The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ccjpthai, 2021-12-17 04:31:18

วารสารผู้ไถ่ ฉบับที่ 117 (กันยายน - ธันวาคม 2564)

เปลี่ยนโลกด้วย "วิถีการกิน"

Keywords: วารสารผู้ไถ่,ผู้ไถ่

วารสาร เพ่ือนา� เสนอข่าวสารดา้ นสิทธมิ นุษยชน สังคม ศาสนา และส่งิ แวดลอ้ ม

ปที ่ี ๔๒ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔

เปลี่ยนโลกดวย “วถิ ีการกิน”

สรางโลกท่ี เทาเทียม และ เปน ธรรม

วำรสำร " ูผ้ไถ่" พิมพ์ด้วยห ึมกถ่ัวเห ืลอง เป็นมิตรต่อ ิ่สงแวดล้อม



เปดปก 1

ทุ่ ง รั ก ศิวกำนท์ ปทุมสูติ

กรนุ่ ดนิ กลนิ่ ฟำงระหวำ่ งชวี ติ เพอ่ื นมิตรทง้ั มวลทหี่ วนหำ
อดีตแห่งปจั จบุ นั หลงั มำ่ นตำ อนำคตปรำรถนำนอกดวงใจ

...ลมหนำวเถียงนำแตค่ รำโนน้ ยวบโยนชวี ิตยงั ชิดใกล้
เพือ่ นเรำข้ำวปลำห่อกนั ไป ชอ่ สะเดำฟำดไฟไดก้ ลิ่นฟืน

น้ำ� พริกแหง้ หอมล้อมจ้ิมคลุก ภำพนน้ั ยงั สนุกยงั ปลกุ ตน่ื
เผด็ ผำ่ วพรำวเหงอ่ื จนเส้ือชืน้ กนิ กลืนควำมร้สู ึกไว้ลกึ ซ้ึง

ดม่ื น�ำ้ จำกกระบอกไม้ไผ่ปลอ้ ง น�้ำกน็ ้ำ� คูหนองตกั จ้วงถึง
พอขำ้ วเกล้ียงใบตองหนังท้องตึง ผกู ขงึ เปลขำวม้ำสุขใจครนั

นอนเลน่ จนแดดหรบุ ตะวนั รอน ลงเปียกปอนกับหอยปใู นคูนัน่
ได้ติดมือฝำกแมล่ ว้ นปมู ัน ยืนยนั แม่ไม่ดำ่ เรือ่ งหำกิน

“พร่งุ นี้ไปหำผ้งึ ทีเ่ ชิงภู มึงกะกูพบกันทล่ี ำนหิน”
เสียงยังแวว่ ภำพยงั ไหวในลมริน ภำพวันคืนบนผืนดินถนิ่ ทุง่ รัก

ภำพประกอบ “สขุ แทท้ ่ีบ้ำนทงุ่ ” ผลงำนภำพวำด โดย คุณรัชชำ ธำรำยศ
ท่มี ำจำก มลู นธิ หิ มอชำวบ้ำน ๓ กันยำยน ๒๐๑๗

ผูไถ วารสาร “ผูŒไถ‹” จัดพิมพโดยแผนกยุติธรรมและสันติ (ยส.) ในคณะ
กรรมการคาทอลิกเพ่อื การพฒั นาสงั คม เพ่ือเสนอข‹าวสารดŒานสทิ ธิมนุษยชน
ป‚ท่ี 42 ฉบับท่ี 117 3/2564 ประชาธปิ ไตย ศาสนา สิ่งแวดลอŒ ม และสาระทางสงั คมทน่ี อกเหนือไปจาก
ข‹าวสารกระแสหลักตามหนŒาหนังสือพิมพ โดยไม‹ไดŒมุ‹งแสวงหากําไรมากไป
ผูกŒ ‹อตงั้ กว‹าความรับผดิ ชอบตอ‹ สังคม
บชิ อปบญุ เลอ่ื น หมัน้ ทรพั ย
“ผไูŒ ถ”‹ ยินดีรับความคิดเหน็ ของผรŒู กั ความเปนš ธรรม นักคิด นกั เขยี น
ทีป่ รึกษา นักวิชาการ ศิลปน ในทุกรูปแบบท่ีสอดคลŒองตามแนวของวารสาร โดย
บิชอปบรรจง ไชยรา บรรณาธิการขอสงวนสิทธ์ิในการแกŒไขขัดเกลาตŒนฉบับตามความเหมาะสม
รศ.ดร.วไล ณ ป‡อมเพชร แต‹จะรกั ษาไวŒซง่ึ เจตนารมณของผผŒู ลติ งาน
อัจฉรา สมแสงสรวง
จักรชยั โฉมทองดี อนงึ่ ขอŒ เขยี นทง้ั หมดท่ีตีพมิ พใ น “ผไŒู ถ‹” เปนš ทศั นะเฉพาะของผูŒเขียน
ชนื่ สุข อาศัยธรรมกุล รับผิดชอบร‹วมกันระหว‹างนักเขียนและบรรณาธิการ แต‹ไม‹จําเปšนว‹าผูŒจัดทํา
ตอŒ งเหน็ ดวŒ ย และไมผ‹ กู พนั กบั แผนกยตุ ธิ รรมและสนั ติ(ยส.) ในคณะกรรมการ
นริศ มณีขาว คาทอลิกเพ่ือการพฒั นาสงั คม
ศราวฒุ ิ ประทุมราช
ภาพและขอŒ เขยี นใน “ผูไŒ ถ‹” ยนิ ดใี หŒคดั ลอก เผยแพร‹ เพียงแตโ‹ ปรด
บรรณาธิการ แจŒงใหเŒ ราทราบดวŒ ย
ธญั ลกั ษณ นวลกั ษณกวี
วารสาร “ผูŒไถ‹” ถอื กําเนิดขึ้นในชว‹ งที่ประเทศไทยกําลังประสบวิกฤติ
กองบรรณาธิการ ทางการเมืองและสังคม จากเหตุการณเดือนตุลาคม ป‚ ๒๕๑๖ และ ๒๕๑๙
เอมมกิ า คําทุม โดยมีคนกลุ‹มเล็กๆ จํานวน ๓ – ๔ ท‹าน ที่ตระหนักดีว‹าเปšนความจําเปšนท่ี
สนธยา ต้ัวสงู เนิน พระศาสนจักรคาทอลิกตŒองอยู‹ในความเปšนจริงของสังคม เขŒาใจป˜ญหาและ
ชุตมิ า ศรเี สน ความทกุ ขย ากทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั ประชาชน จากกรณคี วามขดั แยงŒ ทางลทั ธอิ ดุ มการณ
ปรณิ ฑร วาป‚กงั และเพ่ือช‹วยมิใหŒพระศาสนจักรถูกใชŒเปšนเคร่ืองมือทางการเมือง หากสมาชิก
ฝา† ยสมาชิกและการเงิน พระศาสนจักรไมเ‹ ขาŒ ใจว‹า อะไรคือความเปนš จรงิ ความยตุ ธิ รรม และความ
ปรญิ ดา วาป‚กัง ถูกตŒองทแี่ ทขŒ องสังคมในขณะน้ัน
ภาพปกหนŒา
การเลือกใชŒคําว‹า “ผูŒไถ‹” ไดŒรับอิทธิพลทางความคิดจากพระคัมภีร
จนั เจŒาคะ‹ ไบเบลิ ในสมัยทโ่ี มเสสเปšนผูŒนําชาวยิวอพยพจากประเทศอยี ปิ ต เปšนการปลด
ภาพปกหลงั ปลอ‹ ยชาวยวิ ใหเŒ ปนš อสิ ระจากการอยใ‹ู ตอŒ าํ นาจของตา‹ งชาติ และจากการตกเปนš
ปรณิ ฑร วาป‚กัง ทาสและเชลย ซง่ึ มนี ยั ถงึ การไถก‹ Œู การชว‹ ยใหปŒ ระชาชนหลดุ พนŒ จากพนั ธนาการ
ทีเ่ ปนš อปุ สรรคของการพัฒนาความเปšนคน และไดŒรบั อสิ รภาพ เสรภี าพ เพอื่
รูปเลม‹ บรรลุถึงความเปนš คนทค่ี รบครนั ทง้ั ทางดŒานจติ ใจและสังคม
บุศรินทร องั ศกุลชยั
ดŒวยเหตุน้ี เหตุการณตุลาคมวิปโยคจึงเปšนบทเรียนท่ีสะทŒอนถึง
โรงพิมพ การต‹อสูŒของภาคประชาชนเพื่อใหŒตนเองและสังคมหลุดพŒนจากการถูกกดขี่
ศนู ยการพิมพแก‹นจนั ทร โทร. ๐ ๒๒๗๖ ๖๕๔๕ ขม‹ เหง จากกลม‹ุ ผมŒู อี าํ นาจในการปกครอง และโครงสราŒ งทางสงั คมทอี่ ยตุ ธิ รรม
วารสาร “ผูŒไถ‹” ในยุคเร่ิมตŒนน้ัน จึงทําหนŒาท่ีเสมือน “สื่อ” นําเสนอขŒอเท็จจริง
จัดพมิ พโ ดย ที่เกิดข้ึน วิเคราะหและไตร‹ตรองบนจุดยืนของคุณค‹าศาสนา เพ่ือกระตุŒนใหŒ
แผนกยุติธรรมและสนั ติ (ยส.) ผูŒอ‹าน ไดŒใชŒวิจารณญาณในการเขŒาใจเหตุการณต‹างๆ ที่เกิดข้ึน และสํานึก
ในคณะกรรมการคาทอลิกเพอื่ การพัฒนาสงั คม ถึงบทบาทการมีส‹วนร‹วมสรŒางความเปšนประชาธิปไตย การเคารพสิทธิของ
๑๑๔ (๒๔๙๒) ซ.ประชาสงเคราะห ๒๔ ประชาชนใหเŒ กดิ ข้นึ ในสังคม
ดินแดง กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐
โทรศพั ท ๐ ๒๒๗๕ ๗๗๘๓, ๐ ๒๒๗๗ ๔๖๒๕ และถงึ แมเŒ สนŒ ทางของการทาํ หนาŒ ทเี่ ปนš สอื่ ของวารสาร “ผไŒู ถ”‹ ยาวนาน
มากว‹า ๔๐ ป‚ แต‹เราก็ยังยืนยันที่จะสืบสานต‹อภารกิจการไถ‹กูŒดŒวยความเช่ือ
โทรสาร ๐ ๒๖๙๒ ๔๑๕๐ ม่ันว‹า เราแต‹ละคนและทุกคนต‹างมีหนŒาท่ีในการสรŒางสรรคสังคมใหŒดํารงไวŒ
เว็บไซต www.jpthai.org ซ่งึ ความยุติธรรมและสันติ เพราะเรามีศกั ด์ิศรี มอี ิสรภาพและเสรีภาพ ท่เี ท‹า
อีเมล [email protected] เทียมกนั ในฐานะท่ีเปšนมนษุ ย

60Line official: JPThai
ราคา บาท

 เปด เลม

ภาพ: www-lp-pao-go-th จำกวิกฤติโควิดทีท่ อดระยะเวลำมำยำวนำนกว่ำ ๒ ปี ซึ่งสง่ ผลกระทบ
ตอ่ วิถกี ำรดำ� เนินชีวติ ของเรำทตี่ อ้ งเผชญิ กบั ควำมยำกลำ� บำกในกำร
ภาพ: www.facebook.com/gGarden.Ufarm ภาพจาก วารสาร ้ผูไถ่ ฉบับ ๑๑๖ ภาพ: www.artculture4health.com ประคองชวี ิตใหอ้ ยรู่ อดปลอดภยั ไดท้ ง้ั ภยั จำกเชอื้ โควิด-๑๙ ทแ่ี พรร่ ะบำด
ไปทว่ั ทกุ พนื้ ที่ แลว้ ยงั ตอ้ งพยำยำมใหร้ อดจำกควำมอดอยำกหวิ โหยจำก
พษิ เศรษฐกจิ ทีก่ ระทบตอ่ อำชพี กำรงำน และรำยได้

แต่ท่ำมกลำงวกิ ฤติและสภำวกำรณ์ท่ียำกล�ำบำกนี้ เรำได้เห็น
ตัวอย่ำงของผู้คน ชุมชน กลุ่มคน ที่สำมำรถรับมือกับมันได้ ทั้งยัง
สำมำรถส่งต่อควำมช่วยเหลือเกื้อกูลแบ่งปันไปให้ผู้คนที่ทุกข์ยำกได้
ข้ำมผ่ำนวิกฤตินี้ไปได้ อย่ำงเช่น กลุ่มชำติพันธุ์ทำงภำคเหนอื ชำว
ปกำเกอะญอท่ีมีวิถีปลูกข้ำวไว้ให้พอกินได้ท้ังปี และยังมีวัฒนธรรม
‘กองบุญข้ำว’ ท่ีแบ่งปันบรจิ ำคข้ำวให้ผู้ตกทุกข์ได้ยำก ในช่วงโควดิ นี้
พวกเขำได้ส่งข้ำวสำรและผลผลิตพืชผักต่ำงๆ ที่ปลูกไว้น�ำไปช่วยคนใน
เมอื งที่ไดร้ บั ผลกระทบดำ้ นเศรษฐกจิ จำกวิกฤติโควิด และยงั ทำ� โครงกำร
‘ข้ำวแลกปลำ’ ส่งข้ำวสำรลงไปช่วยเหลือและแลกเปลี่ยนกับปลำของ
ชำตพิ ันธช์ุ ำวเลรำไวยท์ ำงภำคใต้

หรืออย่ำง ‘ครัวกลำงชุมชนปันกันอิม่ ’๑ ท่ีท�ำอำหำรรำคำถูกและ
แจกฟรี โดยนำ� ผลผลิตทำงกำรเกษตรจำกเครอื ข่ำยจิตอำสำ และเงิน
บริจำคจำกผมู้ ีจิตศรัทธำ จดั ต้ังให้เป็นตน้ แบบของชมุ ชนพ่ึงตนเอง ท่มี ี
แหล่งอำหำรอย่ำงยั่งยืนเพื่อช่วยแก้ปัญหำปำกท้องให้แก่ชำวชุมชนท่ี
ติดโควดิ แลว้ ต้องกักตัว คนตกงำนขำดรำยไดจ้ ำกพิษโควดิ รวมทงั้ เด็ก
และผสู้ งู อำยุ ทัว่ ชุมชนตำ่ งๆ ในกรุงเทพฯ นอกจำกนี้ ยงั มอี ีกมำกมำย
หลำยชมุ ชน หลำยพน้ื ทท่ี น่ี ำ� ผลผลติ ทำงกำรเกษตรของตนแบง่ ปนั แจก
จ่ำยชว่ ยเหลือกันและกันในยำมวิกฤติเชน่ นี้

เห็นได้ว่ำกำรเข้ำถึงแหล่งอำหำร ซึ่งเป็น ๑ ในปัจจัยพ้ืนฐำนใน
กำรมีชีวิตรอดของมนุษย์ โดยเฉพำะในห้วงยำมที่เกิดภำวะวิกฤติแต่ละ
ครั้ง ย่งิ เป็นค�ำตอบให้เรำกลบั มำให้ควำมสำ� คัญกับเรื่องของกำรพง่ึ พำ
ตนเองและวถิ เี กษตรกรรมซงึ่ เปน็ ทม่ี ำของกำรผลติ อำหำรปลอดภยั เพอื่

๑ โดยมูลนิธเิ ครอื ขำ่ ยพุทธกิ ำ และองค์กรภำคี http://budnet.org

4 ผ้ไู ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔ ภาพ: www.greenery.org

นำ� ไปสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหารอันถือเป็น ภาพ: www.akdn.org
พ้ืนฐานในการด�ำรงชีวติ ที่จะท�ำให้เราสามารถพ่ึงพา
ตนเองได้อยา่ งยง่ั ยนื

“ผู้ไถ”่ ฉบบั น้ี มตี วั อยา่ งของกลมุ่ คนและองคก์ ร
ที่ท�ำงานขับเคล่ือนประเด็นและกิจกรรมเร่อื งสิทธิใน
การเข้าถึงอาหารปลอดภัย การพ่ึงพาตนเอง และ
การสรา้ งความมน่ั คงทางอาหาร เพอ่ื เปน็ แรงบนั ดาล
ใจให้ใครก็ตามที่สนใจ ได้ลุกขน้ึ มาปรับพฤติกรรม
เปลย่ี นวิถชี วี ติ หรอื สรา้ งทางเลอื กใหมๆ่ ใหแ้ กช่ วี ิตที่
ต้องอยูท่ า่ มกลางเช้อื โควิด-๑๙ ใหเ้ ป็น ‘ชวี ิตวถิ ีใหม่’
ซ่ึงเป็นวิถแี หง่ การพึ่งพาตนเอง เพ่ือพรอ้ มรบั มอื กับ
ทุกวกิ ฤติการณ์ทีจ่ ะเขา้ มาในชีวิตไดอ้ ย่างมนั่ คงอย่าง
แทจ้ ริง และทสี่ ำ� คญั ไปกวา่ นั้น ยงั เปน็ พลเมอื งอาหาร
(Food Citizenship) ที่ต่ืนรู้ ตระหนักถึงศักยภาพ
ความเปน็ ผบู้ ริโภคของเรา วา่ การกนิ ของเราสามารถ
เปลี่ยน ‘โลก’ ได้ สามารถสร้างความเท่าเทียมและ
สร้างความเป็นธรรมให้แก่สังคมที่เราวาดหวังอยาก
ใหเ้ ปน็ ในวันขา้ งหน้า!

