The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติของเฟสบุ๊ค ประวัติผู้ก่อตั้ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sorachachai, 2022-07-15 10:00:13

ประวัติเฟซบุ๊ค

ประวัติของเฟสบุ๊ค ประวัติผู้ก่อตั้ง

FACE BOOK

MARK ZUCKERBERG



คำนำ

Ebook เล่มนี้จัดทำเพื่อให้ทราบเกี่ยว

กับประวัติความเป็นมาของเฟซบุ๊คและประวัติของ

ผู้ก่อตั้งเฟซบุ๊คเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับ การต่อสู้ชีวิต

กับความฝันของเขา ถึงจุดสำเร็จ ไม่ได้มีเจตนาจะ

ล่วงเกินผุ้ใด ถ้าผิดพลาประการใดขออภัยมา ณ


ที่นี้ด้วย



ผู้จัดทำ

นายภูธเนศ กลิ่นแดง

สารบัญ

ZปUระCวัKติEM

RBAERRKG 5

เฟซบุ๊คคืออะไร 6
7
ประวัติของเฟซบุ๊ค 13
14
ภาคผนวก 15

อ้างอิง

ประวัติผู้เขียน

ปรZUะวCัKติERMBAERRGK
มาร์ก เอลเลียต ซักเคอร์เบิร์ก (อังกฤษ: Mark

Elliot Zuckerberg) เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1984

ที่ ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกันเป็นที่รู้จักใน

ฐานะผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ เฟซบุ๊ก เขาร่วมก่อตั้งเฟซบุ๊กร่วมกับเพื่อน

อีก 4 คน ขณะกำลังศึกษาที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ต่อมา นิตย

สารไทม์ ได้ให้เขาเป็นบุคคลแห่งปี ค.ศ. 2010

ที่โรงเรียนอาร์ดสลีย์ไฮสคูล เขาได้มีความสามารถด้านการ

ศึกษาคลาสสิก ก่อนที่เขาจะย้ายไปเรียนระดับมัธยมปลายที่

โรงเรียนฟิลิปส์เอกเซกเตอร์อคาเดมี ที่นี่ซักเคอร์เบิร์กได้รับ

รางวัลทางวิทยาศาสตร์ (คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ และ

ฟิสิกส์) และศึกษาด้านศิลปะคลาสสิก เขายังเรียนภาษาต่าง


ประเทศ โดยเขาสามารถอ่าน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาฮิบรู

ภาษาละติน และภาษากรีกโบราณ เขายังเป็นกัปตันทีม


ฟันดาบ

ในงานสังสรรค์ในช่วงชั้นปีที่ 2 ซักเคอร์เบิร์กพบกับพริสซิลลา

ชาน ที่ต่อมาเป็นเพื่อนหญิงของเขา[2] ในเดือนกันยายน ค.ศ.

2010 ชานซึ่งศึกษาแพทย์ ได้ย้ายมาอยู่บ้านเช่าของซักเคอร์เบิร์ก


ในแพโลอัลโต
ซักเคอร์เบิร์กสามารถมองเห็นสีฟ้าได้ดีที่สุด เพราะเขาเป็นโรค

ตาบอดสีซึ่งมองสีแดงและสีเขียวได้ไม่ชัดเจน นอกจากนี้สีฟ้ายัง


เป็นสีหลักในเว็บไซต์เฟซบุ๊กอีกด้วย

เฟซบุ๊คคืออะไร

Facebook คือเว็บไซต์ที่ให้บริการเครือค่ายสังคม

ออนไลน์ ผ่าน Internet หรือ เรียกได้ว่า เป็น Social

Network ถูกก่อตั้งโดย มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก เฟซบุ๊กอนุญาต

