คูม่ ือการปฏบิ ัตงิ านในภารกจิ ตามพระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แกไ้ ขเพมิ่ เติม
ท่ถี า่ ยโอนให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น สำหรับเจ้าหนา้ ที่องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่
คำนำ
ท่ีผ่านมาน้ันกระทรวงอุตสาหกรรมได้มีการถ่ายโอนภารกิจการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติโรงงาน
พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ซ่ึงประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร เทศบาล
และเมืองพัทยา มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยได้ถ่ายโอนภารกิจรวม ๓ ภารกิจ ได้แก่ (๑) การกำกับดูแลโรงงาน
จำพวกท่ี ๑ (๒) การกำกับดูแล การรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี ๒ และ (๓) การตรวจสอบกรณี
โรงงานก่อเหตุเดือดร้อนรำคาญ ทั้งนี้ เพ่ือให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับท่ี ๒) ซึ่งเป็นการดำเนินการตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและข้ันตอน
การกระจายอำนาจใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๒
ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ กระทรวงอุตสาหกรรมได้มีการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕
โดยการประกาศใช้บังคับพระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งพระราชบัญญัติฉบับน้ีมีการแก้ไข
บทบัญญัติในกฎหมายฉบับเดิมหลายประการ บทบัญญัติที่ได้มีการแก้ไขที่สำคัญประการหนึ่ง คือ การแก้ไขคำนิยาม
คำว่า “โรงงาน” เสียใหม่ โดยให้มีความหมายว่า อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เคร่ืองจักรมีกำลังรวมตั้งแต่
ห้าสิบแรงม้าหรือกำลังเทียบเท่าตั้งแต่ห้าสิบแรงม้าขึ้นไป หรือใช้คนงานต้ังแต่ห้าสิบคนขึ้นไปโดยใช้เคร่ืองจักร
หรือไม่ก็ตามเพ่ือประกอบกิจการโรงงาน ทั้งนี้ ตามประเภทหรือชนิดของโรงงานที่กำหนดในกฎกระทรวงนอกจากนี้
ยังได้มีการประกาศใช้บังคับพระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ อีกฉบับหนึ่ง ซึ่งพระราชบัญญัตินี้
ได้บัญญัติถึงหลักเกณฑ์การถ่ายโอนภารกิจตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานให้แก่ อปท. รวมทั้งกำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่
ของกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นผู้ให้คำปรึกษาแก่ อปท. ให้การปฏิบัติตามภารกิจท่ีได้รับการถ่ายโอนให้เป็นไป
โดยถูกต้องตามกฎหมาย
อันเน่ืองมาจากการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายว่าด้วยโรงงานดังกล่าวข้างต้น ประกอบกับการถ่ายโอนภารกิจ
ดังกล่าวได้ดำเนินการผ่านมาแล้วเป็นระยะเวลาพอสมควร อีกท้ังเพ่ือเป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
ในการปฏิบัติตามภารกิจท่ีได้รับการถ่ายโอนให้กับพนักงานเจ้าหน้าที่ของ อปท. กรมโรงงานอุตสาหกรรม
ผู้ได้รับมอบหมายจากกระทรวงอุตสาหกรรม จึงได้จัดทำแนวทางการปฏิบัติงานในภารกิจตามพระราชบัญญัติโรงงาน
พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพ่ิมเตมิ ทถี่ ่ายโอนใหแ้ ก่ อปท. เพ่อื เป็นแนวทางสำหรบั เจา้ หนา้ ที่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน
(อปท.) ในการปฏิบตั ิงานต่อไป
กรมโรงงานอุตสาหกรรมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือดังกล่าวนี้จะเป็นประโยชน์แก่เจ้าหน้าที่ อปท.
เป็นอย่างมากในการปฏิบัติงานตามภารกิจท่ีได้รับการถ่ายโอนไปจากกระทรวงอุตสาหกรรมให้มีความถูกต้อง
เป็นไปในแนวทางเดียวกัน อันจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและเป็นประโยชน์แก่ผู้ประกอบกิจการโรงงาน
และประชาชนผ้เู กย่ี วขอ้ งตอ่ ไป
นายประกอบ วิวธิ จนิ ดา
อธบิ ดกี รมโรงงานอตุ สาหกรรม
ก
คู่มือการปฏิบัติงานในภารกจิ ตามพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี กไ้ ขเพ่ิมเติม
ทถี่ า่ ยโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ สำหรับเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่
สารบญั
คำนำ หนา้
สารบัญ ก
ข
บทที่ 1 ความเป็นมา 1-1
1.1 ที่มาของการถา่ ยโอนภารกิจพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 1-2
1.2 ประกาศ/คำสัง่ /และการมอบอำนาจตามแผนการถ่ายโอนภารกจิ พระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535
2-1
บทท่ี 2 พระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี ก้ไขเพมิ่ เติม 2-2
2.1 กฎหมายว่าดว้ ยโรงงานฉบับตา่ ง ๆ
2.2 โครงสร้างของพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ และทแ่ี กไ้ ขเพิม่ เตมิ (คำอธิบายพอสังเขป) 3-1
3-2
บทท่ี 3 ภารกจิ หลักท่ีมีการถ่ายโอนให้องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ 3-3
3.1 การกำกบั ดแู ลโรงงาน จำพวกที่ 1
3.2 การกำกบั ดแู ลโรงงาน การรบั แจ้งการประกอบกจิ การโรงงาน จำพวกที่ 2 4-1
3.3 การตรวจสอบกรณีโรงงานกอ่ เหตเุ ดอื ดร้อนรำคาญ 4-5
4-13
บทท่ี 4 ขัน้ ตอนการดำเนินงานและปฏบิ ตั ิงาน 4-17
4.1 การประกาศรับฟังความคิดเห็นของประชาชน 4-19
4.2 การรบั แจง้ และออกใบรับแจง้ การประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 4-21
4.3 การตรวจตดิ ตามการแจง้ การประกอบกจิ การโรงงานจำพวกท่ี 2 4-25
4.4 งานพจิ ารณาการคดั สำเนาใบรบั แจ้งการประกอบกจิ การโรงงานจำพวกที่ 2 4-27
4.5 การแจ้งเลิกประกอบกจิ การ การโอน การใหเ้ ชา่ หรอื การใหเ้ ช่าซื้อโรงงานจำพวกท่ี 2 4-29
4.6 งานรับแจง้ กรณโี รงงานจำพวกที่ 2 หยุดดำเนนิ งานตดิ ตอ่ กันเกินกวา่ หนงึ่ ปี (มาตรา 33) 4-31
4.7 งานรับแจง้ กรณีมอี บุ ัติเหตุในโรงงาน (มาตรา 34) 4-56
4.8 การตรวจสอบเรอ่ื งร้องเรียน/ตรวจการโรงงานทวั่ ไป 5-1
4.9 การติดตามค่าธรรมเนยี มรายปี (มาตรา 43)
4.10 การดำเนนิ การตามมาตรา 37 และมาตรา 39
4.11 การดำเนินการตามมาตรา 38 และมาตรา 40
บทท่ี 5 การดำเนินคดใี นความผดิ ท่มี ีโทษทางอาญาตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ.๒๕๓๕ และทแี่ กไ้ ขเพ่มิ เติม
ตามภารกจิ ทถ่ี า่ ยโอนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข
ค่มู อื การปฏบิ ัติงานในภารกจิ ตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทแี่ กไ้ ขเพิ่มเติม
ที่ถา่ ยโอนให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ สำหรับเจ้าหน้าที่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน
สารบญั
ภาคผนวก
(๑) พระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพ่ิมเตมิ
(๒) กฎกระทรวง กำหนดประเภท ชนดิ และขนาดของโรงงาน พ.ศ. 2563
(3) กฎกระทรวงการแจ้งและการรบั แจง้ การประกอบกจิ การโรงงานจำพวกที่ 2 พ.ศ. 2564
(4) คำขอท่ัวไป
(5) แบบ 1 (การประกาศรับฟังความคิดเห็นของประชาชน)
(6) แบบ 2 (การประกาศรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของประชาชน)
(7) แบบ 3 (การประกาศรบั ฟงั ความคิดเห็นของประชาชน)
(8) แบบ 4 (การประกาศรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของประชาชน)
(9) แบบ 5 (การประกาศรบั ฟงั ความคิดเห็นของประชาชน)
(10) แบบ 6 (การประกาศรับฟังความคิดเหน็ ของประชาชน)
(๑1) ใบแจ้งการเสยี ค่าธรรมเนียมรายปี
(๑2) แบบไมร่ บั แจง้ การประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2
(๑3) แบบตรวจ 02
(๑4) ใบแจ้งทัว่ ไป
(๑5) บันทกึ การโอนการประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี 2 ตามมาตรา 11
(๑6) แบบรบั เร่ืองร้องเรยี น
(๑7) แบบรายงานขอ้ มลู โรงงานทอี่ าจก่อเหตุเดือดรอ้ น
(18) แบบแจ้งให้ชำระค่าธรรมเนียมรายปี
(19) แบบหนงั สือเตอื นให้ชำระค่าธรรมเนียมรายปี
(20) แบบหนังสือให้หยุดประกอบกจิ การโรงงาน
(๒1) บันทกึ ข้อเทจ็ จริง
(๒2) แบบหนงั สอื รบั ทราบการเลิกประกอบกิจการโรงงาน
(๒3) แบบหนงั สอื ให้ประกอบกิจการโรงงานตามปกติ
(๒4) แบบหนังสอื รับทราบการเริ่มประกอบกิจการโรงงานหลังจากหยุดดำเนินการเกนิ หน่งึ ปี
(๒5) บันทกึ คำให้การของผูก้ ล่าวหา (ปท.01)
(๒6) บนั ทึกคำให้การของผู้ตอ้ งหา (ปท.02)
(27) แบบหนังสือแจ้งสถานีตำรวจ กรณผี ูต้ อ้ งหาไมม่ าใช้สิทธิเปรียบเทียบปรบั
(28) แบบหนังสอื แจ้งสถานีตำรวจ กรณีผ้เู สยี หายไม่ยินยอมใหเ้ ปรียบเทียบปรบั
(29) แบบหนังสอื แจง้ สถานีตำรวจ กรณีผ้ตู ้องหาไม่มาชำระคา่ ปรบั
(30) แบบบนั ทึกความเห็นของผู้เสียหาย
ข
ค่มู ือการปฏิบัตงิ านในภารกิจตามพระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และทแี่ ก้ไขเพม่ิ เติม
ทถี่ ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน สำหรับเจา้ หนา้ ทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทท่ี 1
ความเปน็ มา
คมู่ อื การปฏิบตั ิงานในภารกิจตามพระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และที่แกไ้ ขเพ่ิมเติม
ท่ถี ่ายโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ สำหรับเจา้ หนา้ ที่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
1. ความเป็นมา
1.1 ทมี่ าของการถา่ ยโอนภารกิจพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535
ตามพระราชบั ญญั ติ กำหนดแผนและข้ั นตอนการกระจายอำนาจให้ แก่ องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถ่ิ น
พ.ศ. 2542 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2549 ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติดังกลา่ ว
ได้กาํ หนดให้คณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ มีอํานาจและหน้าท่จี ัดทํา
แผนการกระจายอํานาจให้แก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินและแผนปฏิบัติการฯ เพื่อขอความเห็นชอบ
จากคณะรัฐมนตรีและรายงานตอ่ รัฐสภา ซ่ึงแผนฯ ฉบับล่าสุด คือ แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอน
การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. ๒๕๕๑
ตามแผนปฏิบัติการกำหนดข้ันตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. ๒๕๕๑ กระทรวงอุตสาหกรรมได้มีการถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน
ด้านการวางแผน การส่งเสรมิ การลงทนุ 3 ภารกจิ คือ
1. การกำกับดูแลโรงงานจำพวกท่ี 1
2. การรับแจง้ การประกอบกิจการโรงงาน จำพวกท่ี 2
3. การตรวจสอบกรณโี รงงานก่อเหตุเดอื ดร้อน
สำหรับโรงงานจำพวกที่ 3 น้ัน กระทรวงอุตสาหกรรมเห็นว่าคุณลักษณะของการปฏิบัติงานเกี่ยวกับ
โรงงานจำพวกที่ 3 จะต้องมีการพิจารณารายละเอียดในด้านต่าง ๆ หลายด้าน อาทิเช่น ด้านกฎหมาย
ด้านวิศวกรรม ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย รวมถึงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งรายละเอียด
เหล่าน้ีจำเป็นต่อการพิจารณาและกำกับดูแลเป็นอย่างมาก จึงต้องใช้บุคลลากรท่ีมีความรู้ความสามารถท่ี
เหมาะสมต่อการพิจารณาในเรื่องดังกล่าวเช่นเดียวกับเจ้าหน้าท่ีของกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งเม่ือ
พิจารณาโครงสร้างของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยเปรียบเทียบกับคุณลักษณะของการ
ปฏิบัติงานแล้วเห็นว่าบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินยังมีความแตกต่างจากบุคลากรของ
กระทรวงอุตสาหกรรม ท้ังในด้านจำนวนและคุณลักษณะของตำแหน่งของเจ้าหน้าที่ และอาจมีความ
แตกต่างเพิ่มข้ึน หากพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ละลักษณะ เช่น
ระหว่างเทศบาลกับองค์การบริหารส่วนตำบล ซ่ึงจากปัญหาอุปสรรคดังกล่าวข้างต้นน้ันส่งผลให้
พิจารณาได้ว่าการดำเนินการเกี่ยวกับโรงงานจำพวกที่ 3 น้ันหากมิได้กระทำโดยผู้มีความรู้ความชำนาญ
อย่างแท้จริง อาจส่งผลกระทบในด้านความชอบด้วยกฎหมาย ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมต่อชุมชน
รวมทั้งผลกระทบการให้บริการประชาชนที่ดี และเมื่อพิจารณาในภาพรวมของผลกระทบดังกล่าว
อาจส่งผลทำให้การถ่ายโอนภารกิจพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของการ
กระจายอำนาจใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ อยา่ งแท้จริง
ต่อมากระทรวงอุตสาหกรรมได้มีการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
โดยพระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 มีการเพ่ิมเติมมาตรา 11/1 ซึ่งความในวรรคหน่ึง
บัญญัติว่า “เมื่อรัฐมนตรีแต่งต้ังผู้บริหารท้องถ่ินหรือข้าราชการส่วนท้องถ่ินขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ินใดเป็นพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีดังกล่าวมีอำนาจหน้าท่ีและ
ความรับผิดตามที่กำหนดไว้สำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่เฉพาะในส่วนท่ีเกี่ยวกับโรงงานจำพวกที่ ๑ และ
โรงงานจำพวกท่ี ๒ ที่ตั้งอยู่ในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินนั้น” และตามมาตรา 11/1 วรรคสาม
บัญญัติว่า “ให้ปลัดกระทรวงและพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งแต่งตั้งจากข้าราชการในกระทรวงอุตสาหกรรม
1-1
คมู่ ือการปฏิบตั ิงานในภารกจิ ตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม
ท่ีถา่ ยโอนให้แก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ สำหรับเจา้ หนา้ ท่ีองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น
มีอำนาจหน้าที่ในการกำกบั ดูแลพนักงานเจ้าหนา้ ทต่ี ามวรรคหน่งึ ให้ปฏบิ ตั ใิ หถ้ ูกต้องตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
และเพื่อประโยชน์แห่งการน้ีให้มีอำนาจหน้าที่ในการแนะนำหรือสั่งระงับการดำเนินการใดอันเป็นการไม่
ชอบด้วยพระราชบัญญัตินี้และรายงานให้นายอำเภอ ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ซ่ึงกำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน้ัน แล้วแต่กรณีตามท่ีบัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยการจัดต้ัง
องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ นัน้ เพ่อื ดำเนนิ การตามอำนาจหน้าทตี่ ่อไป”
ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันกระทรวงอตุ สาหกรรมไดอ้ อกประกาศ และคำส่งั ตา่ ง ๆ รวมท้งั ไดม้ กี ารปรับปรงุ แกไ้ ข
ประกาศและคำส่ัง เพื่อกำหนดให้มีการถ่ายโอนภารกิจฯ แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ และมอบอำนาจ
ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ให้แก่เจ้าหน้าท่ีกรุงเทพมหานคร เทศบาล และเมืองพัทยา
ให้มีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 เพ่ือดำเนินการตามภารกิจท่ีได้รับการถ่ายโอนไปจาก
กระทรวงอตุ สาหกรรม
1.2 ประกาศและคำสงั่ ต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การถ่ายโอนภารกิจตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
ใหก้ ับองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ในปัจจบุ ัน
กรงุ เทพมหานคร
1. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การถ่ายโอนภารกิจตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
ให้แกก่ รุงเทพมหานคร ลงวันที่ 1 กนั ยายน 2552
- ภารกจิ ท่ถี ่ายโอน
1. การกำกับดูแลโรงงานจำพวกที่ 1
2. การกำกบั ดแู ลการรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2
3. การตรวจสอบกรณีทีโ่ รงงานก่อเหตุเดอื ดรอ้ น
- กรุงเทพมหานครรายงานขอ้ มูล ตอ่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม
- กรมโรงงานอุตสาหกรรมเปน็ ที่ปรกึ ษาและแนะนำ
- มผี ลบงั คับใชต้ ้ังแตว่ ันที่ 1 พฤศจิกายน 2552
2. คำสั่งกระทรวงอุตสาหกรรม ท่ี 201 / 2552 ลงวันที่ 4 กันยายน 2552 เร่ือง มอบหมาย
ให้ขา้ ราชการกรงุ เทพมหานครมอี ำนาจหนา้ ท่ตี ามพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535
- มอบอำนาจให้
1. ปลดั กรงุ เทพมหานคร
2. รองปลัดกรุงเทพมหานคร
3. ผ้อู ำนวยการเขต
4. ผชู้ ่วยผอู้ ำนวยการเขต
- มีอำนาจในเขตรับผดิ ชอบ
1. มาตรา 37 วรรคสอง เฉพาะโรงงานจำพวกที่ 1 และโรงงานจำพวกท่ี 2
2. มาตรา 39
- มผี ลบังคบั ใชต้ งั้ แต่วนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2552
3. คำสั่งกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ 337 / 2563 ลงวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 เร่ือง แต่งต้ัง
