The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์
ที่มาของการจัดการ Knowledge Management (KM) พม.รู้ ครบ จบที่ตำบล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pmjnakhonsawan nakhonsawan, 2022-05-25 03:25:18

พม.รู้ ครบ จบที่ตำบล การดำเนินงานศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์
ที่มาของการจัดการ Knowledge Management (KM) พม.รู้ ครบ จบที่ตำบล

การดำเนินงาน
ศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

แนวคิดของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

ศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบลได้นำแนวคิดการพัฒนา
การให้บริการสังคมแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (One Stop
Service) และแนวคิดการใช้ชุมชนเป็ นฐานในการให้บริการ
มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาและยกระดับศูนย์พัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ในระดับพื้นที่/จังหวัดให้เป็ นศูนย์

ช่วยเหลือสังคมตำบล เพื่อจัดสวัสดิการสังคมให้แก่
ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายทุกช่วงวัยในทุกมิติแบบองค์รวม

วัตถุประสงค์

1.เพื่อเป็ นศูนย์กลางการพัฒนาและการบริการสวัสดิการสังคมสำหรับประชาชน
ทุกช่วงวัย

2. เพื่อบูรณาการการบริการสวัสดิการสังคมของทุกกรมในสังกัดกระทรวงการ
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ณ จุดเดียวและเป็ นองค์รวมหรือ
การให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Service)

3. เพื่อลดความซ้ำซ้อนด้านทรัพยากรในการบริหารจัดการการจัดสวัสดิการสังคม
ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และอำนวย
ความสะดวกให้ประชาชนในการเข้าถึงสวัสดิการสังคมอย่างทั่วถึงและเป็ นธรรม

4. เพื่อบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
กลุ่มเป้ าหมาย และประชาชน

1 เด็กและเยาวชน

2 สตรีและครอบครัว และแม่เลี้ยงเดี่ยว

3 คนพิการ กลุ่มเป้าหมายของ

4 ผู้สูงอายุ ศูนย์ช่วยเหลือ
สังคมตำบล
5 คนไร้ที่พึ่ง และผู้ทำการขอทาน

6 ผู้ประสบปั ญหาทางสังคม

7 ครัวเรือนเปราะบาง

8 ประชาชนทั่วไป

ประโยชน์ของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

1. เสริมสร้างความเข้มแข็งของ

ต่อครอบครัว สถาบันครอบครัว นำไปสู่ชุมชน

และสังคมเข้มแข็ง
2. ส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีต่อ

ครอบครัว

ประโยชน์ของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

ต่อชุมชน 1.เกิดการระดมทรัพยากร และความร่วมมือจากทุกภาคส่วน
โดยเน้นการมีส่วนร่วมในการจัด กิจกรรมและบริการ
สำหรับประชาชนทุกช่วงวัย

2. มีศูนย์กลางในการเฝ้ าระวัง ป้ องกันและแก้ไข ปั ญหา
สังคมในทุกด้าน

3. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมรูปแบบใหม่ๆ และส่งเสริมให้
คนในชุมชนตระหนัก และให้ความสําคัญในการดูแล
ตนเอง ครอบครัว และชุมชน ตลอดจนเป็ นการส่งเสริม
ความช่วยเหลือและพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันในพื้นที่

ประโยชน์ของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

ต่อประชาชน 1.ประชาชนทุกวัยในชุมชน สามารถ
เข้าถึงบริการ สวัสดิการสังคม
อย่างทั่วถึง และเป็ นธรรม

2. ประชาชนทุกวัยในชุมชน
มีคุณภาพชีวิตที่ดี

ประโยชน์ของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

ต่อสังคม 1.ทําให้ปั ญหาสังคม ลดน้อยลง
และสังคมดีขึ้น

2. ลดความเหลื่อมล้ําทางสังคม
และแก้ไขปั ญหาความยากจน
ทําให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี

โครงสร้างศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

กลไกความร่วมมือระดับพื้นที่ คนพิการ กลไกความร่วมมือระดับจังหวัด

คณะทํางานศูนย์ช่วย ผู้ด้อยโอกาส/ ผู้สูงอายุ คณะทํางานขับเคลื่อนศูนย์
เหลือตําบล คนเร่ร่อน/ ช่วยเหลือตําบลประจํา
ขอทาน
ศพอส./ ชมรมผู้สูงอายุ
ศพค. จังหวัด

ศูนย์บริการคนพิการ/ พมจ./ One Horne พม.
ผู้แทน คนพิการ/ องค์กร
คนพิการ ศูนย์ช่วยเหลือ เด็ก ท้องถิ่นจังหวัด
ครอบครัว สังคมตำบล สาธารณสุข
สภาเด็กและเยาวนตําบล มหาวิทยาลัย