ให้ใครก็ได้เข้าสมัครลงทะเบียนกับเฟซบุ๊ก และผู้เป็นสามาชิก

ของเฟชบุ๊ก นั้นสามารถสร้างพื้นที่ส่วนตัว สำหรับแนะนำตัวเอง

ติดต่อสื่อกับเพื่อน ทั้งเเบบ ข้อความ ภาพ เสียง และ วีดีโอ

โดยผู้ใช้สามารถเลือกที่จะเป็นหรือไม่เป็นเพื่อนกับใครก็ได้ในเฟช


บุ๊ก
นอกจากนี้ผู้ใช้ยังสามารถใช้เฟชบุ๊ก เพื่อร่วมทำกิจกรรมกับผู้

ใช้งานท่านอื่นได้เช่น การเขียนข้อความ เล่าเรื่อง ความรู้สึก

แสดงความคิดเห็นเรื่องที่สนใจ โพสต์รูปภาพ โพสต์คลิปวิดีโอ

แชทพูดคุย เล่นเกมที่สามารถชวนผู้ใช้งานท่านอื่นมาเล่นกับเรา


ได้ รวมไปถึงทำกิจกรรมอื่นๆ ผ่านแอพลิเคชั่นเสริม

(Applications) ที่มีอยู่อย่างมากมาย ซึ่งแอพลิเคชั่นดังกล่าว

ได้ถูกพัฒนาเข้ามาเพิ่มเติมอยู่เรื่อยๆ แอพลิเคชั่นยังแบ่งออก

เป็นหลายหมวดหมู่ เช่น เพื่อความบันเทิง เกมปลูกผักยอดนิยม

เป็นต้น หรือไม่ว่าจะเป็นเชิงธุรกิจ แอพลิเคชั่นของ Facebook

ก็มีให้ใช้งานเช่นเดียวกัน ด้วยเหตุนี้ Facebook จึงได้รับความ


นิยมไปทั่วโลก

ประวัติของเฟซบุ๊ค

มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก ได้เริ่มเขียนเว็บไซต์ เฟซแมช

ขึ้นมาก่อนที่จะเป็นเฟซบุ๊ก เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 2003

ขณะที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 2 ของมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด โดย

เป็นเว็บไซต์ที่เปรียบเสมือนเว็บ ฮอตออร์น็อต ของ

มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด[16] และจากข้อมูลของหนังสือพิมพ์

มหาวิทยาลัยที่ชื่อ The Harvard Crimson เฟซแมชใช้ภาพ

ที่ได้จาก เฟซบุ๊ก หนังสือแจกสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยที่มี

รูปนักศึกษา จากบ้าน 9 หลัง โดยจะมีรูป 2 รูปให้คนเลือกว่า

ใครร้อนแรงกว่ากัน[17]

มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก ผู้ก่อตั้งเฟซบุ๊ก
เพื่อทำให้ได้สำเร็จ ซักเคอร์เบิร์กได้แฮกเข้าไปในเครือข่าย

คอมพิวเตอร์ของฮาวาร์ดในพื้นที่ป้องกัน และได้คัดลอกภาพ

ส่วนตัวประจำหอพัก ซึ่งในขณะนั้นฮาวาร์ดยังไม่มีสารบัญ

รูปภาพและข้อมูลพื้นฐานของนักศึกษา และเฟซแมชได้ทำให้มีผู้

เข้าเยี่ยมชม 450 คน และดูรูปภาพ 22,000 ครั้งใน 4 ชั่วโมง

แรกที่ออนไลน์[17] และเว็บไซต์นี้ได้จำลองสังคมกายภาพของ

คน ด้วยอัตลักษณ์จริง เป็นตัวแทนของกุญแจสำคัญด้านมุม

มอง ที่ต่อมาได้กลายมาเป็น เฟซบุ๊ก

เว็บไซต์ได้ก้าวไกลไปในหลายเซิร์ฟเวอร์ของกลุ่มใน

มหาวิทยาลัย แต่ก็ปิดตัวไปในอีกไม่กี่วันโดยคณะบริหารฮา

วาร์ด ซักเคอร์เบิร์กถูกกล่าวโทษว่าทำผิดต่อระบบรักษา

ความปลอดภัย การละเมิดลิขสิทธิ์ และการละเมิดความเป็น


ส่วนตัว และยังถูกไล่ออก แต่ท้ายที่สุดแล้วข้อกล่าวหาก็

ยกเลิกไป[19] ต่อมาซักเคอร์เบิร์กได้ขยับขยายโครงการใน

เทอมนั้นเอง โดยได้คิดค้นเครื่องมือการศึกษาทางสังคมที่

ก้าวหน้า ของการสอบวิชาประวัติศาสตร์ โดยการอัปโหลด

รูปเกี่ยวกับประวัติศาสตร์โรม 500 รูป โดยมี 1 รูปกับอีก

1 ส่วนที่ให้แสดงความเห็น[18] เขาเปิดกับเพื่อนร่วมชั้นของ


เขา และคนเริ่มที่จะแบ่งปันข้อความกัน
ในเทอมต่อมาซักเคอร์เบิร์กเริ่มเขียนโค้ดในเว็บไซต์ใหม่ใน