แบบส�ำรวจความพงึ พอใจของผูอ้ ่าน วารสาร “ ผูไ้ ถ่ ”

แผนกยุติธรรมและสันติ (ยส.) มีวัตถุประสงค์เพ่ือรับทราบความคิดเห็น
และความพึงพอใจของผู้อ่านต่อ วารสาร “ผู้ไถ่” จึงขอความกรุณาจากท่าน
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ โดย สแกนคิวอาร์โค้ด น้ี และตอบ
ค�ำถามต่างๆ แล้วกด ส่ง เพ่ือให้วารสาร “ผู้ไถ่” ได้พัฒนาและปรับปรุงเป็น
ส่ือส่ิงพิมพ์ที่ทันสมัย ทันเหตุการณ์ ควบคู่ไปกับการนำ� เสนอข้อเท็จจรงิ
วิเคราะหแ์ ละไตรต่ รองบนจุดยนื ของคุณคา่ ทางศาสนา รวมถงึ เป็นสอื่ กลางใน
การกระตุ้นให้ผู้อ่านได้ใช้วิจารณญาณในการเข้าใจเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้นึ
ในสังคม ตลอดจนเคารพคุณค่าและศกั ดศิ์ รขี องความเป็นมนษุ ยต์ ่อไป

สารบญั

ผูไ้ ถ่ ปีท่ี ๔๒ ฉบับท่ี ๑๑๗ กันยายน – ธนั วาคม ๒๕๖๔

สังคม – กำรเมือง ๖ กล่มุ ชำตพิ ันธุ์ ๔๖
๒๓
กนิ เปลีย่ นโลก ด้วยวถิ ีการกนิ รา่ ง พ.ร.บ. สภาชนเผา่ พื้นเมืองฯ
เพอ่ื สรา้ งโลกท่เี ท่าเทียมและเป็นธรรม “เราตอ้ งการยืนยนั สิทธคิ วามมีตัวตน
ของคนชาติพนั ธุในไทย”
ธัญลกั ษณ์ นวลกั ษณกวี
องอำจ เดชำ
g Garden - สวนผกั และฟารมกลางเมอื ง
ยา่ นถนนรัชดา-พระราม ๙

ธัญลกั ษณ์ นวลกั ษณกวี

สิทธมิ นุษยชน ๖๗ ปกิณกะ – วรรณกรรม (หน้ำแรก)

สทิ ธิในการจดั การตนเองของชมุ ชนท้องถ่ิน: ๗๓ บทกวีเปดิ ปก: ทุ่งรกั ๓๔
กรณีการเลือกตัง้ อบต. ๗๖ ศวิ กำนท์ ปทุมสูติ ๓๗

ศรำวฒุ ิ ประทมุ รำช เนือ้ ในหนัง: ๔๓
Life is Fruity ชวี ิตนี้หอมหวาน ๖๑
กจิ กรรม ยส. ครงึ่ ปห‚ ลงั ๒๕๖๔
ฝำ่ ยเผยแพรแ่ ละกำรมีส่วนร่วม ฌญำ

สำรวนั สทิ ธมิ นุษยชน พืน้ ทเ่ี ลก็ เลก็ :
ของพระศำสนจกั รคำทอลิกในประเทศไทย “วถิ ีไรเดอร” อาชพี สุด ‘ปัง’ หรือ ‘พัง’
มนษุ ยม สี ขุ ภาพทด่ี ีและแขง็ แรง ในยคุ นว� นอรมอล
กด็ ว้ ยธรรมชาติท่ีโอบอมุ้
น้ำ� คำ้ ง คำ� แดง

นกเขำครวญ อำลยั กิง่ ท่เี คยเกำะ:
ครกหนิ เครอื่ งแกง

หญ้ำน�้ำ ทุง่ ขนุ หลวง

ปักดอกไม้ในแจกนั ใจ:
จากความขัดแยง้ ในสังคมไทย
ส่กู ารสร้างสรรคส ันติ

นริศ มณขี ำว

บทความ6 ธญั ลักษณ์ นวลักษณกวี สมั ภาษณ/์ เรียบเรียง ภาพ: www.facebook.com/DearConsumer

กินเปล่ียนโลก

ด้วย วิถกี ารกิน เพ่อื สรา้ ง โลกท่ีเทา่ เทียม และ เป็นธรรม

ทุกวันนี้ เห็นได้ว่ามีผู้ ต่อโลกของเราอย่างไร ใน change.org ที่ให้ PM 2.5 ผา่ นกระบวนการ
บริโภคจ�ำนวนมาก มากข้ึน และนัน่ ท�ำให้ ข้อมูลว่า อุตสาหกรรม เผาในไร่ข้าวโพดท่ีนำ� มา
ขน้ึ เร่อื ยๆ ท่ี ให้ความ เ ร า ต ร ะ ห นัก ถึ ง เ รื่อ ง ไก่ เปน็ วงจรสร้างฝุน่ พษิ เป็นอาหารสัตว์ และมี
ส�ำคัญกับเรื่องของการ สวัสดิภาพของสัตว์มาก
กินอาหารปลอดภัยเพ่ือ ขึน้ ด้วย เช่น เน้อื สัตว์ท่ี
สุขภาพท่ีดี ประกอบกับ เรากิน ส่งผลให้โลกรอ้ น
กระแสรกั ษส์ ่งิ แวดลอ้ มท่ี ขึน้ เนอ้ื ไกท่ ี่เรากินมีส่วน
เข้ามาอยู่ในวถิ ีชวี ติ เป็น ท�ำให้เกิดฝุ่น PM 2.5
ความตระหนักและต่ืน มากขึ้น เปน็ ต้น
รู้ของเรามากขึน้ ท�ำให้ เมื่อเร็วๆ นี้ มี
เราใส่ใจเร่อื งที่มาของ แคมเปญหนง่ึ บนหน้า
อาหารการกินว่าผลิต เพจเฟซบุ๊ก ‘ผู้บริโภค
จากไหน ผลิตอย่างไร ท่ีรัก’ ท่ีชวนชาวโซเชยี ล
กระบวนการผลิตส่งผล ร่วมสนับสนุนแคมเปญ
ต่อสงิ่ แวดล้อม ส่งผล “ไก่ไร้ฝนุ่ ”๑ โดยเข้าลงชอื่

๑ เพจ ผู้บริโภคท่รี ัก https://www.facebook.com/DearConsumers

7ผไู้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กันยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔

การรณรงค์ ให้ซูเปอร์ ปัญหาความเหล่ือมล�้ำ

มาร์เก็ตชั้นน�ำในไทย และความไม่เป็นธรรม

น�ำ ‘ไก่ไร้ฝุ่น’ มาขาย ในสงั คม

ให้มากขน้ึ เพ่ือสุขภาพ คุณกง่ิ กร นรนิ ทร­

ที่ดีขึน้ ของผู้บริโภคและ กุล ณ อยุธยา รอง

เพื่อสิง่ แวดล้อมท่ีดีกว่า ผู้อ�ำนวยการมูลนิธชิ วี วถิ ี

ส�ำหรับโลกใบน้ี พร้อม ผู้ประสานงานโครงการ

ทั้งเสนอทางออกให้ ‘กินเปล่ียนโลก’ บอก มาร์เก็ตก็ราคาแพง หรือไม่ได้อยู่ต่างจังหวัด

ผู้บริโภคหันมาเลือก เล่าให้เห็นที่มาท่ีไปของ นอกจากซ้ือตามตลาด ทมี่ ตี ลาดเขยี วของผผู้ ลติ

รับประทานไก่บ้าน ไก่ ปัญหาระบบอาหารใน เขียวหรอื ซ้ือตรงจากผู้ ชาวนา เกษตรกร และ

ที่เลี้ยงด้วยอาหารไม่ ประเทศ ทนี่ ำ� ไปสู่งานขบั ผลิตบางทีถูกกว่าท่ัวไป เครือข่ายเกษตรกร ทีน่ ำ�

สร้างมลพิษ ปลอดสาร เคลื่อน การ ‘กิน’ เพ่ือ ดว้ ย แตป่ ญั หาคอื เราไมร่ ู้ ผลผลิตมาขายในตลาด

เคมแี ละยาปฏชิ วี นะ จาก เปล่ียน ‘โลก’ ว่า แหลง่ ไม่รูจ้ กั ผผู้ ลิตซึง่ ก็ นัดตา่ งๆ ทำ� ใหผ้ บู้ ริโภคที่

กลมุ่ เกษตรกรรายยอ่ ยที่ “ในระบบอาหารทกุ ยงั มนี อ้ ย และผบู้ ริโภคยงั อยู่ใกล้เคียงสามารถเข้า

ใส่ใจอยากส่งไกด่ ีๆ ถงึ ผู้ วันนี้ อาหารที่เรากินกัน เข้าถึงได้ไม่ง่ายนกั หาก ถงึ อาหารดมี คี ณุ ภาพได”้

บริโภค อีกทั้งยังพาเชฟ อยู่ท่ัวไปตามท้องตลาด ไม่รู้แหล่งผลิต ไม่รู้จักผู้ “สิ่งท่ีเราอยากเห็น

ร้านอาหารดังมาแนะนำ� นั้น เราไม่รู้ที่มาที่ไป ว่า ผลิตและเครือข่ายที่ผลิต คือ คนเราไม่ว่ายากดี

เ ม นู ท่ี ท� ำ จ า ก ไ ก ่ บ ้ า น มีจนควรจะสามารถเข้า

หลากหลายเมนูอกี ด้วย ถึงอาหารที่มีคุณภาพ

กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ มี โ ภ ช น า ก า ร ท่ี มี ค ว า ม

แคมเปญนี้เป็นส่วนหนึง่ ปลอดภัย ไม่มีสารปน

ของการขับเคล่ือนงาน เปื้อนตกค้างมากเกิน
ภาพ: www.change.org
ของ “กินเปลี่ยนโลก” ไปที่ส่งผลต่อสุขภาพ ภาพ: www.facebook.com/food4change

หรอื food4change ท่ี ท้ังในระยะสั้นและระยะ

ชูคอนเซ็ปต์ว่า “กินทุก ยาว ซึ่งตรงน้ี ถ้าพูดถึง

วัน เปลี่ยนโลกทุกวัน”

ผ่านการรณรงค์เร่ืองวิถี ผลิตมาอย่างไร มปี ญั หา

การกิน ชวนผู้บริโภคตั้ง เรื่องการปนเปอ้ื นตกคา้ ง

ค�ำถามค้นหาท่ีมาของ หรือไม่ คนอาจจะเร่ิมต่ืน

อาหารท่ีกิน ตลอดจน ตัวเรอ่ื งการกินอาหาร

สิ่งที่ตามมาหลังจาก ที่ท�ำให้ตัวเองมีสุขภาพ

เรากินเข้าไปแล้ว เช่น ดี ก็มีความเช่อื ว่าถ้าจะ

ปัญหาสุขภาพ ปัญหา กินดี ต้องกินออร์แกนิค

ส่งิ แวดล้อม ไปจนถึง แต่ออร์แกนิคในซูเปอร์

8 ผู้ไถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔

ในประเทศน้ีแทบเป็นไป ทรัพยากรธรรมชาติ มี
ภาพ: www.facebook.com/food4change
www.facebook.com/ThaiPesticideAlertNetworkไม่ได้เลย คือเราก็ต้อง ระบบการผลิตที่ย่ังยืน

กนิ ไปตามมตี ามเกดิ และ ค�ำนึงถึงสุขภาพและส่ิง

เอาถกู เขา้ วา่ อนั นีเ้ ปน็ มา แวดล้อม สร้างความเทา่

โดยปกติอยู่แล้ว เพราะ เทียมและเก้ือกูลระหว่าง

ว่าการก�ำกับดูแลหรอื เกษตรกร ชมุ ชนท้องถิ่น

การทำ� ใหก้ ารผลติ อาหาร กับผู้บริโภค ให้เป็นการ

มีความม่ันคงปลอดภัย กินท่ีเช่ือมโยงกับผู้ผลิต

มันยากมาก และเรยี น ที่รักษาระบบการผลิต

กนั มากม็ กี ารสงั่ สมความ อาหารทเี่ คารพธรรมชาติ

รู้ สั่งสอนกันมาว่า ถ้า และสนับสนุนเศรษฐกิจ ข่ายแบบท้องถ่นิ เข้มแข็ง ข้ึนอย่างก้าวกระโดด “มี

ไม่ใช้สารเคมีไม่ได้กิน ก็ รายย่อยท่ีค�ำนึงถึงความ อันน้ีปรากฏการณ์หนง่ึ ช่วงท่ีกินกระชาย ขงิ ข่า

เลยต้องถล่มใส่สารเคมี เป็นธรรมของสังคม โดย คอื ตลาดเขยี ว คนจะใส่ใจ ตลาดเขยี วมีลูกค้าเพ่มิ

ต่างๆ” ร่วมกับชุมชนและเครือ เรอ่ื งสุขภาพมากขน้ึ คน ขน้ึ บางท่ี ๒๐๐-๓๐๐%

งานของ‘กนิ เปลยี่ น ข่ายต่างๆ รวบรวมองค์ อยากแข็งแรงขน้ึ ด้วย มี หมายถึงว่าเกินร้อย

โลก’ จงึ พยายามสร้าง ความรู้เก่ียวกับอาหาร ตลาดเขยี วที่เชียงใหม่ เปอร์เซ็นต์ จาก ๒๐๐

ความเปลี่ยนแปลงด้าน ทอ้ งถ่นิ เชน่ สตู รน�ำ้ พริก ตลาดหน่งึ เปิดวันอังคาร ไม่ได้เป็น ๔๐๐ แต่เป็น

พฤติกรรมการกินของ อาหารจากถั่ว อาหาร และพฤหัส แต่ก่อนบ่าย ๖๐๐, ๘๐๐%”

ผู ้ บ ริโ ภ ค ใ ห ้ หั น ม า จากผกั พ้ืนบ้าน เป็นตน้ สองโมง คนจะเริ่มมา คุณกิง่ กร บอกว่า

สนใจอาหารท้องถ่ิน “เราส่งเสริมเรื่อง เด๋ียวนม้ี าก่อนแม่ค้า “น่เี ป็นโอกาสของเครอื

ด้วยการรณรงค์เก่ียว ของกระบวนการอาหาร มารอ ช่วยแม่ค้าจัด ข่ายที่ท�ำงานเรื่องการ

กับวัฒนธรรมอาหาร ท้องถ่ินมาโดยตลอด แผง กลัวไม่ทัน อย่างน้ี ผลิตอาหารคุณภาพ

ที่ มี วิถี ก า ร ผ ลิ ต ข อ ง สร้างให้ตลาดท้องถิน่ เปน็ ตน้ กค็ อื คนพยายาม แบบไม่ ใช้สารเคมีท่ี

ชุมชนท้องถิน่ ที่อนุรักษ์ สร้างให้การผลิตในเครือ หาอาหารที่มีคุณภาพ มีการรับรองกันเอง มี

แล้วตัวเองเชื่อว่ามีความ ความเช่อื มน่ั กนั ผบู้ ริโภค

ปลอดภัยมากขึน้ ” รู้จัก ผู้บริโภคได้คุยกับ

โดยเฉพาะในช่วง ผู้ผลิตโดยตรงและเกิด

ท่ีสถานการณ์โควิด-๑๙ ความมน่ั ใจ แล้วเกดิ เป็น

ระบาดน้ี คนสนใจกิน ความสมั พนั ธ์ ผักแบบน้ี

สมุนไพรเพ่ือป้องกันโรค อาหารแบบนี้ มันเติบโต

โควิดกนั มากขึ้น สง่ ผลให้ มคี นอยากกนิ มคี นอยาก

ตลาดสีเขียวมีลูกค้าเพม่ิ ซ้ือมากขนึ้ ”

9ผูไ้ ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔

รณรงค์เร่อื งวถิ ีการกิน เพราะทกุ ค�ำท่เี รากิน เราก�ำลังเปล่ยี นแปลงโลกใบนี้

งานรณรงค์ถือว่า จากชาวนาเกษตรกรที่

เป็นจุดแข็งที่มีอิทธิพล ท�ำเรอ่ื งนี้ เราไม่ได้อยู่ ภาพ: www.mgronline.com
facebook: ThaiPesticideAlertNetwork
สามารถสร้างความ ตา่ งจงั หวดั คนกรงุ เทพฯ

ตระหนกั รู้ ให้ผู้บริโภค ก็หากินล�ำบาก ดังนัน้

ได้เป็นอย่างดี ซ่ึง ‘กิน ก็ควรเลือกกินผักตาม

เปล่ียนโลก’ ใช้สื่อสาร ฤดูกาล นนั่ หมายความ

กับผู้บริโภคให้เห็นว่าเรา ว่าคุณต้องหาความรู้

จำ� เปน็ ตอ้ งรกู้ ระบวนการ ว่าฤดูกาลไหนผักออก

ผลิตเพื่อท่ีจะได้ ไปส่ง หรอื อยา่ งแคมเปญ

เ สี ย ง บ อ ก ค น ท่ี ป ลู ก รณรงค์เรือ่ งส้ม “หยุด

คนท่ีเอามาขายเรา ให้ ส้มอมพิษ” (Orange

เป็นหลักประกันความ Spike) ซ่ึงท�ำร่วมกับ

ปลอดภัยท่ีพอเชอ่ื ถือได้ อ็อกแฟมประเทศไทย

บ้าง (Oxfam) และมูลนิธิ

หลายแคมเปญ เพื่อผู้บริโภค รณรงค์ให้

ที่ ‘กินเปลีย่ นโลก’ เลือก ประชาชนหยุดส้มอมพิษ

น�ำมารณรงค์ คุณกิ่งกร แล้วคุณก็เลือกกินตาม อย่างแครอทมาจากไหน ตั้งแต่ต้นทาง กระตุ้นให้

ยกตัวอย่างว่า พยายาม ฤดูกาลเพราะสารเคมี ก็ไม่รู้ บร็อคโคล่ีมีอยู่ทั้ง ผู้บริโภคแสดงสิทธิให้

หยิบเอาพืชผักบางชนิด ท่ีใช้ในการผลิตผักตาม ปี ผกั กาด กวางตงุ้ ผกั บงุ้ ซูเปอร์มาร์เก็ตใช้ระบบ

มารณรงค์ โดยสร้าง ฤดูกาลมันน้อยกว่าผัก เน่ยี มอี ยแู่ ค่ ๑๐ กวา่ ชนดิ ตรวจสอบย้อนกลับ

เ ป ็ น ป ร ะ เ ด็ น สื่ อ สา ร ทมี่ าผดิ ฤดกู าล หรือผกั ที่ เอง แต่ท่ีอยู่รอบสวน (Traceability) ที่โปรง่ ใส

กับผู้บริโภค อย่างเช่น มที งั้ ปี อยา่ ง คะนา้ ถา้ กนิ อาทิ ดอกแค ขี้เหล็ก และมีประสิทธภิ าพ ติด

แคมเปญสง่ เสริมการกนิ หน้าหนาวก็มียา มีสาร มะรุม มะตูมแขก ผักติ้ว ควิ อาร์โค้ด (QR Code)

ผักยืนต้น การตรวจผัก เคมีน้อยกว่าหน้าแล้ง ชะมวง นค่ี ือผักยืนต้น พิสูจน์ว่าส้มท่ีขายไม่มี

ยอดนยิ ม (Top Hit) ผกั กับหน้าฝน คือถ้ามีใน ผักเหมือนกันแต่เป็น สารพิษ เพื่อผลักดันผู้

ที่กินกันเป็นประจ�ำ ซึ่งก็ ฤดูของมัน ศัตรูของมัน พืชยืนต้น (Perennial ผลิตให้ลดใช้สารเคมี

หมายถึงผักที่ตามเราไป จะน้อยกว่า และผักน้นั ก็ Crops) คือโตเป็น ๑๐, ผู้จัดจ�ำหน่ายคัดกรอง

ทกุ ฤดูกาล จะแข็งแรงกว่า ดังนน้ั ก็ ๒๐, ๓๐ ปี ถึงเวลาตาม แหล่งท่ีมาส้มปลอดภัย

“เวลาคนถามว่า ใช้สารเคมีน้อยกว่า” ฤดขู องมนั กอ็ อกชอ่ ออก และให้รัฐมีมาตรการ

แล้วจะกินอย่างไรให้ “ความรู้เรื่องการ ยอด ออกดอก มาใหก้ ิน ค ว บ คุ ม ป ริม า ณ ส า ร

ปลอดภัย เราก็บอกว่า กินของคนไทย เรารู้วธิ ี เราควรจะกลบั ไปกนิ พวก เคมีในผลิตภัณฑ์ส้มทุก