ขา้ ราชการส่วนทอ้ งถ่ิน (กรงุ เทพมหานคร) เปน็ พนักงานเจ้าหน้าทต่ี ามพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่ี
แก้ไขเพิ่มเติม
1-2
คู่มอื การปฏิบตั ิงานในภารกจิ ตามพระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแกไ้ ขเพ่มิ เติม
ที่ถ่ายโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ สำหรับเจ้าหน้าทอ่ี งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน
- แตง่ ตั้งข้าราชการสว่ นทอ้ งถ่ิน (กรุงเทพมหานคร) 11 ตำแหนง่ เปน็ พนกั งานเจ้าหนา้ ท่ี ดงั นี้
1. ปลัดกรงุ เทพมหานคร
2. รองปลดั กรงุ เทพมหานคร
3. ผอู้ ำนวยการสำนักอนามัย
4. รองผอู้ ำนวยการสำนกั อนามยั
5. ผอู้ ำนวยการกองสขุ าภบิ าลส่ิงแวดล้อม สำนักอนามยั
6. ผู้อำนวยการเขต
7. ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการเขต
8. หวั หนา้ ฝ่ายส่ิงแวดลอ้ มและสขุ าภิบาล สำนกั งานเขต
9. นกั วชิ าการสขุ าภบิ าล ตั้งแต่ระดบั ปฏิบัตกิ ารหรอื เทียบเท่าขึ้นไป สำนักงานสุขาภิบาล
ส่งิ แวดลอ้ ม สำนักอนามัย
10. นกั วิชาการสุขาภบิ าล ต้ังแต่ระดับปฏิบัติการหรือเทียบเท่าขนึ้ ไป ฝา่ ยส่ิงแวดลอ้ ม
และสุขาภิบาล สำนกั งานเขต
11. เจา้ พนกั งานสาธารณสขุ ตง้ั แต่ระดบั ปฏบิ ัติงานหรอื เทยี บเทา่ ขึน้ ไป ฝา่ ยส่งิ แวดลอ้ ม
และสขุ าภิบาล สำนกั งานเขต
- มผี ลบังคับใชต้ ัง้ แตว่ นั ที่ 17 พฤศจิกายน 2563
เมืองพัทยา
1. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง การถ่ายโอนภารกิจ ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
ใหแ้ กเ่ มืองพัทยา ลงวนั ท่ี 19 ตุลาคม 2552
- ภารกิจที่ถ่ายโอน
1. การกำกบั ดแู ลโรงงานจำพวกท่ี 1
2. การกำกบั ดแู ลการรบั แจง้ การประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2
3. การตรวจสอบกรณีทโี่ รงงานกอ่ เหตเุ ดือดรอ้ น
- เมืองพัทยารายงานข้อมูล ตอ่ สำนกั งานอุตสาหกรรมจงั หวัดชลบรุ ี
- สำนักงานอุตสาหกรรมจงั หวดั ชลบรุ ีเป็นที่ปรกึ ษาและแนะนำ
- มผี ลบงั คับใชต้ ง้ั แตว่ ันท่ี 1 พฤศจิกายน 2552
2. คำสงั่ กระทรวงอตุ สาหกรรม ท่ี 235 / 2552 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2552 เรื่อง มอบหมาย
ให้ขา้ ราชการเมอื งพทั ยามีอำนาจหน้าทตี่ ามพระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535
- มอบหมายอำนาจให้
1. นายกเมืองพทั ยา
2. ปลัดเมอื งพทั ยา
- มอี ำนาจในเขตรับผดิ ชอบ
1. มาตรา 37 วรรคสอง เฉพาะโรงงานจำพวกที่ 1 และโรงงานจำพวกที่ 2
2. มาตรา 39
- มผี ลบังคบั ใชต้ ั้งแตว่ นั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน 2552
1-3
คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และทีแ่ ก้ไขเพ่ิมเติม
ทถ่ี ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น สำหรับเจา้ หนา้ ทอี่ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่
3. คำส่ังกระทรวงอุตสาหกรรม ท่ี 339 / 2563 ลงวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 เรื่อง แต่งต้ัง
ข้าราชการส่วนท้องถิ่น (เมืองพัทยา) เป็นพนักงานเจา้ หนา้ ที่ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่ี
แก้ไขเพ่ิมเตมิ
- แต่งต้ังข้าราชการเมอื งพัทยา 12 ตำแหน่ง เป็นพนกั งานเจ้าหนา้ ที่ ดงั น้ี
1. นายกเมืองพัทยา
2. ปลัดเมอื งพทั ยา
3. ผอู้ ำนวยการสำนกั ส่ิงแวดลอ้ ม
4. ผู้อำนวยการสำนักการช่าง
5. ผู้อำนวยการสว่ นสำนักการช่าง
6. ผอู้ ำนวยการสำนักการชา่ งสุขาภิบาล
7. วศิ วกรโยธา ตงั้ แตร่ ะดับปฏบิ ตั ิการหรือเทยี บเทา่ ข้ึนไป ส่วนควบคมุ การกอ่ สรา้ ง สำนกั การชา่ ง
8. วิศวกรสุขาภิบาล ตั้งแต่ระดับปฏิบัติการหรือเทียบเท่าข้ึนไป ฝ่ายกำจัดมูลฝอยและ
ส่งิ ปฏิกูล กองช่างสุขาภิบาล
9. นักวิชาการสุขาภิบาล ตั้งแต่ระดับปฏิบัติการหรือเทียบเท่าขึ้นไป ส่วนควบคุมมลพิษ
สำนกั สงิ่ แวดล้อม
10. นายช่างไฟฟ้า ตง้ั แตร่ ะดบั ปฏิบัติงานหรือเทยี บเทา่ ขน้ึ ไป
11. นายช่างสำรวจ ตั้งแต่ระดับปฏิบตั ิงานหรอื เทียบเท่าข้นึ ไป
12. เจ้าพนักงานสุขาภิบาล ต้ังแต่ระดับปฏิบัติงานหรือเทียบเท่าขึ้นไป ส่วนควบคุมมลพิษ
สำนกั สง่ิ แวดล้อม
13. เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน ต้ังแต่ระดับปฏิบัติงานข้ึนไปหรือเทียบเท่าข้ึนไป ส่วนควบคุม
มลพิษ สำนกั ส่ิงแวดล้อม
14. นติ ิกร ต้ังแตร่ ะดบั ชำนาญการหรอื เทียบเทา่ ขึ้นไป กล่มุ กฎหมาย
- มผี ลบังคับใชต้ ง้ั แต่วันท่ี 17 พฤศจกิ ายน 2563
เทศบาลทกุ ขนาด
1. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง การถ่ายโอนภารกิจ ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
ใหแ้ กเ่ ทศบาล ลงวันที่ 30 ตลุ าคม 2552
- ภารกจิ ท่ีถา่ ยโอน
1. การกำกับดูแลโรงงานจำพวกท่ี 1
2. การกำกบั ดแู ลการรบั แจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2
3. การตรวจสอบกรณที ่ีโรงงานกอ่ เหตเุ ดอื ดร้อน
- เทศบาลรายงานข้อมูลต่อ สำนกั งานอุตสาหกรรมจังหวดั
- สำนกั งานอุตสาหกรรมจังหวัดเป็นท่ีปรกึ ษาและแนะนำ
- มผี ลบงั คับใชต้ ง้ั แตว่ นั ที่ 1 ธันวาคม 2552
2. คำสง่ั กระทรวงอตุ สาหกรรม ที่ 254 / 2552 ลงวันท่ี 30 ตลุ าคม 2552 เร่อื ง มอบหมาย
ให้ขา้ ราชการเทศบาลมอี ำนาจหนา้ ที่ตามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
- มอบหมายอำนาจให้
1. นายกเทศมนตรี
1-4
คู่มอื การปฏิบตั งิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี กไ้ ขเพม่ิ เติม
ที่ถา่ ยโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ สำหรับเจ้าหน้าทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2. ปลัดเทศบาล
3. รองปลัดเทศบาล
- มีอำนาจในเขตรับผิดชอบ
1. มาตรา 37 วรรคสอง เฉพาะโรงงานจำพวกท่ี 1 และโรงงานจำพวกท่ี 2
2. มาตรา 39
- มผี ลบงั คับใชต้ งั้ แตว่ ันที่ 1 ธันวาคม 2552
3. คำสั่งกระทรวงอุตสาหกรรม ท่ี 338 / 2563 ลงวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 เร่ือง แต่งต้ัง
ข้าราชการส่วนท้องถ่ิน (เทศบาล) เป็นพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
และทแ่ี กไ้ ขเพิ่มเตมิ
- แตง่ ตง้ั ขา้ ราชการเทศบาล 18 ตำแหนง่ เป็นพนกั งานเจ้าหนา้ ท่ี ดังน้ี
1. นายกเทศมนตรี
2. ปลดั เทศบาล
3. รองปลัดเทศบาล
4. ผอู้ ำนวยการสำนักการชา่ ง
5. ผูอ้ ำนวยการกองช่าง
6. นกั บริหารงานชา่ ง ระดบั ต้น กองช่างหรอื สำนกั การชา่ ง
7. วศิ วกรโยธาปฏบิ ตั กิ ารขน้ึ ไป กองชา่ งหรือสำนกั การช่าง
8. นายชา่ งโยธา ต้งั แต่ระดบั ปฏิบัติงานหรือเทยี บเทา่ ขึ้นไป กองชา่ งหรอื สำนักการช่าง
9. ผู้อำนวยการสำนกั การชา่ งสุขาภบิ าล
10. ผู้อำนวยการกองชา่ งสุขาภิบาล
11. นกั บรหิ ารงานช่างสุขาภบิ าล ระดับต้น กองชา่ งสขุ าภิบาลหรือสำนักการช่างสุขาภิบาล
12. วศิ วกรสุขาภบิ าล ตัง้ แต่ระดับปฏิบตั กิ ารหรอื เทยี บเทา่ ขนึ้ ไป กองช่างสุขาภิบาลหรือ
สำนกั การช่างสขุ าภิบาล
13. นกั วชิ าการสุขาภิบาล ตัง้ แตร่ ะดบั ปฏิบตั ิการหรอื เทียบเท่าข้นึ ไป กองช่างสขุ าภิบาลหรอื
สำนกั การชา่ งสขุ าภิบาล
14. ผู้อำนวยการสำนกั การสาธารณสุขและสิง่ แวดลอ้ ม
15. ผู้อำนวยการกองสาธารณสขุ และสิ่งแวดลอ้ ม
16. นักบริหารงานสาธารณสุข ระดับต้น กองสาธารณสุขและส่ิงแวดล้อมหรือสำนักการสาธารณสุข
และสิ่งแวดล้อม
17. นักวิชาการสาธารณสุข ตง้ั แตร่ ะดบั ปฏิบตั กิ ารหรือเทียบเทา่ ขนึ้ ไป กองสาธารณสขุ และ
สิ่งแวดลอ้ มหรอื สำนักการสาธารณสขุ และสง่ิ แวดล้อม
18. นักวชิ าการสง่ิ แวดล้อม ตงั้ แต่ระดบั ปฏิบตั ิการหรอื เทียบเท่าข้นึ ไป กองสาธารณสุขและ
ส่งิ แวดล้อมหรอื สำนักการสาธารณสุขและสงิ่ แวดล้อม
- มผี ลบงั คบั ใชต้ ้ังแต่วนั ที่ 17 พฤศจิกายน 2563
1-5
คมู่ ือการปฏิบตั ิงานในภารกจิ ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และทีแ่ กไ้ ขเพม่ิ เติม
ทถี่ า่ ยโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ สำหรับเจ้าหนา้ ท่ีองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น
บทท่ี 2
พระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพิม่ เตมิ
คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านในภารกิจตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทแี่ ก้ไขเพิ่มเติม
ที่ถา่ ยโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน สำหรับเจา้ หนา้ ทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
2. พระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแกไ้ ขเพมิ่ เติม
2.1 กฎหมายวา่ ดว้ ยโรงงานฉบบั ตา่ ง ๆ
(1) พระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
(2) พระราชบัญญัตโิ รงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562
(3) พระราชบัญญตั โิ รงงาน (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2562
2.2 โครงสร้างของพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ และทแี่ กไ้ ขเพิ่มเติม (คำอธิบายพอสังเขป)
2.2.1 ความเบอ้ื งตน้ และคำนิยาม
มาตรา ๑ ชอื่ พระราชบญั ญัติ
มาตรา ๒ วันบังคบั ใช้พระราชบญั ญัติ
มาตรา ๓ กฎหมายท่ยี กเลกิ
มาตรา ๔ บทยกเวน้ การบงั คบั ใชก้ ฎหมาย
มาตรา ๔/๑ บทยกเว้นการบงั คบั ใช้กฎหมายกบั โรงงานทีม่ ีวตั ถุประสงค์บางประการ
มาตรา ๕ บทนิยามคำตา่ งๆ เช่น “โรงงาน” หรือ “เครอ่ื งจักร” หรือ “พนักงานเจา้ หนา้ ที”่ เป็นตน้
มาตรา ๖ อำนาจของรัฐมนตรีในการแตง่ ตงั้ พนกั งานเจา้ หนา้ ท่แี ละออกกฎกระทรวง
2.2.2 หมวด ๑ การประกอบกิจการโรงงาน
มาตรา ๗ อำนาจรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงกำหนดให้โรงงานตามประเภทชนิดหรือ
ขนาดใดเป็นโรงงานจำพวกที่ ๑ โรงงานจำพวกท่ี ๒ หรือโรงงานจำพวกท่ี ๓
มาตรา ๘ อำนาจรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงเพ่ือให้โรงงานจำพวกใดจำพวกหน่ึงหรือ
ทุกจำพวกตามมาตรา ๗ ต้องปฏิบัติตามในเร่ือง ทั้งน้ีเพื่อประโยชน์ในการควบคุมการประกอบ
กิจการโรงงาน มีทั้งหมด 8 เร่ือง เช่น (1) กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับที่ตั้งโรงงาน สภาพแวดล้อม
ของโรงงานลกั ษณะอาคารของโรงงานหรือลกั ษณะภายในโรงงาน
มาตรา ๙ หน้าที่ของผู้ตรวจสอบเอกชนในการตรวจสอบโรงงานหรือเคร่ืองจักร และรับรอง
รายงานในการท่ีผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องรายงานการปฏิบัติการอย่างหน่ึงอย่างใดท่ี
พระราชบัญญัติน้ีกำหนดใหผ้ ูป้ ระกอบกจิ การโรงงานมหี นา้ ทตี่ ้องปฏิบัติ
มาตรา ๙/๑ คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ตรวจสอบเอกชนท่ีเป็นบุคคลธรรมดาที่สามารถ
ขอรบั ใบอนญุ าตตรวจสอบหรอื รบั รองได้
มาตรา ๙/๒ คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ตรวจสอบเอกชนท่ีเป็นนิติบุคคลที่สามารถ
ขอรับใบอนญุ าตตรวจสอบหรอื รบั รองได้
มาตรา ๙/๓ อายุของใบอนุญาตตรวจสอบหรือรับรองของผู้ตรวจสอบเอกชนมีอายุ ๓ ปีและ
สามารถ ตอ่ อายไุ ด้
มาตรา ๙/๔ ใบอนุญาตตรวจสอบหรือรับรองของผู้ตรวจสอบเอกชน สูญหาย ชำรุดใน
สาระสำคญั หรือถกู ทำลาย สามารถขอใบแทนได้
มาตรา ๙/๕ เงอื่ นไขในการส่ังพกั ใชใ้ บอนุญาตตรวจสอบหรอื รับรองของผูต้ รวจสอบเอกชน
มาตรา ๙/๖ เงอ่ื นไขในการส่ังเพกิ ถอนใบอนญุ าตตรวจสอบหรือรับรองของผู้ตรวจสอบเอกชน
มาตรา ๑๐ หน้าท่ีของผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี ๑ ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ท่ีกำหนดใน
กฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา ๘ และประกาศของรัฐมนตรีท่ีออกตามกฎกระทรวงดังกลา่ ว
2-1
คู่มอื การปฏิบัติงานในภารกจิ ตามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แกไ้ ขเพมิ่ เติม
ทถี่ า่ ยโอนให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน สำหรับเจ้าหนา้ ท่อี งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
มาตรา ๑๑ หน้าที่ของผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี ๒ ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ท่ี
กำหนดในกฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา ๘ และประกาศของรัฐมนตรีท่ีออกตามกฎกระทรวง
ดงั กลา่ ว รวมท้ังต้องขอใบรบั แจง้ การประกอบกจิ การโรงงาน (ร.ง.๒) ด้วย
มาตรา ๑๑/๑ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่รัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้บริหารท้องถิ่นหรือ
ข้าราชการส่วนท้องถิ่น มีอำนาจหน้าท่ีและความรับผิดตามที่กำหนดไว้สำหรับพนักงานเจ้าหน้าท่ี
เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับโรงงานจำพวกที่ ๑ และโรงงานจำพวกที่ ๒ ที่ตั้งอยู่ในเขตองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินน้ัน ในส่วนขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ยังไม่มีการแต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าท่ีเลย
เน่ืองจากยังไม่มีการถ่ายโอนภารกิจให้ อบต. การถ่ายโอนภารกิจให้ อบต. น้ัน อบต. ต้องท่ีมีความ
พรอ้ มเทา่ น้ัน
ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมและพนักงานเจ้าหน้าท่ีซึ่งแต่งตั้งจากข้าราชการในกระทรวง
อุตสาหกรรม มีอำนาจหน้าที่ในการกำกับดูแลพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามวรรคหน่ึงให้ปฏิบัติให้ถูกต้อง
ตามพระราชบัญญัติน้ี และให้มีอำนาจหน้าท่ีในการแนะนำหรือสั่งระงับการดำเนินการใดอันเป็นการไม่
ชอบด้วยพระราชบัญญัตินี้และรายงานให้นายอำเภอผู้ว่าราชการจังหวัด หรือรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยซงึ่ กำกบั ดแู ล อปท. นัน้ แลว้ แต่กรณี
มาตรา ๑๒ หน้าที่ของผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ ๓ ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ท่ี
กำหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๘ และประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามกฎกระทรวง
ดังกล่าว รวมทัง้ ตอ้ งขอรบั ใบอนุญาตประกอบกจิ การโรงงาน (ร.ง.๔) ดว้ ย
มาตรา ๑๓ เม่ือตั้งโรงงานจำพวกท่ี 3 แล้วเสร็จ หากจะประกอบกิจการต้องแจ้งเริ่มประกอบ
กิจการโรงงานซ่ึงสามารถแจ้งเริ่มทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้ หากยังไม่เริ่มประกอบกิจการโรงงานอาจ
แจง้ ขอทดลองเดนิ เคร่อื งจักรก่อนกไ็ ด้
มาตรา ๑๔ (ยกเลิก) โดยพระราชบัญญตั ิโรงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
มาตรา ๑๕ (ยกเลกิ ) โดยพระราชบญั ญตั ิโรงงาน (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
มาตรา ๑๖ คำสั่งไม่ออกใบอนุญาต คำสั่งไม่อนุญาตให้ขยายโรงงาน คำส่ังไม่ออกหรือไม่ต่อ
อายุใบอนุญาตตรวจสอบหรือรับรอง หรือคำสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตตรวจสอบหรือรับรอง
ใหอ้ ทุ ธรณ์ตอ่ รฐั มนตรไี ด้ภายใน 30 วันนับแตว่ ันทท่ี ราบคำสงั่
มาตรา ๑๗ โรงงานใดที่ผู้ประกอบกิจการโรงงานได้รับใบอนุญาตอยู่แล้ว หากภายหลังปรากฏ
ว่าใช้เคร่ืองจักรมีกำลังรวมลดลงต่ำกว่า ๕๐ แรงม้าหรือจำนวนคนงานลดลงต่ำกว่า ๕๐ คนให้ถือว่า
โรงงานน้นั ยังเป็นโรงงานตามพระราชบัญญตั ินจ้ี นกว่าจะได้แจ้งเลกิ ประกอบกจิ การโรงงาน
มาตรา ๑๘ การขยายโรงงานต้องได้รับอนุญาตก่อน โดยกำหนดให้การขยายโรงงาน ต้อง
พิจารณาจากกำลังแรงม้าเครื่องจักรเดิม แบ่งเป็น ๖ กรณีและกำหนดให้สามารถขยายโรงงานใน
พื้นท่ีติดโรงงานเดมิ ได้
มาตรา ๑๘/๑ หลักเกณฑ์กำหนดให้การขยายโรงงาน ๔ วัตถุประสงค์ได้รับยกเว้นไม่ต้องขอ
อนุญาตขยายโรงงาน แต่ใช้วิธกี ารแจง้ ลว่ งหนา้ 30 วนั
มาตรา ๑๙ กำหนดหลักเกณฑ์การแจ้งเพ่ือ เพ่ิมจำนวน เปลี่ยน หรือเปลี่ยนแปลงเครื่องจักร เพ่ิม
จำนวนเคร่ืองจักรแต่ไม่ถึงขั้นขยายโรงงาน เพิ่มเน้ือที่อาคารโรงงานออกไป หรือก่อสร้างอาคาร
โรงงานเพมิ่ ขึน้ ใหม่ ตอ้ งแจ้งภายใน 30 วัน นับแตว่ นั ดำเนินการแล้วเสรจ็
2-2
คู่มือการปฏิบัตงิ านในภารกิจตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี กไ้ ขเพิ่มเติม
ท่ีถ่ายโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ สำหรับเจา้ หน้าท่อี งค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่
มาตรา ๑๙/๑ กำหนดหลักเกณฑ์การแจ้งเพ่ือเพิ่มประเภทหรือชนิดของการประกอบกิจการโรงงาน
ท่ีเกี่ยวเนอื่ งกับการประกอบกจิ การโรงงานเดมิ ตอ้ งแจ้งลว่ งหนา้ 15 วัน
