The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kookmanus, 2022-01-25 02:00:06

หน่วยที่ 2

หน่วยที่ 2

หน่วยที่ 2

ปรชั ญาและแนวคดิ เกยี่ วกบั หลกั สตู ร
การศกึ ษาปฐมวยั

นายมนัส จันทร์พวง
ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐำนะครูชำนำญกำร

วทิ ยำลยั ชุมชนแพร่

ปรัชญาและแนวคิดเกี่ยวกับหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั

ปรชั ญาการศึกษาและทฤษฏีหลักสูตร
- ปรชั ญาการศกึ ษาท่ีมอี ิทธิพลตอ่ หลกั สูตร
- ทฤษฎหี ลักสูตร

แนวคิดในการจดั การศึกษาของหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั
- แนวคดิ นกั การศกึ ษาในการจดั การศึกษาของหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั
- ความเช่อื พ้นื ฐานท่มี ีตอ่ หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั

ปรชั ญาการศกึ ษาที่มีอทิ ธิพลต่อหลกั สตู ร

1. ปรชั ญาจติ นิยม
2. ปรชั ญานิรนั ตรนยิ ม
3. ปรชั ญาสารตั ถนิยม
4. ปรชั ญากา้ วหนา้ นยิ ม
5. ปรชั ญาแนวมนุษยนิยม

ปรชั ญาจติ นยิ ม

การศึกษาเป็ นส่ิงที่เกิดขึ้นภายในตัวของแต่ละบุคคล ครูมีหน้าที่ในการจัด
เนื้อหาและกิจกรรมอันมีผลต่อการเรียนรู้ของเด็กกระตุ้นให้ผู้เรียนถามคาตอบ ใช้
ความคดิ หาคาตอบ ซ่ึงจะทาให้ผ้เู รียนค้นพบความรู้ความจริง ตวั ครูจึงต้องเป็ นผู้ท่มี ี
ความรอบรู้ มคี ุณธรรมทค่ี วรเป็ นแบบอย่างแก่ผู้เรียน ลกั ษณะของปรัชญาการศึกษา
แนวจิตนิยม จึงมีลักษณะอนุรักษ์นิยม มุ่งสงวนรักษาขนบประเพณี เน้นความ
แข็งแกร่งทางวิชาการและการพัฒนาลักษณะนิสัย มุ่งปลูกฝังคุณธรรมควบคู่ไปกับ
ความรู้

ปรชั ญานริ นั ตรนยิ ม

การให้ผู้เรียนได้รับความรู้ คู่กบั ความดี ซึ่ง
ความรู้น้ันจะเกดิ จากการคดิ ไตร่ตรองของผ้เู รียน
มใิ ช่เกดิ จากการสั่งสอนอบรม การศึกษาจะทาให้คน
เป็ นมนุษย์ทสี่ มบูรณ์ ทาให้อยู่ร่วมกนั ในสังคมอย่าง
เป็ นสุข

ปรชั ญาสารตั ถนิยม

หลกั สูตรจะต้องเน้นการจดั การเนื้อหาทคี่ ดิ ว่ามี
ความสาคญั ให้ผู้เรียนจดจาให้ได้มาก

ปรชั ญากา้ วหนา้ นยิ ม

การให้ ผู้เรี ยนเป็ น ศู นย์ กลาง การเรี ยนรู้ จะมี
ประสิทธิภาพจะเกิดจากความต้องการภายในของผู้เรียน
และความสามารถท่ีผู้เรียนมี ผู้เรียนจะได้เรียนรู้จากการลง
มือกระทาในสถานการณ์จริง ทาให้รับประสบการณ์และ
สามารถนาประสบการณ์นีไ้ ปใช้เพื่อคุณภาพชีวติ ที่ดขี นึ้

ปรชั ญาแนวมนษุ ยนยิ ม

โดยมีควำมเช่ือว่ำผูเ้ รียนมีควำมรับผิดชอบในตนเอง
ควำมรู้ไม่ไดเ้ กิดจำกเน้ือหำวิชำแต่เป็นกำรใหผ้ เู้ รียนคน้ หำ
ควำมหมำยของส่ิงที่เรียนดว้ ยตนเอง ผูเ้ รียนจะไดร้ ับกำร
พฒั นำดำ้ นควำมคิดสร้ำงสรรค์ ส่วนเป้ำหมำยกำรศึกษำ
คือใหท้ ุกคนอยรู่ ่วมกนั อยำ่ งมีควำมสุข