ผักอินทรีย์หากินยาก การกินผักมากกว่ากิน น้ันมากขึ้น” ประเภท

เพราะเราอยู่ห่างไกล แตงกวา ผักกาด กะหลำ่�

ภาพ: www.facebook.com/food4change 10 ผไู้ ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กันยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔
ภาพ: www.facebook.com/food4change
“ส้ม ตรวจทุกปี สารเคมีมันก็ไปมาหา
ก็ร้อยเปอร์เซ็นต์ทุกปี กนั ”
ร้อยเปอร์เซ็นต์ท่ีหยิบ เพจ ‘กินเปลี่ยน
๑๐ ตัวอย่าง แล้วเจอ โ ล ก ’ จึง แ น ะ นำ� ท า ง
เกินค่ามาตรฐานความ เลือกในการเลือกกิน
ปลอดภัยที่ยอมรับได้ทั้ง เลือกซ้ือส้มปลอดสาร
๑๐ ตวั อยา่ ง เจอสารเคมี เคมี โดยนำ� ตัวอย่างการ
คอ็ กเทล ๓๐ กวา่ ชนิด จงึ ท�ำเกษตรไร้ควัน ไร้สาร
หยิบส้มมารณรงค์ เพื่อ เคมี เช่น ‘ส้มไร้ควัน’
จะกระตนุ้ ใหค้ นสนใจและ ของพ่อหลวงสุทัศน์ ยง แก่ผู้บริโภคเร่ืองพืชผัก ให้ความรู้เกี่ยวกับการ
จับจ้องให้ผู้ผลิตช่วยท�ำ ศักดิ์วัฒน์ เกษตรกร ผลไม้ต่างๆ ที่อยู่รอบตัว กิน การปลูก และการคา้
ส้มแบบปลอดภัยมาให้ บ้านนาฮ่องใต้ ต.แม่ศึก ท่ีมีการปลูกแบบไร้สาร ทเุ รียน เป็นแนวทางให้ผู้
กินหน่อย เราก็ช่วยให้ อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ เคมี ผ่านวงเสวนา อาทิ บริโภคได้เห็นทางเลือก
ผู้บริโภคมีความรู้ว่าจะ ท่ีปรับเปลี่ยนพื้นท่ีปลูก เร่ืองจักรวาลทุเรยี น, อาหารท่ีดีท่ีปลอดภัย
หาส้มอย่างไรกินดี ซึ่ง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มา นเิ วศสวนทุเรียน ท่ีนำ� และมีคณุ ภาพ
ไม่ง่ายเลยนะ ท�ำส้ม ปลูกส้มสายน�้ำผึ้ง และ เกษตรกรผปู้ ลกู จากสวน ในส่วนแคมเปญที่
ออร์แกนิคก็ไม่ง่าย เว้น กลุ่มปลูกส้มโชกุนแบบ ทุเรียนอินทรยี ์ ทุเรยี น รณรงค์เกี่ยวกับอาหาร
ระยะ ๒-๓ เดอื นก็ไมง่ ่าย สวนสมรมไม่ใช้สารเคมี ป่าละอู ทุเรยี นพ้ืนบ้าน ประเภทเน้อื สัตว์ อย่าง
เพราะปลกู สม้ ใหม้ นั ออก ต.พะโตะ๊ จ.ชมุ พร เปน็ ตน้ นนทบุรี และนักวชิ าการ เชน่ เร่อื งไก่ กบั แคมเปญ
ทัง้ ปี ตรงนพ้ี ัก ฉีดใกลๆ้ ตลอดจนการให้ความรู้ ด้านพฤกษศาสตร์มา ‘ไก่ไร้ฝุ่น’ เราจะเลือกกนิ

ไก่อย่างไร ให้ผู้ผลิตราย
ใหญ่ไม่ส่งผลกระทบต่อ
ระบบสิ่งแวดล้อม

คุณกิ่งกร อธบิ าย
ถึงที่มาท่ี ไปของการ
รณรงค์แคมเปญเรื่อง
ไก่ วา่ “ทกุ วนั น้เี รากินไก่
ประมาณ ๑๒.๕ ตัว หรือ
ประมาณ ๒๙ กิโลกรัม
ต่อคนต่อปี และเราก็
จะกินมากขึ้นไปเรอื่ ยๆ
ซึ่งไก่ที่เรากิน ๙๐% มา
จากบริษัทยักษ์ ใหญ่ท้ัง

11ผไู้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔

น้นั และอาหาร ภาพ: www.facebook.com/food4change ว่ามันผลักต้นทุนสิ่ง­ แคร์’๒ ให้ผู้บริโภคกลับ

ไก่ ๕๐% มาจาก แวดล้อมให้สังคม มัน มาให้ความส�ำคัญกับ

ขา้ วโพด ขา้ วโพด เลยถูก ไอ้ท่ีเราจ่ายค่า ตลาดสดเพื่ออุดหนุนผู้

น่าจะเกินครง่ึ มา ไก่ เราไม่ได้จ่ายค่าสงิ่ ประกอบการรายยอ่ ย ลด

จ า ก ก า ร ป ลู ก แวดลอ้ ม” การผูกขาดตลาดอาหาร

แบบเผา อยา่ งน้ี ที่อยู่ ในมือผู้ผลิตราย

เรามีความสนใจ ใหญ่ไมก่ ร่ี ายของประเทศ

มากนอ้ ยแค่ไหน ผา่ นคลปิ วดิ ีโอทน่ี ำ� เสนอ

ว่ากระบวนการ ให้เห็นว่า ตลาดสดท�ำ

ผลิตไก่มันโอเคไหม ผู้ ห น ้ า ท่ี ก ร ะ จ า ย ค ว า ม

ผลิตก็ควรจะตระหนัก หลากหลายและความ

ว่า ไม่เอาข้าวโพดที่มา อุดมสมบูรณ์ของอาหาร

จากการเผาที่อยู่บนดอย ตามฤดกู าล เป็นทร่ี ักษา

ส่วนหนง่ึ ของ PM 2.5 ก็ แ ล ะ ล ่ า สุ ด กั บ ความรู้ในการกิน การ

เกิดจากสง่ิ น้ี พยายามจะ แคมเปญ ‘#เสน่ห์ ปลูก การเลือกอาหารท่ี

รณรงค์ให้คนเห็นว่าการ เปล่ียนระบบการเกษตร ตลาดสด #สดเซยี นลกึ ดมี คี ณุ ภาพ เหน็ ถงึ ความ

กินของเรามันเช่อื มโยง บนที่สูงให้มีความย่ังยืน

กบั เรื่องความเสอื่ มโทรม และมีผลกระทบต่อสง่ิ

ของทรัพยากรธรรมชาติ แวดล้อมใหน้ ้อยลง แล้ว

ความเสื่อมโทรมของ เราจะช่วยกันคิดอย่างไร

สิง่ แวดล้อม และเชอื่ ม ให้มันไม่เดือดร้อนชาว

โยงกับความเป็นธรรม บ้านด้วย จะมีการปรับ

ในระบบเศรษฐกิจของ เปลย่ี นระบบเกษตรบนท่ี

ชาวนา เกษตรกร สูงอย่างไร ผ้บู ริโภคเอง

อ ย า ก ใ ห ้ ค น ไ ด ้ ต้องเรยี กร้องด้วยว่า ภาพ: www.facebook.com/food4change

เชอ่ื มโยงว่า เราน่าจะ เราก็ต้องการกินไก่ที่มี

สามารถสร้างความ คุณภาพท่ีไม่ไปท�ำลาย

เปล่ียนแปลงโดยการ สิง่ แวดล้อมไหม หรือ

เรียกร้องให้ผู้ประกอบ เราควรจะกินไก่น้อยลง

การรายใหญ่รับผิดชอบ ไหม เรากินไก่มากข้นึ

ในการซ้ือข้าวโพด หรอื ทุกวันเพราะไก่มันถูก

ไปช่วยส่งเสริมการปรับ แลว้ ทำ� ไมมนั ถกู เพราะ

๒ #ตลาดสด #สดเซียนลึกแคร์ food4change https://www.facebook.com/food4change, ๑๔ กันยายน ๒๕๖๔

ภาพ: https://travel.kapook.com 12 ผ้ไู ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔
ภาพ: https://travel.kapook.com
มาขาย บางตลาดมีคิว คุณใช้อะไร คุณ
อาร์โค้ดด้วยนะ มันก็ดี ซ้ือกินจากตรงไหน คุณ
ขึ้น มีการปรับปรงุ ทำ� ให้ เปน็ ผบู้ ริโภคตรงน้นั คณุ
ความรแู้ ละขอ้ มลู มนั ไหล ควรจะเรียกร้องให้เกิด
เวียนมากข้นึ แล้วมันก็ การเปล่ียนแปลงให้ดี
น�ำไปสู่การเรยี นรู้ ความ ขน้ึ จากตรงน้นั ได้ อย่าง
เข้าใจ ผู้คนเข้ามามีส่วน ซื้อจากซูเปอร์มาร์เก็ต
รว่ มในการมขี อ้ เสนอแนะ ก็ต้องให้ซูเปอร์มาร์เก็ต
สัมพันธ์ของคนซื้อและ ค้าด้วย ก็คือผู้ประกอบ แล้วมาก�ำหนด เราเชือ่ รับผิดชอบ บอกความ
คนขายท่ีมีปฏิสัมพันธ์ การน่ังขายอยู่ในนัน้ ท้ัง เรอื่ งแบบน้วี ่า ถ้าเราไม่ จรงิ ให้หมด ให้มีระบบ
กันมากกว่าในซูเปอร์­ วันก็ควรมีห้องสุขาดีๆ แอ็คทีฟ เราไม่เรยี กร้อง ตรวจสอบย้อนกลับ
มาร์เก็ต เพราะสามารถ ให้เขา รวมถึงท่ีจอดรถ ไม่มีใครเขาปรับให้คุณ (Tracetability) ท่ีดี
พูดคุยไถ่ถามถึงสินค้าที่ ตลาดมันก็มีคุณภาพดี หรอก เราอยากเห็นผู้ บอกแหล่งท่ีมา บอก
ซื้อขายกันได้จากพ่อค้า ขึ้น เราก็อยากเห็นการ บริโภคที่ต่ืนตัว ไปซ้ือ กระบวนการผลิต อีก
แม่ค้าท่ีเป็นเซียน รู้ลึกรู้ ปรับปรงุ ตลาดสดดว้ ย อะไรตรงไหนก็เรียกร้อง อย่างเวลาให้ข้อมูลว่า
จรงิ เก่ียวกับสินค้าท่ีขาย จรงิ ๆ ผบู้ ริโภคตอ้ ง ตรงนัน้ คุยกับแม่ค้า ปลอดภัย ก็ต้องให้
วา่ มที ม่ี าจากไหน อยา่ งไร เรียกร้องตลาดได้ ซึ่งผู้ เรียนรู้จากแม่ค้า ต้ัง รายละเอียดหน่อยว่า
คณุ ก่งิ กร “จากการ ประกอบการเขาก็ยินดี ค�ำถามตรวจสอบแม่ค้า ปลอดภัยอย่างไร อัน
ส�ำรวจของเรา คนยังใช้ รับฟัง เพราะเขาก็ต้อง เรียกร้องผู้ประกอบการ นค้ี ือข้อเรียกร้องท่ีเพจ
ตลาดสดเยอะ ตลาดสด แข่งขัน เขาต้องเก็บค่า ว่า ตลาดมันแฉะ มัน ‘ผู้บริโภคที่รัก’ ท�ำกับ
กด็ ขี ้นึ ไดน้ ะ ซงึ่ เขากม็ กี าร เช่าจากแม่ค้า เขาก็ต้อง เหม็นมาก ก็ต้องโวยบา้ ง ซเู ปอร์มารเ์ ก็ตอย”ู่
ปรบั ตวั เยอะมากจากการ ใหบ้ ริการทดี่ ี แมค่ า้ กต็ อ้ ง มันก็จะท�ำให้เกิดการ
ท่ีเราไปศึกษาตลาดสด เริ่มเอาของท่ีมีคุณภาพ เปลยี่ นแปลง
ใหญ่ๆ หลายตลาด ไม่
ว่าตลาดเล็กตลาดน้อย
เราคิดว่าผู้ประกอบการ
ทเี่ ปน็ เจา้ ของตลาด เขามี
การปรบั ปรงุ ตลาด ทำ� ให้
มีขยะเน่าเหม็นน้อยลง
ท�ำให้น�้ำเฉอะแฉะน้อย
ลง ให้ตลาดมันแห้ง
ข้ึน ปรับปรุงห้องนำ�้ ให้
บรกิ ารพ่อค้าแม่ค้าท่ีมา
ค้าขายให้ดีขนึ้ นมี่ ันเป็น
เหมือนสวัสดิการของผู้

13ผไู้ ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

ผู้บรโิ ภค คนเมือง กบั ความม่ันคงทางอาหาร ในสถานการณ์โควดิ -๑๙

สถานการณ์โควดิ - เร่ิมแพร่ระบาดไปตาม

๑๙ ท่ีทอดระยะเวลามา ตลาดสดเป็นวงกว้าง

ยาวนานถึง ๒ ปี ส่งผล มากขึ้นเร่ือยๆ แล้วรัฐใช้

กระทบต่อวถิ ีการด�ำเนนิ มาตรการปิดตลาดสด

ชวี ติ ของเราท่ีต้องเผชิญ ตลาดนัด ซึ่งรวมไปถึง

กับความยากล�ำบากใน ตลาดเขียวที่ขายสินค้า

การประคองชีวติ ให้อยู่ เกษตรปลอดสารเคมี

รอดปลอดภัยได้ท้ังภัย ในทุกพ้ืนท่ีด้วย ยิ่งชชี้ ัด

จากเช้อื โควิด-๑๙ ที่แพร่ ภาพ: www.facebook.com/food4change และความเป็นอยู่ของ

ร ะ บ า ด ไ ป ท่ั ว ทุ ก พื้ น ที่ ประชาชน ผู้คนรายได้

แล้วยังต้องพยายามให้ ลดลง ไม่มีงานท�ำ มี

รอดจากความอดอยาก ป ั ญ ห า ใ น ก า ร เ ข ้ า ถึ ง

หิวโหยจากพิษเศรษฐกิจ อาหาร โดยเฉพาะผู้คน

ที่กระทบต่ออาชพี การ ในเมืองใหญ่

งาน และรายได้ “คือต่อให้อาหาร

เห็นได้จากระลอก ราคาถูกเท่าไหร่ก็เกือบ

แรกของการแพร่ระบาด ขนึ้ ว่า ทางเลือกของ ลำ� บากยากเยน็ จนเกนิ ไป จะไม่มีเงนิ ซ้ือกิน เราก็

โรคโควิด-๑๙ เมอ่ื รฐั บาล ประชาชนในการเข้าถึง คนทุกวันน้ีมีความเป็น จะพบภาพท่ีต้องมีการ

ป ร ะ ก า ศ ล็ อ ก ด า ว น ์ แหลง่ อาหารในยามภาวะ อยู่ มรี ะยะทางท่หี า่ งไกล ท�ำครัวกลาง ครัวนู่น

ประเทศ ภาพความชลุ มนุ วิกฤตินน้ั มจี ำ� กัดเต็มที จากแหล่งอาหาร อาหาร ครัวนี่ แล้วเอาอาหารไป

วุ่นวาย ความแออัดของ ในประเด็นน้ี คุณ ผลิตท่ีต่างจังหวัดแล้ว แจกกัน เห็นได้ชัดเลย

ประชาชนที่ไม่สามารถ ก่งิ กร ช่วยขยายให้เรา ส่งเข้ามาขาย ผ่านกลไก ว่าผู้คนที่มีรายได้น้อย

รกั ษาระยะหา่ งทางสงั คม มองเห็นภาพชัดเจนขน้ึ ตลาดที่เป็นตลาดกลาง รายได้ปานกลาง ได้รับ

ได้ เข้าไปซื้อหาข้าวปลา ว่า “การเข้าถึงอาหาร เมอื่ เกดิ วกิ ฤติโควดิ ทำ� ให้ ผลกระทบจากการล็อก­

อาหารต่างๆ เพื่อเก็บ ไม่ได้หมายความว่าต้อง ตลาดลม่ ถา้ จำ� กนั ไดช้ ว่ ง ดาวน์ มีปัญหาเร่อื งการ

ไว้เป็นเสบียงส�ำหรับ ผลิตเอง ทุกวันนคี้ น แรกระบบขนส่งมีปัญหา เข้าถึงอาหารโดยทันที

ครอบครัว จนชั้นวาง พ่ึงพาการเข้าถึงอาหาร เรื่องการขนสง่ ปบุ๊ พอมนั พวกรถเร่ หาบเร่ อะไร

สินค้าท้ังอุปโภคบริโภค ด้วยการซ้ือกิน ไม่มีใคร ช็อต ก็คือช็อตกันหมด ต่างๆ ก็ถูกยกเลิก ท�ำ

ตามซูเปอรม์ าร์เกต็ และ ผลติ ไดจ้ รงิ จงั เทา่ ไหร่ พอ ก็มีความขาดแคลนเป็น มาหากนิ ไมส่ ะดวก อนั น้ี

ห้างค้าปลีกค้าส่งต่างๆ มาถึงวกิ ฤติตอนนีก้ ็ไม่ จดุ ๆ ไป” คือผลกระทบที่เราเห็น

นั้นพลันว่างเปล่าภายใน ต้องพูดถึงคุณภาพแล้ว ส่ิงท่ีตามมาจาก ทันทเี ลย”

เวลาอันรวดเร็ว และ แต่ควรเป็นเรอื่ งของการ วกิ ฤติโควิด ก็คือ ผล คุณก่ิงกร บอกว่า

ต่อมาเม่ือเชือ้ โควดิ -๑๙ เข้าถึงอาหารได้โดยไม่ กระทบด้านเศรษฐกิจ กนิ เปลย่ี นโลก ซงึ่ ทำ� การ

14 ผไู้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

ห้างขนาดใหญ่ที่เป็น ให้แก่ผู้คนที่อยู่ในเมือง นอกจากสถาน­

ซูเปอร์สโตร์ หรือว่าเป็น ได”้ การณ์ โควิด-๑๙ จะ

เอ็กซต์ ร้ามารเ์ ก็ต ดังนัน้ คุณก่ิงกร ได้ยก ฉายภาพให้เราเห็นถึง

มันก็สร้างความล�ำบาก ตัวอย่างเปรยี บเทียบให้ ภาวะยากล�ำบากของ

ให้คนมากขึ้นเมื่อตลาด เห็น “เหมือนกับตอน ประชาชนในการเข้าถึง

นัด ตลาดสดปิด การ น้�ำท่วมปี ๕๔ พอศูนย์ อาหารแล้ว มันยังเผย

ท�ำมาค้าขาย จะเห็นว่า กระจายสินค้าของห้าง ให้เห็นภาพปัญหาเชิง

อาหารของคนจนคือ พวกน้ีที่ส่วนใหญ่อยู่ใน โครงสร้างของประเทศที่

อาหารทอ่ี ยตู่ ามซอกตาม พื้นที่นำ�้ ท่วมท้ังหมด เป็นปัญหาความเหลื่อม

ซอย ตลาดเล็กตลาด เสน้ รงั สิต วงั นอ้ ย อยกู่ นั ล้�ำไม่เท่าเทียมของระบบ

น้อย พอพวกนอ้ี ยู่ไม่ได้ ตรงนัน้ หมดเลยนะ น้�ำ การผลิตและกระจาย

ศึกษาเรอ่ื งบทบาทของ มนั ก็ลำ� บากกนั ทั่ว” ท่วมเป็นเดือน ไม่มีอะไร อาหาร การอุป โภค

ตลาดสดดว้ ย พบวา่ “คน “แต่ยังดีท่ีคนยาก เข้ามาเลย นั่นคอื เราเอา บริโภคของประชาชนที่

ท่ีอาศัยกินอาหารจาก ค น จ น ใ น เ มื อ ง ใ ห ญ ่ ความมั่นคงไปผูกไว้กับ ถูกผูกขาดโดยทุนใหญ่

ตลาดสด ตลาดนัด จะ สามารถเข้าถึงอาหารได้ บริษัทใหญ่ๆ ไม่ก่ีบริษัท ระดับประเทศเพียงไม่ก่ี