เดือนมกราคม ค.ศ. 2004 เขาได้รับแรงกระตุ้นให้ทำ เขา


พูดไว้ใน The Harvard Crimson เกี่ยวกับเรื่อง

เฟซแมช[20] และเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 ซัก

เกอร์เบิร์กได้เปิดตัวเว็บไซต์ "เดอะเฟซบุก" ในยูอาร์แอล


thefacebook.com[21]

6 วันหลังจากเปิดเว็บไซต์ รุ่นพี่ 3 คน คือ แคเมรอน วิงก์

เลวอส, ไทเลอร์ วิงก์เลวอส และดิฟยา นาเรนดรา ได้ฟ้อง

ร้องซักเกอร์เบิร์กที่หลอกลวงพวกเขาให้เชื่อว่า เขาได้ช่วยที่จะ


ช่วยสร้างเครือข่ายสังคมที่ชื่อว่า

HarvardConnection.com ขณะที่เขาใช้แนวคิดพวกเขา


ในการสร้างเว็บไซต์เพื่อแข่งขัน[22] ทั้ง 3 คนได้บ่นใน

หนังสือพิมพ์ Harvard Crimson โดยทางหนังสือพิมพ์เริ่ม

ทำการสอบสวน ต่อมาทั้ง 3 คนได้ยื่นฟ้องทางกฎหมายต่อ

ซักเกอร์เบิร์กในภายหลัง[23]
แต่เดิม สมาชิกจะจำกัดเฉพาะนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮา

วาร์ด และภายในเดือนแรก มากกว่าครึ่งหนึ่งของนักศึกษาที่

กำลังศึกษาอยู่ได้ลงทะเบียนใช้บริการ[24] เอ็ดวาร์โด ซาเวริ

น (ดูแลเรื่องธุรกิจ), ดิสติน มอสโควิตซ์ (โปรแกรเมอร์),

แอนดรูว์ แม็กคอลลัม (กราฟิก) และคริส ฮิวส์ ที่ต่อมาได้

ร่วมกับซักเกอร์เบิร์กเพื่อประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ และในเดือน

มีนาคม ค.ศ. 2004 เฟซบุ๊กได้ขยับขยายสู่มหาวิทยาลัยอื่น

อย่าง สแตนฟอร์ด, โคลัมเบีย, และเยล[25] และยังคงขยับ

ขยายต่อสู่กลุ่มไอวีลีกทั้งหมด และมหาวิทยาลัยบอสตัน,

มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก, เอ็มไอที และสู่มหาวิทยาลัยอื่นใน


แคนาดาและสหรัฐอเมริกาไปทีละน้อย[26][27]

เฟซบุ๊กได้เป็นบริษัทในฤดูร้อนปี ค.ศ. 2004 และได้นัก

ธุรกิจ ฌอน พาร์กเกอร์ ที่ได้เคยแนะนำซักเกอร์เบิร์ก

อย่างเป็นกันเอง ก็ได้ก้าวมาเป็นประธานของบริษัท.[28]

ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2004 เฟซบุ๊กได้ย้ายฐานปฏิบัติ

งานมาอยู่ที่ แพโลอัลโต รัฐแคลิฟอร์เนีย[25] และได้รับ

เงินทุนในเดือนนั้นจากผู้ร่วมก่อตั้ง เพย์พาล ที่ชื่อ ปีเตอร์

ธีล[29] บริษัทได้เปลี่ยนชื่อ โดยลดคำว่า เดอะ ออกไป

และซื้อโดเมนเนมใหม่ในชื่อ เฟซบุ๊ก.คอม ในปี ค.ศ.