อพม./ อาสาสมัครต่างๆ ประธาน อพม.
สภาองค์กรชุมชน
รพ.สต. สตรี เยาวชน สมาคม/ ชมรม/ องค์กร
คนพิการ
โรงเรียน

วัด/องค์กรศาสนา หน่วยงานภาครัฐและเอกชน
หน่วยงานภาครัฐและ ที่เกี่ยวข้อง
เอกชนในพื้นที่

คณะกรรมการส่งเสริมการขับเคลื่อนศูนย์ช่วยเหลือสังคมตําบล

กลไกความร่วมมือระดับกระทรวง หน่วยงานร่วม MOU 12 กระทรวง ได้แก่ นร./มท./พม./ศธ./กก./จว./กษ./
พณ./รง./วธ./สธ. และกรุงเทพมหานคร

องค์ประกอบศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

ศูนย์กลางบูรณาการความร่วมมือในการบริการสวัสดิการสังคมคนทุกช่วงวัย

มิติรายได้ มิติการเข้าถึงบริการภาครัฐ

11.. ททํําากิกจิจกกรรรมรรม่วรม่วกัมน กระบวนการ 3. ประสานการส่งต่อ
กันททุุกกวัวยัยทุกทุมกิติมิติ ขับเคลื่อน ในการช่วยเหลือ

2.ศูนย์ช่วยเหลือสังคมตําบล

ให้บริการทุกรูปแบบ มิติสุขภาพ

One Stop ของทุกกรม 4.พื้นที่ดําเนินการปี 2565
จํานวน 3,644 แห่ง (ศพค.



+ศพอส.+ศพก.+ศูนย์อื่นๆ)
มิติความเป็ นอยู่ มิติการศึกษา 100% ของพื้นที่ 25 จังหวัด
50% ของพื้นที่ 51 จังหวัด

การบริหารจัดการ การบริการ ข้อมูล ภาคีความร่วมมือ

- คณะกรรมการบริหาร - การประสานการส่งต่อ - ข้อมูลรายบุคคล - อปท.
- แผนการดําเนินงาน - ข้อมูลข่าวสาร ครอบครัว - รพ.สผ..
- ระเบียบ/ กสิกา - กิจกรรม - กลุ่มสตรี
- ทรัพยากร/ แหสิ่งทุน - ด้านสุขภาพ - ภูมิปั ญญา - ภาคเอกชน
- กลไกขับเคลื่อน อาทิ - เศรษฐกิจ สังคม - กลุ่มเปราะบาง - ชมรมผู้สูงอายุ
อาสาสมัคร - สภาพแวดล้อม - อาสาสมัคร - กลุ่มคนพิการ
- เทคโนโลยี - อื่นๆ - สภาเด็กและเยาวชน
- การให้คําปรึกษา - หน่วยงานภาครัฐ
แนะนํา ช่วยเหลือ

ภารกิจและบทบาทหน้าที่

1.สำรวจ/วิเคราะห์ ข้อมูล
2.ดำเนินการให้ความช่วยเหลือกลุ่มเป้ าหมายตามสภาพปั ญหา

และความต้องการ และประสานส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
อย่างครบวงจร
3.จัดสวัสดิการให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย
4.ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพประชาชนกลุ่มเป้ าหมายให้
ครอบคลุมทุกมิิติ
5.เป็ นศูนย์กลางการบูรณาการความร่วมมือในการบริการ
สวัสดิการสังคมคนทุกช่วงวัย

กระบวนการรับเรื่อง
ศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

ผู้ประสบปั ญหาทางสังคม และประชาชน Walk in หรือติดต่อ
ผ่านทาง application ศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

เวรปฏิบัติงานศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบลสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น
โดยใช้แบบคำร้องเบื้องต้น หรือ แบบสอบผู้ประสบปั ญหาทางสังคม

วิเคราะห์สภาพปั ญหา และความต้องการรับการช่วยเหลือ
กลุ่มเป้ าหมายที่ขอรับบริการ และภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

กระบวนการรับเรื่อง
ศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

ส่งต่อเรื่องให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการประสานเรื่อง

เพื่อส่งต่อไปยังหน่วยงานที่เกี่ยว

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับเรื่อง และมอบหมายผู้รับผิดชอบเพื่อดำเนิน
การให้ความช่วยเหลือ แก้ไขปั ญหา รวมถึงให้คำปรึกษาแนะนำ

รายงานผลการดำเนินการ

ตัวอย่างกระบวนการรับเรื่องศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบลกะไหล
อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา

ผู้ประสบปั ญหาทางสังคม walk in ติดต่อศูนย์ช่วยเหลือสังคม

เวรปฏิบัติงานศูนย์ช่วยเหลือสังคมสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น โดยใช้แบบคำร้องเบื้องต้น