อยู่ในรัศมีที่ไม่ไกล คือ โดยที่มีคนจนขายคนจน ถ้าไม่ได้ร้านช�ำท่ีเหมารถ ราย ย่ิงตอกย้�ำให้เห็น

ไม่เกิน ๕-๑๐ กิโลเมตร ดว้ ยกนั เอง คอื ผปู้ ระกอบ รวมกัน ช่วงนนั้ มีคนเล่า ว่าประชาชนผู้บริโภคคน

นนั่ หมายความว่าเขา การรายเล็กรายน้อย ว่า พวกร้านช�ำท่ีอยู่ตาม ไทยถูกจ�ำกัดทางเลือก

มีความจ�ำกัดเร่อื งการ พ่อค้าแม่ค้า ตลาดสด ชุมชนในเมืองใหญ่พา ในการเขา้ ถงึ อาหาร แทบ

เดินทาง คนจะสามารถ ตลาดนดั ตลาดพุ่มพวง กนั เหมารถไปซอ้ื ของเอา ไม่สามารถพ่ึงพาตนเอง

เข้าถึงตลาดได้โดยการ ต่างๆ ก็ยังพยายาม เข้ามาขาย แล้วก็แบ่งไข่ ไม่สามารถสร้างความ

ขีม่ อเตอร์ไซค์ในละแวก ด้นิ รนเพื่อความอยู่รอด แบ่งเนือ้ สัตว์ต่างๆ นคี่ ือ ม่ันคงทางอาหารให้กับ

ใกล้เคียงย่านที่อยู่อาศัย น�ำอาหารเข้ามาขายช่วย ความพยายามท่ีจะช่วย ตนเองได้เลย

เขาไม่สามารถออกไป บรรเทาความเดือดร้อน เหลือกนั ” ดั ง ท่ี คุ ณ กง่ิ ก ร

อธบิ ายว่า “เรามองระยะ

ภาพ: www.facebook.com/biothai.net ของโควดิ เกือบ ๒ ปี
ภาพ: www.facebook.com/food4change
ระลอกแรกนแ่ี ย่มาก คอื

เงนิ มันหายไปกะทันหัน

มีการตกงานในธุรกิจ

ทอ่ งเท่ยี ว ยังไมส่ ามารถ

ปรับตัวได้ ก็จะมีคนท่ี

จนกะทันหัน ตลาดนดั

หาบเร่แผงลอย ถูก

ล็อกดาวน์ ให้คนแค่มา

15ผูไ้ ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔

facebook: food4change

ซื้อแล้วกลับบ้าน ไม่ ตลาดเล็ก ตลาดนดั เองกันมากข้นึ คนที่ อนั นแี้ หละพลาดแลว้ คน

สามารถมานัง่ กินที่ร้าน ตลาดสด หรอื ผู้ค้า คือ อยู่พื้นที่จ�ำกัด อย่าง ก็เลยเรมิ่ คิดปลูกผักกิน

ได้ แล้ววถิ ีชวี ติ ของคน เปิดโอกาสให้เขาท�ำมา อพาร์ต­เ­มนท์ คอนโด ก็ เอง ถ้าไม่สามารถขยับ

ท�ำงานในกรุงเทพฯ คือ หากิน แล้วก็เปิดโอกาส ปลูกผักในกระถาง ใน ตัวไปไหน มีอยู่ช่วงหน่งึ

แวะกอ่ นกลบั บ้าน ดังนนั้ ให้ผู้คนเข้าถึง ก็ไปปิด กระบะ ส่วนคนที่บ้านมี คนจะถามหาเมล็ดพันธุ์

มนั กจ็ ะเกดิ ปรากฏการณ์ เขา แล้วไปให้ผู้ค้าราย พนื้ ทม่ี บี ริเวณมากหนอ่ ย กนั มาก เพราะอยากมผี กั

ว่าตลาดสดปิด หาบเร่ ใหญ่ค้าขายมีก�ำไรได้ต่อ ก็ท�ำแปลงผัก ปลูกพืช เล็กๆ น้อยๆ ไวก้ ินเองก็

แผงลอยขายไม่ได้ แต่ ไป อันนมี้ ันเป็นความไม่ ผักสวนครวั ยังดี คือมีความรู้สึกอุ่น

ว่าห้างไม่ปิด คนแน่น เท่าเทียมมาต้ังแต่ไหน คณุ ก่งิ กร “พอเกดิ ใจวา่ มีอาหารอยู่ในมือ”

ตึ้บเลย ไม่ยักกลัวโควดิ แต่ไร มนั ยง่ิ สะทอ้ นความ วกิ ฤติ ส่ิงแรกทเ่ี กดิ ข้นึ ใน “วกิ ฤตมิ ันเรม่ิ สอน

กัน เดินแบบเบียดมาก เหลื่อมล้�ำที่หนักขึ้นไป วกิ ฤติก็คือ การเดินทาง เราว่าไม่ควรอยู่ห่างไกล

อนั น้กี จ็ ะเหน็ เปน็ ปรากฏ­ อกี ” สญั จรไปมาไมส่ ะดวก พอ จากแหล่งอาหาร คุณ

การณ์ แล้วประชาชนผู้ คุณต้องพ่ึงพาอาหารที่ ควรจะรู้จักแหล่งผลิต

ใ น ภ า ว ะ ที่ ร ะ บ บ บริโภคอย่างเราจะมี มนั ตอ้ งขนสง่ มาระยะทาง และจรงิ ๆ แล้วในเมืองก็

การกระจายอาหารของ ทางเลือก ทางรอด ท่ี ไกลๆ ซง่ึ พอการสญั จรไม่ จ�ำเป็นต้องมีแหล่งผลิต

ประเทศถูกรวบอยู่ ใน จะสามารถพึ่งพาตนเอง สะดวก อาหารมาหาคุณ อาหารท่ีดีมีคุณภาพ ซึ่ง

มือของผู้ประกอบการ สร้างความมั่นคงทาง ไม่ได้ และคุณก็ไม่อยาก แนวคิดพวกน้ี สวนผัก
รายยักษ์ มันก็สะท้อน อาหารใหก้ ับตนเอง เปน็ ไปหาอาหารเพราะกลัว คนเมือง ๓ ก็ท�ำอยู่ อยู่

ว่า เวลาเกิดวกิ ฤติ ผล หลกั ประกนั ความอยรู่ อด

ประโยชน์มันก็ถูกรวบ ปลอดภัยในช่วงที่เกิด

เข้าไปอยู่กับผู้ประกอบ วิกฤติการณ์ต่างๆ ได้

การรายยักษ์อีกตามเคย อย่างไรละ่ ? facebook: food4change

แทนที่จะพยายามช่วย ในช่วงล็อกดาวน์

กันส่งเสริมให้เกิดการ เราจงึ เรม่ิ เห็นคนเมือง

สรา้ งกลไกปอ้ งกนั ตวั เอง จ�ำนวนหนง่ึ ลุกขึ้นมา

ท่ีแข็งแรงในระดับชุมชน ปลูกพืชปลูกผักไว้กิน

๓ โครงการสวนผกั คนเมอื ง โดยมลู นิธิเกษตรกรรมยงั่ ยืน (ประเทศไทย) http://www.thaicityfarm.com/about-me/

16 ผูไ้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔

ตรงไหนก็ผลิต อยู่ตรง เป็นอาหารที่เราเลือกได้ พนื้ ทผ่ี ลติ อาหารใหม้ าก น้อย แม่ค้าเล็กแม่ค้า

ไหนก็ปลูกได้ ไม่ได้ให้ ด้วย นีค่ ือความหมาย ข้ึนกวา่ ทเ่ี ป็นอยู่ และใน น้อย ผู้ประกอบการราย

กนิ เองทง้ั รอ้ ยเปอรเ์ ซน็ ต์ ของการเรียกว่า มีความ ระยะยาว ควรจะมีพ้ืนท่ี เลก็ รายน้อย คนที่จดั หา
นะ แค่ ๑-๒% ก็ยังดี มี มน่ั คงทางอาหารในภาวะ กันชน ๔ (Buffer Zone) ผกั ท่ปี ลอดภยั หรอื ผลติ

อาหารใกล้ๆ รู้จักแหล่ง วิกฤติ” เรอ่ื งอาหารที่ท�ำให้เมือง ผกั เราตอ้ งสง่ เสริมแบบ

ผลิตใกล้ๆ แล้วอุ่นใจ “ซึ่งนี่เป็นทางออก ใหญ่ไม่ล�ำบากจนเกินไป น้ีใหม้ ากขึ้น ใหเ้ ขามที อี่ ยู่

สามารถตดิ ตอ่ สอ่ื สารมา ของเมอื งใหญท่ กุ เมอื งใน แล้วส่งเสริมให้เกิดการ ทย่ี นื เขาถงึ จะยนื ระยะอยู่

สง่ ถงึ กนั ได้ เราควรจะถกู โลกน้ี เพราะเมืองใหญ่ ผลิตอาหารท่ีมีคุณภาพ ได้ เมอื่ เกดิ วิกฤตเิ รากห็ นั

รายล้อมด้วยอาหาร ใน เป็นเมืองท่ี ไม่ม่ันคง มีความปลอดภัย ไม่ ไปพ่ึงเขาได้ด้วย ให้เป็น

เมืองใหญ่ผลิตอาหารได้ ทางอาหารท่ีสุดแล้ว ต้องขนส่งไกลๆ สร้าง แนวความคิดทั้งในทาง

สรา้ งหนว่ ยยอ่ ยๆ ในการ เพราะฉะน้ัน เมอื งใหญ่ ความเข้มแข็งของระบบ ปฏิบตั แิ ละแนวนโยบาย”

ผลิตอาหารเล็กๆ ไม่ถูก ต้องหาทางจัดการตัว อาหารท้องถิน่ รวมทั้ง

ตัดขาดจากการเคลื่อน เองดว้ ยการสรา้ งหนว่ ย ท้องถน่ิ แบบเมืองใหญ่

ย้ายอาหาร และต้อง ผลิตอาหาร หรือสร้าง ต้องส่งเสรมิ คนเล็กคน

ปรากฏการณแ์ รงงานคนื ถ่นิ
ผืนดนิ ถ่นิ เกิด คือฐานทรัพยากรและความม่ันคงทางอาหารท่ยี ่งั ยืน

จากโควดิ ระลอก ท่ีอยู่ในภาคธุรกิจท่อง ทำ� แลว้ คนกลมุ่ นี้ไปไหน คุณกิ่งกร ให้ข้อ
แรก ระลอกที่สอง มา เท่ียว เช่น โรงแรมเลิก คนกลุ่มนกี้ ลับไปชนบท สังเกตถึงผลกระทบ
จนถึงระลอกที่สาม ซึ่ง จ้างพนกั งานเกิน ๕๐% เราจงึ เห็นปรากฏการณ์ จากวิกฤติโควิดที่ท�ำให้
ท�ำให้เกิดผลกระทบทาง ร้านค้าจ�ำนวนมาก ต้อง แรงงานคืนถิ่นฐาน กลบั เกิดแรงงานคืนถิ่นเป็น
เศรษฐกจิ ตอ่ คนทกุ ชนชน้ั ปิดตัวลง คนกลุ่มนจี้ งึ ภมู ลิ �ำเนาของตนกนั เป็น จ�ำนวนมากนว้ี ่า
ทุกอาชีพ โดยเฉพาะคน กลายเป็นคนท่ีไม่มีงาน จ�ำนวนมาก

๔ พนื้ ทก่ี นั ชน หมายถงึ พนื้ ท่ีโดยรอบหรอื ตดิ กบั พนื้ ทอ่ี นรุ กั ษ์ ซงึ่ อาจเปน็ ชมุ ชน หรอื พน้ื ทที่ มี่ กี จิ กรรมทางดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คมของ
ประชาชนในท้องถนิ่ ท่ีค�ำนึงถึงการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

ภาพ: www.tripgether.com 17ผู้ไถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔
ภาพ: www.tripgether.com
“ดูเหมือนปัญหา ไปประมาณ ๖๐๐ กวา่ คน
มนั เบาบางลงกวา่ ระลอก ตำ� บลหมบู่ า้ น รองรบั คน
แรก คือคนท�ำใจแล้วว่า เหล่านอี้ ย่างไร คนเหล่า
อยู่ต่อไม่ได้ ระลอกแรก นี้กค็ อื กลบั เขา้ ไปกนิ กบั ที่
คนยังกลับบ้านไม่เท่า บ้าน ทีบ่ ้านหาอะไรกนิ ที่
ไหร่นะ หมายถึงเมื่อ บา้ นมขี า้ ว มผี กั มปี ลาอยู่
ประมาณเดือนมีนาคม ในหนอง มหี นอ่ ไม้ มเี หด็
เมษายน ปี ๒๕๖๓ แตพ่ อ อยู่ในปา่ เลน่ กนั จนปา่ ตงึ
มาระลอกนตี้ ง้ั แตป่ ลายปี เครียดนะ่ พูดงา่ ยๆ ก็คอื สถานการณ์โควดิ หมู่บ้าน ในหลายท้อง
๒๕๖๓ ไล่มาจนถึงตอน อาจไปแย่งทั้งเก็บขาย จากมุมมองของเรา พอ ถ่นิ เกิดขนึ้ โดยท่ัวไป นี่
น้ี ๒๕๖๔ คนกลับบ้าน เก็บกิน แต่ถึงอย่างไรก็ เราสังเกตก็เห็นข้อดีของ คอื ฐานสำ� คญั ของความ
กนั มหาศาลมาก แลว้ ไป จะเห็นว่าฐานทรัพยากร มัน เราไปอยู่ตา่ งจังหวัด ม่ันคงทางอาหารใน
อาศัยความมั่นคงทาง อาหารในชนบท มัน เราจะพบว่า สิ่งท่ีเป็น ท้องทชี่ นบทท่ัวไป แลว้
อาหารในภาคชนบท เป็นแหล่งท่ีสร้างความ แหล่งอาหารของคน มันกลายเป็นแหล่งราย

พี่อุบล ๕ ที่อยู่ภาค ม่ันคงทางอาหารท้ังคน ท่ัวไปที่มันยังด�ำรงอยู่ ได้ของคนเล็กคนน้อย
อีสาน แกก็พูดว่า ใน ในชุมชนปัจจุบันและคน คือ ตลาดท้องถนิ่ การ บางคนจากเมืองใหญ่ที่
ต�ำบลของแกมีประชากร ท่ีอยู่ในเมืองไม่ได้ ต้อง ค้าขาย ชาวบ้านปลูก ตกงานก็กลับไปหากิน
ป ร ะ ม า ณ ๑ , ๐ ๐ ๐ กลบั บา้ นกันหมด แท็กซ่ี ผักเล็กๆ น้อยๆ เอา หาอยตู่ ามพนื้ ทชี่ นบท ไป
ครอบครวั มคี นกลบั บา้ น กก็ ลับไม่ใช่นอ้ ยนะ ผักมาขายหน้าบ้าน ใน เก็บผัก ไปปลูกผัก เปิด

รา้ นเลก็ ร้านน้อย ไปขาย
หมูปิ้ง ไก่ยา่ ง ฯลฯ เห็น
เป็นปรากฏการณ์ท่ัวไป
ในชนบท

ซึ่งมันสะท้อนว่า
อาชีพใดๆ ท่ีเก่ียวกับ
อาหารยังมีความจ�ำเป็น
สำ� หรบั มนษุ ย์ เราสงั เกต
ในหมู่บ้าน มีร้านค้า
แผงขายอาหารเพิม่ ขนึ้
๓-๔ กา้ ว แผงหนงึ่ ๆ ไหน
จะไก่ย่าง ลาบ นำ�้ ตก
กาแฟสดก็มี คือคนที่

๕ นายอบุ ล อยู่หวา้ ผูป้ ระสานงานเครอื ขา่ ยเกษตรกรรมทางเลอื กภาคอสี าน

18 ผูไ้ ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

กลับจากในเมือง ไปมี “ เวลาท่ีเราพูด
ถงึ ความม่ันคง
อ า ชีพ ที่ เ ก่ี ย ว ข ้ อ ง กั บภาพ: onceinlife.coทางอาหาร
อาหาร ซึ่งเวลาที่เรา ภาพ: www.thaismescenter.comมนั สรา้ งอาชพี
พูดถึงความมั่นคงทาง ใหค้ นจำ� นวน
อาหาร มันสร้างอาชีพ มหาศาลดว้ ย ”
ให้คนจ�ำนวนมหาศาล
ด้วย เวลาพูดถึงเรอ่ื ง

กระบวนการอาหาร มคี น

ท่ีเกี่ยวข้องและสามารถ จัดการท่ีดินในชนบท ที่ ผู้บริโภคได้รู้จัก ท�ำให้ หัวไร่ปลายนา ยังเก็บ

ด�ำรงชวี ติ อยู่ได้จ�ำนวน คนหนุ่มสาวไปท�ำการ เส้นทางระหว่างคนกิน หาผักป่า หน่อไม้ป่า ใน

ไมน่ อ้ ย” ผลิตครบวงจร มีการ กับคนปลูกใกล้กันมาก ป่าได้ ห้วยหนองคลอง

“คนท่ีกลับบ้าน แปรรูป มีการเปิดร้าน ข้ึน ซง่ึ ตรงนสี้ �ำคัญ บึง มันยังไม่มีสารเคมี

จ�ำนวนหนึง่ ไม่กลับเข้า กาแฟ ทำ� เปน็ แหลง่ ท่อง คนที่กลับไปบ้านก็ หนกั ยังพอเก็บผัก หา

เมือง เราจะเห็นภาพของ เที่ยว และเร่ิมไปสร้าง จะได้เห็นว่า พอถึงเวลา ปลา แหล่งนำ้� ธรรมชาติ

คนหนุ่มคนสาวที่กลับ เครือข่ายกันในพ้ืนท่ี วกิ ฤติข้นึ มา เมืองมันไม่ มีการเล้ียงปลา เลี้ยง

จรงิ จงั กลบั ไปสรา้ งระบบ แล้วมันก็ไปกระตุ้นให้ ไดช้ ว่ ยอะไรคณุ เลย พนื้ ที่ เป็ด เลี้ยงไก่ไข่ มันก็ยัง

การเกษตร เราอยากใช้ เกิดการขยายตัวในการ ชนบทมขี องกนิ ใหค้ ณุ กนิ พอมีอาหารให้กิน อัน

คำ� วา่ มนั เปน็ แลนดส์ เคป ผลิตอาหารท่ีมีคุณภาพ ถ้าคุณอยู่กรุงเทพฯ คุณ น้ีแหละคือความมั่นคง

(Landscape) ใหม่ หรือ ผู้ผลิตจะมีความต้ังใจ อดตาย แต่ในพน้ื ทช่ี นบท ทางอาหารที่แท้จริง คือ

ภูมิทัศน์ ใหม่ของการ และส่ือสารออกมาให้ ที่บ้านปลูกข้าว ยังมีผัก คุณต้องสามารถอยู่ใกล้

แหลง่ ผลิตอาหาร”