ทฤษฎีหลักสูตร เป็ นหลกั คิด แนวคิด
ที่นำไปสู่กำรปฏิบตั ิ มีควำมสัมพนั ธ์กบั กำรจดั
กำรศึกษำปฐมวยั ที่จะเป็ นกรอบแนวทำงจัด
กำรศึกษำ เพื่อกำหนดคุณลักษณะอันพึง
ประสงคข์ องผเู้ รียน

ทฤษฎหี ลกั สตู ร

1. หลกั สูตรเพ่อื พฒั นำทกั ษะกระบวนกำรทำงสติปัญญำ
2. หลกั สูตรเพอ่ื กำรพฒั นำสติปัญญำ
3. หลกั สูตรเพอื่ เตรียมชีวติ ในอนำคต
4. หลกั สูตรเพ่ือกำรปฏิรูปสงั คม
5. หลกั สูตรเพ่อื สนองควำมเป็นปัจเจกบุคคล

แนวคดิ นกั การศกึ ษาในการจดั การศกึ ษา
ของหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั

การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ยดึ หลกั ปรชั ญาของ
นกั การศกึ ษา ดงั ตวั อย่างต่อไปน้ี

Friedrich Froebel

เน้นว่ำ “การเล่นเป็ นส่วนหน่ึงของการเรียนรู้ ประสบการณ์การ
เรียนรู้ทนี่ าไปสู่พฒั นาการของเด็กและการเล่น ทาให้เด็กได้แสดงออกซึ่ง
ความคิดและความรู้สึก” Froebel เช่ือว่ำ “เด็กมีศักยภาพในการเรียนรู้สิ่ง
ต่าง ๆ รอบตัวได้” ครูจึงควรเนน้ กำรพฒั นำของเด็ก โดยจดั ส่ิงแวดลอ้ มท่ี
ทำ้ ทำยและกระตุน้ ควำมคิดของเด็ก เพื่อให้เด็กไดเ้ ติบโตตำมศักยภำพ
ของแต่ละคน และเรียนรู้ท่ีจะมีควำมรับผดิ ชอบต่อสงั คม

John Dewey

“การเล่นทาให้เด็กพัฒนาทางสมอง และเน้นการมีปฏิสัมพันธ์กัน
ระหว่างเพื่อนร่ วมช้ันให้รู้จักการร่ วมมือกัน อยู่ร่ วมกันในระบอบ
ประชาธิปไตย และส่งเสริมพฒั นาการของเด็กอย่างเต็มศักยภาพ”ดงั น้นั
หลกั สูตรควรเนน้ “เด็กเป็ นศูนย์กลาง” ให้เดก็ ได้ฝึ กคิด วิเคราะห์ กำรจดั
ส่ิงแวดลอ้ มของโรงเรียน ให้ถือว่ำ โรงเรียนเป็ นส่วนส่งเสริมครอบครัว
บำ้ น ชุมชนและสงั คม โรงเรียนเป็นที่ฝึกกฎเกณฑท์ ำงสังคม ครูจึงควรจดั
บรรยำกำศของหอ้ งเรียนและโรงเรียนใหม้ ีกำรปฏิสมั พนั ธ์ในกลุ่มมำกข้ึน

ฌอง ปิ อาเชต์ (Jean Piaget)

ไดน้ ำทฤษฎี Stage Theory ซ่ึงเน้นพฒั นาการของเดก็ โดยดู
ทก่ี ระบวนการเรียนรู้ของเดก็ ส่งเสริมปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างเดก็ กบั
เพ่ือนร่วมช้ัน และเดก็ กบั ครู ทฤษฎีของปิ อำเชต์ มีอิทธิพลอยำ่ ง
มำกต่อกำรเรียนรู้ของเดก็ ปฐมวยั ในอิสรำเอล

อกี ทฤษฎหี นึ่งทมี่ ีอทิ ธิพลต่อการจดั การศึกษาปฐมวยั คือ

วกิ อตสกตี ์ (Vygotsky) ซึ่งเน้นการจดั ส่ิงแวดล้อมที่

กระตุ้นการท้าทายให้เดก็ ได้คดิ และค้นพบด้วยตวั เอง เป็ นการเปิ ดสมอง
ของเด็กให้รับข้อมูลเพ่ือการวเิ คราะห์

- การเรียนรู้ด้วยประสาทสัมผสั ท้งั ห้า
- การสร้างทกั ษะในด้านภาษา คณติ ศาสตร์ และกล่มุ