วิเคราะห์สภาพปั ญหา และความต้องการรับการช่วยเหลือ
และภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และกลุ่มเป้ าหมายที่ต้องการขอรับความช่วยเหลือ

ส่งต่อเรื่องให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการประสานส่งต่อเรื่องให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับเรื่อง มอบผู้รับผิดชอบเยี่ยมบ้านสอบข้อเท็จจริงและให้คำปรึกษาแนะนำ

ประสบปั ญหาความเดือดร้อนจริง ไม่อยู่ในข่ายให้ความช่วยเหลือ

พิจารณาให้การช่วยเหลือ แจ้งผู้รับบริการทราบ

รูปแบบการจัดสถานที่
ของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

1 ควรพิจรณาอาคาร สถานที่ที่มีอยู่เดิมในชุมชน และปรับปรุงตามความเหมาสมต่อ

การใช้ประโยชน์ เช่น สถานที่ในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาล วัด
สถานีอนามัย อาคารโรงเรียน หรือศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบล ซึ่งประชาชนใน
ชุมชน ตำบล สามารถเดินทางมาใช้บริการได้อย่างสะดวก และระยะทางไม่ห่าง
จากชุมชนมากจนเกินไป เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงกิจกรรมและบริการ
ภายในศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบลได้อย่างสะดวก รวดเร็ว

2 ควรมีการจัดสถานที่ให้สะอาด ปลอดภัย เป็ นสัดส่วน และถูกสุขลักษณะ

ตามความเหมาะสม และบริบทของพื้นที่

รูปแบบการจัดสถานที่
ของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

3 การดำเนินงานตามมาตรการป้ องกัน ควบคุมการระบาดของเชื้อติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ในมาตรการพื้นฐานอย่างครบถ้วน เช่น ระบบการคัดกรอง โดยจัดให้มีจุดตรวจวัดอุณหภูมิ
ผู้ปฏิบัติงานและผู้มาติดต่องานก่อนเข้าในพื้นที่ของสถานที่ของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล
และต้องไม่อนุญาตให้เข้า หากมีอุณหภูมิ ร่างกายสูงกว่า 37.5 องศาเซลเชียส และต้องให้
ผู้ปฏิบัติงานและผู้มาติดต่องาน พบแพทย์ทันที การจัดจุดล้างมือ พร้อมสบู่และน้ำหรือ
จัดเจลแอลกอฮอล์ ล้างมือ อย่างเพียงพอและทั่วถึง การสวมใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากาก
ผ้า ทั้งในและนอกสถานที่ของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

4 ควรกำหนดจุดลงทะเบียนในการขอรับบริการ และมีการกำหนดผังหรือป้ ายที่แสดง

รายละเอียดของสถานที่ให้บริการภายในศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบลอย่างชัดเจน

รูปแบบการจัดสถานที่
ของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

การปรับปรุงสถานที่ทำงานให้สามารถระบายอากาศได้ดีขึ้น เช่น การเพิ่มระบบระบาย

5 อากาศให้มีการหมุนเวียนอากาศมากขึ้นหรือ การเพิ่มความถี่ ในการทำความสะอาด

เครื่องปรับอากาศอย่างน้อย 2 เดือนต่อครั้ง เป็ นต้น

การกำหนดจุดรับเรื่องราวร้องทุกข์ ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย โดยตั้งอยู่บริเวณ
ด้านหน้าของอาคาร และกำหนดบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่รับเรื่องราวร้องทุกข์จากประชาชน

6 ที่มาใช้บริการของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล เช่น ผู้แทนจากสภาเด็กและเยาวชน

อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) รวมถึงการรับเรื่องราว
ร้องทุกข์ ผ่านทาง Application เช่น Line 1300 , Family Line

7 การจัดสถานที่โดยอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนที่มาใช้บริการ ผ่านการเชื่อม
ต่อบริการด้วยระบบ Internet

รูปแบบการจัดสถานที่
ของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

8 การจัดทำป้ ายชื่อของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบลอย่างชัดเจน

9 การจัดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคาร สถานที่ให้เหมาะสมสำหรับคนพิการและ
ผู้สูงอายุ เช่น ทางลาด ราวจับ และบริการ Wheel chair เป็ นต้น

10 การจัดทำปฏิทินกิจกรรม โดยบูรณาการขับเคลื่อนศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบลร่วมกับ

เครือข่ายในพื้นที่

11 การจัดเวรเจ้าหน้าที่ หรืออาสาสมัครที่มีจิตอาสา รับเรื่องราวร้องทุกข์ และขับ

เคลื่อนโครงการ/กิจกรรมภายในศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล อย่างต่อเนื่อง

12 การพัฒนาระบบบริการ และการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ใน
การขับเคลื่อนศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

คู่มือการดำเนินงานศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

Scan Me


Click to View FlipBook Version