ปรากฏการณ์

แ ร ง ง า น คื น ถ่ิน ดั ง ที่

คุณกิ่งกรเล่ามานี้ เป็น

ปรากฏการณ์ที่น่าสนใจ

และน่าจับตามองเป็น

อยา่ งย่งิ วา่ นจี่ ะเปน็ เพยี ง

แค่ปรากฏการณ์ในช่วง

ที่สถานการณ์โควิด-๑๙

ยังไม่คลี่คลาย หรอื จะ

นำ� ไปสู่ทิศทางใหม่ของ

การขบั เคลอื่ นใหเ้ กดิ การ

19ผไู้ ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

พฒั นาระบบการผลติ และ ภาคชนบทที่นำ� โดยคน ภาพ: onceinlife.co
กระจายอาหารในภาค หนุ่มสาวรุ่นใหม่ ให้
ชนบท และการขยาย ท้องถนิ่ ชนบทเป็นค�ำ
เครอื ข่ายผู้ผลิตอาหารที่ ตอบของหมุดหมายการ
ปลอดภัยและมีคุณภาพ พฒั นาประเทศท่ีใหค้ วาม
ซึ่งจะเป็นการสร้างความ ส�ำคัญกับการกระจาย
มนั่ คงทางอาหารทม่ี นั่ คง ความเจรญิ สู่ภูมิภาค
และยง่ั ยืน รวมไปถึงการ อย่างแทจ้ ริง
พัฒนาแหล่งท่องเท่ียว

ผูบ้ ริโภคท่มี คี ณุ ภาพ สามารถสรา้ งความเปล่ยี นแปลงสงั คม เปล่ียนแปลงโลกได้

ผู้บริโภคท่ัวไปอาจ
จะมองเพียงแค่ความ

คุ้มค่าจากการได้บริโภค ภาพ: jarm.com

อาหารท่ีดีและปลอดภัย
ต่อสุขภาพ แต่ส�ำหรับผู้

บริโภคทม่ี คี วามตระหนัก

และตื่นรู้ ผู้บริโภคท่ีมี
คุณภาพนนั้ พวกเขาจะ ผลิตอาหารให้เรามาก ผู้ผลิตได้ อย่างเช่น

ใส่ใจไปถึงต้นทาง ที่มา นอ้ ยแค่ไหน ในประเทศอังกฤษ
คุณกิ่งกร ได้ยก องค์กร Fairtrade๖ ภาพ: www.bangkokbiznews.com
ข อ ง ก า ร ผ ลิ ต อ า ห า ร

เหล่านั้นด้วยว่าคนบน ตัวอย่างในระดับสากล มีการรณรงค์แคมเปญ
เสน้ ทางของกระบวนการ ท่ีผู้บริโภคผู้ตื่นรู้และมี ‘Bitter Sweet’ ๗ ‘ความ หลักของปัญหาการตัด

ผลิตอาหาร มีความเป็น คุณภาพสามารถท�ำให้ หวานท่ีขมขนื่ ’ ที่ตีแผ่ ไม้ท�ำลายป่าในแอฟริกา

อยู่อย่างไร ได้รับการ เกิดการเปล่ียนแปลง ความจรงิ ของกระบวน ตะวันตก และชี้ให้เห็น
ปฏิบัติอย่างเป็นธรรม ช่วยยกระดับคุณภาพ การจัดหาโกโก้ เพื่อ ถึงต้นทุนอันแสนขมขืน่

หรือไม่ ชีวิตพวกเขาต้อง ชวี ติ และสร้างความเปน็ ป้อนอุตสาหกรรมผลิต ของชอ็ กโกแลตแทง่ แสน

เสี่ยงอันตรายจากการ ธรรมให้แก่เกษตรกร ช็อกโกแลต เป็นสาเหตุ อรอ่ ย ทเี่ กษตรกรผ้ปู ลกู

๖ Fairtrade แฟรเ์ ทรด คอื ขบวนการสง่ เสริมการพฒั นาระบบการคา้ ทเี่ ปน็ ธรรมยง่ั ยนื โดยนำ� เสนอเงื่อนไขทดี่ กี วา่ ใหแ้ ก่ ผผู้ ลติ ผจู้ ำ� หนา่ ย
ผู้บริโภค รวมทั้งแรงงาน โดยเฉพาะในประเทศก�ำลังพัฒนาที่ผลิตสินค้าท้ังใช้เองในประเทศและส่งออกให้ได้รับความเป็นธรรม
ในราคาสนิ ค้า

๗ Fairtrade เปิดตัวแคมเปญระดับโลก ‘Bitter Sweet’ เพื่ออนาคตที่เป็นธรรมส�ำหรับเกษตรกรผู้ปลูกโกโก้, ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔
ทมี่ า: https://www.ryt9.com/s/anpi/3236211

20 ผู้ไถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

ตระหนักจนเป็นส�ำนกึ

ใ ห ม ่ ใ น สั ง ค ม แ ล ้ ว ห รือ

ยัง คุณกิง่ กรตอบชัดว่า

“ประเทศไทยนร่ี ะดับของ

ความกงั วลของประชาชน

ไ ท ย ยั ง อ ยู ่ แ ค ่ ตั ว เ อ ง

คื อ อ ย า ก กิ น อ า ห า ร ที่

ปลอดภยั แตถ่ า้ เชอ่ื มโยง

ไปสง่ิ แวดล้อม ก็ไกลไป

แลว้ ถ้าเช่ือมโยงไปเรือ่ ง

ผลโกโก้ ต้องเผชญิ กับ หรืออย่างบรษิ ัท ช่วยให้มนุษย์คนอ่ืนดีขนึ้ ชาวนาเปน็ หนเ้ี ปน็ สนิ ย่ิง
ความไม่เป็นธรรม การ น�้ำ ต า ล ข อ ง ไ ท ย ท่ี ไ ป ทำ� ใหส้ งิ่ แวดล้อมดขี ึ้น ไกลหนกั เขา้ ไปใหญ่”
ขูดรีดแรงงาน ราคา ได้สัมปทานน้�ำตาลใน คณุ นึกดู คณุ อยาก คุณกงิ่ กร ยังช้ีให้
ผลผลิตท่ีตกต่�ำ น�ำไปสู่ ประเทศกมั พชู า๘ แล้วไป เห็นอะไร อยากได้รับ เห็นว่าการสร้างระบบ
ความยากจน และการ ท�ำลายป่า ไล่รอื้ ท่ีอยู่ท่ี อาหารดีที่มีประโยชน์ อาหารท่ีดีมีคุณภาพ
ตัดไม้ท�ำลายป่าที่ท�ำให้ ท�ำกินของชาวเขมรเพ่ือ ท่ีมีความปลอดภัย ท่ี และการกระจายให้คน
ชุมชนเกษตรกรรมต้อง ผลิตน้�ำตาลเอาโควตา ไม่ท�ำให้เกิดโรค ใน ทุกคนสามารถเข้าถึง
ภาษพี ิเศษส่งขายอียู พอ ราคาท่ีเหมาะสมใช่ ได้ง่าย เป็นเรอื่ งของ
ถดถอย
“มีการรณรงค์ พอ มีกลุ่มท่ีเคลื่อนไหว ผู้ ไหม เราต้องคิดด้วย สิทธิมนุษยชน เพราะ
เขาได้รับข้อมูลว่าโกโก้มี บริโภคเขาก็แบนน�้ำตาล ว่าเกษตรกรท่ีผลิต ผู้ เราทุกคนควรมีสิทธิเข้า
ทมี่ าสกปรกมาก สกปรก จากเขมร ไมซ่ อ้ื ถา้ สนิ คา้ ประกอบการที่ค้าขายก็ ถึงอาหารท่ีดี ปลอดภัย
คือ ในแง่ของการละเมิด น้ันไม่มีแท็ก ไม่มีการ ควรจะมกี ำ� ไรพอสมควร มีคุณภาพ ในราคาท่ี
สิทธิมนุษยชน การกดข่ี รับรองว่า ‘นำ้� ตาลน้ีไม่ พอใหเ้ ขาเลยี้ งชวี ิตได้ นี่ เป็นธรรม และที่ส�ำคัญ
แรงงาน หรอื การใช้ ไดม้ าจากการละเมดิ สทิ ธิ คือเส้นทางของอาหาร ต้องไปแก้ที่ปัญหาเชิง
โครงสร้างของระบบ
แรงงานเด็กอย่างไม่เป็น มนษุ ยชน’ เขามคี วามตนื่ ที่เปน็ ธรรม”
ธรรม ผบู้ ริโภคเขากจ็ ะไม่ ตัวว่าเรอื่ งพวกนีส้ �ำคัญ ขณะที่ในประเทศ อตุ สาหกรรมอาหารทถ่ี กู
ซ้ือ โกโก้นนั้ ไม่ได้ขายนะ การกินของเขามีส่วน ไทย เมื่อถามว่า ผู้ ครอบง�ำโดยธุรกิจขนาด

ช็อกโกแลตนนั้ ขายไมด่ ี บริโภคคนไทยตื่นตัวและ

๘ มิตรผล ชาวบา้ นกมั พูชา ๗๐๐ ครวั เรอื น ฟ้องเรียกค่าเสียหายถูกไลร่ ้อื ยดึ ทที่ �ำกนิ เปน็ ไรอ่ อ้ ย, ๒ เมษายน ๒๕๖๒
ท่มี า: https://www.bbc.com/thai/thailand-43615768

21ผูไถ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

แข็งแรง คือมันดีต่อเรา

“ การสร้างระบบอาหารทีด่ ี โดยทางตรงเลย อันนี้
เปน็ บทบาทของผบู้ ริโภค
มคี ณุ ภาพ และการกระจาย ที่ท�าได้ เราอยากเห็นผู้
ให้คนทกุ คนสามารถเข้าถงึ ไดง้ า่ ย บริโภคท�าแบบนม้ี ากข้ึน
เปน็ เร่อื งของสทิ ธมิ นษุ ยชน ... แล้วเราก็เช่ือด้วยว่ามัน
จะเป็นหลักประกันให้เรา
... เริม่ จากตนเองกอ่ น ยามวกิ ฤติ”
ใหเ้ ปน็ ผู้บริโภคท่ี มีความรู้
มีคณุ ภาพ จึงจะไปกระตุ้น ใ น ฐ ำ น ะ ท่ี ‘ กิ น
ให้เกดิ การเปลย่ี นแปลง เปลยี่ นโลก’ พยำยำมขับ
เคล่ือนกิจกรรมและกำร
ท้งั ในเชงิ นโยบาย รณรงค์เพ่ือเช่ือมโยงให้
เห็นวำ่ ผ้บู ริโภคสำมำรถ
”และไปกระตนุ้ ให้เกดิ การ

เปลี่ยนแปลงตลาด

สร้ำงควำมเปลี่ยนแปลง
ใหญ่ที่มีอ�ำนำจเหนือรัฐ ยาก เพราะฉะนน้ั มีเงิน อาหารการกินกับเรอ่ื ง สังคม เปลี่ยนแปลง
ด้วย น้อยเงินมากตอนน้กี ็พัง ของสิ่งแวดล้อม เรอื่ ง โลกนี้ให้ดีข้นึ กว่ำเดิมได้

“เพราะคนไม่ว่าจะ จากเรื่องอาหาร คุณไม่ ของความเป็นธรรมใน ส�ำหรับในประเทศไทย

ยากดีมจี น ควรจะมสี ทิ ธิ สามารถเข้าถึงอาหาร ระบบเศรษฐกิจ ไม่ใช่ เอง คณุ กิง่ กร มองอยำ่ ง

เขา้ ถงึ อาหารทมี่ คี ณุ ภาพ ดๆี ไดเ้ พราะวา่ เราไมช่ ่วย ไปกินแล้วสร้างความ มคี วำมหวงั ว่ำ กำรสรำ้ ง

มคี วามปลอดภยั ในราคา กนั คดิ ทจี่ ะมาขยบั ปญั หา ร่�ารวยให้คนไม่ก่ีกลุ่ม ผบู้ ริโภคทมี่ คี ณุ ภำพตอ้ ง

ทเ่ี หมาะสม แตต่ ง้ั แตเ่ หน็ ในเชงิ โครงสร้าง รอด เราควรจะกินเพื่อให้เกิด เร่มิ จำกปัจเจกบุคคล

มา ยังไม่มีรัฐบาลไหน ได้น้อยหนง่ึ แต่อาจไม่ การกระจายความมั่งคั่ง หรอื ประชำชนคนเล็กๆ

ท�าได้ มันเป็นปัญหาที่ รอดในระยะยาว เราอาจ หรอื เกิดการท�านุบ�ารุง ท่ีค่อยๆ เปล่ียนแปลง

ตอ้ งร้อื เชิงโครงสรา้ งท่ีไป จะรอดได้ชั่วคราว แต่ ส่งิ แวดล้อม ท�าให้โลก โดยเริม่ จำกตนเองก่อน

ส่งเสริมระบบการผลิตท่ี ลูกหลานเราอาจไม่รอด อุดมสมบรู ณข์ ึ้น เราควร ให้เป็นผู้บริโภคที่ มี

ไมย่ ัง่ ยนื มากเกินไป ท่ีไป สรุปว่ายังไปได้ไม่ค่อย จะปรับการผลิตที่มันดี ควำมรู้ มีคุณภำพ จึง

พ่ึงพาปุ๋ย ยา เมล็ดพนั ธุ์ ดีนกั เพราะว่าเรายังขาด ต่อโลก อาหารที่ผลิต จะไปกระตุ้นให้เกิดกำร

ทมี่ รี าคาแพง มากเกนิ ไป การเชือ่ มโยงให้เห็นว่า มาโดยกระบวนการท่ีไม่ เปลี่ยนแปลงทั้งในเชิง

เพราะเป็นผลประโยชน์ ปญั หานี้เปน็ ปญั หาระดบั หักคอธรรมชาติจนเกิน นโยบำย และไปกระตุ้น

ของบรษิ ัทที่มีอ�านาจ ระบบโลกเลย” ไป ไมอ่ ัดป๋ยุ อดั ยาเกินไป ให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลง

เหนือรัฐ ก็ยังอยู่กันไป “คนต้องตระหนกั แล้วท่ีส�าคัญ อาหารก็ ตลำด หมำยถึงผู้ผลิต

แบบนี้ โดยโครงสร้าง ในเร่ืองแบบนี้ ให้เห็น มีคุณภาพ มีโภชนาการ ผู้ประกอบกำร ไม่ว่ำจะ

มันก็ยังแน่นมาก แก้ ถึงความเชื่อมโยงของ และท�าให้ร่างกายเรา รำยเล็กรำยใหญ่

22 ผไู้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

“สร้างตัวเราให้

เป็นผู้บริโภคท่ีมีความรู้ “ เราอยากเหน็ ระบบอาหารทมี่ ีความม่ันคง ยงั่ ยนื
ชา่ งเลอื ก ชา่ งถาม เลอื ก มคี วามปลอดภยั มีความเป็นธรรม ดีตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม
สนับสนนุ เกษตรกรราย
ย่อย ผู้ผลิต ผู้ประกอบ สร้างประโยชน์ต่อทกุ คน ”

การท่ีผลิตรักษาความ

หลากหลาย ไม่ท�ำลาย อุปทานมีความเท่า­ การเปลี่ยนแปลงไปใน คนควรไดร้ บั และชว่ ยกนั

สขุ ภาพคนกิน คนปลกู เทียม มีความเป็นธรรม ทิศทางทเี่ ราอยากเหน็ ” รณรงค์ให้เกิดทางเลือก

และเป็นมิตรกับสิ่ง­ บ้าง ไม่ใช่อยู่กับคนรวย ...เพราะสิทธิใน ใหมด่ า้ นอาหารปลอดภยั

แวดล้อม สร้างทาง ส่วนเกษตรกรก็เป็นหนี้ อาหาร เป็นสิทธิพื้นฐาน กลบั มาสคู่ ณุ คา่ ทแ่ี ทข้ อง

เลือกใหก้ ับตวั เอง ดว้ ย อยู่นน่ั แล้วไม่อยากให้ ของทุกคนที่จะมีความ อาหาร เพราะผู้บริโภค

การมีส่วนร่วมในการ ลูกหลานมาท�ำ ก็ต้อง ม่ันคงทางอาหาร รอด ที่ตื่นตัว ตื่นรู้ เป็นส่วน

ก�ำหนดระบบอาหารที่ เปล่ียนการกิน เปลี่ยน พ้นจากความอดอยาก ส�ำคัญท่ีสุดที่จะสร้าง

เราพึงปรารถนา เป็น ความรู้ เปลีย่ นความเชื่อ และในภาวะวกิ ฤติต่างๆ ความเปลย่ี นแปลงในทกุ

ผู้บริโภคท่ีตื่นตัว ส่ง น่แี หละมันถึงจะไปสร้าง ทุกคนมีสิทธิ มีบทบาท ข้ันตอนของกระบวนการ

เสียงบอกผู้ประกอบ การเปลย่ี นแปลงในระบบ หน้าท่ี ในการเข้าถึง ผลิตอาหาร และด้วยวถิ ี

การ บอกรัฐและหน่วย ใหญ่ ซ่ึงอันนี้คือความ และได้บริโภคอาหารที่ การกินอย่างต่ืนรู้และมี

งานท่ีเกี่ยวข้อง มีข้อ ฝันสูงสุด เราอยากเห็น ปลอดภัยและมีคุณภาพ ส�ำนึกรับผิดชอบของเรา

เสนอแนะ ข้อเรียกร้อง ระบบอาหารท่ีมีความ ในราคาทเ่ี ปน็ ธรรม เพยี ง เทา่ น้นั จงึ สามารถสรา้ ง

ให้ร้วู ่าเราจบั ตาดูอยู่” ม่ันคง ย่ังยืน มีความ กลับมาตระหนกั ว่า สทิ ธิ โลกท่ีเท่าเทียมและเป็น

...และท้ายที่สุด ปลอดภัย มีความเป็น ในการเลือกกิน สิทธิใน ธรรมได้

ส�ำหรับคนท่ีท�ำงานเรอ่ื ง ธรรม ดีต่อสง่ิ แวดล้อม การเข้าถึงอาหารที่ดีต่อ

นม้ี ายาวนาน เม่ือถาม สร้างประโยชน์ต่อทุก สุขภาพ เป็นสิ่งท่ีเราทุก

คณุ กิง่ กรถงึ ความมงุ่ หวงั คน มันจะเกิดขึ้นได้ เรา

หรือเป้าหมายสูงสุดของ อยากเห็นขบวนการผู้

การท�ำงานขับเคล่ือน บริโภคท่ีเข้มแข็ง ตื่นรู้

‘กินเปล่ียนโลก’ และนี่ ต่ืนตัว คน้ คว้า ตั้งค�ำถาม

คอื คำ� ตอบ ตรวจสอบ และเข้ามามี

“คือปลายทางเรา ส่วนในการสร้าง ในการ

อยากเห็นระบบอาหาร ก�ำหนดระบบอาหารที่

ท่ีดีท่ีทุกคนได้ประโยชน์ พึงปรารถนา ก�ำหนด

สิ่งแวดล้อมได้ประโยชน์ ทางเลือกในการกินของ

ส ่ ว น แ บ ่ ง ใ น ห ่ ว ง โ ซ ่ เราได้ เรยี กร้องให้เกิด

ภาพ: coconuts.co บทความ 23 ภาพ: news.thaipbs.or.th

ภาพ: news.thaipbs.or.th ธญั ลักษณ์ นวลกั ษณกวี สมั ภาษณ์/เรยี บเรียง ภาพ: news.thaipbs.or.th

g Garden - Urban Farming & Farmers Connected
สวนผกั และฟารม์ กลางเมอื ง ย่านถนนรัชดา-พระราม ๙

แหลง่ เรยี นรู้การทำ� เกษตรในเมอื ง เพ่ือการพ่ึงพาตนเอง
และ พ้นื ท่สี ีเขยี วท่ชี ่วยเยยี วยาคนเมอื ง