มาตรา ๒๐ กำหนดหลักเกณฑ์การยกเลิก หรือเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเง่ือนไขในใบอนุญาต
ประกอบกจิ การโรงงาน
มาตรา ๒๑ กำหนดหลักเกณฑ์การโอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน การโอนการ
ประกอบกิจการโรงงาน การเช่าโรงงาน การเช่าซ้ือโรงงาน การขายโรงงาน (โอนโดยสัญญาทาง
แพ่ง) ต้องโอนใบอนุญาตภายใน 30 วนั นบั แต่ทำการนน้ั
มาตรา ๒๒ กำหนดหลักเกณฑ์การโอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน กรณีที่ผู้รับ
ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานซ่ึงเป็นบุคคลธรรมดาเสียชีวิต หรือถูกศาลส่ังให้เป็นคนไร้ความสามารถ
ทายาทหรอื ผูจ้ ดั การมรดกหรือผ้พู ทิ กั ษต์ ้องขอรับโอนใบอนญุ าตภายใน 90 วัน ขอขยายเวลาได้
มาตรา ๒๓ ใบอนุญาตตอ้ งแสดงไว้ ณ ทเี่ ปิดเผยและเหน็ ได้งา่ ยในโรงงานของตน
มาตรา ๒๔ เม่ือมีการเปล่ียนชื่อโรงงานหรือช่ือผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ต้อง
แจง้ เป็นหนังสือให้พนักงานเจา้ หนา้ ทท่ี ราบภายใน ๑๕ วันนับแต่วนั ทมี่ กี ารเปลยี่ น
มาตรา ๒๕ ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานสูญหายหรือถูกทำลาย ต้องย่ืนคำขอรับใบแทน
ต่อพนกั งานเจ้าหนา้ ทภ่ี ายใน ๑๕ วันนบั แตว่ นั ทท่ี ราบถึงการสูญหายหรือถกู ทำลาย
มาตรา ๒๖ การขออนุญาตย้ายเครื่องจักรบางส่วนท่ีติดตั้งในโรงงานไปยังสถานที่อ่ืนเพ่ือประกอบ
กจิ การโรงงานเป็นการชวั่ คราว สามารถขอได้ไมเ่ กนิ ๑ ปี ขยายเวลาไดไ้ มเ่ กนิ ๑ ปี
มาตรา ๒๗ ยา้ ยโรงงานไปยังท่ีอืน่ ใหด้ ำเนนิ การเสมอื นการตัง้ โรงงานใหม่
มาตรา ๒๘ จะเลิกประกอบกิจการโรงงาน ให้แจ้งเป็นหนังสือต่อผู้อนุญาตไม่น้อยกว่า ๓๐
วันก่อนวันเลิกประกอบกิจการโรงงาน และอาจต้องมีการปรับปรุงแก้ไขโรงงานหลังเลิกประกอบ
กิจการโรงงานดว้ ย
มาตรา ๒๘/๑ การเปล่ียนแปลงโรงงานจำพวกท่ี ๓ เป็นโรงงานจำพวกที่ ๑ หรือโรงงานจำพวกท่ี ๒
ตอ้ งเลิกประกอบกิจการโรงงานเดิมกอ่ นแล้วไปดำเนนิ การตามกฎหมายต่อไปสำหรบั โรงงานจำพวกท่ี
๑ หรือ ๒ แลว้ แต่กรณี
มาตรา ๒๙ การย่ืนคำขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานตามมาตรา ๑๒ กรณีมีกฎกระทรวงตาม
มาตรา ๗ หรือประกาศของรัฐมนตรีตามมาตรา ๓๒ (๑) ทำให้โรงงานจำพวกที่ ๑ หรือโรงงาน
จำพวกที่ ๒ เปลย่ี นเปน็ โรงงานจำพวกท่ี ๓
มาตรา ๓๐ การประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ ๒ หรือโรงงานจำพวกท่ี ๓ ภายในเขตประกอบการ
อุตสาหกรรมท่ีประกาศในราชกิจจานุเบกษา หรือเขตนิคมอุตสาหกรรมซึ่งจัดต้ังข้ึนตามกฎหมาย
ว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม ไม่ต้องขอใบรับแจ้งฯ (ร.ง.๒) ตามาตรา ๑๑ และไม่ต้องขอรับ
ใบอนุญาตประกอบกจิ การโรงาน (ร.ง.๔) แล้วแตก่ รณี
มาตรา ๓๑ พนักงานเจ้าหน้าที่อาจกำหนดวิธีการในการดำเนินการเพ่ือพิจารณาอนุญาตร่วมกัน
ระหว่างพนกั งานเจา้ หน้าท่แี ละพนักงานเจ้าหน้าทผ่ี ู้มอี ำนาจดำเนินการตามกฎหมายอนื่ ได้
2-3
คู่มือการปฏิบตั งิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เติม
ทถี่ ่ายโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ สำหรับเจา้ หน้าทีอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น
๒.๒.๓ หมวด ๒ การกำกับดแู ลโรงงาน
มาตรา ๓๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีมีอำนาจกำหนดโดย
ประกาศเพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ การอนุรกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม ความม่นั คง ความปลอดภัยของประเทศหรือ
ของสาธารณชนโดยสามารถประกาศได้ ๔ เรื่อง เช่น ประกาศกำหนดจำนวนและขนาดของโรงงานแต่ละ
ประเภทหรอื ชนิดทจ่ี ะให้ตั้งหรอื ขยาย หรือทีจ่ ะไมใ่ หต้ ้ังหรอื ขยายในทอ้ งทใ่ี ดท้องทีห่ นงึ่ เปน็ ต้น
มาตรา ๓๓ โรงงานจำพวกท่ี ๒ หรือโรงงานจำพวกท่ี ๓ หยุดดำเนินงานติดต่อกันเกินกว่า ๑ ปี
ต้องแจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีทราบภายใน ๗ วันนับแต่วันพ้นกำหนด ๑ ปี ก่อนเปิด
ประกอบกิจการโรงงานแจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีทราบสำหรับโรงงานจำพวกที่ ๒ หรือ
ต้องได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาตก่อนสำหรับโรงงานจำพวกท่ี ๓ แล้วแต่กรณี
มาตรา ๓๔ ในกรณีมีอุบัติเหตุในโรงงานเน่ืองจากโรงงานหรือเคร่ืองจักร ต้องแจ้งเป็นหนังสือ
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบตามระยะเวลาที่กำหนด เช่น กรณีอุบัติเหตุเป็นเหตุให้บุคคลถึงแก่
ความตายตอ้ งแจ้งภายใน ๓ วันนบั แตว่ นั ตาย
มาตรา ๓๕ พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอำนาจดำเนินการใด ๆ ตามที่กำหนด ท้ังนี้เพื่อปฏิบัติการให้
เป็นไปตามพระราชบัญญัติน้ี เช่น เข้าไปในโรงงานหรืออาคาร สถานท่ี หรือยานพาหนะที่มีเหตุควร
สงสัยว่าจะประกอบกิจการโรงงาน ในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ข้ึนถึงพระอาทิตย์ตกหรือในเวลาทำ
การของสถานที่ดังกล่าว เพื่อตรวจสภาพโรงงาน อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะ สภาพ
เคร่ืองจักร หรือการกระทำใดทอี่ าจเปน็ การฝา่ ฝืนบทบญั ญตั ิแหง่ พระราชบัญญตั นิ ้ี เป็นต้น
มาตรา ๓๖ พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจจับกุม เม่ือปรากฏว่าบุคคลใดกระทำความผิดตาม
พระราชบญั ญตั ิน้ี
มาตรา ๓๗ ผู้ประกอบกิจการโรงงานผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
หรือการประกอบกิจการโรงงานมีสภาพท่ีอาจก่อให้เกิดอันตราย ความเสียหายหรือความเดือดร้อน
แก่บุคคลหรือทรัพย์สินท่ีอยู่ในโรงงานหรือที่อยู่ใกล้เคียงกับโรงงาน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจส่ัง
ให้ผู้นั้นระงับการกระทำที่ฝ่าฝืนหรือแก้ไขหรือปรับปรุงหรือปฏิบัติให้ถูกต้องหรือเหมาะสมภายใน
ระยะเวลาท่ีกำหนดได้ ในระหว่างการปฏิบัติตามคำส่ังของพนักงานเจ้าหน้าที่อาจมีการผูกมัด
ประทบั ตราเครอ่ื งจกั รกไ็ ด้
มาตรา ๓๘ การส่งคำสั่งตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่นำส่ง ณ ภูมิลำเนาหรือ
โรงงานของบุคคลซึ่งระบุไว้ในคำส่ัง ในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ข้ึนถึงพระอาทิตย์ตกหรือในเวลาทำ
การของบุคคลน้ัน หรือจะสง่ โดยทางไปรษณยี ์ลงทะเบยี นตอบรับก็ได้
- ในกรณีท่ีพนักงานเจ้าหน้าที่นำส่งแล้วแต่บุคคลซึ่งระบุไว้ในคำส่ังปฏิเสธไม่ยอมรับคำส่ัง
ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีขอให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจไปเป็นพยานเพื่อวางคำส่ังไว้ ณ ที่น้ัน
แต่ถ้าไม่พบบคุ คลซ่ึงระบุไว้ในคำส่ัง ณ ภมู ิลำเนาหรือสถานที่ทำการของบุคคลน้ันจะส่งให้กับบคุ คลใดซึ่งบรรลุ
นิติภาวะแล้วซ่ึงอยู่หรือทำงาน ณ ที่นั้นก็ได้ และถ้าไม่พบบุคคลใดหรือพบแต่ไม่มีบุคคลใดยอมรับไว้
แทน ให้ปิดคำสั่งน้ันไว้ในที่ที่เห็นได้ง่าย ณ ภูมิลำเนาหรือโรงงานน้ันต่อพนักงานฝ่ายปกครองหรือ
ตำรวจทไี่ ปเปน็ พยาน
- เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ดำเนินการตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองแล้วให้ถือว่าบุคคลซึ่ง
ระบุไว้ในคำสั่งได้รับคำสั่งนั้นแล้ว แต่ถ้าเป็นการส่งโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับหรือโดย
2-4
คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านในภารกิจตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแกไ้ ขเพ่มิ เติม
ทถ่ี ่ายโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น สำหรับเจ้าหนา้ ทีอ่ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น
การปิดคำสั่งให้ถือว่าได้รับคำสั่งน้ันเม่ือครบกำหนดห้าวันทำการนับแต่วันที่พนักงานไปรษณีย์ได้ส่ง
หรือวันทีไ่ ดป้ ิดคำสง่ั น้ันไว้ แล้วแตก่ รณี
มาตรา ๓๙ ผู้อนุญาตสามารถออกคำสั่งให้หยุดประกอบกิจการโรงงานท้ังหมดหรือบางส่วน
เป็นการช่ัวคราว และปรับปรุงแก้ไขโรงงานน้ันเสียใหม่หรือปฏิบัติให้ถูกต้องภายในระยะเวลาท่ี
กำหนดได้ กรณีจงใจไม่ปฏิบัติตามคำส่ังของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๓๗ หรือประกอบกิจการ
ของโรงงานก่อให้เกิดอันตราย ความเสียหายหรือความเดือดร้อนอย่างร้ายแรง เมื่อดำเนินการ
แก้ไขให้หรือปฏิบัติให้ถูกต้องแล้ว สามารถส่ังให้ประกอบกิจการโรงงานต่อไปได้ หากไม่แก้ไขหรือ
ปฏิบตั ิใหถ้ กู ต้อง สามารถสั่งปดิ โรงงานได้
มาตรา ๔๐ การปิดประกาศของพนักงานเจ้าหน้าท่ีเพ่ือแจ้งให้บุคคลอ่ืนทราบถึงคำสั่งให้หยุด
ประกอบกิจการโรงงานหรอื คำสงั่ ปิดโรงงาน โดยใหป้ ดิ ไว้ในทที่ เี่ หน็ ได้งา่ ย ณ โรงงานนัน้ อย่างน้อย ๓ แหง่
มาตรา ๔๑ คำส่ังตามมาตรา ๓๗ หรือคำส่ังใหห้ ยุดประกอบกิจการโรงงานตามมาตรา ๓๙ วรรค
หน่ึง หรือคำส่ังปิดโรงงานตามมาตรา ๓๙ วรรคสามสามารถอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีได้ภายใน ๓๐ วัน
นับแต่วันทที่ ราบคำส่ัง
มาตรา ๔๒ การใหท้ างราชการเขา้ ไปจัดการแก้ไขตามคำสัง่ ของพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามมาตรา ๓๗
แทนผู้ประกอบกิจการโรงงาน โดยผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายในการเข้าจัดการ
นนั้ ตามจำนวนท่ีจ่ายจริงรวมกบั เบี้ยปรบั ในอตั รารอ้ ยละ ๓๐ ตอ่ ปี
มาตรา ๔๓ ผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี ๒ และโรงงานจำพวกท่ี ๓ ต้องชำระค่าธรรมเนียมรายปี
หากไม่ชำระให้เสียเงินเพิ่มอีกร้อยละ ๕ ต่อเดือน ถ้ายังไม่ชำระอีกให้สั่งให้หยุดประกอบกิจการ
โรงงานได้
มาตรา ๔๓/๑ ค่าธรรมเนียมรายปีและเงินเพิ่มตามมาตรา ๔๓ สำหรับโรงงานจำพวกท่ี ๒ ที่ตั้งอยู่ใน
เขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใด ให้ตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน้ันเฉพาะท่ีได้มีการ
แตง่ ต้งั พนักงานเจ้าหนา้ ทตี่ ามมาตรา ๑๑/๑ แล้ว (มีการถา่ ยโอนภารกิจแล้ว)
มาตรา ๔๔ ในการปฏบิ ตั ิการตามหน้าที่ พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ตอ้ งแสดงบัตรประจำตัว
2.2.4 หมวด ๓ บทกำหนดโทษ
มาตรา ๔๕ ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา ๘ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕)
หรือ (๘) หรือประกาศของรัฐมนตรีท่ีออกตามกฎกระทรวงดังกล่าว ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน
๒๐๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๔๖ ฝ่าฝนื หรือไม่ปฏบิ ัตติ ามกฎกระทรวงทอ่ี อกตามมาตรา ๘ (๖) หรือ (๗) หรอื ประกาศของ
รัฐมนตรที อ่ี อกตามกฎกระทรวงดงั กล่าว ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ ๒๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๔๗ ทำการตรวจสอบหรือรับรอง หรือจัดทำรายงานผลการตรวจสอบหรือรับรองโดย
ไม่มีใบอนุญาตตรวจสอบหรือรับรองตามมาตรา ๙ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๒ ปี หรือปรับไม่เกิน
๒๐๐,๐๐๐ บาท หรอื ท้ังจำทั้งปรบั
- ทำรายงานผลการตรวจสอบหรือรับรองอันเป็นเท็จหรือจัดทำรายงานผลการตรวจสอบหรือ
รับรองในระหว่างที่ถูกส่ังพักใช้ใบอนุญาตตรวจสอบหรือรับรอง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๒ ปี
หรือปรับไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท หรือทง้ั จำท้งั ปรบั
มาตรา ๔๗/๑ ไม่ดำเนินการรายงานการรับรองตนเองฯ ตามมาตรา ๙ วรรคสอง ต้องระวาง
โทษปรับไมเ่ กิน ๕๐,๐๐๐ บาท
2-5
คู่มือการปฏิบัตงิ านในภารกิจตามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแกไ้ ขเพมิ่ เติม
ทีถ่ ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ สำหรับเจ้าหนา้ ที่องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ
มาตรา ๔๗/๒ ผู้ตรวจสอบเอกชนไม่ย่ืนคำขอรับใบแทนใบอนุญาตตรวจสอบหรือรับรองตาม
มาตรา ๙/๔ วรรคหน่ึง ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกนิ ๕,๐๐๐ บาท
มาตรา ๔๘ ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ ๒ โดยไม่ได้แจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบ (ร.ง.๒)
ตามมาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาท
หรือท้งั จำทัง้ ปรับ
มาตรา ๔๙ แจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ ๒ ไม่ถูกต้องครบถ้วนตามท่ีกำหนดใน
กฎกระทรวงตามมาตรา ๑๑ วรรคสอง ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กิน ๒๐,๐๐๐ บาท
- เลิกประกอบกิจการ โอน ให้เช่าหรือให้เช่าซ้ือโรงงานจำพวกที่ ๒ โดยไม่แจ้งเป็นหนังสือให้พนักงาน
เจา้ หนา้ ที่ทราบตามมาตรา ๑๑ วรรคหา้ ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกนิ ๒๐,๐๐๐ บาท
- หยุดดำเนินงานติดต่อกันเกินกว่าหน่ึงปีโดยไม่แจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบต้อง
ระวางโทษปรบั ไมเ่ กิน ๒๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๕๐ ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ ๓ โดยไม่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๒ วรรคหน่ึง
ตอ้ งระวางโทษจำคุกไม่เกนิ ๒ ปี หรอื ปรบั ไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท หรือทง้ั จำท้งั ปรบั
- ตั้งโรงงานโดยไม่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๒ วรรคสอง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๒ ปี
หรือปรบั ไม่เกนิ ๒๐๐,๐๐๐ บาท หรือท้ังจำทั้งปรบั
- ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ ๓ โดยไม่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๒ วรรคหน่ึง และ
เป็นโรงงานประเภทหรือชนิดที่กำหนดจำนวนหรือขนาดที่จะให้ตั้งหรือไม่ให้ตั้งในท้องท่ีใดตาม
ประกาศท่ีออกตามมาตรา ๓๒ (๑) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๔ ปี หรือปรับไม่เกิน ๔๐๐,๐๐๐ บาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ (ปรับไม่ได้)
- ตั้งโรงงานโดยไม่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๒ วรรคสอง และเป็นโรงงานประเภทหรือ
ชนิดท่ีกำหนดจำนวนหรือขนาดท่ีจะให้ต้ังหรือไม่ให้ต้ังในท้องท่ีใดตามประกาศท่ีออกตามมาตรา ๓๒ (๑)
ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กิน ๔ ปี หรือปรบั ไม่เกนิ ๔๐๐,๐๐๐ บาท หรอื ท้ังจำทง้ั ปรับ (ปรับไมไ่ ด)้
มาตรา ๕๑ ไม่แจ้งเร่ิมประกอบกิจการโรงงานตามมาตรา ๑๓ วรรคหน่ึง ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน
๒๐,๐๐๐ บาท
- ทดลองเดินเครือ่ งจกั รโดยไมแ่ จง้ ตามมาตรา ๑๓ วรรคสอง ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท
- ดำเนินการขยายโรงงานโดยไม่ให้แจ้งผู้อนุญาตทราบตามมาตรา ๑๘/๑ ต้องระวางโทษปรับ ไม่เกิน
๒๐,๐๐๐ บาท
- เพิ่มจำนวน เปล่ียน หรือเปล่ียนแปลงเครื่องจักรทำให้เครื่องจักรมีกำลังแรงม้ารวมลดลง หรือเพ่ิมข้ึน
แต่ไม่ถึงข้ันขยายโรงงาน เพิ่มเนื้อท่ีอาคารโรงงานออกไป หรือก่อสร้างอาคารโรงงานเพ่ิมขึ้นใหม่ โดยไม่
แจง้ ตามมาตรา ๑๙ วรรคหน่ึง ต้องระวางโทษปรับไมเ่ กิน ๒๐,๐๐๐ บาท
- เพิ่มจำนวน เปลี่ยน หรือเปล่ียนแปลงเครื่องจักรทำให้เครื่องจักรมีกำลังแรงม้ารวมลดลง หรือเพ่ิมขึ้น
แต่ไม่ถึงขั้นขยายโรงงานโดยไม่ดำเนินการในท่ีดินเดิมท่ีได้รับอนุญาตหรือได้รับอนุญาตให้ขยายโรงงาน
หรือ และไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด ตามมาตรา ๑๙ วรรค
สอง ตอ้ งระวางโทษปรบั ไม่เกนิ ๒๐,๐๐๐ บาท
- เพ่ิมประเภทหรือชนิดของการประกอบกิจการโรงงานที่เก่ียวเนื่องกับการประกอบกิจการโรงงานเดิม
โดยไม่แจ้งเป็นหนังสือต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๑๙/๑ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน
๒๐,๐๐๐ บาท
2-6
คู่มือการปฏบิ ัตงิ านในภารกิจตามพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทีแ่ กไ้ ขเพมิ่ เติม
ทถี่ ่ายโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำหรับเจา้ หนา้ ที่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ
- เพิ่มประเภทหรือชนิดของการประกอบกิจการโรงงานที่เก่ียวเนื่องกับการประกอบกิจการโรงงานเดิม
โดยไม่ดำเนินการในท่ีดินเดิมที่ได้รับอนุญาตหรือได้รับอนุญาตให้ขยายโรงงาน หรือ และไม่เป็นไปตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด ตามมาตรา ๑๙/๑ วรรคสอง ต้องระวางโทษปรับไม่
เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท
- เลิกประกอบกิจการโรงงานโดยไม่แจ้งเป็นหนังสือต่อผู้อนุญาตตามมาตรา ๒๘ วรรคหนึ่ง ต้องระวาง
โทษปรบั ไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท
- เปลี่ยนแปลงโรงงานจำพวกที่ ๓ เป็นโรงงานจำพวกท่ี ๑ โดยไม่แจ้งการเลิกประกอบกิจการโรงงาน
ตามมาตรา ๒๘/๑ ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกนิ ๒๐,๐๐๐ บาท
- เปลี่ยนแปลงโรงงานจำพวกที่ ๓ เป็นโรงงานจำพวกที่ ๒ โดยไม่แจ้งการเลิกประกอบกิจการโรงงาน
ตามมาตรา ๒๘/๑ ต้องระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ ๒๐,๐๐๐ บาท
- โรงงานจำพวกที่ ๒ หยุดดำเนินงานติดต่อกันเกินกว่าหนึง่ ปี ไม่แจง้ เปน็ หนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าท่ี
ทราบตามมาตรา ๓๓ วรรคหนง่ึ ต้องระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ ๒๐,๐๐๐ บาท
- โรงงานจำพวกท่ี ๓ หยุดดำเนินงานติดต่อกันเกินกวา่ หนึ่งปี ไม่แจ้งเปน็ หนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่
ทราบตามมาตรา ๓๓ วรรคหน่ึง ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กิน ๒๐,๐๐๐ บาท
- โรงงานจำพวกท่ี ๒ หยุดดำเนินงานติดต่อกันเกินกว่าหน่ึงปี แต่เปิดประกอบกิจการโรงงานโดยไม่แจ้ง
เป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบตามมาตรา ๓๓ วรรคสอง (๑) ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน
๒๐,๐๐๐ บาท
- โรงงานจำพวกที่ ๓ หยุดดำเนินงานตดิ ตอ่ กนั เกินกว่าหน่ึงปี แตเ่ ปิดประกอบกิจการโรงงานโดยยังไม่ได้
รบั อนญุ าตตามมาตรา ๓๓ วรรคสอง (๒) ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กนิ ๒๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๕๒ ขยายโรงงานโดยไม่ได้รับใบอนุญาตขยายโรงงานตามมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษ
จำคกุ ไมเ่ กิน ๒ ปี หรือปรบั ไมเ่ กนิ ๒๐๐,๐๐๐ บาท หรือท้งั จำท้งั ปรับ
- ขยายโรงงานโดยไม่ได้รับใบอนุญาตขยายโรงงานตามมาตรา ๑๘ และเป็นโรงงานประเภทหรือชนิดท่ี
กำหนดจำนวนหรือขนาดท่ีจะให้ขยายหรือไม่ให้ขยายในท้องท่ีใดตามประกาศที่ออกตามมาตรา ๓๒(๑)
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๔ ปี หรอื ปรบั ไม่เกนิ ๔๐๐,๐๐๐ บาท หรอื ทั้งจำทง้ั ปรับ (ปรับไม่ได้)
มาตรา ๕๓ ไม่แสดงใบอนุญาตไว้ ณ ท่ีเปิดเผยและเห็นได้ง่ายในโรงงานตามมาตรา ๒๓
ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท
- เปล่ียนช่ือโรงงาน ให้ผู้รับใบอนุญาตแจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีทราบ ตามมาตรา ๒๔
ต้องระวางโทษปรับไมเ่ กนิ ๕,๐๐๐ บาท
- ไม่ยื่นคำขอรับใบแทนต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี กรณีใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทำลายตามมาตรา ๒๕
ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกนิ ๕,๐๐๐ บาท
มาตรา ๕๔ มีอุบัติเหตุในโรงงานโดยไม่แจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบมาตรา๓๔วรรคหน่ึง(๑)
ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท
- มีอุบัติเหตุในโรงงานโดยไม่แจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีทราบมาตรา ๓๔ วรรคหน่ึง (๒)
ตอ้ งระวางโทษปรบั ไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๕๕ ประกอบกิจการโรงงานในระหว่างที่ได้มีคำส่ังให้หยุดประกอบกิจการโรงงาน ต้องระวางโทษ
จำคุกไม่เกิน ๒ ปี หรือปรับไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท หรือท้ังจำทั้งปรับ และให้ปรับอีกวันละ ๕,๐๐๐
บาทจนกว่าจะหยุดประกอบกจิ การ
2-7
คมู่ อื การปฏิบัติงานในภารกิจตามพระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทแี่ กไ้ ขเพ่มิ เติม
ที่ถ่ายโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ สำหรับเจา้ หน้าทีอ่ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น
- ประกอบกิจการโรงงานภายหลังที่มีคำส่ังให้ปิดโรงงาน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน๒ ปี หรือปรับไม่เกิน
๒๐๐,๐๐๐ บาท หรอื ทัง้ จำทัง้ ปรับ และใหป้ รบั อกี วันละ ๕,๐๐๐บาทจนกวา่ จะหยดุ ประกอบกจิ การ
- เอาผดิ สถาปนกิ วศิ วกร ผูท้ ่ีทำงานในโรงงาน หรือคนงาน ที่ฝ่าฝืนดว้ ย
มาตรา ๕๖ ขัดขวางหรือไม่ให้ความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๓๕ ต้อง
ระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๑ เดือน หรือปรบั ไมเ่ กิน ๒๐,๐๐๐ บาท หรือ ทั้งจำท้งั ปรับ
มาตรา ๕๗ ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าท่ีท่ีให้ปรับปรุงแก้ไขโรงงานหลังเลิกประกอบ
กิจการโรงงานตามมาตรา ๒๘ วรรคสอง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๑ ปี หรือปรับไม่เกิน
๑๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำท้ังปรับ และให้ปรับอีกวันละไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืน
หรอื ไมป่ ฏบิ ัตใิ ห้ถกู ต้อง
- ไม่ปฏิบัติตามคำส่ังของพนักงานเจ้าหน้าท่ีซึ่งสั่งให้ระงับการกระทำที่ฝ่าฝืนหรือแก้ไขหรือปรับปรุง
หรือปฏิบัติให้ถูกต้องหรือเหมาะสมภายในระยะเวลาท่ีกำหนดตามมาตรา ๓๗ วรรคหน่ึง ต้องระวาง
โทษจำคุกไม่เกิน ๑ ปี หรือปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท หรือท้ังจำทั้งปรับ และให้ปรับอีกวันละไม่
เกนิ ๕,๐๐๐ บาทตลอดเวลาท่ียงั ฝ่าฝืนหรือไมป่ ฏบิ ตั ิให้ถกู ตอ้ ง
มาตรา ๕๘ กระทำการอย่างใดอย่างหน่ึงเพ่ือให้เคร่ืองจักรท่ีพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้ผูกมัดประทับตรา
ไว้ตามมาตรา ๓๗ วรรคสอง กลับทำงานได้อีก ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๑ ปี หรือปรับไม่เกิน
๑๐๐,๐๐๐ บาท หรอื ทงั้ จำทงั้ ปรับ
มาตรา ๕๙ ขัดขวางหรือไม่ให้ความสะดวกแก่บุคคลซ่ึงปลัดกระทรวงหรือผู้ซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมาย
ให้เข้าจัดทำเพื่อให้การเปน็ ไปตามคำส่ังตามมาตรา ๔๒ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๑ ปี หรอื ปรับไม่
เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ บาทหรือท้ังจำทงั้ ปรับ
มาตรา ๖๐ กระทำการใด ๆ ให้คำสัง่ หยดุ ประกอบกิจการโรงงานหรือคำสง่ั ปดิ โรงงานชำรุดหรือเสียหาย
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกนิ ๖ เดือน หรอื ปรบั ไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาท หรือท้งั จำท้ังปรบั
มาตรา ๖๑ ในกรณีท่ีผู้ประกอบกิจการโรงงานกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ถือว่า
สถาปนิกหรือวิศวกรท่ีทำงานในโรงงานและมีหน้าท่ีรับผิดชอบในการงานส่วนที่มีกรณีการกระทำ
ความผิดนั้นเกิดขึ้น มีส่วนร่วมหรือรู้เห็นในการกระทำความผิดกับผู้ประกอบกิจการโรงงานและต้องรับ
โทษเช่นเดียวกับผู้ประกอบกิจการโรงงาน เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนมิได้รู้เห็นหรือยินยอมด้วยกับการ
กระทำความผิดนั้น นอกจากต้องรับโทษแล้ว ให้ปลัดกระทรวงแจ้งชื่อและการกระทำของบุคคล
เช่นว่านั้นให้คณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมหรือคณะกรรมการควบคุม
ก า ร ป ร ะ ก อ บ วิ ช า ชี พ วิ ศ ว ก ร ร ม ท ร า บ เพ่ื อ พิ จ า ร ณ า ด ำ เนิ น ก า ร ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย วิ ช า ชี พ
สถาปัตยกรรมหรอื กฎหมายว่าด้วยวิชาชพี วศิ วกรรมตามควรแก่กรณตี ่อไป
มาตรา ๖๒ เคยถูกลงโทษเพราะเหตุกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้แล้วครั้งหน่ึง ถ้าได้กระทำ
ความผิดในบทบัญญัติเดียวกันกับที่เคยถูกลงโทษแล้วนั้นซ้ำอีก ให้ศาลพิจารณาเพิ่มโทษท่ีจะลงแก่ผู้
น้ันอย่างน้อยอีกหนึ่งในสามของอัตราโทษจำคุกหรือเพิ่มโทษอีกก่ึงหน่ึงของอัตราโทษปรับสำหรับ
ความผดิ น้นั
มาตรา ๖๓ ในกรณีที่ผกู้ ระทำความผดิ เปน็ นิติบคุ คล ถ้าการกระทำความผิดของนิติบุคคลน้ันเกิดจาก
การสั่งการหรือการกระทำของกรรมการ หรือผู้จัดการ หรือบุคคลใดซ่ึงรับผิดชอบในการดำเนินงาน
ของนิติบุคคลนั้น หรอื ในกรณีท่ีบุคคลดังกล่าวมีหน้าท่ีตอ้ งส่ังการหรือกระทำการและละเว้นไมส่ ่งั การ
2-8
ค่มู ือการปฏบิ ตั งิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทแ่ี ก้ไขเพิม่ เติม
ท่ถี า่ ยโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ สำหรับเจา้ หนา้ ทอี่ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ
หรือไม่กระทำการจนเป็นเหตุใหน้ ิติบุคคลนนั้ กระทำความผิด ผนู้ ้ันตอ้ งรับโทษตามท่ีบญั ญัติไว้สำหรับ
ความผดิ น้ัน ๆ ดว้ ย
มาตรา ๖๔ ในกรณที ่ีมกี ารกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ใหถ้ อื ว่าบุคคลผู้ท่อี าศัยอยใู่ กลช้ ิด
หรือติดต่อกับโรงงานท่ีมีการกระทำความผิดเกิดข้ึน หรือบุคคลซ่ึงความเป็นอยู่ถูกกระทบกระเทือน
เน่ืองจากการกระทำความผิดเปน็ ผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวา่ ด้วยวิธีพจิ ารณาความอาญา
มาตรา ๖๕ มีคณะกรรมการเปรียบเทียบคดีในเขตกรุงเทพมหานครและในส่วนภูมิภาคคณะกรรมการ
เปรียบเทียบคดีแต่ละคณะให้รัฐมนตรีแต่งต้ังจากผู้ทรงคุณวุฒิในด้านกฎหมายจำนวน ๓ คน โดยมี
วาระการดำรงตำแหนง่ คราวละ ๒ ปี
บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ี เว้นแต่ความผิดข้อหาต้ังโรงงานในประเภทหรือชนิดท่ี
กำหนดจำนวนหรือขนาดท่ีจะให้ตั้งหรือไม่ให้ต้ังในท้องท่ีใดตามประกาศท่ีออกตามมาตรา ๓๒ (๑)
โดยไม่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๒ วรรคสอง หรอื ความผิดขอ้ หาประกอบกิจการโรงงานโรงงาน
ในประเภทหรือชนิดท่ีกำหนดจำนวนหรือขนาดที่จะให้ตั้งหรือไม่ให้ต้ังในท้องท่ีใดตามประกาศที่ออก
ตามมาตรา ๓๒ (๑) โดยไม่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๒ วรรคหน่ึง หรือความผิดข้อหาขยาย
โรงงานโรงงานในประเภทหรือชนิดท่ีกำหนดจำนวนหรือขนาดท่ีจะให้ขยายหรือไม่ให้ขยายในท้องที่
ใดตามประกาศที่ออกตามมาตรา ๓๒ (๑) โดยไม่ได้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง ให้
คณะกรรมการเปรียบเทียบคดีมีอำนาจเปรียบเทียบปรับได้ ถ้าเห็นว่าผู้ต้องหาไม่ควรถูกฟ้องร้องหรือ
ได้รับโทษถึงจำคุก และเมื่อผู้ต้องหาได้เสียค่าปรับตามท่ีเปรียบเทียบภายใน ๓๐ วันนับแต่วันท่ีมีการ
เปรียบเทยี บปรับ ใหถ้ อื วา่ คดเี ลกิ กันตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา
ใน ก ร ณี ท่ี พ นั ก ง า น ส อ บ ส ว น พ บ ว่ า ผู้ ใด ก ร ะ ท ำ ค ว า ม ผิ ด ต า ม ว ร ร ค สี่ แ ล ะ ผู้ นั้ น ยิ น ย อ ม ให้
เปรียบเทียบปรับ ให้พนักงานสอบสวนส่งเรื่องให้แก่คณะกรรมการเปรียบเทียบคดีภายในเจ็ดวันนับ
แต่วนั ท่ผี ู้นน้ั แสดงความยนิ ยอมให้เปรียบเทยี บปรับ
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๖๖ แหง่ พระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕
คำขออนญุ าตใด ๆ ท่ีไดย้ ื่นไว้ และการอนุญาตใด ๆ ท่ีได้ให้ไว้และยงั อยใู่ นระหวา่ งการพิจารณา
ของผู้อนุญาต หรือการปฏิบัติของผู้ขออนุญาตตามท่ีได้รับอนุญาตแล้วแต่กรณี ให้ถือว่าเป็นคำขอ
อนุญาตหรือการอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้โดยอนุโลม ในกรณีที่คำขออนุญาตหรือการ
อนุญาตดังกล่าวมีข้อแตกต่างไปจากคำขออนุญาต หรือการอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ผู้มี
อำนาจอนุญาตมีอำนาจสั่งให้แกไ้ ขเพิ่มเติมได้ตามความจำเป็น เพ่ือให้การเปน็ ไปตามพระราชบัญญัติ
โรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๖๗ แห่งพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕
ใบอนญุ าตประกอบกิจการโรงงานท่ีออกให้แก่บุคคลใด ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานก่อนวันท่ี
พระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ใช้บังคบั ใหค้ งใชไ้ ดต้ อ่ ไปจนสิ้นอายุท่ีกำหนดไว้
มาตรา ๖๘ แหง่ พระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕
บรรดากฎกระทรวงและประกาศที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานให้คงใช้บังคับได้ต่อไป
เท่าที่ไม่ขดั หรอื แย้งกับบทแหง่ พระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕
2-9
คู่มือการปฏิบัติงานในภารกิจตามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และทีแ่ ก้ไขเพ่ิมเติม
ทีถ่ า่ ยโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน สำหรับเจ้าหน้าท่ีองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น
มาตรา ๒๔ แหง่ พระราชบญั ญัตโิ รงงาน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
ให้ยกเลิกอัตราค่าธรรมเนียมท้ายพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้อัตรา
ค่าธรรมเนียมท้ายพระราชบญั ญัตโิ รงงาน (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ แทน
มาตรา ๒๕ แหง่ พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
บรรดากฎกระทรวง ระเบยี บ และประกาศท่ีออกตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ทใี่ ช้
บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับ
ได้ต่อไปเพียงเท่าท่ีไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญตั โิ รงงาน (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
มาตรา ๒๖ แหง่ พระราชบัญญัตโิ รงงาน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ซ่ึงออกให้ก่อนวนั ท่ี
พระราชบญั ญัตนิ ี้ใชบ้ ังคับ ใหถ้ ือวา่ เปน็ ใบอนุญาตประกอบกจิ การโรงงานตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน
พ.ศ. ๒๕๓๕ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ จนกว่าจะมีการเลิกประกอบกิจการโรงงาน
หรอื ถูกเพกิ ถอนใบอนญุ าต
มาตรา ๒๗ แหง่ พระราชบัญญัตโิ รงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
บรรดาคำขอท่ีได้ย่ืนไว้หรือการแจ้งที่ได้ดำเนินการก่อนวันท่ีพระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๒ใช้บังคับ และยังอยู่ในระหว่างการพิจารณา ให้ถือว่าเป็นคำขอหรือการแจ้งตาม
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๒ และให้ดำเนินการต่อไปตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ในกรณีที่คำขอหรือการแจง้ ดงั กล่าวมีข้อแตกต่างไป
จากคำขอหรือการแจ้งตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
โรงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ให้ผู้อนุญาตหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ี แล้วแต่กรณี มีอำนาจส่ังให้
แก้ไขเพิ่มเติมคำขอหรือการแจ้งเพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งแก้ไข
เพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญตั ิโรงงาน (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้
มาตรา ๗ แหง่ พระราชบัญญตั โิ รงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
บรรดากฎกระทรวงยกเว้นค่าธรรมเนียมซึ่งใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติโรงงาน
(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ใช้บังคับ ท่ีขัดหรือแย้งกับมาตรา ๔๓ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน
พ.ศ. ๒๕๓๕ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ให้เป็นอันสิ้นผล
บงั คับเฉพาะในสว่ นทข่ี ดั หรอื แยง้ กับมาตรา ๔๓ วรรคสอง ดงั กล่าว
2-10
คูม่ อื การปฏบิ ตั งิ านในภารกจิ ตามพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทแี่ ก้ไขเพิ่มเติม
ทีถ่ ่ายโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สำหรับเจ้าหนา้ ท่ีองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ
บทท่ี 3
ภารกิจหลักทมี่ ีการถา่ ยโอนใหอ้ งค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ
คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงานในภารกจิ ตามพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทแ่ี กไ้ ขเพิ่มเติม
ทถี่ ่ายโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น สำหรับเจา้ หน้าท่อี งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ
๓. ภารกิจหลักของการถา่ ยโอนภารกิจ
3.1 การกำกบั ดแู ลโรงงานจำพวกท่ี ๑
ขน้ั ตอนการดำเนนิ การ
อปท. สาํ รวจขอ้ มูล อก. สง่ ขอ้ มลู โรงงานเดมิ
(ถ้ามี)
อปท. สรปุ ขอ้ มลู แจ้ง
กรอ. / สอจ.
