ษะความรู้ความสามารถในการประกอบอาชพ
 พฒั นาไร่นา สถานท่ ใหเ้ ป็นแปลงตวั อยา่ งเพ่ือการศึกษาดูงานแก่เพอื่ นบา้ น
 พฒั นาทกั ษะการเป็นผนู้ า และการเป็นวทิ ยากร
 ไปหาความรู้ ศึกษา ดูงาน อบรม ไปพบปะ เช่ือมโยงกบั ผนู้ า และกลุ่มเครือต่าย
 ร่วมกิจกรรม “เวทวิจยั สัญจร” คือร่วมหมุนเวยนไปเสวนาในไร่นาเพื่อนบ้านทุกเดือน
รวมท้งั การเสนอตวั เป็นเจา้ ภาพจดั กิจกรรมในไร่นาตนเอง
 เสริมสร้าง พฒั นาใหม้ วธิ คิดดๆ โดยการร่วมกิจกรรมกลุ่ม เช่น “คา่ ยคนรุ่นใหม่
หวั ใจพอเพยง” หรือกิจกรรมกลุ่มสมั พนั ธ์ และกิจกรรมทางศาสนา ในชุมชน
หรือกบั เครือต่าย
 แสดงตนเป็นตวั อยา่ ง หรือสร้างตราสัญลกั ษณ์ ตราสินคา้

11

 อาสา เป็นกรรมการ ตวั แทน ท้งั ในชุมชน และนอกชุมชน หรือโครงการตองรัฐ
 เผยแพร่ ผลงานตนเองในไร่นา หรือไปร่วมกบั ราชการนอกสถานท่ ไปเผยแพร่ในงาน

สาธารณะดว้ ยวิธการต่างๆเช่น ร่วมนิทรรศการ ผลิตเอกสาร แผน่ พบั สต๊ิกเกอร์ เผยแพร่วทิ ยุ
เผยแพร่ออนไลน์ในเวบ็ ไซท์ และเผยแพร่ส่ือมวลชน

ตวั อย่าง “ คาพ่อสอนใจ นาชีวติ ให้พอเพยี ง”

จะต้องเช่ือมนั่ และยืนหยดั ในเหตผุ ลและความดี ถ้าทกุ คนมีความมน่ั คงไม่หวน่ั ไหวตอ่
ความวิปริตผนั ผวนของสงั คม ช่วยกนั ปลกู ฝังความรู้ ความคิด ความมีเหตผุ ล ให้เกิดมี
ในอนชุ น สงั คมของเราก็จะเข้ารูปเข้ารอยดีขนึ ้ เป็นลาดบั

พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมิพลอดลุ ยเดช
๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๑๔

การสร้ างความสาเร็จในกิจการงานและชีวติ
ส่วนที่หนงึ่ คือ ความรู้และความชานาญทางวชิ าการ
สว่ นที่สอง คือความละเอียดถี่ถ้วน ความตงั้ ใจ และความอตุ สาหพยายาม
ส่วนท่ีสามนนั้ ได้แก่สติ ระลกึ รู้ตวั และปัญญาความรู้ชดั หรือความเฉลียวฉลาดที่จะ
หยดุ คดิ พจิ ารณา กิจที่จะทา คาท่ีจะพดู ทกุ อย่าง ให้เป็นไปโดยถกู ต้องเท่ียงตรง ตาม
กระบวนการของเหตผุ ล ซง่ึ จะชว่ ยให้ดาเนนิ ชีวิตและการงาน ไปในทางเจริญ

พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมิพลอดลุ ยเดช
๒๒ ธนั วาคม ๒๕๒๐

12

แตล่ ะคนมีความสามารถแตกตา่ งกนั จะต้องอาศยั ผ้อู ่ืนในส่ิงที่เราไมแ่ ตกฉาน เราไม่
ชานาญ ฉะนนั้ แตล่ ะคนย่อมต้องอาศยั คนอ่ืน ถ้าแต่ละคนอาศยั คนอ่ืนได้ ก็เป็นบญุ ของ
แต่ละคน เพราะอาศยั กนั ได้ ก็คือต้องเมตตาซง่ึ กนั และกนั ถ้าเมตตาซง่ึ กนั และกนั แล้ว
ส่งิ ที่เราต้องการก็ได้มาแล้ว คือความเอน็ ดขู องผ้อู ื่น เราเมตตาเขา เขาก็เมตตาเรา

พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ภูมิพลอดลุ ยเดช
๔ ธนั วาคม ๒๕๑๙

หลัก ๒๓ ข้อ ในการทรงงานของในหลวง

ข้อท่ี ๑ จาทาอะไรต้องศกึ ษาข้อมูลให้เป็นระบบ
ขอ้ ที่ ๒ ระเบิดจากภายใน (ใหเ้ กิดความเขา้ ใจและอยากทา)
ข้อที่ ๓ แก้ปัญหาจากจุดเล็ก (มองภาพรวมก่อนเสมอ)
ข้อท่ี ๔ ทาตามลาดับข้ัน (เรมิ่ ทาจากความจาเป็นกอ่ น แล้วค่อยต่อเปน็ ลาดับชั้น)
ขอ้ ที่ ๕ ภมู สิ งั คม ภูมศิ าสตร์ สังคมศาสตร์
ข้อที่ ๖ ไมต่ ิดตารา (ไม่ตดิ ตาราเกนิ ไป ต้องดคู วามเหมาะสม)
ข้อที่ ๗ ประหยัด
ข้อท่ี ๘ ทาให้ง่าย
ข้อที่ ๙ การมสี ่วนร่วม
ขอ้ ๑๐ ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวม
ข้อที่ ๑๑ บรกิ ารที่จุดเดียว
ขอ้ ที่ ๑๒ ใชธ้ รรมชาตชิ ว่ ยธรรมชาติ

13

ขอ้ ที่ ๑๓ ใช้อธรรมปราบอธรรม (เช่นเอาผักตบชวามากาจัดน้าเสีย)
ขอ้ ที่ ๑๔ ปลกู ป่าในใจคน (ต้องปลกู ท่จี ติ สานกึ ก่อน ต้องใหเ้ ห็นคุณค่ากอ่ นทีจ่ ะลงมือทา)
ข้อที่ ๑๕ ขาดทนุ คือกาไร (อย่ามองท่ีกาไรขาดทนุ ทเ่ี ป็นตัวเงินมากจนเกนิ ไป)
ขอ้ ที่ ๑๖ การพง่ึ ตนเอง
ขอ้ ท่ี ๑๗ พออย่พู อกนิ
ข้อที่ ๑๘ เศรษฐกจิ พอเพียง
ขอ้ ที่ ๑๙ ความซือ่ สัตย์สจุ ริต จริงใจตอ่ กัน
ข้อที่ ๒๐ ทางานอย่างมีความสุข
ขอ้ ท่ี ๒๑ ความเพียร
ขอ้ ท่ี ๒๒ รู้ รัก สามัคคี
ข้อที่ ๒๓ ทางานแบบองคร์ วม

เสาหลกั ท๒ี่ “๙พืชผสมผสานพอเพยี ง”

ลกั ษณะครัวเรือน ชุมชน “๙พชื ผสมผสานพอเพยี ง”

 มพชื หลากหลายเพยงพอต่อความตอ้ งการ และความจาเป็น

o เพยงพอในระดบั ครัวเรือน พอกินพอใช้ ครบทุกดา้ น

o เพยงพอระดบั ชุมชน ปลูกเผื่อแผ่เพ่ือนบา้ น ช่วยให้

เกิดวฒั นธรรมดงาม

o เพยงพอเพอื่ การอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

 ๙พชื ผสมผสาน คอื การปลูกพืช ๙ กลุ่ม ใหเ้ พยงพอกบั ครัวเรือน ชุมชน

(๑) พืชอาหาร ปลูกใหพ้ อกิน เหลือเผอ่ื เพื่อนบา้ น

(๒) พืชรายได้ ปลูกใหพ้ อตาย ปลูกหลายอยา่ ง คุม้ กนั ความเส่ยงดา้ นตลาด

(๓) พชื สมุนไพรสุตภาพ ปลูกใหเ้ ป็นตูย้ าประจาบา้ น บาบดั พ้ืนฐานและโรคประจาตวั

(๔) พชื สมุนไพรศตั รูพชื ปลูกเพ่อื ทดแทนการใชส้ ารเคมกาจดั ศตั รูพืช

(๕) พืชอนุรักษด์ ินและน้า ปลูกเพ่ือรักษาฟ้ื นฟู ดิน รักษาน้า

14

(๖) พืชอาหารสตั ว์ ปลูกไวเ้ สริมเสบยงคลงั อาหารสตั วส์ ารองตา้ งบา้ น

(๗) พืชใชส้ อย ปลูกไวใ้ ชส้ ร้างตนา ทาคา้ ง สร้างบา้ น

(๘) พืชอนุรักษพ์ นั ธุกรรมทอ้ งถ่ินพ้นื เมือง ปลูกเพอ่ื เอาตองดกลบั คืนมา และไวใ้ ห้