จากความส�ำเร็จของ ที่ดินอนุญาตให้เข้า ชวี ติ เอื้อประโยชน์ให้แก่ ในประเด็นทางสังคม
Root Garden๑ สวน ใช้พื้นที่ได้ภายในระยะ ผู้คนและชุมชนรอบข้าง ต่างๆ ตลอดปี ๒๕๕๘-
ผักกลางเมืองย่านซอย เวลาท่ีก�ำหนด น�ำมา Root Garden จงึ เป็น ๒๕๕๙ เป็นระยะเวลา ๑
ทองหล่อ ที่มีแนวคิด ท�ำให้เป็นรูปธรรมเป็น พื้นท่ีเกษตรกลางเมือง ปกี วา่ ๆ ตามกำ� หนดเวลา
แก้ปัญหาความเหล่ือม­ ตัวอย่างการจัดการที่ดิน ให้คนเมืองได้มาปลูก ที่ได้รับอนุญาต เป็นที่
ล้�ำในการถือครองท่ีดิน อย่างสร้างสรรค์ ในรูป ผัก เล้ียงไก่ เลี้ยงแพะ น่าเสียดายที่โครงการนี้
ระหว่างคนรวยกับคนจน แบบของสวนเกษตร และเป็นพื้นท่ีสาธารณะ ได้ปิดตัวไปเมื่อกลางปี
โดยน�ำพื้นที่รกร้างไม่ได้ ใจกลางเมือง เป็นพื้นท่ี ลานกิจกรรม แสดง ๒๕๕๙
ใช้ประโยชน์ซึ่งเจ้าของ ทางวฒั นธรรม พน้ื ทที่ ี่มี ดนตรี และพูดคุยเสวนา

๑ จากบทความ พนื้ ทีเ่ กษตรกลางใจคน ‘สขุ ’ ได้ไมต่ อ้ ง ‘ซื้อ’ หน้า ๖๗ วารสาร ผู้ไถ่ ฉบับท่ี ๙๗ มกราคม-เมษายน ๒๕๕๘ “ไม่มีทาส
อกี ตอ่ ไป หญิงชายท้ังผองพ่ีน้องกัน”

24 ผู้ไถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

www.facebook.com/Rootgarden.openspace บ้านไปท�ำสวนท�ำไร่ ใช้ อยู่รอบนอกจะเชื่อมเข้า

ชีวิตพอเพียง แต่พอมี มากับเกษตรในเมืองได้

Root Garden ที่เรมิ่ ท�ำ อย่างไร

Green Market ตลาด คือ ไม่อยากกลับ

ที่ ให้เกษตรกรได้มา บ้านไปท�ำเกษตรในตอน

จ�ำหน่ายผลผลิต ได้เห็น น้ี พอมี Urban Farm

เป็นเรื่องน่ายินดี คือเกษตรในเมือง มัน

อย่างยงิ่ เม่ือแนวคิด ท�ำให้เรามีไอเดีย ได้มี

โครงการเช่นนถี้ ูกน�ำ สง่ิ ท่เี ราชอบ ๒ อยา่ ง มา

มาต่อยอด พัฒนา จน แมทชก์ นั หลงั จาก Root

กลายเป็น g Garden Garden ปดิ ตัว กค็ อ่ ยๆ

ส ว น ผั ก ใ จ ก ล า ง พัฒนาแนวคิด ขยายส่งิ

พระราม ๙ Urban ที่เราอยากท�ำ จนมาถึง

Farming & Farmers คณุ โชคชยั หลาบ

Connected ฟาร์มใน หนองแสง ผู้จัดการ

เมืองแห่งใหม่ส�ำหรับ โครงการ g Garden ซึง่

คนเมืองทุกเพศทุกวัย เคยเป็นหนึ่งในทีมงาน

ท่ีจะเข้ามาใช้พ้ืนที่แห่ง ของ Root Garden เลา่

น้ี เพื่อพักผ่อน คลาย ถึงแรงบันดาลใจที่ท�ำให้

ความตึงเครยี ด เหนือ่ ย เขา ทมี งาน The Farm
ลา้ จากการเรยี น การงาน Concept๒ พรอ้ มองคก์ ร เครอื ข่ายเกษตรกรที่เขา g Garden แห่งน้ี

หรือจะมาเรียนรู้การท�ำ พันธมิตรมาร่วมกันคิด มาขายผลผลิตจากสวน ตอนแรกไม่ไดต้ งั้ ใจ

เกษตรในเมอื ง มาลงมอื และผลักดันจนท�ำให้เกิด เรารู้สึกว่าจริงๆ เขายัง ว่าจะมาท�ำที่นี่ แต่ได้มา

ปลูกพืชผัก ปลูกต้นไม้ โครงการ g Garden สวน ต้องการช่องทางในการ คยุ กับฝา่ ยการตลาดของ

เช่าแปลงผัก เรยี นรู้การ ผักใจกลางพระราม ๙ ขาย ต้องการจะสื่อสาร G LAND ท่ีอยู่ภายใต้

ผลิตอาหารปลอดภัย แหง่ น้ี กับผู้บริโภค เราก็ช่วย เครอื เซ็นทรัล เขาชวน

ผ่านเวิร์กชอปต่างๆ ที่จะ “Root Garden บริหารจัดการเรื่องของ มาจัดอีเว้นท์ Farmer

ท�ำให้การเกษตรกลาย เป็นจดุ เรม่ิ ตน้ ท่ที �ำใหเ้ รา การตลาด เรื่องช่อง Market ในตึก ก็เดินดู

เป็นเรอ่ื งง่ายๆ ส�ำหรับ อยากจะเข้ามาท�ำเรื่อง ทางการจัดจ�ำหน่าย พ้ืนท่ีจัดอีเว้นท์ แล้วมา

คนเมอื ง นี้ แต่ก่อนเราเข้าใจว่า ท�ำให้เราเห็นว่าเกษตร เจอที่แปลงน้ี ก็เลยถาม

ท�ำเกษตรคือการกลับ ต่างจังหวัด เกษตรท่ี ว่ามีแผนจะท�ำอะไร เขา

๒ และองค์กรพนั ธมติ รรว่ มโครงการ ซง่ึ ประกอบดว้ ย G Land, CPN, Ageekculture, JaiTalad, คลองเตยดจี ัง, Poonsuk Market,
SET Social Impact, Eat Better

25ผูไ ถ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

บอกยังไม่ได้ท�าอะไร เรา
ก็เลยขอใช้พื้นท่ีมาท�า
เป็น Urban Farming
บังเอิญผู้บรหิ ารเคยเห็น
Root Garden แลว้ ชอบ
จงึ ได้เสนอไอเดียจาก www.facebook.com/gGarden.Ufarm
แนวคิด Root Garden ขน้ึ อกี จากเดิมแค่ ๒๕๐ เสนอขึ้นไป เขากช็ อบ จึง ตงั้ แตเ่ มอื่ ปลายปที แ่ี ลว้ ที่
น่ันแหละ แล้วก็ขยาย ตารางวา แต่ที่น่ี คือ เปน็ ทมี่ าวา่ ไดม้ าทา� ตรงน้ี เริม่ ต้นปรบั ปรุง”
รูปแบบ ขยายสเกลเพิม่ ๔ ไร่ เรากค็ ดิ รปู แบบแลว้

เปล่ียนพืน้ ท่ีรกรำ้ ง ใหเ้ ป็นพน้ื ท่ีแหง่ กำรเรยี นรู้กำรท�ำเกษตรในเมือง
Retreat, Recharge & Resilience
พื้นท่ีสีเขยี วช่ วยเยยี วยำร่ำงกำยและจิตใจคนเมือง

พ้ืนท่ี ๔ ไร่ ถูก มำพบปะ พูดคุย ผ่อน มำท�ำกิจกรรมร่วมกัน Recharge & Resilience
รังสรรค์ให้เป็นฟำร์มใน คลำยควำมเครยี ดจำก เช่น เดิน ว่ิง ออกก�ำลัง ช่วยเยียวยำร่ำงกำย
เมือง (Urban Farm) ภำระกำรงำน มำจบิ กำย ปน่ั จกั รยำน หรอื พำ และจิตใจคนเมือง ด้วย
พื้นที่สีเขยี วเพื่อให้คน กำแฟ เครอื่ งด่ืม จำก เด็กๆ มำลองมำหดั ปลูก คอนเซ็ปต์หลักคือเร่ือง
เมืองได้เยียวยำร่ำงกำย คำเฟ่ในสวน และอำหำร ผกั ปลกู ต้นไม้ เปน็ ตน้ ของประสบกำรณ์สัมผัส
และจิตใจ มีพ้ืนท่ี ให้ จำกผลผลิตที่ม่ันใจได้ คุ ณ โ ช ค ชั ย แ ล ะ ทงั้ ๕ ไดแ้ ก่ รปู รส กล่ิน
คนท�ำงำนชำวออฟฟิศ ว่ำปลอดภัยไร้สำรเคมี ทีมงำน มุ่งหวังจะให้ เสยี ง และสมั ผัส
ใ น ล ะ แ ว ก นัน้ ไ ด ้ ม ำ และยงั เปน็ พน้ื ทส่ี ว่ นรวม g Garden เป็นสถำนท่ี รูป ผ่ำนกำรมอง
พักผ่อนหย่อนใจ ได้ ให้ครอบครัวคนเมืองได้ ส� ำ ห รั บ R e t r e a t , ตน้ ไมด้ อกไมน้ ำนำพรรณ

ที่มีสีสัน เม่ือมองดูแล้ว
รู้สึกผ่อนคลำย รู้สึก
สนุกกับสีสันของดอกไม้
และอำหำรในจำนที่ปรุง
มำจำกผลผลิตในฟำร์ม
รส ผำ่ นกำรดม่ื ชมิ จำก
ผลผลิตท่ีมีต้นทำงจำก
ดอกไม้ ใบไม้ สมุนไพร
ที่กินได้ ท่ีมีรส เปรย้ี ว
หวำน มัน เค็ม ท้ังจำก
เคร่ืองดม่ื สมตู ตสี้ มนุ ไพร

26 ผู้ไถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔

หรือคราฟท์ดริง๊ ค์หอม เสียงของความเงียบ

สดชน่ื กล่ิน จากการ สงบเม่ือเข้ามาในพื้นที่

สูดดมกลิ่นของดอกไม้ น้ี ให้บรรยากาศที่แตก

ใบหญ้า พืชสมุนไพร ต่างจากเสียงของความ

หลายๆ ชนดิ โดยเฉพาะ วุ่นวายภายนอก และ

สมุนไพรต่างประเทศซึ่ง สัมผัส เม่ือได้มาสัมผัส
จะมีกลนิ่ เฉพาะตัว เช่น ดนิ ต้นไม้ ใบไม้ ได้ลงมือ www.facebook.com/gGarden.Ufarm

โรสแมรี่ ลาเวนเดอร์ เมอื่ ท�ำ ลงมือปลูก ด้วย แตเ่ น้นใหเ้ ขาเขา้ มาเรียน

เด็ดมาขยี้หรอื ลูบดูแล้ว ตนเอง รู้ว่าปลูกง่าย ปลูกกิน

ได้กล่ินอโรมาของสมุน ส�ำหรับในส่วนของ ได้ และสมุนไพรต่าง

ไพรน้ันๆ สว่ น เสยี ง จาก พืชพันธุ์ท่ีเลือกสรรนำ� ประเทศ พวกโรสแมร่ี

เสียงนก เสียงแมลง ท่ี มาปลูกใน g Garden ลาเวนเดอร์ เพราะใน

อยู่ตามธรรมชาติ และ น้นั คณุ จารชุ า ทองพนิ ิจ เมืองยังหาคนท�ำน้อย ก็

เสียงท่ีมาจากพืชพันธุ์ที่ Project Development เลยวางแผนปลูกพวก

ท�ำให้เกิดเสียงได้ อย่าง หนง่ึ ในทีมงานของ The นีเ้ ป็นส่วนใหญ่ และได้

เช่น ตอนเด็กๆ ที่เราจะ Farm Concept และ g วางแผนกิจกรรมคือ มี

เอาใบไม้มาเป่าให้เกิด Garden ซ่ึงมีความชื่น ตลาด และเรียนปลูกผัก

เสียง หรอื พวกเมล็ดพืช ชอบต้นไม้และการปลูก ท�ำปุ๋ย ผสมดิน ต่อไป

ท่ีพอมันแห้งแล้ว เรา พืชผักต่างๆ ดังที่เรามัก คุณจารุชา เล่าถึง ก็อาจจะสอนท�ำอาหาร

เอามาเขยา่ ก็มเี สยี ง รวม จะเหน็ เธอสาละวนอยกู่ บั แนวความคิดการเลือก ออกก�ำลังกาย ดนตรีใน

ไปถึงเสียงธรรมชาติที่ การท�ำสวน ปลูกต้นไม้ พชื ทจี่ ะปลกู และน�ำมาจดั สวน และในอนาคตจะมี

เกิดข้นึ ภายในสวน หรอื อย่เู สมอ กิจกรรมของ g Garden เพ่มิ เวิร์กชอปให้หลาก

ว่า “ส่วนใหญ่สวนผัก หลายมากข้นึ ”

ในเมืองก็หนีไม่พ้นพวก คุณโชคชัย อธบิ าย

พืชผักระยะส้ัน เช่น ผัก เพ่ิมเติมว่า “เราอยาก

สลัด แต่ท่ีนจ่ี ะไม่เน้น จะรณรงค์ ให้คนเมือง

ภาพ: www.facebook.com/gGarden.Ufarm ผักสลัดเพราะในตลาดมี ได้รู้จักพืชตามฤดูกาล

เยอะแลว้ ผกั ทเี่ ลอื กปลกู ผ่านผักท่ีเป็นผักพื้น

สว่ นใหญ่จะเปน็ กะเพรา ถนิ่ ผักพ้ืนบ้าน เพราะ

ผกั ชี โหระพา พรกิ พืชท่ี ว่าพืชตามฤดูกาล เวลา

ใช้ในชวี ติ ประจำ� วนั ทปี่ ลกู ปลูกมันสามารถโตได้

เองได้ คือเน้นสอนให้คน โดยท่ีเราไม่ต้องใช้ความ

ปลกู เองได้ ไม่ไดเ้ นน้ ขาย พยายามหรอื ใช้การดูแล

เป็นระบบอุตสาหกรรม มาก สามารถปลอ่ ยให้โต

27ผูไ้ ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔

www.facebook.com/gGarden.Ufarm

ตามธรรมชาติตามแบบ แล้ว คุณจะเห็นพืชชนดิ g Garden จะท�ำใหเ้ รื่อง ดู การปลูกพชื ริมระเบยี ง

ของมันได้ ไม่ต้องมียา ใหม่ คืออยากท�ำให้เขา การท�ำเกษตร ปลูกผัก ท�ำยังไง ปลูกพืชอะไร

ฆ่าแมลง ไม่ต้องใส่ปุ๋ย รู้สึกว่ามันไม่จ�ำเจ หรือ ปลูกต้นไม้ กลายเป็น บ้าง ดินแบบไหนท่ีพืช

เคมี คนเมอื งกจ็ ะไดเ้ รียน มาทกุ วนั คณุ กจ็ ะเหน็ การ เร่ืองง่ายดายส�ำหรับคน ชอบ ทกุ อยา่ งเราจะทำ� ให้

รวู้ า่ ฤดกู าลน้ีควรจะปลกู เปลี่ยนแปลงของต้นไม้ เมอื ง โดยจะอำ� นวยความ เรอื่ งการเพาะปลูกมัน

พืชชนิดนี้ ควรจะกินพืช ดอกไม้ในทกุ ๆ วัน” สะดวก ตัง้ แต่ การจดั หา งา่ ย คณุ เดนิ เขา้ มาคณุ จะ

ชนดิ น้ีเพราะอะไร เพราะ หน่งึ ในกิจกรรม วัสดุอุปกรณ์ และเครื่อง ได้ไอเดียกลับไปทดลอง

มันเป็นพืชตามฤดูกาล หลกั เมอื่ มาท่ี g Garden มอื ตา่ งๆ ที่ใช้ในการเพาะ เลย มาหดั ทน่ี ี่ มาซอื้ วสั ดุ

ไม่ต้องมีสารเคมี คือ ก็คือ เวิร์กชอปการท�ำ ปลกู เรียกไดว้ า่ มาเรียนรู้ ทน่ี ีท่ ีเ่ ราเตรยี มไว้ให้ คุณ

ไม่ใช่ว่าทุกฤดูต้องกิน เกษตรส�ำหรับคนเมือง การปลกู แล้วได้ต้นไม้ ได้ ไม่ต้องไปล�ำบากหาเอง

แต่กวางตุ้ง ผักสลัด ผู้ ท่ีสนใจมาเรียนรู้ ตั้งแต่ ผกั ใสก่ ระถางกลบั ไปดแู ล แค่มาท่ีน่ี คุณสามารถ

บริโภคจะได้เรียนรู้การ ขั้นตอนการเตรียมวัสดุ ต่อท่บี า้ นไดเ้ ลย ปลูกผักได้เองเลย แล้ว

กินผักท่ีหลากหลาย ซ่ึง เพาะปลูก การเลอื กชนดิ “นอกจากพ้ืนที่ว่าง ถ้ามีปัญหาอะไรก็มาหา

แต่ละฤดู พืชท่ีเราปลูก พนั ธพ์ุ ชื ทจ่ี ะปลกู เทคนคิ เปล่า บนคอนโด บน เรา หรือแชตมาถามได้”

จะหมุนเวยี นกันไปตาม การดูแลรักษาพืชผักให้ ระเบียง คณุ ปลูกได้หมด

ฤดูกาล ช่วงนหี้ น้าฝน เติบโตงอกงาม ไปจนถึง เลย เรามีไอเดียเอาไว้ให้

ต้องปลูกพืชอะไรท่ีจะทน การเก็บเก่ียวผลผลิต

ฝนได้ หน้าแลง้ ตอ้ งปลูก ซึ่งคุณโชคชัย บอกว่า

อะไร ทุกอยา่ งมีชุดความ www.facebook.com/gGarden.Ufarm

รู้อยู่แล้ว เพียงแต่เราจะ

จบั อะไรมาเลน่ เทา่ นั้นเอง

นอกจากน้ีเราพยายาม

จะพัฒนาสวนให้คนท่ีมา

๑-๒ เดือน แล้วกลับมา

อีก คุณจะไม่เห็นแบบนี้

28 ผ้ไู ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

เปิ ดท้ายจา่ ยตลาด ผลผลิตจากฟารม์ เสริ ฟ์ คนรักสุขภาพ

g Garden ยัง

เป็นสถานท่ีจัดจ�ำหน่าย
ภาพ: www.facebook.com/gGarden.Ufarm
ภาพ: www.facebook.com/gGarden.Ufarmสินค้า และผลผลิตทาง

การเกษตร ที่ปลอดภัย

ไร้สารเคมี เป็น Green

Market ตลาดสีเขยี ว

ซ่ึงมีเครือ­ข่ายเกษตรกร

ผู้ผลิตสินค้าออร์แกนิค

ที่ท�ำงานด้วยประมาณ

๒๐๐-๒๕๐ คน ซ่ึงจะ

หมุนเวียนกันมาออก ฟาร์ม แอนด์ โฟล์ค แบบสั่งสินค้าล่วงหน้า ภาพแหล่งผลิต พัฒนา

ร้าน มาเปิดท้ายขาย มาร์เก็ต’ (JaiTalad ทางระบบออนไลน์ โดย ตลาด หรือเป็นพื้นท่ีที่