วชิ าการ ได้แก่การฝึ กเขยี น และการนับจานวน
- การเล่านิทาน ดนตรี และบทบาทสมมุติ

สรปุ แนวคดิ ของนกั ปรชั ญาแต่ละยุคสมยั ท่ีมีบทบาท

ต่อการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ในยุคปัจจุบนั

นักปรัชญา ระยะเวลา แนวคดิ ทสี่ าคัญทางการศึกษา

คอมมิวนิอุส ค.ศ. 1592 – 1670 - เขียนหนงั สือที่มีรูปภำพประกอบเป็นคนแรก
John Amos Comenius - กำรศึกษำที่มุ่งเนน้ ประสำทสมั ผสั
ค.ศ. 1632 - 1714 - กำรปฏิรูปทำงสงั คมดำ้ นกำรศึกษำ
ลอ็ ค
John Locke -กำรจดั กำรศึกษำโดยคำนึงถึงควำมแตกต่ำง
ระหวำ่ งบุคคลของเดก็
-กำรอธิบำยเหตุผลแก่เดก็ ในกำรเรียนรู้
-บทบำทของส่ิงแวดลอ้ มต่อกำรพฒั นำเดก็

นักปรัชญา ระยะเวลา แนวคดิ ทสี่ าคัญทางการศึกษา

รุสโซ ค.ศ. 1712 - 1778 -ส่งเสริมใหเ้ ดก็ เล่นเสรี
Jean – Jacques Rousseau
-กำรจดั ส่ิงแวดลอ้ มที่มุ่งใหเ้ สรีภำพแก่ผเู้ รียน
เปสตำลอสซี่ ค.ศ. 1746 - 1827 -ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนควบคุมตนเอง

Johann Heinrich Pestalozzi -วสั ดุ อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นกำรเรียนกำรสอนควรเป็น
รูปธรรม
ฟรอเบล ค.ศ. 1782 - 1852
Friedrich Froebel -กำรจดั หลกั สูตรแบบบูรณำกำร

-กำรจดั กำรศึกษำแก่เดก็ ควรรวมถึงพฒั นำกำร
ทำงร่ำงกำยสติปัญญำ และจริยธรรม

-เดก็ เรียนรู้ไดด้ ีท่ีสุดจำกกำรคน้ พบดว้ ยตนเอง
(self-dis-covery)

-เนน้ ควำมสำคญั ของกำรเล่นและกำรพฒั นำ
ศกั ยภำพของตนเอง

-ประดิษฐข์ องเล่นทำงกำรศึกษำเป็นคร้ังแรก
โดยใชช้ ื่อวำ่ “ชุดของขวญั ”

นักปรัชญา ระยะเวลา แนวคดิ ทสี่ าคัญทางการศึกษา

ดิวอ้ี ค.ศ. 1859 - 1952 -ชีวติ และกำรศึกษำมีควำมสมั พนั ธ์ กนั อยำ่ งแยกกนั
John Dewey ไม่ได้
-โรงเรียนควรมุ่งเนน้ ที่ธรรมชำติของเดก็
มอนเตสซอรี่ ค.ศ. 1870 - 1952 -กำรจดั กำรเรียนกำรสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลำง
-ใหค้ วำมสำคญั กบั ควำมสมั พนั ธ์ ระหวำ่ งบำ้ น
Maria Montessori โรงเรียน

-พฒั นำอุปกรณ์ท่ีใชฝ้ ึกประสำทสมั ผสั และกำรจดั กำร
เรียนกำรสอนแบบมอนเตสซอร่ี

องคป์ ระกอบท่ีสาคญั ของการศกึ ษาปฐมวยั

การจดั การศกึ ษาปฐมวยั มอี งคป์ ระกอบทสี่ าคญั รว่ มกนั 3 ประการ
(Gordon & Williams – Browne, 1995 :33) คอื

1. อตั ราสว่ นของครูผสู้ อนตอ่ เดก็
2. ขนาดของชนั้ เรยี น
3. การศึกษา และประสบการณข์ องครู และผดู้ แู ลเดก็

องคป์ ระกอบท่ีสาคญั ของการศกึ ษาปฐมวยั

สมาคมการอนบุ าลศกึ ษาแห่งประเทศไทยสหรฐั อเมรกิ า
ไดก้ าหนดมาตรฐานการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ที่มีคุณภาพ

1. ปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเดก็ และผใู้ หญใ่ นชน้ั เรยี น
2. หลกั สตู ร
3. การตดิ ตอ่ สอ่ื สารกบั พอ่ แม่
4. บุคลากรในสถานศกึ ษาปฐมวยั
5. การใหค้ วามสาคญั กบั โครงสรา้ งของระบบการบริหารบุคลากร
6. การบรหิ ารงานทม่ี ีประสทิ ธิภาพ
7. การจดั สง่ิ แวดลอ้ มทางกายทงั้ ภายในและภายนอกชน้ั เรยี น
8. การดแู ลสุขภาพ ความปลอดภยั
9. โภชนาการทด่ี ี
10. การประเมินผลทเ่ี ป็ นระบบและมีความตอ่ เนื่อง

หลกั การพ้นื ฐานของพฒั นาการเดก็

ครปู ฐมวยั จาเป็ นตอ้ งคานงึ ถงึ ในจดั การเรยี นการสอน ดงั น้ี

1. พฒั นาการดา้ นตา่ ง ๆ --- พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา
2. พฒั นาการของเดก็ จะเกิดข้นึ ตามลาดบั ขน้ั ความรู้ ความสามารถ และทกั ษะต่างๆ
3. อตั ราพฒั นาการชองเดก็ เลน่ แตล่ ะคนจะมีความแตกตา่ งกนั และพฒั นาการในแตล่ ะดา้ น

ก็จะไมเ่ ทา่ กนั
4. ประสบการณเ์ บ้อื งตน้ ของเด็กจะสง่ ผลตอ่ พฒั นาการของเดก็ แตล่ ะคน
5. พฒั นาการของเดก็ จะกา้ วหนา้ ไปในทศิ ทางทค่ี าดเดาได้

6. พฒั นาการและการเรยี นรูข้ องเดก็ เกดิ ข้ึนในบรบิ ทของสงั คมและวฒั นธรรม
7. เดก็ เป็นผเู้ รยี นทมี่ ีความกระตอื รอื รน้ โดยเรยี นรูจ้ ากประสบการณ์
8. พฒั นาการและการเรยี นรูเ้ ป็นผลสบื เน่ืองจากปฏิสมั พนั ธ์ ระหวา่ งวุฒภิ าวะ

และสงิ่ แวดลอ้ มรอบตวั
9. การเลน่ ถือเป็นองคป์ ระกอบทส่ี าคญั สาหรบั พฒั นาการทง้ั 4 ดา้ น ไดแ้ ก่

รา่ งกาย อารมณ์ สงั คม และ สตปิ ัญญา
10. เด็จจะมีพฒั นาการทกี่ า้ วหนา้ ถา้ ไดร้ บั โอกาสในการฝึ กทกั ษะตา่ งๆ
11. เดก็ จะเรยี นรูไ้ ดด้ ที สี่ ุดในสง่ิ แวดลอ้ ม หรอื บรบิ ททตี่ นรูส้ กึ ปลอดภยั ทง้ั

รา่ งกายและจติ ใจ
12. เดก็ มีวธิ ีการรบั รูแ้ ละการเรยี นรู้ รวมตลอดถึงการนาเสนอสงิ่ ทต่ี นรู้

แตกตา่ งกนั

ทศิ ทางและแนวโน้มของการศึกษาปฐมวยั

เนน้ กำรศึกษำที่จะพฒั นำเดก็ ในทุกดำ้ น (ร่ำงกำย อำรมณ์สงั คม และ
สติปัญญำ)

สร้ำงหลกั สูตร ที่ประกอบดว้ ยบทเรียนเร่ืองต่ำง ๆ ท่ีหลำกหลำย
เตรียมเดก็ ใหพ้ ร้อมในดำ้ นกำรใชภ้ ำษำ คอมพวิ เตอร์ ส่ือ ศิลปะท้งั ทกั ษะ

กำรคิด กำรแกป้ ัญหำ อนั นำไปสู่กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์
ผปู้ กครองมีส่วนช่วยส่งเสริมสนบั สนุนกำรศึกษำของเดก็
ครูเป็นผอู้ ำนวยควำมสะดวก และผจู้ ดั ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้แก่เดก็
กำรสอนใหเ้ ป็นคนเต็มคน
กำรสอนใหเ้ ดก็ ฉลาดไม่ใช่กำรสอนใหเ้ ดก็ ประสบควำมสาเร็จทาง

วชิ าการเท่าน้ัน


Click to View FlipBook Version