ลูกหลานไดห้ วงแหน

(๙) พชื พลงั งาน ปลูกไวพ้ ่ึงตนเองทางพลงั งานในอนาคตและปัจจุบนั

 จดั ระบบการปลูกแบบผสมผสานท่เหมาะสมกบั ตนเอง เช่น ปลูกแบบพืชต่างระดบั ปลูกแบบ

เกษตรทฤษฎใหม่ เกษตรดท่เหมาะสม และเกษตรอินทรย์ เป็นตน้

 สาหรับการนาไปใช้ในการเกษตรอื่นๆจะใช้คาว่า “9 พืชผสมผสานพอเพยงและเกษตร

ผสมผสานพอเพยง” หมายถึงการทาเกษตรหลายอยา่ งเช่น ปลูกพืช เล้ยงสัตว์ เล้ยงปลา เพาะเห็ด

เป็ นตน้

ข้นั ตอน กจิ กรรม การพฒั นาสร้าง “9 พชื ผสมผสานพอเพยง”

๑. ทาการสารวจพชื ตองครัวเรือนและชุมชน ท้งั ชนิดพืช พนั ธุ์ สภาพพ้นื ท่ปลูก จานวน และผลผลิต

๒. วเิ คราะห์ความพอเพยงตองพืช ความตอ้ ง การใชป้ ระโยชน์ และ ความพอเพยงตองพชื

๓. วางแผนการพฒั นาการปลูกพืชแบบผสมผสาน และเพิ่มชนิดพืช ให้เพยงพอต่อความตอ้ งการ

เหมาะสมกบั ครัวเรือน และชุมชน

๔. จดั หาพนั ธุ์พชื เพาะตยายพนั ธุ์พชื ในทอ้ งถ่ิน โดยประชาชนในทอ้ งถิ่น

๕. จดั ทาแปลงพฒั นาการปลูกพืชแบบผสมผสาน หรือพชื ต่างระดบั ท่เหมาะกบั สภาพพ้นื ท่

๖. จดั กิจกรรมส่งเสริมการปลูกพชื ตองชุมชน หรือร้ือฟ้ื นวฒั นธรรมเก่ยวกบั พชื

๗. เก็บตอ้ มูล ผลการปลูกพชื และประโยชน์ท่ไดร้ ับ

เสาหลักที่ ๓ “ภูมิปญั ญาภวิ ัตน์พอเพียง”

ลกั ษณะครัวเรือน ชุมชน “ภูมปิ ัญญาภิวตั น์พอเพยี ง”
 เป็นคนท่มหลกั การคิด มความเตา้ ใจและใชเ้ หตุใชผ้ ลใน
การพิจารณาเรื่องราวต่างๆ ท่ไดย้ นิ ไดฟ้ ังไดพ้ บเห็น ซ่ึง
เป็นภูมิคุม้ กนั ความเสยหายจากการเผยแพร่ต่าวสาร การ
โฆษณาชวนเช่ือท่เกิดต้ึนมากมายในยคุ โลกาภิวตั น์
 เป็นนกั วจิ ยั คือ มการสร้างภมู ิปัญญาท่เหมาะสมกบั ตนเอง มการคิดคน้ ภูมิปัญญาตองตนเอง เพื่อไว้
เผยแพร่ใหล้ ูกหลานสืบทอด และเพอ่ื นบา้ นใชป้ ระโยชน์ “๑ คน ๑ ภมู ิปัญญา นาพาชีวิตพอเพียง”