สอจ. แจง้ กรอ.
เปน็ ขอ้ มูลพืน้ ฐาน
หมายเหตุ : ขอ้ มูลโรงงานจำพวกที่ ๑ เปน็ ขอ้ มูลสำหรบั ใชใ้ นการกำกับดแู ลตามกฎหมาย
ขอบเขต : 1) ขอ้ มลู โรงงานจำพวกที่ ๑ จากกระทรวงอตุ สาหกรรม (กรอ./สอจ. ต่าง ๆ)
๒) เลิกกจิ การ
3-1
คู่มือการปฏบิ ัติงานในภารกิจตามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพ่มิ เติม
ทถ่ี า่ ยโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ สำหรับเจ้าหน้าท่อี งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน
3.2 การกำกบั ดแู ล การรบั แจง้ การประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี ๒
ขนั้ ตอนการดำเนนิ การ
กรอ./สอจ. สง่ แฟม้ เรอ่ื ง รับเรื่อง โรงงานใหม่ โรงงานจําพวกท่ี ๒ เดิม/ใหม่
เดมิ ของโรงงานเดิม
จดั เกบ็ ขอ้ มลู และรบั ชําระ การดําเนนิ การอืน่ ๆ
คา่ ธรรมเนียมรายปี
ออกใบรบั แจง้ และ สรุปผลการแจง้ กรอ./สอจ.
รบั ชาํ ระคา่ ธรรมเนียมรายปี
สรปุ ผลการแจง้ กรอ./สอจ. สอจ. แจง้ กรอ. เปน็
ฐานข้อมลู
สอจ. แจง้ กรอ.
เปน็ ฐานข้อมูล
หมายเหตุ : ขอ้ มลู โรงงานจำพวกท่ี ๒ เป็นขอ้ มูลสำหรบั ใช้ในการกำกับดแู ลตามกฎหมาย
ขอบเขต : 1) รบั แจ้งการประกอบกิจการในโรงงาน
๒) แจ้งโอนเปล่ียนแปลงสาระสำคัญในใบรบั แจ้ง
๓) แจง้ เลิก
๔) แจ้งเรอื่ งต่าง ๆ
3-2
คู่มือการปฏิบตั งิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทแ่ี ก้ไขเพม่ิ เติม
ทีถ่ ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ สำหรับเจา้ หน้าที่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่
3.3 การตรวจสอบกรณีโรงงานก่อเหตเุ ดอื ดรอ้ นรำคาญ
ขน้ั ตอนการดำเนนิ การ
รบั เรอ่ื งรอ้ งเรียน/พบเหน็ โรงงาน
กอ่ เหตุเดือดร้อนรําคาญ
รวบรวมข้อมูลเบ้ืองตน้
ดําเนินการเอง หรอื
ประสาน สอจ./กรอ.
ตรวจสอบ
สง่ั การ
ตรวจตดิ ตามผล
หมายเหตุ : การออกคำสัง่ ตาม ม.37 และ ม.๓๙ เป็นไปตามที่กระทรวงอตุ สาหกรรมมอบอำนาจ
ขอบเขต : รบั แจง้ เร่ืองร้องเรยี น ประสาน กรอ. หรือ สอจ. ในการตรวจสอบโรงงาน เกบ็ ประวตั กิ ารรอ้ งเรยี น
3-3
คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงานในภารกิจตามพระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพ่มิ เติม
ทถ่ี ่ายโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ สำหรับเจา้ หน้าทีอ่ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น
บทท่ี 4
แนวทางการปฏบิ ตั งิ านในกระบวนการต่าง ๆ
คมู่ อื การปฏิบัตงิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแกไ้ ขเพม่ิ เติม
ท่ีถา่ ยโอนให้แก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ สำหรับเจา้ หน้าที่องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น
4.1 การรับฟังความคดิ เห็นของประชาชน
ระเบียบกระทรวงอุตสาหกรรมวา่ ด้วยการรบั ฟังความคดิ เหน็ ของประชาชนในการพิจารณาออกใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงาน
ใบอนญุ าตประกอบกจิ การโรงงาน และใบอนุญาตขยายโรงงาน ตามกฎหมายว่าดว้ ยโรงงาน พ.ศ. 2555 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557
ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน
รับคาํ ขอท่ัวไปสาํ หรบั การรบั ฟงั ความ - คาํ ขอทว่ั ไปสําหรับการรบั ฟังความคิดเหน็ ของประชาชน
คดิ เห็นของประชาชน [1] - ใบแจง้ ประกอบกจิ การโรงงานจําพวกท่ี 2 (แบบ ร.ง.1) พร้อมเอกสาร อื่นๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง
ตรวจสอบคาํ ขอฯ [2] ไม่ครบถว้ นถูกตอ้ ง กรณี เอกสารไม่ครบถ้วน/ไมถ่ กู ตอ้ ง ใหค้ ืนคําขอท่วั ไปฯ พร้อม
เอกสารแนบเพอ่ื ใหผ้ ูย้ ืน่ คําขอฯ ไปปรับปรุงแกไ้ ขเพิ่มเติม
เอกสารแลว้ นํากลบั มายื่นใหม่
ครบถว้ นถกู ต้อง
ลงทะเบียนรับคําขอฯ [3]
จัดทําประกาศรับฟงั ฯ [4] แบบ 1, แบบ 2, แบบ 3 และแบบ 4 ทา้ ยระเบยี บกระทรวงอุตสาหกรรม
ฯ พร้อมแนบสําเนาใบแจง้ ฯ (แบบ ร.ง.1)
ปิดประกาศรับฟังฯ [5] 1. เจา้ หน้าทนี่ ําแบบ 1, แบบ 2, แบบ 3 และแบบ 4 พรอ้ มแนบสาํ เนาใบ
แจ้งฯ (แบบ ร.ง.1) ไปปิดประกาศด้วยตนเอง หรอื จัดทาํ หนังสือถึง หน่วยงาน
จดั ทําสรุปผลการรบั ฟงั ทีเ่ กีย่ วข้องเพอ่ื ขอปิดประกาศเอกสารดังกลา่ ว
ความคิดเห็นของประชาชน [6]
2. ปิดประกาศเอกสารตามขอ้ 1 ณ สถานทีท่ ี่กาํ หนดในระเบียบฯ ใหแ้ ลว้
แจ้งผลการรบั ฟังฯ ให้แกผ่ ู้ยื่นคําขอฯ เสร็จภายใน 3 วนั นับแต่วนั ทีร่ ะบุในท้ายแบบ 1
ทราบ เพอ่ื นําไปประกอบการยื่นขอใบ
รบั แจง้ การประกอบกิจการโรงงาน 3. ระยะเวลาการปิดประกาศเอกสารตามขอ้ 2 ใหม้ ีระยะเวลา 7 วันนับแต่
วันปดิ ประกาศฯ
จําพวกท่ี 2 ภายใน 45 วนั [7]
4. ตรวจสอบความเหมาะสมของทาํ เลทต่ี ้งั ของโรงงานตามกฎหมายท่ี
เกยี่ วขอ้ งไวเ้ ปน็ การลว่ งหนา้ (เพ่ือนาํ ผลการตรวจสอบไปใช้
ประกอบการพิจารณาการออกใบรบั แจ้งฯ)
เม่อื ครบกําหนดประกาศรับฟงั ฯ 7 วนั แล้ว ให้จดั ทาํ สรปุ ผลการ
รับฟังฯ ตามแบบ 5 ท้ายระเบยี บกระทรวงอตุ สาหกรรมฯ แลว้
นําไปปดิ ประกาศ ณ สถานทเี่ ดยี วกบั ท่ปี ดิ ประกาศรบั ฟังฯ ครง้ั
แรก ภายใน 15 วันนบั แต่วนั ครบกาํ หนดระยะเวลาการ รบั ฟงั
ฯ เพ่อื ให้ประชาชนทราบ
หมายเหตุ
- ผยู้ ่นื คำขอท่ัวไปฯ ตอ้ งยื่นขอใบรบั แจ้งฯ ภายใน 45 วนั นับแต่วันประกาศสรปุ ผลรบั ฟงั ฯ (แบบ 5)
- กรณผี ้ยู ่ืนขอท่ัวไปฯ ยน่ื ขอใบรับแจง้ ฯ เกินกำหนด 45 วัน นบั แต่วันประกาศสรปุ ผลรบั ฟังฯ (แบบ 5)
เมือ่ ย่นื ใบแจง้ ฯ (แบบ ร.ง.1) แลว้ ตอ้ งมกี ารประกาศรบั ฟังฯ 7 วนั ใหม่
รายละเอยี ดการปฏิบัตงิ าน
[1] ผู้ใดประสงค์จะขอใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 ต้องย่ืนคำขอฯ ก่อน โดยแนบเอกสาร
ตามข้อ 1 แห่งกฎกระทรวงการแจ้งและการรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 พ.ศ. 2564 ออก
ตามความในพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และทีแ่ กไ้ ขเพิ่มเติม พร้อมเอกสารอน่ื ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง จำนวน 1 ชดุ
4-1
ค่มู อื การปฏิบตั งิ านในภารกิจตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพม่ิ เติม
ท่ถี า่ ยโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ สำหรับเจา้ หนา้ ทอี่ งคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่
[2] เม่ือพนกั งานเจ้าหน้าที่ได้รับคำขอฯ พรอ้ มเอกสารอื่น ๆ ที่เกีย่ วข้องตามขอ้ [1] แลว้ ให้ดำเนินการตรวจสอบ
ความครบถว้ นถกู ต้องของเอกสาร หากไมค่ รบถว้ นหรอื ไมถ่ ูกตอ้ งใหค้ ืนคำขอฯ พร้อมเอกสารแนบเพ่ือให้
ผู้ย่นื คำขอฯ นำไปปรบั ปรุงแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ เอกสารแล้วนำกลบั มายน่ื ใหม่
[3] - [4] เมื่อตรวจสอบแล้วเอกสารครบถ้วนถูกตอ้ ง ให้พนักงานเจ้าหน้าทลี่ งทะเบียนรับคำขอฯ แล้วดำเนินการ
จัดทำประกาศรบั ฟังฯ ตาม แบบ 1, แบบ 2, แบบ 3 และแบบ 4 ท้ายระเบียบกระทรวงอตุ สาหกรรมฯ
พรอ้ มแนบสำเนาใบแจ้งฯ (แบบ ร.ง.1) เพอ่ื นำไปปิดประกาศ
[5] ให้เจ้าหน้าท่ีปิดประกาศการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนตามแบบ 1, แบบ 2, แบบ 3 และแบบ 4
ท้ายระเบียบกระทรวงอุตสาหกรรมฯ พร้อมแนบสำเนาใบแจ้งฯ (แบบ ร.ง.1) ให้แล้วเสร็จภายใน 3 วัน
นับแตว่ ันท่ีระบใุ นประกาศรับฟังฯ โดยปดิ ประกาศไว้ในท่เี ปิดเผย ณ สถานทดี่ งั ตอ่ ไปนี้เปน็ เวลา 7 วัน
กรณโี รงงานต้ังอยูใ่ นเขตเทศบาล/เขตเมืองพัทยา
• ทที่ ำการเทศบาลท่โี รงงานตง้ั อย่/ู เมอื งพัทยาท่ีโรงงานตง้ั อยู่
• ทว่ี ่าการอำเภอท้องทที่ ่ีโรงงานตั้งอยู่
• สำนกั งานอตุ สาหกรรมจังหวดั ในท้องท่ที ีโ่ รงงานตง้ั อยู่
• สถานท่ีตง้ั โรงงาน
กรณโี รงงานตงั้ อยใู่ นเขตกรุงเทพฯ
• ที่ทำการสำนกั งานเขตที่โรงงานตงั้ อยู่
• กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
• สถานทตี่ งั้ โรงงาน
เพื่อประโยชน์ในการออกใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 (แบบ ร.ง.2) ในการ
ปิดประกาศรับฟังฯ พนักงานเจ้าหน้าท่ีต้องดำเนินการตรวจสอบความเหมาะสมของทำเลที่ต้ังของโรงงาน
ตามกฎหมายท่เี ก่ยี วขอ้ งไวเ้ ป็นการล่วงหนา้ โดยสาระสำคญั ของการตรวจสอบประกอบไปดว้ ย
- ทำเลที่ต้ังโรงงานขัดต่อ กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความใน
พระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 หรอื ไม่
- ทำเลที่ต้ังโรงงานขัดต่อ กฎกระทรวงว่าด้วยการใช้ประโยชน์ในเขตผังเมืองตาม
กฎหมายวา่ ด้วยการผังเมอื ง หรอื ไม่
- สำหรับกฎหมายอ่นื ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ งให้พจิ ารณาตามความจำเป็น
[6] เมื่อปิดประกาศรับฟังฯ ครบ 7 วันแล้ว ให้จัดทำสรุปผลการรับฟังฯ ตามแบบ 5 ท้ายระเบียบ
กระทรวงอุตสาหกรรมฯ แล้วนำไปประกาศให้ประชาชนทราบ ณ สถานท่ตี ามข้อ [4] ข้างตน้ ภายใน 15 วัน
นับแต่วันครบกำหนดระยะเวลาการรับฟังฯ และมีหนังสือแจ้งผลการรับฟังฯ ให้ผู้ย่ืนคำขอฯ ทราบเพื่อ
นำมาประกอบการย่ืนขอใบรับแจ้งฯ (แบบ ร.ง.2) ภายใน 45 วัน นบั แต่วันประกาศสรุปผลรบั ฟังฯ (แบบ 5)
[7] กรณีท่ีผู้ย่ืนคำขอฯ ได้ยื่นใบแจ้งฯ (แบบ ร.ง.1) ภายใน 45 วันนับแต่วันประกาศสรุปผลการรับฟังฯ
(แบบ 5 ท้ายระเบียบกระทรวงอุตสาหกรรมฯ) พนักงานเจ้าหน้าท่ีสามารถนำผลการรับฟังความคิดเห็นของ
ประชาชนทไี่ ดด้ ำเนินการไว้ มาประกอบการพิจารณาเพื่อออกหรือไมอ่ อกใบรับแจง้ ฯ (แบบ ร.ง.2) ได้
กรณีมีการย่ืนใบแจ้งฯ (แบบ ร.ง.1) เกินกว่า 45 วันนับแต่วันประกาศสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นของ
ประชาชน (แบบ 5) พนักงานเจ้าหน้าท่ีไม่สามารถนำผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนท่ีได้ดำเนินการไว้
มาประกอบการพิจารณาเพ่ือออกหรือไม่ออกใบรับแจ้งฯ (แบบ ร.ง.2) ได้ และกรณีนี้ต้องให้จัดให้มีการรับฟัง
ความคิดเห็นของประชาชนใหม่
4-2
คู่มือการปฏิบตั ิงานในภารกจิ ตามพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทีแ่ ก้ไขเพ่ิมเติม
ทถ่ี า่ ยโอนให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ สำหรับเจา้ หน้าทีอ่ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ
หมายเหตุ
1. โรงงานที่ได้จัดให้มีการรับฟังฯ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของ
ประชาชน ให้ถือว่าได้จัดให้มีการรับฟังฯ ตามระเบียบกระทรวงอุตสาหกรรมว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของ
ประชาชนในการพิจารณาออกใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานและใบอนุญาตโรงงาน ตามกฎหมายว่าด้วย
โรงงาน พ.ศ. 2555 และ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557 แล้ว
2. โรงงานที่ได้รับการเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการ
ส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ หรือโรงงานท่ีอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงท้ัง
ด้านคุณภาพส่ิงแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ที่ได้ดำเนินการให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทยแล้ว ให้ถือว่าได้จัดให้มีการรับฟังฯ ในการพิจารณาออกใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงาน
และใบอนญุ าตโรงงาน ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรงงาน พ.ศ. 2555 และ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2557 แลว้
3. หน่วยงานของรัฐท่ีออกใบรับแจ้งฯ (แบบ ร.ง.2) จะต้องเก็บรักษาสำเนาเอกสารเก่ียวกับการรับฟังฯ
ทั้งหมดไว้ จนกว่าผู้ประกอบกิจการโรงงานจะเลิกประกอบกิจการโรงงาน ทั้งนี้เมื่อผู้ประกอบกิจการโรงงาน
จำพวกท่ี 2 เลิกประกอบกิจการโรงงานแล้ว อายุการเก็บรักษาและการทำลายสำเนาเอกสารดังกล่าวให้เป็นไป
ตามระเบยี บสำนักนายกรฐั มนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง (ผยู้ น่ื คำขอทว่ั ไปต้องลงนามรบั รองเอกสารทุกฉบบั )
ลำดับ ชือ่ เอกสาร จำนวน และรายละเอยี ดเพิ่มเติม (ถ้ามี)