ของ และยังเปิดพื้นท่ี Farm & Folk Market) ให้ผู้บริโภค Pre-Order เกษตรกรจะได้ขายของ

ส�ำหรับให้เกษตรกร ซึ่งจะจัดเป็นประจ�ำทุก สินค้าจากเกษตรกรล่วง คือการไปท�ำความรู้จัก

รอบๆ กรุงเทพฯ และ วันเสาร์สัปดาห์ท่ี ๒ หน้า แล้วนัดให้มารับ กับเกษตรกร เจ้าของ

ปริมณฑล น�ำผลผลิต และ ๔ ของเดือน ต้งั แต่ สนิ คา้ ที่ g Garden พ้ืนท่ีท่ีเขาให้จัดตลาด

จากสวน ผักผลไม้ ขนม เวลา ๑๔.๐๐ – ๑๘.๐๐ คุณจารุชา เล่า และน�ำเสนอให้ผู้บริโภค

เบเกอรี่ พืชผักสมุนไพร น. ซึ่งตลอดระยะเวลา ถึงโปรเจกต์ ‘JaiTalad มาซ้ือของที่ JaiTalad

ฯลฯ มาจ�ำหน่ายและ ที่ผ่านมา และในช่วงที่ Farm & Folk Market’ Farm & Folk Market

นำ� ส่งสินค้าให้ถึงมือผู้ สถานการณ์แพร่ระบาด วา่ ท�ำมาประมาณ ๓ ปี มีทั้ง

บริโภคในเมืองโดยตรง ของเชือ้ โควดิ -๑๙ อยู่ “จ่ายตลาดเป็น ท่ีเป็นการขายออนไลน์

ผา่ นกจิ กรรม ‘จา่ ยตลาด น้ี ยังเป็นการจ�ำหน่าย โครงการพัฒนาศักย­ และออฟไลน์ สินค้า

ออร์แกนคิ และอาหาร

แปรรูป ขนมโฮมเมด

ท่ีท�ำเองและรู้ที่มาของ

วัตถุดิบ เคร่ืองนุ่งห่ม

และของใช้จากธรรมชาติ

อาทิ สบู่ เสื้อผ้าย้อมสี

จากธรรมชาต”ิ

คุ ณ โ ช ค ชั ย ผู ้

ร ่ ว ม พั ฒ น า โ ค ร ง ก า ร

The Farm Concept

ซ่ึงท�ำเร่อื งของฟาร์มใน

29ผไู้ ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔

“ผมคิดว่าคนท่ีจะ การท�ำงานด้วยข้อมูลจะ
“ ผมคดิ วา่ มนั จะช่วยกันท้งั สองฝ่าย คือ มาเป็นเกษตรกรน่าจะ ท�ำให้เครือข่ายผู้บริโภค
ถ้าเกษตรกรขายได้ เขาก็จะมีก�ำลังใจ มีจ�ำนวนเพม่ิ ขึน้ เรื่อยๆ ฝั่งผู้ผลิต ให้โตขึ้น เข้ม
ผลติ สนิ คา้ ทีม่ คี ณุ ภาพมากขนึ้ และเรามีการเก็บข้อมูล แข็งข้ึน ให้เขามีฟีดแบ็ค
ฝงั่ ผู้บริโภคกจ็ ะเชอ่ื มน่ั วา่ มาตลาดน้ี ของเกษตรกรและผู้ ว่าอยากได้อะไร อยาก
เขาจะไดข้ องที่สด สะอาด และปลอดภัย ” บริโภคทมี่ าซอื้ ผา่ นระบบ ให้ปรับปรุงอะไร แล้วถ้า
ออนไลน์ มกี ารเกบ็ ขอ้ มลู กลุ่มนี้ค่อยๆ โตขึ้น ผม

ว่า เดือนนเ้ี ขากินอะไร คิดว่ามันจะช่วยกันท้ัง

เมอื ง (Urban Farming) ออร์แกนิคให้เติบโตและ เดือนหน้ากินอะไร จาก สองฝา่ ย คอื ถา้ เกษตรกร

และ Farmer’s Market เข้มแข็งขน้ึ เพื่อเอื้อ พฤติกรรมการบริโภค ขายได้เขาก็จะมีก�ำลังใจ

จัดพ้ืนที่ให้เกษตรกรมา ให้เกษตรกรรายใหม่ๆ เราสามารถประเมินได้ ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ

จ�ำหน่ายผลผลิต และยัง หรือคนเมืองท่ีสนใจวิถี ว่า คร้ังถัดไปผู้บริโภคจะ มากขึ้น ฝั่งผู้บริโภคก็จะ

เป็นผู้จัดการงานอีเว้นท์ เกษตร และผู้บริโภคที่ ซื้ออะไรเยอะเป็นพิเศษ เช่ือม่ันว่ามาตลาดนี้เขา

กิจกรรมต่างๆ (Organi­ ใส่ใจสขุ ภาพ สามารถเขา้ เราก็จะได้แจ้งให้กับทาง จะได้ของท่ีสด สะอาด

zer) มีความมุ่งม่ันที่ ถึงสินค้ากลุ่มนี้ได้มาก ร้านค้า ทางเกษตรกรได้ และปลอดภัย และเรา

จะพัฒนาช่องทางการ ข้ึนและงา่ ยขึ้น เตรียมมา คือเราบริหาร พยายามจะขยายกลุ่มนี้

ตลาดสินค้าเกษตรแบบ ด้วยข้อมูลท่ีเรามี ซึ่ง ให้โตไปพร้อมๆ กัน”

g Garden ช่ วยจา้ งงาน สร้างอาชีพ
ช่ วยเหลือกลุ่มผูไ้ ด้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-๑๙

การแพร่ระบาด www.facebook.com/gGarden.Ufarm

ของโรคโควิด-๑๙ ท่ีส่ง

ผลกระทบอย่างหนกั ต่อ

เศรษฐกิจภายในประเทศ

กลุ่มที่ ได้รับผลกระทบ

มากท่ีสุดก็คือ กลุ่มผู้

มีรายได้น้อยในชุมชน

เมือง ท่ีต้องเผชญิ กับ

ภาวะตกงาน ขาดรายได้ ไม่มีเงนิ ส�ำรอง และ เตมิ ชวี ติ ความเปน็ อยขู่ อง เรือ่ งคณุ ภาพชวี ติ อยาก

โดยเฉพาะกลุ่มที่ท�ำงาน ยังมีหน้ีนอกระบบ ยิ่ง พวกเขาให้หนักหนากว่า จะมีส่วนในการพัฒนา

รับจ้างรายวัน ผู้มีรายได้ สถานการณ์โควดิ ทอด เดิม คุณภาพชวี ติ ให้คนเมือง

น้อยในชุมชนแออัด ซ่ึง ยาวออกไปอย่างไม่รู้ ดว้ ยเปา้ หมายหลกั g Garden, The Farm

ส่วนใหญ่ไม่มีสวัสดิการ ก�ำหนด ยิ่งเป็นการซ�้ำ ของ g Garden ทเ่ี นน้ ใน Concept และองค์กร

30 ผู้ไถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔

กักตัว รวมถึงแคมป์คน ถ้าเขาจะเอาไปตอ่ ยอดได้

งาน และคนเรร่ ่อน ที่ได้ ก็เป็นเร่อื งท่ีเขาสามารถ

รับผลกระทบจากโควิด ท�ำได้ และตอนนอี้ ยู่ใน

อกี ด้วย ชว่ งเฟส ๒ กค็ อื ผลผลติ ท่ี

คุณโชคชัย บอก เกิดขึ้นสามารถเก็บดอก

ว่า “เริม่ ต้นเรามีแนวคิด ออกผลได้ เรากเ็ กบ็ ไปให้

เร่ืองของการนำ� พื้นท่ี กบั คนไรบ้ า้ น ชมุ ชนทเ่ี ขา

พนั ธมติ ร ไดแ้ ก่ G Land, โดยได้จ้างงานชาว รกร้างว่างเปล่ามาใช้ให้ มีโรงครวั ทเี่ ขาขาดแคลน

CPN, Ageekculture, ชุมชนคลองเตยกลุ่ม เกิดประโยชน์กับคนทุก สักอาทิตย์ละครั้ง สอง

JaiTalad, คลองเตยดี ท่ีได้รับผลกระทบจาก กลุ่ม ไม่ใช่แค่เจ้าของ อาทิตย์คร้ัง หรอื โรง

จัง, Poonsuk Market, สถานการณ์โควิด-๑๙ พ้ืนที่ แต่รวมถึงคน ครัวที่เขาท�ำกับข้าวเพ่ือ

SET Social Impact, เข้ามาท�ำงานและฝึก ที่อยู่ในชุมชนรอบข้าง แจกผู้ป่วยในชุมชน เราก็

Eat Better จึงเร่ิมท�ำ ทักษะอาชพี ทางเกษตร หรอื แม้กระท่ังกลุ่มคน ซัปพอร์ตวัตถุดิบพวกน้ี

โครงการ The Farm และงานชา่ งไม้ วนั ละ ๑๐- ท่ีขาดโอกาส ใช้พ้ืนท่ีน้ี มันอาจจะไม่ได้เยอะมาก

Sharing เพื่อช่วยเหลือ ๑๕ คน และเม่ือผลผลิต ให้เป็นโอกาสที่จะท�ำ แต่เราท�ำให้เห็นว่าพื้นท่ี

ผมู้ รี ายไดน้ อ้ ยที่ไดร้ บั ผล พืชผักเติบโตแล้ว พวก คุณภาพชวี ิตของเขาให้ แค่นีม้ ันสามารถท�ำอะไร

กระทบจากสถานการณ์ เขาสามารถนำ� ผลผลิต ดีขึน้ อย่างท่ีเราท�ำมา ใหก้ ับคนไดอ้ กี เยอะ”

โควดิ ให้มีทักษะการท�ำ กลับไปรับประทานที่ สกั ๓-๔ เดอื น ก็มีเรอื่ ง จึง ก ล ่ า ว ไ ด ้ ว ่ า

เกษตรพ่ึงตนเอง สร้าง บ้าน เป็นการช่วยลดค่า ของการจ้างงาน เราจ้าง g Garden ถูกพฒั นาข้นึ

แหล่งอาหารเพื่อลดราย ใช้จ่ายในครอบครัว และ ให้เขามาเรยี นรู้การเพาะ จากความเอื้อเฟื้อ เอ้ือ

จ่ายและเป็นรายได้เสรมิ ยังสามารถน�ำผลผลิต ปลูก การทำ� งานไม้ งาน อาทรและแบ่งปันซ่ึงกัน

เพื่อให้ผ่านพ้นวิกฤตินี้ ท่ีได้จากในสวนไปแบ่ง ช่างอะไรต่างๆ ให้เขาได้ และกันของคนในสังคม

ไปได้ และเรยี นรู้ท่ีจะอยู่ ปันช่วยเหลือผู้มีรายได้ เรียนรู้ว่าเกษตรในเมือง จากผู้มีน้ำ� ใจดีที่เป็นผู้

รอดได้หากสถานการณ์ นอ้ ยในชมุ ชนแออดั และ ท�ำอย่างไร พันธมิตรเรา ให้ สู่ผู้รับที่แปรหยาด

ยังไม่ดขี นึ้ ครัวกลางท่ีท�ำอาหาร ช่วยจา่ ยคา่ แรง ท่ีน่ีสร้าง เหงอื่ แรงกาย มาเป็น

กระจายในชุมชนท่ีต้อง ให้เขาได้มีทักษะเพิ่มขึ้น ผลงาน เป็นการก่อเกิด

ภาพ: www.facebook.com/gGarden.Ufarm

31ผู้ไถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กันยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔

ของโครงการ g Garden
ภาพ: www.facebook.com/gGarden.Ufarm
www.facebook.com/gGarden.Ufarmตั้งแต่ การปรับภูมิทัศน์

ตัดหญ้า เก็บหิน เศษ

ปูน ขุดดิน เตรยี มพื้นที่

ท�ำแปลงผัก เพาะกล้า

ช�ำกิง่ หยอดเมล็ด ท�ำ

ปุ๋ยหมัก ท�ำกระบะเพาะ

ปลูก กระท่ังผลผลิตผลิ นอกจากนี้ ในช่วง เรียน และของใช้มือสอง ทุนการศึกษา หรือช่วย

ดอกออกผลให้เก็บเกี่ยว โควิด ที่ g Garden ยงั จากประชาชน เพื่อส่งตอ่ เร่อื งรายได้ให้ครอบครัว

และชนื่ ชมได้ เป็นจุดรับบริจาคเส้ือผ้า ให้เด็กๆ ชมุ ชนคลองเตย ของพวกเขา

หนงั สือ อุปกรณ์การ น�ำไปคดั แยกขายเพอื่ เปน็

g Garden กบั การมีสว่ นช่ วยลดความเหล่ือมล้�ำในสังคม

จากพื้นท่ีรกร้าง เป็นบรษิ ัทในเครอื ของ และภาคีเครือข่าย๔ ซ่ึง เม่ือถามว่าโครง­

ขนาด ๔ ไร่ ของ G เซ็นทรัลพัฒนา ร่วมกับ ล้วนเป็นคนรุ่นใหม่ท่ี การนี้ ช่วยลดความ
Land๓ เจ้าของที่ดินซึ่ง The Farm Concept มีไอเดียใหม่ๆ มีความ เหล่ือมล­ �้ำในสังคมได้

คิด ความฝัน และความ อยา่ งไรบ้าง

มุ่งม่ัน ร่วมกันก่อร่าง คุณโชคชัย บอกว่า

สร้างฝัน กระท่ังมาเป็น “เราต้องเข้าใจว่าคนที่
โครงการ CSR๕ ร่วม มีท่ีดินแบบน้เี ขาก็เป็น

รับผิดชอบต่อสังคม คนระดับบนและรวยมาก

โดยเปลี่ยนพ้ืนที่รอการ เราเสนอโครงการเพอื่ ขอ

พัฒนา สู่พื้นท่ีสีเขยี ว พื้นที่มาท�ำงานเพื่อกลุ่ม

สร้างคุณค่าให้พื้นที่แห่ง คนที่ขาดโอกาส กลุ่ม

น้ีกลายเป็นพ้ืนท่ีแห่ง คนตวั เล็กตัวนอ้ ย เราไม่

การเรยี นรู้การท�ำเกษตร ได้เสิร์ฟแค่คนท่ีมีเงนิ

ใ น เ มื อ ง แ ล ะ ช ่ ว ย ใ ห ้ คนที่รวย คนที่มาเดิน

เกษตรกรมีรายได้ตลอด ห้าง แต่เราพยายาม

ท้ังปี โดยเป็นโครงการ จะสร้างรายได้จากคน

ใช้พ้ืนท่ีให้เกิดประโยชน์ กลุ่มบน เอาพื้นที่มา

แบบช่ัวคราว ๒ ปี แชร์ เอาทรัพยากรมา

๓ บรษิ ัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำ� กัด (มหาชน)
๔ อาทิ G Land, CPN, Ageekculture, JaiTalad, คลองเตยดีจัง, Poonsuk Market, SET Social Impact, Eat Better
๕ CSR (Corporate Social Responsibility) คอื การรบั ผดิ ชอบของธรุ กิจตอ่ สงั คม

www.facebook.com/gGarden.Ufarm32 ผู้ไถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

แชร์ให้กับคนที่ยังขาด ไหน เราท�ำให้ทุกคนเท่า พร้อมจะเอาเมล็ดพันธุ์
โอกาส พ้ืนท่ีแปลงนี้ เทียมกัน สามารถเดิน พวกกล้าผักไปช่วยปลูก
ไม่ ได้ช่วยให้คนรวย เข้ามาใช้พื้นที่ได้ ถ้าเขา ให้ และให้เขาได้ดูแลต่อ
ขึน้ หรอื คนจนให้รวย อยากได้ผัก เขาไม่มีเงนิ เพอื่ เปน็ การลดตน้ ทนุ ให้
ขน้ึ แตอ่ ยา่ งนอ้ ยเขาได้ ซ้ือ เขาสามารถเกบ็ ไปได้ คนในชุมชนเขา
เข้าถึงทรัพยากร ได้ใช้ เลย คอื เราไม่ไดค้ ดิ วา่ ทกุ หรอื ถ้าใครมีพื้นที่
พ้ืนที่เพื่อสร้างโอกาส อย่างมันต้องใช้เงิน ถ้า แล้วอยากท�ำแบบน้ี เรา
ในการเจริญเตบิ โต เรา เขาต้องการผักเขาก็เก็บ กย็ นิ ดีไปเปน็ ทป่ี รกึ ษาให้
เป็นคนเปิดหน้าดิน กลบั ไปได้ และหากอยาก ไปให้ค�ำแนะนำ� ว่าเริ่มต้น
แล้วเชิญชวนคนท่ีขาด จะปลูกเอง เราก็จะสอน ยงั ไง ไมอ่ ยากเหน็ การน�ำ
โอกาสมาร่วมกันหว่าน ให้เขา เอาอันนี้ไปขยาย พื้นที่รกร้างไปปลูกแค่ ท�ำอะไรได้อีกเยอะ ไม่ใช่
เมล็ดพันธุ์และช่วยกัน พันธุ์ต่อในชุมชนก็ได้ กล้วย มะนาว เพื่อให้ได้ แคป่ ลูกทิ้งๆ ขว้างๆ
รดนำ�้ พรวนดนิ ใหต้ น้ ไม้ เรามีโปรเจกต์ท่ีอยาก ประโยชน์เร่ืองภาษี แต่ คือผมว่าคนที่เป็น
เติบโตเท่านน้ั เอง เอาพวกกล้าไม้ไปแจก เราท�ำไปพร้อมกันได้ เจ้าของท่ียังมองไม่เห็น

โครงการนีท้ ุกคน ให้ชุมชน ถ้าชุมชนไหน คุณท�ำให้มันเป็นการลด ว่ามันมีวิธกี ารยังไงบ้าง
สามารถเข้ามาได้ โดยที่ อยากสร้างพ้ืนท่ีกลาง ภาษีโดยท�ำเกษตร แล้ว เราพยายามจะท�ำแบบ
เราไม่แบ่งว่าเขามีเงิน และสร้างผลผลิต และ ผลผลิตคุณก็วางแผนว่า นี้ให้เขาเห็นทางเลือก
ไหม เขาเป็นคนแบบ แบ่งปันในชุมชน เราก็ จะไดเ้ ทา่ ไหร่ แลว้ กเ็ อาไป อ่ืนๆ ท่ีมันเป็นประโยชน์

กับคนได้ คุณได้ลดภาษี
ด้วย ได้ช่วยเหลือสังคม
คือแค่เปล่ียนไอเดียนดิ
หน่งึ ประโยชน์มันเพิ่ม
ขึน้ ขอแค่ท�ำเพม่ิ ขึน้ อีก
นิดหน่อย”

g Garden หน่งึ ทางออกจากวกิ ฤติ
ให้คนเมอื งหันมาพ่ึงพาตนเอง สร้างความม่นั คงทางอาหาร

เม่ือถามคณุ โชคชยั “ท่ีนี่จะเป็นไอเดีย ผลผลิตเอง หรอื สร้าง ไม่ได้เป็นเร่อื งยากท่ีจะ

ว่า g Garden จะเป็น เร่ืองอาหารการกนิ ซงึ่ ผม อะไรทมี่ นั เริ่มตน้ จากการ เรมิ่ ตน้ เพยี งคณุ รวู้ ธิ ีการ