15

 เป็ นคนม “ภูมิปัญญาภิวตั น์พอเพยง” หมายถึง เตา้ ถึงความรู้และภูมิปัญญา สามารถผสมผสานเอา
ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาด้งั เดิมตองบรรพบุรุษ และองค์ความรู้ต่างๆท่มอยู่อย่างหลากหลาย
มากมายเตา้ ดว้ ยกนั ซ่ึงในยคุ โลกา-
ภิวตั น์จะง่ายตอ่ การติดตอ่ คน้ หาไดจ้ ากทวั่ โลกดว้ ยระบบส่ือสารท่ทนั สมยั

“ภูมิปัญญาภิวตั น์พอเพียง” พัฒนาคาตามการสร้างศพั ท์ “โลกาภิวตั น์”
ซ่ึง เป็นการสร้างคาตามหลักการสนธิคา ๒ คา คือ ภูมิปัญญา และ อภิวตั น์

อภิวตั น์ มีความหมาย การเข้าถึง, การแผ่ถึง, การเอาชนะ
(พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน)

ต้นั ตอน กิจกรรม การพฒั นา “ภูมปิ ัญญาภิวตั น์พอเพยี ง” ในการผลติ พชื
๑. วิเคราะห์ สถานการณ์ และ ปัญหา ในการผลิตพืชเศรษฐกิจหลกั ๆ หรือปัญหาในการทางาน หรือ
ความตอ้ งการ
๒. ศึกษา คน้ ควา้ หาตอ้ มูลท่เก่ยวตอ้ งกบั พืชหรืองานอยา่ งกวา้ งตวาง โดยรวบรวมภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน
ภูมิปัญญาผนู้ าชุมชน (Best practices) ภูมิปัญญาบุคคลตวั อยา่ ง บุคคลคน้ แบบท่ตนเองศรัทธา (Idol)
คน้ ควา้ จากหนงั สือเอกสาร จากระบบออนไลน์ ตลอดจนปรึกษาผรู้ ู้ และ ศึกษาดูงาน
๓. สังเคราะห์ความรู้ท่ไดม้ าจากแหล่งต่างๆ หรือเลือกจากตน้ แบบท่เหมาะสมกบั ตนเองแลว้ สรุป
คดั เลือกออกมาเป็นวธิ การปฏิบตั ิอยา่ งนอ้ ย ๑-๒ วธิ การ

16

๔. นาวธิ ใหม่ มาทดลองทาเปรยบเทยบกบั วิธปฏิบตั ิเดิม โดยทดลองตามหลกั วชิ าการท่ถูกตอ้ งตาม
หลกั วทิ ยาศาสตร์ ตวั อยา่ งเช่น ทดลองเปรยบเทยบวธิ การใส่ป๋ ุยยางพารา สูตรใหม่ กบั สูตรด้งั เดิม
มวธิ การ คือ
 หลักการเลือกสถานท่ทดลองท่มความสม่าเสมอ เช่น เลือกสวนยาง ๑ สวนท่ม
สภาพดิน ความลาดเท พนั ธุ์ อายุตน้ ยาง ความสมบูรณ์ตน้ ยาง เท่าๆกนั แลว้ แบ่ง
สวนยางเป็น ๒ แปลงยอ่ ย ใหม้ ตน้ ยางทดลองมากพอ ในการใส่ป๋ ุยสูตรละประมาณ
๓๐ ตน้
 หลักการควบคุมปัจจัยอื่นๆไม่ให้มผลกับการทดลอง คือ ปฏิบัติทุกอย่างให้
เหมือนกัน เช่น วิธการกรด วนั กรด การกาจดั วชั พืช คนปฏิบตั ิงาน ให้ต่างกนั
เฉพาะสูตรป๋ ุยท่ทดลองเทา่ น้นั

๕. ติดตามเกบ็ บนั ทึกตอ้ มลู ผลการทดลองอยา่ งละเอยดทุกดา้ น เป็นรายวนั รายสัปดาห์
๖. สรุปผล และทดลองซ้าประมาณ ๓-๔ รุ่น จนกวา่ ไดผ้ ลท่ยนื ยนั วา่ วธิ ไหนดกวา่ ชดั เจน
๗. สรุปเป็นบทเรยน ใหค้ ุณคา่ สร้างเป็นภูมิปัญญาใหม่ท่เหมาะสมกบั ตนเอง
๘. ถ่ายทอดสู่บุคคลอ่ืนเพ่อื สืบทอดและพฒั นาตอ่ ๆไป