1) ใบแจ้งการประกอบกจิ การโรงงานจำพวกที่ 2 (แบบ ร.ง.1) ฉบบั จริง ๑ ฉบบั
2) 2.1 กรณี บคุ คลธรรมดา
(1) บตั รประจำตัวประชาชน (นำมาแสดงตอ่ เจา้ หน้าที)่ ฉบับจรงิ 1 ฉบับ
(2) ทะเบียนบ้าน (นำมาแสดงตอ่ เจ้าหน้าท่)ี ฉบับจรงิ 1 ฉบับ
2.2 กรณี นติ บิ คุ คล
(1) หนังสือรับรองนิติบุคคล (ต้องคัดสำเนาไว้ไม่เกิน 3 เดือน นับต้ังแต่วันคัดสำเนาจนถึงวันท่ียื่นใบแจ้งฯ
โดยต้องมีวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลตรงกับประเภทของการแจ้งการประกอบกิจการโรงงาน และมีการลงนาม
รับรองเอกสารและประทับตรา (ถา้ ม)ี ทกุ หน้า) สำเนา 2 ฉบบั
(2) บัตรประจำตัวประชาชนของผมู้ อี ำนาจลงนามแทนนติ ิบุคคล (นำมาแสดงต่อเจ้าหนา้ ท่ี) ฉบบั จรงิ 1 ฉบบั
(3) ทะเบยี นบา้ นของผมู้ ีอำนาจลงนามแทนนิตบิ ุคคล (นำมาแสดงต่อเจา้ หนา้ ท่ี) ฉบับจริง 1 ฉบับ
(4) กรณีบุคคลต่างด้าวเป็นผู้แทนนิติบุคคลให้ใช้สำเนาหนังสือเดินทาง (Passport) และสำเนาใบอนุญาตทำงาน
(Work permit) สำเนา 2 ฉบบั
3) ทะเบยี นบา้ นทตี่ ้ังโรงงาน (นำมาแสดงตอ่ เจ้าหนา้ ที)่ ฉบบั จริง 1 ฉบบั
4) หนังสือมอบอำนาจใหก้ ระทำการแทนผยู้ ่นื คำขอฯ (ถ้ามี) ฉบบั จริง 1 ฉบบั (นำมาแสดงต่อเจ้าหนา้ ท)ี่ สำเนา 1 ฉบับ
หมายเหตุ (ติดอากรแสตมป์ตามที่กฎหมายกำหนด พร้อมแนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรือสำเนาหนังสือเดินทางของผู้
มอบอำนาจทีม่ ีการลงนามรบั รองโดยเจ้าของบัตรหรือหนังสือเดินทาง กรณีมอบอำนาจในนามนิติบุคคคลให้แนบสำเนาหนังสือ
รับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลคัดสำเนาไม่เกิน 3 เดือน ที่มีรายละเอียดของผู้มีอำนาจลงนาม ท่ีอยู่สำนักงาน และ
วัตถุประสงคข์ องนิติบุคคล และมีการลงนามรบั รองตามข้อกำหนดทรี่ ะบใุ นหนงั สอื รบั รองการจดทะเบียนเปน็ นิติบุคคล)
4-3
คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านในภารกิจตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี ก้ไขเพ่ิมเติม
ทีถ่ า่ ยโอนให้แก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ สำหรับเจ้าหนา้ ที่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น
ลำดับ ชอื่ เอกสาร จำนวน และรายละเอียดเพ่ิมเติม (ถ้ามี)
5) เอกสารแสดงการมสี ทิ ธิ์ใชท้ ่ดี นิ
5.1 กรณีผู้ขอใบรับแจ้งฯเป็นเจ้าของที่ดิน ให้แนบสำเนาโฉนดท่ีดิน (นส.4) หรือ นส.3 หรือ นส.3ก (กรณีใช้
ท่ีดินหลายแปลงในการแจ้งฯให้แนบแผนผังรวมโฉนดท่ีดินโดยมีคำรับรองจากสำนักงานที่ดินในท้องที่ท่ีจะต้ัง
โรงงานเพิ่มเติมดว้ ย) มกี ารลงนามรบั รองเอกสารโดยเจา้ ของทด่ี นิ ทุกหน้า สำเนา ๑ ฉบบั
5.2 กรณีผู้ขอใบรับแจ้งฯ ไม่ได้เป็นเจ้าของที่ดิน ต้องแนบหนังสือยินยอมให้ใช้ที่ดิน สำเนาโฉนดท่ีดิน (นส.4)
หรือ นส.3 หรือ นส.3ก และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของเจ้าของท่ีดิน ที่มีการลงนามรับรองเอกสารโดย
เจ้าของที่ดินทุกหน้า (กรณีใช้ท่ีดินหลายแปลงในการแจ้งฯให้แนบแผนผังรวมโฉนดท่ีดินโดยมีคำรับรองจาก
สำนักงานท่ดี ินในท้องท่ที จ่ี ะตัง้ โรงงานเพิ่มเตมิ ดว้ ย) สำเนา 1 ฉบับ
5.3 กรณีเปน็ ที่ดนิ ของรัฐต้องได้รับการอนุญาตใหใ้ ช้ท่ีดินเพื่อการแจ้งการประกอบกิจการโรงงาน จากหน่วยงาน
ของรัฐท่กี ำกบั ดแู ลทดี่ ินตามกฎหมาย สำเนา 1 ฉบบั
6) เอกสารเกี่ยวกับอาคารโรงงาน (ไม่วา่ จะมีอาคารอยเู่ ดมิ หรอื ไม)่ สำเนา ๑ ฉบบั
(1) เอกสารที่ได้รับการอนุญาตตามกฎหมายวา่ ด้วยการควบคมุ อาคาร
(2) แบบแปลนอาคารโรงงานท่ีมีขนาดเหมาะสมถูกต้องตามมาตราส่วน แสดงภาพลักษณะอาคารด้านบน
ด้านหนา้ ดา้ นข้าง ประตทู างเข้า-ออก บันได ทางหนีไฟ และสามารถตรวจสอบรายละเอยี ดได้อยา่ งชดั เจน
7) แผนทีแ่ สดงบริเวณท่ีตั้งโรงงาน รวมทัง้ สิ่งปลกู สรา้ งในพน้ื ทใี่ กลเ้ คียง โดยสังเขป และแผนผังแสดงสิง่ ปลูกสรา้ งภายใน
บริเวณโรงงาน ฉบับจรงิ ๑ ฉบับ
หมายเหตุ (ขนาดเหมาะสมและถูกต้องตามมาตราส่วน กรณีขอใช้ที่ดินไม่เต็มพ้ืนท่ีตามหนังสือแสดงกรรมสิทธ์ิ
ในทีด่ ิน ใหแ้ สดงแนวเขตเนอ้ื ทีบ่ ริเวณท่ีใช้ในการยนื่ ใบแจ้งฯ (แบบ ร.ง.1) ใหช้ ัดเจน)
8) แผนผังแสดงการตดิ ตัง้ เคร่อื งจกั ร ฉบบั จรงิ ๑ ฉบับ
หมายเหตุ (แผนผังแสดงการติดตั้งเคร่ืองจักรในอาคารขนาดเหมาะสมถูกต้องตามมาตราส่วน พร้อมรายละเอียด
เคร่ืองจักรท่ีเป็นภาษาไทย และถูกต้องตรงกับลำดับรายการเครื่องจักรที่แสดงในใบแจ้งการประกอบกิจการโรงงาน
จำพวกท่ี 2 (แบบ ร.ง. 1) มีการลงนามรับรองในแผนผังทุกหน้า โดยผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตาม
กฎหมายว่าด้วยวิศวกร พร้อมแนบหนังสือรับรองและสำเนาใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของ
ผูอ้ อกแบบแผนผงั การติดต้ังเครื่องจักร)
9) แผนภูมิแสดงรายละเอียดขั้นตอนการผลิต จุดท่ีอาจก่อให้เกิดมลพิษหรือปัญหาส่ิงแวดล้อม ได้แก่ น้ำเสีย อากาศเสีย และ
มลพษิ อนื่ ๆ ฉบับจรงิ ๑ ฉบับ
10) รายการคำนวณการออกแบบ คุณลักษณะของมลพิษที่ใช้ในการออกแบบ ชนิดของระบบบำบัด วิธีการป้องกันเหตุ
เดือดร้อนรำคาญ ความเสียหายอันตราย และการควบคุมการปล่อยของเสีย ได้แก่ น้ำเสีย อากาศเสีย และมลพิษอ่ืน ๆ
ทไ่ี ม่ใชก่ ากอตุ สาหกรรม (ถ้าม)ี ฉบบั จริง 1 ฉบับ
หมายเหตุ (ต้องมีการออกแบบและคำนวณรวมทั้งลงนามรับรองในแบบแปลนทุกหน้า และรายการคำนวณทุกหน้า
โดยผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร พร้อมแนบหนังสือรับรองและสำเนาใบอนุญาต
ประกอบวิชาชพี วศิ วกรรมควบคมุ )
11) เอกสารแสดงคำอธิบายถึงรายละเอียดชนิด ปริมาณ วิธีการกำจัด ควบคุม จัดเก็บ การป้องกันเหตุเดือดร้อนรำคาญ
และความเสียหายอนั ตราย อนั เนื่องมาจากกากอตุ สาหกรรม ฉบับจรงิ 1 ฉบับ
12) เอกสารแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการปอ้ งกนั และระงบั อัคคภี ยั ในโรงงาน ฉบบั จริง 1 ฉบับ
หมายเหตุ (กรณีเป็นประเภทหรือชนิดของโรงงานที่กำหนดตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการป้องกันและ
ระงับอัคคภี ัยในโรงงาน พ.ศ. 2552)
13) เอกสารอน่ื ๆ ตามทีพ่ นักงานเจา้ หน้าท่ีกำหนด (ถ้ามี) ฉบรั งิ 1 ฉบับ
4-4
คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงานในภารกิจตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี กไ้ ขเพมิ่ เติม
ทถี่ ่ายโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน สำหรับเจ้าหนา้ ทีอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ
ป 4.2 การรับแจ้งและออกใบรบั แจง้ การประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี 2
(มาตรา 11 พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535)
ข้ันตอนการปฏบิ ัติ
รับใบแจ้งฯ (ร.ง.1) พร้อม แก้ไขแลว้ กําหนดระยะเวลาให้แก้ไขเอกสาร ไม่แกไ้ ข
เอกสารประกอบ [1] ให้ครบถ้วนถูกตอ้ ง [2.2]
ส่งเรือ่ งคืนผู้แจ้งฯ [2.3]
ไม่ครบถว้ นถกู ต้อง ทาํ ทันทีไมไ่ ด้
ตรวจสอบความครบถ้วน แก้ไขเอกสารให้ครบถ้วนถกู ตอ้ งทนั ที [2.1]
ถกู ตอ้ งของเอกสาร [2]
ครบถว้ นถูกตอ้ ง ทาํ ไดท้ ันที
ลงทะเบียนรับเร่ืองแจง้ ฯ [3]
พิจารณา [4] ขัดต่อกฎหมาย มีหนงั สือแจง้ ผลการพจิ ารณา
/สทิ ธอิ ุทธรณ์ [5.2]
ไม่รับแจ้งฯ [5.1]
ไมข่ ัดตอ่ กฎหมาย
รับแจง้ ฯ [5]
ออกใบรับแจง้ ฯ (แบบ ร.ง.2) [6] กรณมี ีผ้คู ดั ค้านต้องจดั ทําแบบ 6 ทา้ ยระเบียบกระทรวง
อตุ สาหกรรมฯ และนาํ ไปปดิ ประกาศไว้ ณ สถานที่เดยี วกับ
สถานท่ีท่ปี ระกาศรบั ฟังความคดิ เหน็ ของประชาชน
เรียกเกบ็ เงนิ ค่าธรรมเนยี มรายปี [7]
มอบใบรบั แจง้ ฯ (แบบ ร.ง.2) [8]
ไมค่ รบถ้วนถกู ต้อง
เจ้าหน้าทเ่ี ข้าตรวจโรงงานและ ส่ังการปรบั ปรุงแก้ไขให้ถกู ตอ้ งตามมาตรา 11 วรรคสี่
เคร่อื งจกั ร ฯลฯ ภายใน 15 วนั [9]
หรือมาตรา 37 ตามลําดับ [9.2]
ครบถ้วนถูกตอ้ ง *ตามกระบวนการท่ี 4.3 (ต่อ)
เกบ็ เรื่อง [9.1]
หมายเหตุ
- การพิจารณาออกหรอื ไม่ออกใบรบั แจ้งฯ น้นั หากไมม่ ีการแกไ้ ขเอกสารหรือมีการแก้ไขเอกสารทันที ในขั้นตอนท่ี 3 แล้ว จะต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จทันที
(ตามนัยของมาตรา 11 แหง่ พระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535)
- กรณี มีการแก้ไขเอกสารในขัน้ ตอนท่ี 3 นน้ั เม่ือได้มกี ารแก้ไขเอกสารเสร็จสิ้นแล้ว ใหพ้ ิจารณาออกหรือไมอ่ อกใบรบั แจง้ ให้แลว้ เสร็จทนั ที
- ขนั้ ตอนการปฏิบัตงิ านน้ีอาจกระทำในระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ได้ตามท่ีกฎหมายว่าด้วยโรงงานกำหนด
4-5
คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านในภารกิจตามพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทแี่ กไ้ ขเพ่มิ เติม
ทถ่ี า่ ยโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ สำหรับเจา้ หน้าทีอ่ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่
รายละเอยี ดการปฏบิ ัติงาน
[1] พนกั งานเจ้าหนา้ ท่ีรับเรือ่ งการแจง้ การประกอบกจิ การโรงงานจำพวก 2 (แบบ ร.ง.1) พรอ้ มเอกสารประกอบ
[2] พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้องของเอกสาร ใบแจ้ง ฯ (แบบ ร.ง.1) และเอกสารประกอบ
ตามตารางเอกสารที่เก่ยี วขอ้ ง โดยแบ่งเอกสารท่ีตรวจสอบเป็น 2 สว่ น ดงั น้ี
สว่ นที่ 1 เอกสารท่ีกำหนดตามกฎกระทรวงการแจ้งและการรบั แจ้งการประกอบกจิ การโรงงาน
จำพวกที่ 2 พ.ศ. 2564 ออกตามความในพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเตมิ
(ต้องมกี ารลงนามรบั รองเอกสารโดยผู้แจง้ ฯหรือผรู้ บั มอบอำนาจทุกฉบบั /ทุกหน้า)
1. ใบแจง้ การประกอบกจิ การโรงงานจำพวกที่ 2 (ฉบับจรงิ 2 ฉบับ)
- ตอ้ งเป็นแบบใบแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี 2 (แบบ ร.ง.1) ตามกฎกระทรวงการ
แจ้งและการรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 พ.ศ. 2564 ออกตามความใน
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แบบใบแจ้งฯ สามารถถ่ายสำเนา
หรือดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (www.diw.go.th) ห้าม
เปลยี่ นหรือดัดแปลงรปู แบบใบแจ้งฯ
- กรอกรายละเอยี ดใหค้ รบถว้ น และถกู ตอ้ งตามสภาพจริง
- รายละเอียดการกรอกข้อมูลในใบแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี 2 (แบบ ร.ง.1)
ตอ้ งครบถว้ น (ถ้าไมม่ ใี หร้ ะบุว่า “ไม่ม”ี หรอื ใชเ้ ครอ่ื งหมาย “-” แทน)
- ต้องระบุประเภทของการประกอบกิจการโรงงาน กำลังแรงม้าเครื่องจักร และ จำนวนคนงาน
เพือ่ ตรวจสอบประเภทของการประกอบกิจการโรงงาน และขนาดของโรงงานไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
- รายการเครื่องจักร วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ ต้องเป็นภาษาไทยกรณีจะระบุเป็นภาษาอ่ืนต้อง
ระบเุ ป็นภาษาไทยก่อนแล้วมภี าษาอื่นกำกบั
- กรณีมีรายการแก้ไขข้อมูลต้องลงนามกำกับการแก้ไขโดยผู้แจ้งการประกอบกิจการ
โรงงานจำพวกท่ี 2 หรือผทู้ ่ไี ด้รบั มอบหมายให้ดำเนนิ การแทน
- ใบแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 (แบบ ร.ง.1) ทุกหน้าต้องมีการลงลายมือช่ือของผู้
ประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี 2 หรอื ผู้รบั มอบอำนาจทกุ หนา้ (ห้ามถา่ ยสำเนาลายมอื ชือ่ แทน)
- การลงชื่อผู้แจ้งฯ ในกรณีที่เป็นนิติบุคคล จะต้องเป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนามท่ีเป็นไป
ตามท่ีระบุในหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล หรือผู้รับมอบอำนาจเท่าน้ัน (ห้าม
ถา่ ยสำเนาลายมือชอ่ื แทน)
2. เอกสารประกอบใบแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2
2.1 เอกสารแสดงสถานะผแู้ จ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี 2
2.1.1 กรณี บคุ คลธรรมดา
- บัตรประจำตวั ประชาชน (นำมาแสดงตอ่ เจา้ หน้าท่)ี ฉบบั จริง 1 ฉบบั
- ทะเบียนบา้ น (นำมาแสดงตอ่ เจ้าหน้าท)่ี ฉบบั จรงิ 1 ฉบบั
2.2.2 กรณี นติ ิบุคคล
- หนังสือรับรองนิติบุคคล (ต้องคัดสำเนาไว้ไม่เกิน 3 เดือน นับตงั้ แต่วันคัดสำเนาจนถึง