2005 ด้วยเงิน 2 แสนดอลลาร์สหรัฐ[30]

เฟซบุ๊กได้เปิดตัวในรูปแบบของโรงเรียนไฮสคูล ในเดือน

กันยายน ค.ศ. 2005 ที่ซักเกอร์เบิร์กเรียกว่า ก้าวต่อไปที่

มีเหตุผล[31] ณ เวลานั้นในเครือข่ายไฮสคูล ต้องการการ

รับเชิญเท่านั้นเพื่อร่วมเว็บไซต์[32] ต่อมาเฟซบุ๊กได้ขยับ


ขยายให้กับลูกจ้างบริษัทที่คัดสรรอย่าง แอปเปิล และ

ไมโครซอฟท์[33] เฟซบุ๊กได้เปิดตัวเมื่อวันที่ 26 กันยายน

ค.ศ. 2006 ให้ทุกคนได้ใช้กัน โดยต้องมีอายุมากกว่า 13


ปี และมีอีเมลที่แท้จริง

เฟซบุ๊กได้เป็นบริษัทในฤดูร้อนปี ค.ศ. 2004 และ

ได้นักธุรกิจ ฌอน พาร์กเกอร์ ที่ได้เคยแนะนำซัก

เกอร์เบิร์กอย่างเป็นกันเอง ก็ได้ก้าวมาเป็นประธาน

ของบริษัท.[28] ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2004 เฟ

ซบุ๊กได้ย้ายฐานปฏิบัติงานมาอยู่ที่ แพโลอัลโต รัฐ

แคลิฟอร์เนีย[25] และได้รับเงินทุนในเดือนนั้นจากผู้

ร่วมก่อตั้ง เพย์พาล ที่ชื่อ ปีเตอร์ ธีล[29] บริษัทได้

เปลี่ยนชื่อ โดยลดคำว่า เดอะ ออกไป และซื้อโดเมน

เนมใหม่ในชื่อ เฟซบุ๊ก.คอม ในปี ค.ศ. 2005 ด้วย


เงิน 2 แสนดอลลาร์สหรัฐ[30]
เฟซบุ๊กได้เปิดตัวในรูปแบบของโรงเรียนไฮสคูล

ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2005 ที่ซักเกอร์เบิร์กเรียก

ว่า ก้าวต่อไปที่มีเหตุผล[31] ณ เวลานั้นในเครือ

ข่ายไฮสคูล ต้องการการรับเชิญเท่านั้นเพื่อร่วม

เว็บไซต์[32] ต่อมาเฟซบุ๊กได้ขยับขยายให้กับ

ลูกจ้างบริษัทที่คัดสรรอย่าง แอปเปิล และ ไมโคร

ซอฟท์[33] เฟซบุ๊กได้เปิดตัวเมื่อวันที่ 26 กันยายน

ค.ศ. 2006 ให้ทุกคนได้ใช้กัน โดยต้องมีอายุ


มากกว่า 13 ปี และมีอีเมลที่แท้จริง

ในวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 2007 ไมโคร

ซอฟท์ประกาศว่าได้ซื้อหุ้นของเฟซบุ๊กเป็น

จำนวน 1.6% ด้วยเงิน 240 ล้านดอลลาร์

สหรัฐ ทำให้เฟซบุกมีมูลค่าราว 15 พันล้าน

ดอลลาร์สหรัฐ[36] และทำให้ไมโครซอฟท์มี

สิทธิ์ที่จะแขวนป้ายโฆษณาบนเฟซบุ๊กได้[37]

ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2008 เฟซบุกประกาศ

ว่าจะตั้งสำนักงานใหญ่ระดับนานาชาติใน


ดับลิน ประเทศไอร์แลนด์[38]
ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2009 เฟซบุ๊กได้

กล่าวว่า สถานะการเงินเริ่มเป็นตัวเลขบวก

เป็นครั้งแรก [39] ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ.

2010 จากข้อมูลของ เซคันด์มาร์เก็ต ระบุว่า

เฟซบุกมีมูลค่า 41 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

(แซงหน้าอีเบย์ไปเล็กน้อย) และถือเป็นบริษัท

เว็บไซต์ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกาเป็นอันดับ

3 รองจากกูเกิลและแอมะซอน[40] สถิติผู้เข้า

ชมในเฟซบุ๊กหลังปี ค.ศ. 2009 ผู้ชมเฟซบุ๊

กมากกว่ากูเกิลในปลายสัปดาห์ของสัปดาห์


13 มีนาคม ค.ศ. 2010 [41

ภาคผนวก

ขอบคุณภาพ

จากhttps://positioningmag.com/1147880

https://th.wikipedia.org/wikiเฟซบุ๊ค

.ประวัติความเป็นมาของเฟสบุ๊ค.(ครั้งที่

พิมพ์1)https://th.wikipedia.org/wiki

ประวัติผู้เขียน

นายภูธเนศ กลิ่นแดง อายุ 22 ปีกำลังศึกษาที่


วิทยาลัย
เพาะช่าง


Click to View FlipBook Version