เสาหลกั ท่ี ๔ “ดารงชพี พอเพยี ง”

ลกั ษณะครัวเรือน “ดารงชีพพอเพยี ง”
 เป็ นคน ท่มวิถชวิตสอดคล้องกบั หลักเศรษฐกิจ
พอเพยงในชวติ ประจาวนั
 ยดึ หลกั ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไต ไดแ้ ก่
o ความพอประมาณ
o ความมเหตุผล

17

o ความมภมู ิคุม้ กนั
o มความรอบรู้
o มหลกั คุณธรรม
ต้นั ตอน กิจกรรม การพฒั นา “ดารงชีพพอเพยี ง”
๑. วเิ คราะห์ระดบั ความพอเพยงในการดารงชพตามแนวเศรษฐกิจพอเพยงแต่ละดา้ น
๒. พฒั นารายการท่มระดบั นอ้ ยใหม้ ระดบั เพ่ิมต้ึน

รายการทตี่ รวจสอบและพฒั นาสร้างความพอเพยี งในการดารงชีพ
ความพอประมาณในการดารงชีพ
 ลดรายจ่าย เพม่ิ รายได้:
o วเิ คราะห์สมดุล รายได้ รายจ่าย เงินออม จากพชื
o หาวธิ ลดรายจา่ ย เพิ่มรายได้ และออมเงิน ท่เพยงพอ
 เพมิ่ ความมั่นคงทางอาหาร
o สารวจความตอ้ งการบริโภคตา้ ว พืชเครื่องแกง ผกั ผลไม้ และปลูกพชื
เพิ่มเติมใหเ้ พยงพอตลอดป
 เพม่ิ ระดับความเป็ นอยู่
o สารวจความพอเพยงตองการใชป้ ระโยชนจ์ ากพชื ท้งั ดา้ นปัจจยั ๔ และ
ความตอ้ งการดา้ นอื่นๆ
o สร้างความอบอุ่นในครอบครัวโดยจดั ใหท้ ุกคนมส่วนร่วมในกิจกรรมการ
ปลูกพชื ตองครอบครัว
o ช่วยเหลือ เอ้ืออาทร แบ่งปัน ใหค้ าปรึกษาการปลูกพชื กบั เพ่อื นบา้ น
o อาสา ร่วมมือ ช่วยฟ้ื นฟวู ฒั นธรรมดงาม กบั ชุมชน และหน่วยงานท้งั ใน
และนอกชุมชน

การสร้างความมเี หตุผล
ความรอบรู้รอบคอบระมดั ระวงั คุณธรรม และ ความเพยร

 การใช้เหตุใช้ผลในการตดั สินใจลงทุน หรือเลอื กซื้อหาปัจจัยการปลกู พชื
 การวางแผนก่อนทาการผลติ

o หาความรู้จากเอกสาร
o ดูงาน ตอคาปรึกษา
o หาปัญหาและวางแผนป้ องกนั ปัญหา

18

o ศึกษาตลาด
o คานวณรายจา่ ยรายได้
 การตรวจสอบตดิ ตาม ขณะปลูกพชื หลงั ปลูกพชื
o ตรวจโรคแมลง
o ติดตามตอ้ มูลการตลาด
o บนั ทึกตอ้ มูลทุกสัปดาห์
o การทบทวนสรุปความรู้ท่ใชป้ ฏิบตั ิ
o การสรุปผลตอบแทน
 ความรอบรู้
o บอกไดว้ า่ พชื ถูกทาลายจากโรคอะไร เช้ือสาเหตุอะไร ป้ องกนั รักษาอยา่ งไร
o บอกไดว้ า่ พืชถูกทาลายจากแมลงอะไร ป้ องกนั รักษาอยา่ งไร
o บอกไดว้ า่ พชื ตาดธาตุอาหาร ป้ องกนั รักษาอยา่ งไร
o รู้วธิ ใชป้ ๋ ุยเพ่มิ คุณภาพและผลผลิต
o รู้วธิ ปรับปรุงดิน
 คุณธรรม
o การตายผลผลิตท่อาจมสารเคมตกคา้ ง
o การตายผลผลิตท่อาจไม่มคุณภาพปะปน
o การตายผลผลิตท่ อาจไม่สะอาด
o การทิง้ สารเคม หรือยากาจดั แมลงสู่สิ่งแวดลอ้ ม
o การปกปิ ดตอ้ มลู บางอยา่ ง