วันท่ียื่นใบแจ้งฯ โดยต้องมีวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลตรงกับประเภทของการแจ้งการ
4-6
คมู่ อื การปฏบิ ัติงานในภารกจิ ตามพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม
ทถ่ี ่ายโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน สำหรับเจ้าหน้าทอ่ี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ
ประกอบกิจการโรงงาน และมีการลงนามรับรองเอกสารและประทับตรา (ถ้ามี) ทุกหน้า)
สำเนา 2 ฉบับ
- บัตรประจำตัวประชาชนของผู้มีอำนาจลงนามแทนนิตบิ ุคคล (นำมาแสดงต่อเจ้าหน้าที่)
ฉบบั จริง 1 ฉบับ
- ทะเบียนบา้ นของผู้มีอำนาจลงนามแทนนติ ิบคุ คล (นำมาแสดงตอ่ เจ้าหนา้ ท่ี)
ฉบับจริง 1 ฉบับ
2.2 กรณีมีการมอบอำนาจมาดำเนินการแทน เอกสารประกอบด้วย (ฉบับจริง 1 ฉบับ
สำเนา ๑ ฉบับ)
2.2.1 ต้นฉบับหนังสือมอบอำนาจให้ดำเนินการแทนอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียวให้
ติดอากรแสตมป์ 10 บาท กรณีเป็นการมอบอำนาจให้ดำเนินการแทนหลายอยา่ งให้ติดอากร
แสตมป์ 30 บาท แลว้ แตก่ รณี โดยการมอบอำนาจต้องมีพยานรบั รอง 2 คน
2.2.2 สำเนาบัตรประจำตวั ประชาชนของผูม้ อบและผู้รบั มอบอำนาจ
2.2.3 สำเนาทะเบยี นบ้านของผู้มอบและผรู้ บั มอบอำนาจ
2.2.4 สำเนาบตั รประจำตัวประชาชนของพยาน 2 คน
3. แผนที่แสดงบริเวณท่ีตั้งโรงงาน รวมทั้งส่ิงปลูกสร้างในพื้นท่ีใกล้เคียง โดยสังเขป และแผนผัง
แสดงสง่ิ ปลูกสรา้ งภายในบริเวณโรงงาน (ฉบับจรงิ 2 ฉบับ)
หมายเหตุ (ขนาดเหมาะสมและถูกต้องตามมาตราสว่ น กรณีขอใช้ที่ดินไม่เต็มพ้นื ที่ตามหนังสือแสดง
กรรมสิทธ์ิในท่ีดิน ให้แสดงแนวเขตเนื้อท่ีบริเวณทใ่ี ช้ในการขอใบรับแจง้ ฯ (แบบ ร.ง.2)ให้ชดั เจน)
ส่วนที่ 2 เอกสารเอกสารตามท่เี จา้ หนา้ ท่ีกำหนด
(ต้องมกี ารลงนามรบั รองเอกสารโดยผ้แู จง้ ฯหรอื ผรู้ ับมอบอำนาจทกุ ฉบับ/ทุกหนา้ )
1. หนังสือแจ้งผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนท่ีหน่วยงานผู้รับแจ้งการประกอบกิจการ
โรงงานจำพวกท่ี 2 ท่ีหน่วยงานรับฟังความคิดเห็นของประชาชนฯ ส่งไปถึงผู้แจ้งฯ เพ่ือให้นำมายื่นขอ
ใบรับแจ้งการประกอบกจิ การโรงงานจำพวกที่ 2 (ฉบบั จรงิ ๑ ฉบับ สำเนา ๑ ฉบบั )
2. ทะเบยี นบา้ นทต่ี งั้ โรงงาน (นำมาแสดงต่อเจา้ หนา้ ที่) ฉบับจรงิ 1 ฉบับ
3. เอกสารแสดงการมีสทิ ธ์ใิ ชท้ ีด่ ิน ประกอบดว้ ย
3.1 กรณีผู้ขอใบรับแจ้งฯเป็นเจ้าของท่ีดิน ให้แนบสำเนาโฉนดท่ีดิน (นส.4) หรือ นส.
3 หรือ นส.3ก (กรณีใช้ทีด่ นิ หลายแปลงในการแจ้งฯให้แนบแผนผังรวมโฉนดทีด่ ินโดย
มีคำรบั รองจากสำนกั งานทีด่ ินในทอ้ งที่ท่ีจะต้ังโรงงานเพม่ิ เตมิ ด้วย) (สำเนา 2 ฉบบั )
3.2 กรณีผู้ขอใบรับแจ้งฯ ไม่ได้เป็นเจ้าของท่ีดิน ต้องแนบหนังสือยินยอมให้ใช้ที่ดิน
สำเนาโฉนดท่ีดิน (นส.4) หรือ นส.3 หรือ นส.3ก และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
ของเจ้าของท่ีดิน ท่ีมีการลงนามรับรองเอกสารโดยเจ้าของท่ีดินทุกหน้า (กรณีใช้ท่ีดิน
หลายแปลงในการแจ้งฯให้แนบแผนผังรวมโฉนดท่ีดินโดยมีคำรับรองจากสำนักงานที่ดิน
ในท้องทท่ี ่จี ะตัง้ โรงงานเพม่ิ เติมดว้ ย) (ฉบับจรงิ 1 ฉบบั สำเนา 1 ฉบับ)
3.3 กรณีเป็นท่ีดินของรัฐต้องได้รับการอนุญาตให้ใช้ที่ดินเพ่ือการแจ้งการประกอบกิจการ
โรงงาน จากหน่วยงานของรัฐทกี่ ำกับดแู ลที่ดินตามกฎหมาย (ฉบบั จริง 1 ฉบับ สำเนา 1 ฉบับ)
4-7
คูม่ ือการปฏิบัติงานในภารกจิ ตามพระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม
ทีถ่ ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น สำหรับเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
4. เอกสารเกี่ยวกับอาคารโรงงาน (ไมว่ ่าจะมีอาคารอยูเ่ ดิมหรอื ไม่)
(1) เอกสารท่ีได้รับการอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร (ฉบับจริง 1 ฉบับ
สำเนา 1 ฉบบั )
(2) แบบแปลนอาคารโรงงานที่มีขนาดเหมาะสมถูกต้องตามมาตราส่วน แสดงภาพลักษณะ
อาคารด้านบน ด้านหน้า ด้านข้าง ประตูทางเข้า-ออก บันได ทางหนีไฟ และสามารถ
ตรวจสอบรายละเอียดไดอ้ ย่างชดั เจน(ฉบับจริง ๒ ฉบบั )
5. แผนผงั แสดงการตดิ ตั้งเครือ่ งจกั ร (ฉบับจรงิ 2 ฉบับ)
(1) แผนผังแสดงการติดต้ังเครื่องจักรในอาคารขนาดเหมาะสมถูกต้องตามมาตราส่วน
พร้อมรายละเอียดเครื่องจักรท่ีเป็นภาษาไทย และถูกต้องตรงกับลำดับรายการ
เครอ่ื งจักรที่แสดงในใบแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี 2 (แบบ ร.ง.1)
(2) มีการลงนามรับรองในแผนผังทุกหน้า โดยผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตาม
กฎหมายว่าด้วยวิศวกร พร้อมแนบหนงั สอื รับรองและสำเนาใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ
วศิ วกรรมควบคมุ ของผูอ้ อกแบบแผนผังการตดิ ตงั้ เครื่องจกั ร
6. แผนภูมิแสดงรายละเอียดข้ันตอนการผลิต จุดที่อาจก่อให้เกิดมลพิษหรือปัญหาส่ิงแวดล้อม
ไดแ้ ก่ นำ้ เสยี อากาศเสีย และมลพิษอืน่ ๆ (ฉบบั จริง 2 ฉบับ)
7. รายการคำนวณการออกแบบ คณุ ลกั ษณะของมลพิษทใ่ี ชใ้ นการออกแบบ ชนิดของระบบ
บำบดั วธิ กี ารป้องกนั เหตุเดือดรอ้ นรำคาญ ความเสยี หายอันตราย และการควบคุมการปล่อย
ของเสีย ไดแ้ ก่ นำ้ เสยี อากาศเสยี และมลพิษอ่นื ๆ ทีไ่ มใ่ ช่กากอุตสาหกรรม (ถ้ามี)
(ฉบบั จริง 1 ฉบับ สำเนา 1 ฉบับ)
หมายเหตุ ต้องมกี ารออกแบบและคำนวณรวมท้ังลงนามรับรองในแบบแปลน และรายการ
คำนวณโดยผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกรทุกหน้า พร้อม
แนบหนังสือรับรองและสำเนาใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคมุ
8. เอกสารแสดงคำอธิบายถึงรายละเอียดชนิด ปริมาณ วิธีการกำจัด ควบคุม จัดเก็บ การป้องกันเหตุ
เดือดร้อนรำคาญ และความเสียหายอันตราย อันเนื่องมาจากกากอุตสาหกรรม (ฉบับจริง 1 ฉบับ
สำเนา 1 ฉบบั )
9. เอกสารแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน (ฉบับจริง 1 ฉบับ
สำเนา 1 ฉบับ) (กรณีเป็นประเภทหรือชนิดของโรงงานที่กำหนดตามประกาศกระทรวง
อุตสาหกรรม เรอื่ งการปอ้ งกนั และระงบั อัคคภี ัยในโรงงาน พ.ศ. 2552)
[2.1] แกไ้ ขเอกสารให้ครบถว้ นถูกต้องทนั ที
- กรณีทส่ี ามารถแกไ้ ขทนั ทีไ่ ด้ให้ดำเนนิ การตามข้อ [3] ตอ่ ไป
- กรณไี ม่สามารถแกไ้ ขทันทไี ดใ้ หก้ ำหนดระยะเวลาใหแ้ ก้ไขเอกสารให้ครบถ้วนถูกต้อง ตามข้อ [2.2]
[2.2] กำหนดระยะเวลาใหแ้ กไ้ ขเอกสารให้ครบถว้ นถกู ตอ้ งครบถ้วน
- การแกไ้ ขเอกสารครบถว้ นถูกต้องแล้ว ใหน้ ำมาดำเนินการตามข้อ [1] อกี ครั้ง
- หากไม่แก้ไขให้ส่งเร่ืองคืนผู้แจ้งฯ [2.3] หากประสงค์จะยื่นใบแจ้งฯให้มาดำเนินการใหม่ (หากเกิน
ระยะเวลา ๔๕ วันภายหลังจากรับฟังความคดิ เหน็ ของประชาชน ต้องมีการรับฟังความคิดเห็นของ
ประชาชนใหม่)
4-8
คูม่ อื การปฏบิ ตั งิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และทีแ่ ก้ไขเพ่มิ เติม
ที่ถา่ ยโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน สำหรับเจ้าหนา้ ที่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่
[3] ลงทะเบียนรบั เรอื่ งแจ้ง
- ลงทะเบยี นรับเรื่อง เมือ่ ตรวจสอบแลว้ เอกสารครบถว้ นถกู ต้อง
[4] การพจิ ารณา
การพจิ ารณาออกใบรับแจง้ ฯ ให้เปน็ ไปตามมาตรา 8 แหง่ พระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 ไดแ้ ก่
- เรอ่ื งที่ตงั้ และสภาพแวดลอ้ มของโรงงาน (ตามผลการตรวจสอบทีไ่ ดต้ รวจสอบความเหมาะสมของ
ทำเลทต่ี ั้งของโรงงานไวแ้ ล้ว ในกระบวนการที่ 4.1 การรบั ฟังความคดิ เห็นของประชาชน) พิจารณา
ความเหมาะสมของทำเลทต่ี ้งั ของโรงงานตามกฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ไดแ้ ก่
- กฎกระทรวง ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535
(1) ห้ามตั้งโรงงานจำพวกที่ 1 และ 2 ในบริเวณบ้านจัดสรรเพื่อการพักอาศัย อาคารชุดพัก
อาศัย และบ้านแถวเพ่ือการพักอาศัย ตามข้อ 2(1) แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535)
ออกตามความในพระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535
(2) ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ให้ร่นหรือไม่ใช้บังคับข้อกำหนดเก่ียวกับระยะทาง
ระหว่างโรงงานและเขตติดต่อสาธารณสถาน พ.ศ. 2545 ลงวันที่ 2 กันยายน 2545
(ทำให้โรงงานจำพวกที่ 2 สามารถตัง้ โรงงานตดิ กับสาธารณสถานได้)
- กฎกระทรวงวา่ ด้วยการใช้ประโยชนใ์ นเขตผงั เมือง ตามกฎหมายว่าดว้ ยการผงั เมอื ง
- ตรวจเอกสารแสดงคำอธิบายถึงรายละเอียดชนิด ปริมาณ วิธกี ารกำจัด ควบคุม จัดเกบ็ การ
ปอ้ งกนั เหตเุ ดือดรอ้ นรำคาญ ความเสียหายอันตราย และมาตรการควบคุมหรือบำบดั มลพิษ
รวมทัง้ มาตรการกำจดั ส่ิงปฏิกลู หรือวัสดทุ ไี่ ม่ใชแ้ ล้วของโรงงาน (กากอุตสาหกรรม) โดยจะตอ้ ง
เปน็ ไปตามหลกั วชิ าการและเปน็ ไปตามพระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535
- ตรวจรายการคำนวณการออกแบบ คณุ ลกั ษณะของมลพษิ ทีใ่ ช้ในการออกแบบ ชนดิ ของ
ระบบบำบดั วิธีการปอ้ งกันเหตเุ ดือดร้อนรำคาญ ความเสยี หายอนั ตราย และการควบคมุ การ
ปล่อยของเสยี ได้แก่ นำ้ เสีย อากาศเสีย และมลพษิ อ่ืน ๆ ทีไ่ ม่ใช่กากอุตสาหกรรม โดยจะตอ้ ง
เปน็ ไปตามหลักวชิ าการและเปน็ ไปตามพระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535
- ตรวจเอกสารแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน กรณีเป็น
ประเภทหรือชนิดของโรงงานที่ โดยจะต้องเป็นไปตามหลักวิชาการและประกาศกระทรวง
อตุ สาหกรรม เรอ่ื งการปอ้ งกนั และระงบั อคั คภี ัยในโรงงาน พ.ศ. 2552
- สำหรับกฎหมายอน่ื ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ งให้พจิ ารณาตามความจำเป็น
[5] กรณรี บั แจ้งฯ
- พิจารณาแล้วไม่ขัดต่อกฎหมาย เช่น ไม่ขัดต่อทำเลท่ีต้ังตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน หรือ
ไม่ขัดต่อกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง ให้ดำเนินการพิมพ์ใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงาน
จำพวกท่ี 2 (แบบ ร.ง.2) โดย
- ในใบรับแจ้งฯ จะต้องขอเลขทะเบียนโรงงานและเลขที่ใบรับแจ้งการประกอบกิจการ
โรงงานจำพวกท่ี 2 (แบบ ร.ง.2) จากกรมโรงงานอตุ สาหกรรม ผา่ นระบบ Internet
- กรณีที่มีการคัดค้านในชั้นการรับฟังความคิดเห็นฯ ต้องจัดทำแบบ 6 ท้ายระเบียบ
กระทรวงอตุ สาหกรรมฯ ดว้ ย
4-9
คูม่ อื การปฏบิ ตั งิ านในภารกิจตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แกไ้ ขเพ่ิมเติม
ทถี่ า่ ยโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ สำหรับเจ้าหน้าทอี่ งค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ
[5.1] – [5.2] กรณไี มร่ ับแจง้ ฯ
- พิจารณาแล้วขัดต่อกฎหมาย เช่น ทำเลที่ต้ังขัดต่อกฎหมายว่าด้วยโรงงาน หรือ ทำเลที่ต้ังขัด
ตอ่ กฎหมายวา่ ดว้ ยการผงั เมอื ง
- มหี นังสือแจง้ ผลการพจิ ารณาไม่ออกใบรบั แจ้ง พร้อมท้งั แจง้ สทิ ธิอุทธรณ์
[6] ออกใบรบั แจ้งฯ (แบบ ร.ง.2)
- พนักงานเจ้าหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย ลงนามในใบรับแจ้งฯ (แบบ ร.ง.2 ลำดับที่ 1) และ
ลงนามในแบบ 6 (ถ้าม)ี
- กรณีท่ีมกี ารคัดคา้ นในช้นั การรบั ฟงั ความคดิ เห็นฯ ใหน้ ำแบบ 6 ไปตดิ ประกาศไว้ ณ สถานทด่ี งั ตอ่ ไปน้ี
- กรณีโรงงานต้ังอย่ใู นเขตเทศบาล/เขตเมืองพัทยา
• ที่ทำการเทศบาลทโ่ี รงงานต้ังอยู่/เมอื งพัทยาทโี่ รงงานตง้ั อยู่
• ทว่ี ่าการอำเภอท้องท่ที ่โี รงงานตง้ั อยู่
• สำนักงานอตุ สาหกรรมจังหวดั ในท้องท่ีที่โรงงานตง้ั อยู่
• สถานที่ต้งั โรงงาน
- กรณโี รงงานต้ังอยูใ่ นเขตกรุงเทพฯ
• ที่ทำการสำนักงานเขตท่ีโรงงานตง้ั อยู่
• กรมโรงงานอุตสาหกรรม
• สถานทต่ี งั้ โรงงาน
[7] – [8] เรียกเกบ็ เงนิ ค่าธรรมเนยี มรายปี
- เรียกเก็บค่าธรรมเนียมรายปีตามอัตราท่ีกำหนดในกฎกระทรวงฯ พร้อมมอบใบรับแจ้งฯ (แบบ ร.ง.๒)
ให้แก่ผูแ้ จง้ ฯ
- พนกั งานเจา้ หน้าทท่ี ี่ได้รบั มอบหมาย ลงนามในใบรับแจ้งฯ (แบบ ร.ง.2) (ลำดบั ท่ี 2)