การสร้างภูมิคุ้มกนั
 สร้างภูมิคุ้มกนั เพอื่ ป้ องกันความอ่อนแอ และความไม่แน่นอนทจี่ ะเกดิ ขึน้

 สร้างภูมคิ ุ้มกนั จากผลกระทบทเี่ กดิ ขึน้ ทนั ทที ันใด เช่น ป้ องกนั ภยั ธรรมชาติ สารองเงินไวใ้ ชเ้ ม่ือ
ฉุกเฉิน ดูแลระวงั ป้ องกนั สุตภาพ ป้ องกนั การระบาดตองศตั รูพืช/สัตว์

19

 สร้างภูมคิ ุ้มกนั จากภาวะแนวโน้มและการเปลยี่ นแปลงตามฤดูกาล เช่น เตรยมการป้ องกนั วางแผน
เร่ืองราคาผลผลิตตกต่า ระวงั ตรวจสอบผลผลิตการเกษตร ทบทวนวางแผนรายได้ ราคาปัจจยั การ
ผลิต ราคาสินคา้ อุปโภคบริโภค เตรยมพร้อมสารองการใชห้ น้

 สร้างภูมิคุ้มกนั การเปลย่ี นโครงสร้างและกระบวนการ เช่น ศึกษาผลดผลเสยนโยบายรัฐบาล ภาวะ
เศรษฐกิจ การเปล่ยนแปลงทางการเมือง การเปล่ยนแปลงกลุ่ม และนโยบายหน่วยงานตา่ งๆ

 การสร้างทนุ เพอ่ื เป็ นภูมคิ ุ้มกนั
 ทุนมนุษย์ : เพ่ิมทกั ษะความรู้ในการทาเกษตร เตา้ อบรม ดูงาน เพ่มิ ความสามารถในการ
แกไ้ ตปัญหาการเกษตร สามารถหาแรงงานไดเ้ พยงพอ รักษาสุตภาพด เพิ่มความสามารถในการ
เป็นผนู้ าและวทิ ยากร
 ทุนทางสังคม : เป็นสมาชิกกลุ่ม ดารงตาแหน่งหนา้ ท่ในชุมชน มส่วนร่วมในชุมชน
เชื่อมโยงกบั กลุ่มอื่นๆ การช่วยเหลือจากรัฐ
 ทนุ การเงิน : สะสมเงินใหพ้ อใช้ มเงินหมุนเวยน เตา้ ถึงแหล่งเงินลงทุน
 ทนุ กายภาพ : การเป็นเจา้ ตองและเตา้ ถึง ปัจจยั การผลิต และสิ่งอานวยความสะดวก
 ทุนธรรมชาติ : ความอุดมสมบรู ณ์ตองดิน น้า ป่ าไม้ ทุ่งหญา้ ความหลากหลายตองพืชพรรณ
ศตั รูธรรมชาติตองแมลงศตั รูพืช และการใชส้ ารทดแทนสารเคม

“การจัดเวทวี จิ ัยสญั จร”

 เป็ นการจดั ประชุมพบปะแลกเปล่ยนเรยนรู้ภูมิปัญญา
ประสบการณ์ ระหวา่ งเกษตรกรกบั เกษตรกรและนกั วจิ ยั

20

 จดั ประมาณเดือนละคร้ังหมุนเวยนกนั ไปในพ้ืนท่ไร่นาเกษตรกรแต่ละราย และให้เกษตรกรเป็ น
เจา้ ภาพ

 ไดส้ ่งผลให้เกิดการพฒั นาการปลูกพืชอยา่ งรวดเร็ว ท้งั น้เกิดจากแรงกระตุน้ ท่ไดเ้ ห็นแบบอยา่ งจาก
เวทวิจยั สัญจรท่บา้ นเกษตรกรรายอ่ืนๆ และแรงกระตุน้ จากการจะตอ้ งเป็ นเจ้าภาพในการตอ้ นรับ
การศึกษาดูงานตองสมาชิก

 การจดั เวทวิจยั ไดท้ าให้เกิดการพฒั นาการดารงชพ คือ ไดเ้ พิ่มทุนทางสังคม เพิ่มทุนมนุษย์ เกิด
วฒั นธรรมดงามในความเอ้ือเฟ้ื อเผือ่ แผ่ ร่วมกนั วเิ คราะห์วางแผนประเมินผลไดผ้ ลเสยในการผลิต
พืช และเกิดการสร้างเครือต่ายทางสงั คม

 “การจดั เวทวิจยั สัญจร” เป็ นวิธท่ไดผ้ ลสัมฤทธ์ิสูงกว่าการอบรมเชิงบรรยายท่นิยมใช้กนั อยู่ใน
ปัจจุบนั เน่ืองจากความรู้ถูกถ่ายทอดจากเกษตรกรสู่เกษตรกรดว้ ยความไวว้ างใจซ่ึงกนั และกนั

 ต้อเสนอแนะเพื่อเพ่ิมประสิทธิผล การจัดเวทวิจัยสัญจร คือ นักวิจัยผู้ท่ทาหน้าท่วิทยากร
กระบวนการ ตอ้ งพยายามกระตุน้ ใหท้ ุกคนไดแ้ สดงความคิดเห็นอยา่ งเตม็ ท่ เน่ืองจากเกษตรกรแต่
ละคนมพ้นื ฐานความสามารถท่แตกต่างกนั และนกั วิจยั ควรมตอ้ มูลวิชาการท่เป็ นสหสาตาพร้อมจะ
ใหต้ อ้ มูลเพ่ิมเติมในทุกประเดน็ ท่เกิดต้ึนในเวท

 มกิจกรรมคือ
o “ตองฝากจากเพอ่ื นบา้ น” เพอ่ื ร้ือฟ้ื นวฒั นธรรมการเอ้ือเฟ้ื อเผอ่ื แผ่
o “เร่ืองเล่าจากเจา้ ตองบา้ น” เพอื่ การสร้างความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคล
o “การแลกเปล่ยน เรยนรู้ ภูมิปัญญาการทาการเกษตร” เพ่ือการศึกษา เรยนรู้ แบ่งบนั ภูมิ
ปัญญาความรู้ ประสบการณ์
o “การสาธิตความรู้วชิ าการ”

“การจัดคา่ ย คนรุ่นใหม่หวั ใจพอเพียง”

(สาหรับวทิ ยากรกระบวนการ ๓ วนั ๒ คืน )

ต้นั ตอนท่๑ การวางแผน
 ทาความเตา้ ใจบุคคลเป้ าหมาย

21

 กาหนดเป้ าประสงค์ และความตอ้ งการตองบุคคลเป้ าหมาย
 เลือกคาสอนในหลวงท่ตรงกบั เป้ าประสงคท์ ่ตอ้ งการพฒั นา
 วางปฏิทินกาหนดการตามหวั ตอ้ ๔ เสาหลกั สู่ความพอเพยง
 เลือกเกม ฝึกทกั ษะ และเกมการละลายพฤติกรรม ท่สอดคลอ้ งกบั เป้ าประสงค์
 ใช้หลักการพฒั นาเชิงปฏิบตั ิการแบบมส่วนร่วม มุ่งการสร้างอตั ลกั ษณ์ ตวั ตน บุคคล

เป้ าหมาย
 ซกั ซอ้ มคณะวทิ ยากร
 ประสานงานกบั ชุมชน แปลงศึกษาดูงาน

ต้นั ตอนท่๒ เตรยมวสั ดุอุปกรณ์
 พระบรมฉายาลกั ษณ์
 อุปกรณ์ใชใ้ นการแบง่ กลุ่ม เช่นผา้ ผนั คอส ธงประจากลุ่ม
 อุปกรณ์เกมต่างๆ และเพลงประกอบ
 อุปกรณ์เคร่ืองเตยน
 อุปกรณ์ฝึกทกั ษะเกษตร
 กลอ้ งถ่ายภาพ
 อุปกรณ์เครื่องนอน และการพกั แรม
 แบบสอบถามประเมินผล
 จดั สถานท่ เครื่องเสยง แสง ส เพลง กลอง เทยน เครื่องฉายภาพ
 อาหาร เคร่ืองด่ืม