- เม่ือผู้แจ้งฯชำระค่าธรรมเนียมรายปีแล้ว มอบใบรับแจ้งฯ (แบบ ร.ง.2) ให้แก่ผู้แจ้งฯ (หากผู้แจ้งยัง
ไมด่ ำเนนิ การชำระคา่ ธรรมเนยี มรายปีจะไมม่ กี ารมอบใบรับแจ้งฯแกผ่ ูแ้ จ้งฯ)
[9] – [9.2] เจา้ หน้าท่ีเขา้ ตรวจโรงงาน เครื่องจักร และอนื่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ภายใน 15 วนั นบั ตงั้ แต่วัน
เริ่มประกอบกจิ การโรงงาน
- ดำเนินการตรวจสอบให้เปน็ ไปตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
- หากผลการตรวจสอบครบถว้ นถกู ต้องตามกฎหมายให้เกบ็ เร่อื ง
- หากไม่ครบถ้วนให้ส่ังการปรับปรุงแกไ้ ขให้ถูกต้องตามมาตรา 11 วรรคสี่ หรือสั่งการตามมาตรา 37
แหง่ พระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 แล้วแตก่ รณตี ามลำดับ
- วธิ ีปฏิบัตใิ นการตรวจโรงงานเป็นไปตามกระบวนงานท่ี 4.3
4-10
คมู่ ือการปฏิบตั งิ านในภารกจิ ตามพระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และทแี่ กไ้ ขเพ่มิ เติม
ท่ถี า่ ยโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ สำหรับเจา้ หนา้ ทีอ่ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น
เอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ ง (ผ้ยู นื่ ใบแจง้ ฯต้องลงนามรบั รองเอกสารทุกฉบบั )
ลำดบั ชือ่ เอกสาร จำนวน และรายละเอียดเพ่ิมเตมิ (ถ้ามี)
1) แบบฟอร์มใบแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี 2 (ร.ง.1) ฉบบั จริง 2 ฉบับ
2) 2.1 กรณี บุคคลธรรมดา
(1) บัตรประจำตัวประชาชน (นำมาแสดงตอ่ เจา้ หน้าที)่ ฉบบั จรงิ 1 ฉบับ
(2) ทะเบียนบ้าน (นำมาแสดงตอ่ เจา้ หน้าที)่ ฉบับจริง 1 ฉบับ
2.2 กรณี นิตบิ ุคคล
(1) หนังสือรับรองนิติบุคคล (ต้องคัดสำเนาไว้ไม่เกิน 3 เดือน นับต้ังแต่วันคัดสำเนาจนถึงวันท่ียื่นใบแจ้งฯ
โดยต้องมีวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลตรงกับประเภทของการแจ้งการประกอบกิจการโรงงาน และมีการลงนาม
รับรองเอกสารและประทบั ตรา (ถา้ ม)ี ทุกหนา้ ) สำเนา 2 ฉบบั
(2) บัตรประจำตัวประชาชนของผมู้ อี ำนาจลงนามแทนนติ ิบุคคล (นำมาแสดงต่อเจา้ หน้าที่) ฉบับจรงิ 1 ฉบับ
(3) ทะเบียนบ้านของผู้มีอำนาจลงนามแทนนติ บิ คุ คล (นำมาแสดงต่อเจ้าหน้าท)ี่ ฉบบั จรงิ 1 ฉบับ
(4) กรณีบุคคลต่างด้าวเป็นผู้แทนนิติบุคคลให้ใช้สำเนาหนังสือเดินทาง (Passport) และสำเนาใบอนุญาตทำงาน
(Work permit) สำเนา 2 ฉบบั
3) ทะเบียนบ้านท่ีตั้งโรงงาน (นำมาแสดงตอ่ เจา้ หนา้ ท่ี) ฉบบั จรงิ 1 ฉบับ
4) หนังสือมอบอำนาจใหก้ ระทำการแทนผู้ยน่ื ใบแจง้ ฯ (ถา้ มี) ฉบบั จรงิ 1 ฉบับ (นำมาแสดงตอ่ เจา้ หนา้ ท)่ี สำเนา 1 ฉบบั
หมายเหตุ (ติดอากรแสตมป์ตามท่ีกฎหมายกำหนด พร้อมแนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรอื สำเนาหนังสือเดนิ ทางของผู้
มอบอำนาจท่ีมีการลงนามรับรองโดยเจ้าของบัตรหรือหนังสือเดินทาง กรณีมอบอำนาจในนามนิติบุคคคลให้แนบสำเนา
หนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลคัดสำเนาไม่เกิน 3 เดือน ท่ีมีรายละเอียดของผู้มีอำนาจลงนาม ที่อยู่สำนักงาน
และวตั ถุประสงค์ของนติ บิ คุ คล และมีการลงนามรับรองตามขอ้ กำหนดทีร่ ะบใุ นหนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล)
5) เอกสารแสดงการมีสทิ ธ์ใิ ช้ที่ดนิ
5.1 กรณีผู้ขอใบรับแจ้งฯเป็นเจ้าของท่ีดิน ให้แนบสำเนาโฉนดท่ีดิน (นส.4) หรือ นส.3 หรือ นส.3ก (กรณีใช้
ท่ีดินหลายแปลงในการแจ้งฯให้แนบแผนผังรวมโฉนดท่ีดินโดยมีคำรับรองจากสำนักงานที่ดินในท้องที่ที่จะตั้ง
โรงงานเพิ่มเติมดว้ ย) มีการลงนามรบั รองเอกสารโดยเจา้ ของทด่ี ินทุกหนา้ สำเนา 2 ฉบับ
5.2 กรณีผู้ขอใบรับแจ้งฯ ไม่ได้เป็นเจ้าของท่ีดิน ต้องแนบหนังสือยินยอมให้ใช้ท่ีดิน สำเนาโฉนดท่ีดิน (นส.4)
หรอื นส.3 หรือ นส.3ก และสำเนาบตั รประจำตัวประชาชนของเจา้ ของท่ดี ิน ที่มีการลงนามรับรองเอกสารโดย
เจ้าของที่ดินทุกหน้า (กรณีใช้ที่ดินหลายแปลงในการแจ้งฯให้แนบแผนผังรวมโฉนดที่ดินโดยมีคำรับรองจาก
สำนักงานทด่ี ินในท้องท่ีทจ่ี ะตงั้ โรงงานเพม่ิ เตมิ ดว้ ย) ฉบบั จริง 1 ฉบับ สำเนา 1 ฉบับ
5.3 กรณีเป็นที่ดินของรัฐต้องได้รับการอนุญาตให้ใช้ท่ีดินเพื่อการแจ้งการประกอบกจิ การโรงงาน จากหน่วยงานของรัฐ
ทีก่ ำกับดแู ลท่ดี นิ ตามกฎหมาย ฉบบั จริง 1 ฉบบั สำเนา 1 ฉบบั
6) เอกสารเก่ยี วกบั อาคารโรงงาน (ไม่ว่าจะมีอาคารอยูเ่ ดิมหรอื ไม)่
(1) เอกสารท่ีได้รบั การอนุญาตตามกฎหมายว่าดว้ ยการควบคุมอาคาร ฉบับจรงิ 1 ฉบับ สำเนา 1 ฉบบั
(2) แบบแปลนอาคารโรงงานท่ีมีขนาดเหมาะสมถูกต้องตามมาตราส่วน แสดงภาพลักษณะอาคารด้านบน ด้านหน้า
ด้านขา้ ง ประตูทางเขา้ -ออก บนั ได ทางหนีไฟ และสามารถตรวจสอบรายละเอียดไดอ้ ย่างชดั เจน ฉบับจริง ๒ ฉบับ
7) แผนที่แสดงบริเวณท่ตี ัง้ โรงงาน รวมทัง้ สง่ิ ปลูกสรา้ งในพืน้ ท่ใี กลเ้ คียง โดยสงั เขป และแผนผงั แสดงส่ิงปลกู สร้าง
ภายในบริเวณโรงงาน ฉบบั จรงิ 2 ฉบบั
หมายเหตุ (มาตราส่วนพอสังเขป กรณีขอใช้ที่ดินไม่เต็มพ้ืนที่ตามหนังสือแสดงกรรมสิทธ์ิในที่ดิน ให้แสดงแนวเขต
เน้อื ท่บี ริเวณท่จี ะใชใ้ นการขอใบรบั แจง้ ฯใหช้ ดั เจน)
4-11
คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แกไ้ ขเพม่ิ เติม
ท่ถี ่ายโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ สำหรับเจา้ หน้าทีอ่ งคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ
ลำดับ ช่อื เอกสาร จำนวน และรายละเอียดเพิ่มเติม (ถ้ามี)
8) แผนผังแสดงการตดิ ต้ังเคร่ืองจกั ร ฉบบั จริง 2 ฉบับ
หมายเหตุ (แผนผังแสดงการติดตั้งเครื่องจักรในอาคารขนาดเหมาะสมถูกต้องตามมาตราส่วน พร้อมรายละเอียด
เคร่ืองจักรท่ีเป็นภาษาไทย และถูกต้องตรงกับลำดับรายการเคร่ืองจักรที่แสดงในใบแจ้งการประกอบกิจการโรงงาน
จำพวกที่ 2 (ร.ง. 1) มีการลงนามรับรองในแผนผังทุกหน้า โดยผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่า
ด้วยวศิ วกร พร้อมแนบหนังสือรับรองและสำเนาใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของผู้ออกแบบแผนผัง
การติดตงั้ เครอ่ื งจกั ร)
9) แผนภูมแิ สดงรายละเอียดขนั้ ตอนการผลติ จุดท่ีอาจก่อให้เกิดมลพิษหรือปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม ได้แก่ นำ้ เสยี อากาศเสีย
และมลพิษอื่น ๆ ฉบับจริง 2 ฉบับ
10) รายการคำนวณการออกแบบ คุณลักษณะของมลพิษท่ีใช้ในการออกแบบ ชนิดของระบบบำบัด วิธีการป้องกันเหตุ
เดือดร้อนรำคาญ ความเสียหายอันตราย และการควบคุมการปล่อยของเสีย ได้แก่ น้ำเสีย อากาศเสีย และมลพิษ
อื่น ๆ ทไี่ ม่ใชก่ ากอุตสาหกรรม (ถ้าม)ี ฉบับจริง 1 ฉบับ สำเนา 1 ฉบับ
หมายเหตุ (ต้องมีการออกแบบและคำนวณรวมท้ังลงนามรับรองในแบบแปลนทุกหน้า และรายการคำนวณโดยผู้
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร พร้อมแนบหนังสือรับรองและสำเนาใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพวศิ วกรรมควบคมุ )
11) เอกสารแสดงคำอธิบายถงึ รายละเอียดชนิด ปริมาณ วิธีการกำจัด ควบคุม จัดเก็บ การป้องกันเหตุเดอื ดร้อนรำคาญ
และความเสยี หายอนั ตราย อนั เนือ่ งมาจากกากอตุ สาหกรรม ฉบับจรงิ 1 ฉบับ สำเนา 1 ฉบบั
12) เอกสารแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการปอ้ งกันและระงับอัคคีภยั ในโรงงาน ฉบับจริง 1 ฉบับ สำเนา 1 ฉบับ
หมายเหตุ (กรณีเป็นประเภทหรือชนิดของโรงงานท่ีกำหนดตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการป้องกัน
และระงับอคั คภี ัยในโรงงาน พ.ศ. 2552)
13) หนังสือแจ้งผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่หน่วยงานผู้รับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2
ส่งไปถึงผแู้ จง้ ฯ เพอื่ ให้มายนื่ ขอใบรบั แจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี 2
ฉบับจริง 1 ฉบับ สำเนา 1 ฉบบั
14) เอกสารอ่ืน ๆ ตามท่ีพนักงานเจา้ หน้าทก่ี ำหนด (ถ้ามี)
หมายเหตุ : แนวทางการปฏิบัติให้เป็นไปตามคำส่ัง คสช. ที่ 21/2560 ลงวันท่ี 4 เมษายน 2560 โดยให้ผู้ย่ืนขอแสดงบัตรประชาชนและทะเบียน
บ้านแทนการใชส้ ำเนา และให้หน่วยงานผู้พิจารณาทำสำเนาเอกสารดังกล่าวขน้ึ เอง และห้ามมใิ หเ้ รยี กเกบ็ คา่ ใช้จา่ ยท่ีเกิดจากการทำสำเนาดังกล่าวนั้น
จากผู้ย่ืน ยกเว้นกรณมี กี ารมอบอำนาจใหย้ ืน่ สำเนาบัตรและสำเนาทะเบียนบา้ นตามปกติท้งั ผ้มู อบอำนาจและผ้รู ับมอบอำนาจ
4-12
คูม่ ือการปฏบิ ตั งิ านในภารกจิ ตามพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแกไ้ ขเพม่ิ เติม
ที่ถา่ ยโอนให้แก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน สำหรับเจา้ หน้าทอี่ งคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน
4.3 การตรวจตดิ ตามการแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี 2
ขั้นตอนการปฏิบตั งิ าน
เจา้ หน้าท่ีตรวจสอบโรงงาน
ภายหลงั การประกอบกิจการโรงงาน
ตามท่รี ะบไุ วใ้ น แบบ ร.ง.2 [1]
ผลการตรวจสอบ [2] ถกู ต้อง/ครบถ้วน
ไมถ่ ูกตอ้ งตาม ไมถ่ กู ต้อง/ไมค่ รบถว้ น
ม.11 วรรคสอง
ออกคาํ สง่ั ตาม ม.11 วรรคส่ี
(ใหแ้ กไ้ ขใหแ้ ล้วเสรจ็
ภายใน 7 วัน ตามกฎหมาย) [3]
ดําเนนิ คดีอาญาตาม สง่ คําส่งั ตาม ม.38 [4]
ฐานความผดิ
(มาตรา 49) ตรวจสอบผลการ
ปฏบิ ัตติ ามคาํ สัง่
[5]
สง่ั การตามมาตรา 37 และ ไมถ่ กู ต้อง/ไม่ครบถว้ น ถกู ต้อง/ครบถ้วน ยตุ ิเร่ือง [7]
มาตรา 39 ตามลําดับ [7] ผลการปฏิบัตติ ามคาํ สั่ง
[6]
ตามกระบวนงานท่ี 4.10
รายละเอียดการปฏบิ ตั งิ าน
[1] ตรวจสอบโรงงานภายหลังการเรมิ่ ประกอบกิจการโรงงานว่ามกี ารประกอบกจิ การโรงงาน ดงั นี้
- สามารถเรม่ิ ตรวจได้ตั้งแตเ่ ริม่ ประกอบกจิ การโรงงานเปน็ ต้นไป
- เป็นไปตามกฎกระทรวงฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2535)
หมวด 1 : เรือ่ งที่ตั้ง สภาพแวดล้อม ลกั ษณะอาคารและลกั ษณะภายในอาคารโรงงาน
หมวด 2 : เรื่อง เครื่องจักรอุปกรณ์ หรอื สิ่งทน่ี ำ มาใช้ในโรงงาน
หมวด 3 : เรือ่ งคนงานประจำโรงงาน
หมวด 4 : เร่อื งการควบคุมการปล่อยของเสีย มลพิษ หรือสิ่งใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ ม
หมวด 5 : เรือ่ งความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน
4-13
คู่มือการปฏิบัตงิ านในภารกจิ ตามพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม
ที่ถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ สำหรับเจ้าหน้าที่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
- เป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ีกำหนดในกฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา 8 และประกาศของรัฐมนตรีท่ี
ออกตามกฎกระทรวงดังกล่าว
- การจัดทำรายงานการตรวจสอบโรงงานทุกครั้งจะต้องมีการเขียนรายงานเสนอต่อผู้บังคับบัญชา
ตามลำดับชน้ั โดยใชแ้ บบตรวจ 02 โดยอนโุ ลม
[2] ผลการตรวจสอบ
- กรณี ตรวจแล้ว ถูกต้อง/ครบถ้วน ตามท่แี จ้งการประกอบกจิ การโรงงาน ใหด้ ำเนินการยุติเรอื่ ง
- กรณี ตรวจแล้ว ไม่ถูกต้อง/ไม่ครบถ้วน ตามท่ีแจ้งการประกอบกิจการโรงงาน ให้ดำเนินคดีอาญาใน
ฐานความผิดตามมาตรา 49 เน่ืองจากไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา 11 วรรคสอง
และให้ดำเนนิ การตาม [3]
[3] ออกคำส่งั ตาม ม.11 วรรคสี่ (ให้แกไ้ ขแลว้ เสร็จภายใน 7 วนั )
[4] ส่งคำสงั่ ตามมาตรา 38
[5] ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิตามคำสง่ั
[6] - [7] ผลการปฏบิ ัตติ ามคำสั่ง
- กรณี ตรวจแลว้ ถกู ต้อง/ครบถ้วน ตามที่ได้ส่ังการ ให้ดำเนนิ การยุตเิ รือ่ ง
- กรณี ตรวจแล้ว ไม่ถูกต้อง/ไม่ครบถ้วน ตามที่ได้ส่ังการ ให้ออกคำส่ังตามมาตรา 37 หรือมาตรา 39
ตามลำดบั (ตามกระบวนงานที่ 4.10)
เอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
ลำดับ ชอ่ื เอกสาร จำนวน และรายละเอียดเพิม่ เตมิ (ถา้ ม)ี
1) แบบตรวจ 02 ฉบบั จริง 1 ฉบบั
2) บันทึกการตรวจเพอ่ื ดำเนินการตามกฎหมาย (สค.24) ฉบับจริง 1 ฉบับ
4-14