ต้นั ตอนท่๓ ตอ้ นรับ ลงทะเบยน ทาประวตั ิ และประเมินผลก่อนกิจกรรม

ต้นั ตอนท่๔ จดั กิจกรรมหวั ใจพอเพยง
ภาคที่ ๑ ช่วงหวั ใจพอเพยี ง

 ร่วมกาหนดเป้ าประสงค์ และผลลพั ธ์
 ร่วมจดั ทาตอ้ ตกลงการมส่วนร่วม
 เกมกลุ่มใหญ่ เพ่ือเปิ ดใจ และแสดงความกลา้ ทาในสิ่งท่ควรทา พร้อมตอ้ คิดจากคาพอ่ สอน

22

 แบง่ กลุ่ม เตา้ รหสั คนรุ่นใหม่หวั ใจพอเพยง และทดสอบการเตา้ รหสั เพอื่ ฝึกการทุ่มเท เอา
จริงเอาจงั กบั หนา้ ท่ แสดงความกลา้ ทาในสิ่งท่ควรทา ทาสุดใจเกิดชยั ชนะ พร้อมตอ้ คิดจาก
คาพอ่ สอน

 เกมการแต่งตนั ระหวา่ งกลุ่ม เพือ่ ฝึกการทุ่มเท เอาจริงเอาจงั กบั หนา้ ท่ แสดงความกลา้ ทาใน
ส่ิงท่ควรทา ทาสุดใจเกิดชยั ชนะ พร้อมตอ้ คิดจากคาพ่อสอน

 เกมคนรุ่นใหมห่ วั ใจพอเพยง เพอื่ ฝึกการใชช้ วติ พร้อมตอ้ คิดจากคาพอ่ สอน
 การสานึกตน ปฏิญาณตน ใชช้ วติ ตามคาพ่อสอน

ภาคที่ ๒ ช่วงภูมปิ ัญญาภิวตั น์พอเพยี ง
 เลือกปัญหาการทางาน หรือการใชช้ วติ
 คน้ หาความดงามจากบรรพบุรุษ จากบุคคลตน้ แบบ คน้ หาองคค์ วามรู้ และวธิ ปฏิบตั ิในการ

แกป้ ัญหา
 จดั walk rally รวมรวม คน้ หาตอ้ มลู ทางแกด้ ว้ ย ๔ เสาหลกั สู่ความพอเพยง
 สังเคราะห์ตอ้ มลู ท่ไดม้ าจาก walk rally
 ถ่ายทอดออกมาดว้ ยการแสดงละคร พร้อมตอ้ คิดจากคาพ่อสอน

ภาคที่ ๓ ช่วง ๙พชื ผสมผสานและเกษตรผสมผสานพอเพยี ง
 การฝึกทกั ษะและเรยนรู้จากแปลงผลิตพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพยง

ภาคท่ี ๔ ช่วงดารงชีพพอเพยี ง
 การเรยนรู้วถิ เศรษฐกิจพอเพยงตองชาวบา้ น
 บาเพญ็ ประโยชน์สาธารณะ
 การท่องเท่ยวเชิงเกษตร
ต้นั ตอนท่๕ สรุปผลลพั ธ์การจดั กิจกรรม และพธิ ปิ ด
ต้นั ตอนท่๖ จดั กิจกรรมต่อเน่ืองในท่บา้ นท่ทางาน

23

“ ๔ เสาหลกั สู่ความพอเพยี ง”

เทคนิคการนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยง มาประยกุ ตใ์ ชเ้ พื่อการปลูกพชื และดารงชพ

คณะนักวจิ ัยพฒั นาองค์ความรู้
ท่ีปรึกษา ไพโรจน์ สุวรรณจินดา นลินี จาริกภากร
หัวหน้าคณะ สาราญ สะรุโณ
คณะนกั วิจัย บรรเทา จันทร์พุ่ม ปัทมา พรหมสังคหะ สาริณีย์ จันทรัศมี ไพเราะ เทพทอง

มานิตย์ แสงทอง อาอีฉ๊ะ ใบละจิ เสาวภาค รัตนสุภา อุไรวรรณ สุกด้วง สมใจ จีนชาวนา
ชอ้อน พรหมสังคหะ บุญรัตน์ เหมือนยอด ปรีดา หมวดจันทร์ เสาวนีย์ ชูวิโรจน์ เกียรติ
ศกั ดิ์ ขนุ ไกร และเครือข่ายผ้นู านักวิจัยท้องถิ่นจังหวดั พัทลุง


Click to View FlipBook Version