ทางออกให้คนเมืองได้ วา่ มนั เปน็ เร่อื งสำ� คญั ถา้ พ่ึงพาตัวเองด้วยวถิ ีแบบ ปลูกผักแค่กระถางเดียว

อย่างไรบ้าง คนเมืองเรียนรู้ที่จะสร้าง น้ี มันเป็นเรือ่ งที่ดี มัน แล้วท�ำผักกระถางเดียว

33ผู้ไถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

ให้มันรอด ต่อไปคุณจะ www.facebook.com/gGarden.Ufarm

สามารถขยายสเกลเป็น

แปลงหลังบ้าน เป็นไร่

ก็ได้ ถ้าตรงน้มี ันเป็นจุด

สตาร์ทให้เริ่มต้นได้ มัน

ท�ำให้สามารถช่วยเหลือ

ตัวเองได้หากเกิดวกิ ฤติ ค ว า ม ตึ ง เ ค รยี ด จ า ก
Work from Home
หรอื แค่ใหเ้ ขาปลกู ผกั กนิ
เอง เห็นการงอกเงยแล้ว รวมไปถึงนกั ช็อปมา

ท�ำให้จติ ใจรู้สึกเบิกบาน
หรอื มีความสุข ผมคิด การขนส่งโดนตัด ผกั ผล เดินเปิดท้ายจ่ายตลาด
ว่าแค่นี้ก็พอแล้ว อย่าง ไมท้ อ่ี ยตู่ า่ งจงั หวดั สง่ เขา้ JaiTalad Farm & Folk

อ่ืนค่อยไปขยายต่อเอง มาไม่ได้ คนกรุงเทพฯ Market จากเกษตรกร

อยากจะไปขยายพ้ืนท่ี เริม่ เดือดร้อน คือใน ท่ีน�ำผลผลิตจากฟาร์ม
หรอื ไปต่อยอดเป็นธุรกิจ ห้าง ทุกอย่างท่ีเคยคิด ม า เ สิ ร ์ ฟ ใ ห ้ แ ก ่ ค น รั ก

เปน็ อาชีพกค็ อ่ ยวา่ ไป ข้ึน ว่าเข้าไปแล้วจะมีกิน สขุ ภาพ และท�ำกิจกรรม

กบั แต่ละคน” มันก็ไม่มีแล้ว แต่ระบบ เป็นผู้ผลิตเองด้วย ผม ตา่ งๆ ในสวน ซ่งึ ผู้สนใจ

“คือมันเป็นเรอื่ ง น้ี ถ้าวกิ ฤติเกิดขึ้น คน ม่ันใจว่าเรือ่ งน้มี ันจะช่วย สามารถตดิ ตามกจิ กรรม
ของความมั่นคงทาง กรุงเทพฯ ไม่ต้องกลัว แกป้ ญั หาได”้ ต่างๆ ตลอดท้ังปีของ

อาหาร ต่อไปถ้าเกิด แลว้ ถึงโดนปดิ กน้ั หรอื โ ค ร ง ก า ร g g Garden ได้จาก เพจ
วิกฤติ อย่างเช่น นำ�้ ถ้านำ้� ท่วมเราไม่มีระบบ Garden เรมิ่ เปิดให้ผู้ เฟซบุ๊ก g Garden -
ทว่ มปี ๒๕๕๔ กรุงเทพฯ แบบนผ้ี มวา่ มนั เรม่ิ วกิ ฤติ สนใจเข้ามาเรียนรู้การ Urban Farming &
ขาดแคลนเครื่องอุปโภค แลว้ คนกรงุ เทพฯ กจ็ ะอยู่ ท�ำเกษตรในเมือง มา Farmers Connected
บริโภค เพราะว่าระบบ ไม่ได้ แตถ่ ้าคนกรงุ เทพฯ ชมสวน ชมดอกไม้ แวะ และเม่ือสถานการณ์การ
มาจบิ กาแฟออร์แกนิค ระบาดของโควิด-๑๙ เริม่

อาหารและเครื่องดื่มท่ี คลี่คลายกว่าน้ี มั่นใจว่า

ปรุงจากวัตถุดิบปลอด g Garden จะกลายเป็น

สารพิษ และสมุนไพร พ้ืนท่ีท่ีอยู่ในใจของคน

ในสวนที่จะช่วยเสริม เมือง โดยเฉพาะคนใน

สร้างภูมิต้านทานให้ ละแวกนั้นอย่างแน่นอน

ร่างกายสู้กับเช้ือโควดิ -

๑๙ หรือจะมาผ่อนคลาย

34 เน้ือในหนัง
ฌญา

ภาพ: www.minimore.com
ภาพ: www.bd2020.com
ภาพ: www.bd2020.com

Life is Fruity
ชวี ติ น้หี อมหวาน

“บ้าน” คือ ที่พักอาศัยที่ เพม่ิ ความเขียวขจมี ากกว่าบ้าน ภาพ: www.life-is-fruity.com
หลังอ่ืนๆ ให้ความรู้สึกร่มรืน่ ภาพ: www.bd2020.com
เต็มเปยี่ มไปดว้ ยความรกั ความ เยน็ สบายเม่ือมองเห็น
อบอุ่น ความม่นั คง จากสมาชกิ
ในครอบครัวและคนท่ีเรารัก ภายในบา้ นเตม็ ไปดว้ ยขา้ ว
เป็นพน้ื ท่ีปลอดภัย ใหอ้ ิสระ ให้ ของเครอื่ งใช้ต่างๆ ทั้งเครอื่ งใช้
ความสบายใจ สามารถเป็นตัว สมัยเก่าอายมุ ากถงึ ๔๐ ปี และ
เองได้อย่างเต็มท่ี นอกจากน้ี เครอื่ งใช้สมัยใหม่ ทั้งหมดถูก
บ้านยังถือเป็นปัจจัยท่ีส�ำคัญใน จัดวางร่วมกันอย่างลงตัว การ
การด�ำรงชีวิตของมนุษย์ บ้าน ได้พักอาศัยอยู่ในบ้านท่ีอบอุ่น
เปน็ ตวั สะทอ้ นถงึ การมคี ณุ ภาพ ปลอดภยั มีสง่ิ แวดลอ้ มทีด่ ี นบั
ชวี ิตทดี่ ี บา้ นทอี่ ยู่ในสงิ่ แวดลอ้ ม เป็นสิ่งท่ีส�ำคัญท่ีสุด และด้วย
ท่ีดี ย่อมสะท้อนถึงการมีความ ความรัก ความเอาใจใส่ซึ่งกัน
สุขในชีวติ และกันของท้ังสองคน ท�ำให้
บ้านหลงั นด้ี อู บอ่นุ และน่าอยู่มากขึน้ ไปอีก
Life is Fruity ชวี ติ นี้หอมหวาน หนังสารคดี ชูอิจิมีความตั้งใจอยากให้มนุษย์ได้ใช้ชวี ิตอยู่
ยอดเย่ียมในปี ค.ศ.๒๐๑๗ ที่บอกเล่าเรือ่ งราวของ ใกลช้ ดิ กบั ธรรมชาตมิ ากทสี่ ดุ เขาพยายามออกแบบ
สบึ าตะ ชอู จิ ิ สถาปนกิ วยั ๙๐ ปี และ สบึ าตะ ฮเิ ดโกะ
ภรรยาวัย ๘๗ ปี ท่ีใชช้ วี ติ ช่วงบน้ั ปลายในบา้ นหลงั
เล็ก อย่างเรยี บง่าย ท่ามกลางสังคมที่ขับเคล่ือน
อย่างรวดเรว็

หนงั เปดิ ดว้ ยภาพมมุ สงู ของบา้ นชน้ั เดยี ว หนงึ่
หอ้ งนอน ขนาด ๕๐ ตารางเมตรหลังหนง่ึ ในเมือง
ใหม่โคโซจิ เมอื งคาซงู าอิ จงั หวดั ไอจิ ประเทศญปี่ นุ่ ที่
มจี ดุ เดน่ สะดดุ ตา รอบบา้ นเตม็ ไปดว้ ยตน้ ไมเ้ ลก็ ใหญ่

35ผู้ไถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔

www.rolohnomori.tistory.com
ภาพ: www.minimore.com
www.rolohnomori.tistory.com

งานของตวั เองโดยคำ� นึงถงึ การใหม้ นษุ ย์ได้ใชช้ วี ติ อยู่ ดังคำ� กล่าวของเขาวา่ “เราสะสมเงนิ ไว้ใหค้ น ภาพ: www.bd2020.com
ท่ามกลางธรรมชาติ ในทุกงานออกแบบของเขาจงึ รนุ่ ต่อไปไม่ได้ แตถ่ า้ เราท�ำดินดี ลูกหลานกป็ ลูก
ผา่ นการคดิ มาอยา่ งดี เพอื่ ใหเ้ กดิ ความลงตวั ระหวา่ ง พชื ผลได้ เราตอ้ งทงิ้ มรดกเปน็ สถานท่ี ทล่ี กู หลาน
สงิ่ กอ่ สร้างและสงิ่ แวดลอ้ ม เพาะปลูกบางอยา่ งได้”

ความตั้งใจของชูอิจสิ ะท้อนผ่านการใช้ชวี ิต การมแี หลง่ ผลติ อาหารทดี่ ี ยอ่ มสะทอ้ นถงึ การ
ประจำ� วนั ทเ่ี รยี บงา่ ยของเขาและภรรยา ตง้ั แตก่ ารตนื่ มีความม่ันคงทางด้านอาหาร เพราะแม้จะเป็นช่วง
นอน จดั บ้าน ทำ� อาหาร ทำ� สวน ปลูกต้นไม้ ในบ้าน เวลาทอี่ ยู่ในภาวะวกิ ฤติที่สดุ แตส่ ่งิ ท่มี ่นั คงคอื การ
หลงั เลก็ ทเี่ ตม็ ไปดว้ ยความอบอนุ่ นี้ ทงั้ สองคนดำ� รง มั่นใจว่าจะสามารถมีอาหารไว้ส�ำหรับการบริโภคได้
ชีวิตด้วยการใช้เงินบ�ำนาญเดือนละ ๓๒๐,๐๐๐ เยน อย่างเพียงพอ
(ราว ๙๓,๐๐๐ บาท) สำ� หรบั การใชจ้ า่ ยและซอ้ื อาหาร
บางอย่างทพ่ี วกเขาไมส่ ามารถผลติ ข้นึ เองไดท้ ี่บา้ น ภาพฉายของชูอิจิกับฮิเดโกะที่ใช้ชีวิตเรยี บ
ง่าย ปฏิบตั ิต่อกันด้วยการใหเ้ กียรติ ใส่ใจ ให้ความ
ภายในสวนรอบบ้านท่ีรายล้อมด้วยต้นไม้ ส�ำคัญต่อกัน ได้ใช้ชีวิตอยู่ในส่งิ แวดล้อมที่ดี ได้กิน
หลากหลายชนดิ ส่วนหนึง่ ถูกแบ่งให้เป็นสวนป่า อาหารที่ดี ท�ำใหท้ ้งั สองคนเป็นผสู้ ูงอายทุ ีม่ สี ขุ ภาพ
ขนาดเล็ก อีกส่วนแบ่งเป็นแหล่งผลิตอาหารที่เต็ม ร่างกายแข็งแรง มีความสุขอยู่เสมอ และพวกเขา
ไปด้วยพืชผักและผลไม้กว่าร้อยชนดิ ที่ให้ผลผลิต ยังส่งต่อความงดงามของชวี ติ ด้วยการปฏิบัติต่อคน
ในทุกฤดูกาล บางอย่างนำ� มาปรุงแต่ง บางอย่าง อน่ื ๆ เฉกเชน่ เดยี วกัน
รับประทานได้ทันทีท่ีเก็บออกมาจากสวน ท�ำให้ได้
รสชาติของความสดใหม่ บางอย่างนำ� มาแปรรูป ความต้ังใจและคุณค่าของเขาและเธอถูกสาน
เพอ่ื เกบ็ ไวก้ ินได้นานๆ ท�ำใหม้ ีอาหารมากมายไว้กนิ ต่อและกลายเป็นส่วนหน่ึงในการช่วยเหลือเยียวยา
ไดต้ ลอดทง้ั ปี และมมี ากพอสำ� หรบั การเผอ่ื แผ่ใหก้ บั
คนอืน่ ๆ ด้วย

ชูอิจยิ ังพยายามปลูกป่าบนที่ดินท่ีตัวเองซ้ือไว้
เขาใหค้ วามสำ� คญั กบั การสรา้ งและดแู ลสิง่ แวดลอ้ ม
รอบบา้ นใหม้ ีความอดุ มสมบูรณ์ท่สี ดุ เพราะเขาเช่ือ
ว่าสงิ่ นจี้ ะเปน็ ส่ิงท่ีมีความยัง่ ยนื ทเ่ี ขาสามารถสร้าง
ไว้ใหล้ ูกหลานของตวั เองได้

36 ผู้ไถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

www.rolohnomori.tistory.com ภาพ: www.bd2020.com ภาพ: www.womjapan.com

ผู้คนได้อีกมากมาย ชีวติ ของพวกเขาชา่ งหอมหวาน ภาพ: pantip.com/topic/38516039
เหมอื นด่งั ผลไมท้ ่ีเขาปลูก
บริโภคของทุกคนในครอบครัวภาพ: www.life-is-fruity.com
คงจะดีไม่น้อย หากสังคมไทยในเวลาน้ี ท่ี และเหมาะกับคนทุกวัย เพียงแค่
สภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมไม่ได้มีความม่ันคง เดินออกมารอบบ้าน
อีกทั้งก�ำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นช่วงวัย
ท่ีก�ำลังมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย และ แต่น่าเสียดายท่ีหลายคน
สุขภาพอย่างเห็นได้ชัด สุขภาพท่ีด้อยลง เกิดการ ไม่มีโอกาสได้ใช้ชีวติ ตามแบบ
เจ็บป่วย ในหนงั น่าเศร้าใจที่ผู้สูงอายุ
ในไทยหลายคนอาจไม่ได้มีชีวิต
นอกจากการพักผ่อนให้ บ้ันปลายที่หอมหวานดังเช่น
เพยี งพอ การออกกำ� ลงั กาย การ ชูอิจิและฮิเดโกะ แต่อย่างน้อย
ไม่เครยี ด “อาหาร” ถือเป็นอีก หนังเรื่องนี้ก็มีส่วนในการสร้าง
ปัจจัยหน่งึ ที่ช่วยป้องกันการเจ็บ แรงบนั ดาลใจ ท�ำให้มคี วามสุข และยมิ้ ตามได้ในชว่ั
ปว่ ยไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ แมว้ า่ ขณะหนึ่ง
ร่างกายของผู้สูงอายุจะต้องการ
อาหารในปรมิ าณท่ีลดลง แต่ยัง
ต้องการสารอาหารท่ีครบถ้วน
การรับประทานอาหารท่ีดี มี
คุณภาพจึงถอื เป็นสง่ิ สำ� คญั

ถ้าเราทุกคนมีอาหารอยู่ในบ้าน อาหารท่ี
สามารถเก็บกินได้ในทุกฤดูกาล คงจะช่วยแบ่งเบา
ภาระค่าใชจ้ ่ายตา่ งๆ ลงไปไดม้ าก และมั่นใจไดว้ า่ เรา
จะไดก้ นิ อาหารทส่ี ด สะอาดอยเู่ สมอ เพยี งพอตอ่ การ

พนื้ ท่เี ล็กเล็ก 37
น้�ำค้าง ค�ำแดง

ภาพ: ist-palcom.org

“วถิ ีไรเดอร์”

อาชีพสุด ‘ปัง’ หรอื ‘พงั ’ ในยุค นวิ นอรม์ อล๑

ในช่วงที่ โรคติดเช้ือไวรัส ภาพ: theactive.net ไปทำ� ตอนไหนก็ได้ แทจ้ รงิ แล้ว
โคโรนา ๒๐๑๙ หรือโควิด- เปน็ แบบนี้จรงิ หรือ?
๑๙ ก�ำลงั ระบาด เราปฏเิ สธไม่
ได้จรงิ ๆ ค่ะ ว่าไม่มีใครไม่รู้จัก ฉนั มี โอกาสได้คุยกับ
ไรเดอร์ หรือพนักงานผู้ขับขี่ คุณอนุกูล ราชกุณา หรอื
รถจักรยานยนต์ ในการขนส่ง เรย์ เลขาธกิ ารสหภาพไรเดอร์
สินค้า เช่น อาหาร ของใช้ และเป็นแอดมินเพจ สหภาพ
เอกสารฯ ประเภทที่ว่าส่ังปุ๊บ ไรเดอร์ – Freedom Union
มาปั๊ป และยังถือได้ว่าอาชีพ Rider
นี้เป็นอาชพี ฮอตฮิตติดลมบน
เป็นทางรอดของคนจ�ำนวน
มากท่ีไดร้ บั ผลกระทบจากโควิด
แตภ่ าพทด่ี ูหอมหวานดึงดูด ใครจะรู้ว่า แท้จรงิ แลว้
แสนจะข่นื ขมเหมือนโดนทับถมให้จมด่งิ เร่อื งที่เขา
เล่ากันมาว่าเป็นอาชีพชวนฝันของพนกั งานประจ�ำที่
อยากมอี าชีพอสิ ระ กำ� หนดรายไดด้ ว้ ยตวั เอง จะออก

๑ New Normal นิวนอรม์ อล หรือความปกติใหม่ หมายถงึ รูปแบบการด�ำเนินชีวิตอย่างใหม่ที่แตกตา่ งจากอดีตอนั เน่อื งจากมบี างสงิ่
มากระทบ จนแบบแผนและแนวทางปฏบิ ัตทิ ี่คนในสังคมคนุ้ เคยอยา่ งเปน็ ปกติ และเคยคาดหมายลว่ งหนา้ ได้ ตอ้ งเปลยี่ นแปลงไปสู่
วถิ ีใหมภ่ ายใต้หลักมาตรฐานใหม่ที่ไมค่ ุน้ เคย : อา้ งอิงจาก ราชบัณฑิตยสภา

38 ผ้ไู ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

ย้อนกลับไปประมาณ ๔ ปี คุณเรย์เคยสมัคร แพลตฟอร์มให้ความคุ้มครองลูกค้าท่ีสั่งของ
ไรเดอร์ของแพลตฟอร์ม๒ เจา้ หนงึ่ ตอนแรกที่เข้าไป สั่งอาหาร ท้ังการจัดโปรโมช่ันลดราคาเพ่ือแข่งขัน
กับเจ้าอื่นๆ การร้องเรยี นต่างๆ ของลูกค้า บริษัท
ท�ำอะไรๆ ก็ดีไปหมด ไม่เอาเปรียบ ค่ารอบได้เยอะ เหล่าน้จี ะออกกฎระเบียบมากมายเพ่ือเอื้อให้ลูกค้า
โดยไม่เคยถามหาข้อเท็จจรงิ จากพนักงานไรเดอร์
กฎระเบียบยงั ไมค่ ่อยมี อย่างเรา ไรเดอร์เกือบทุกแอปพลิเคชันโดนลดค่า
รอบหมด ทกุ คนตอ้ งกลำ้� กลนื ฝนื ทนกบั คา่ รอบทลี่ ด
“ตอนท่ีเรมิ่ ท�ำผมก็สนุก ไรเดอร์ทุกคนเป็น ลงตลอด และไมม่ ีทางทจ่ี ะเพ่มิ ขน้ึ

เพอ่ื นกัน ร่นุ พ่ีที่ท�ำมาก่อนกจ็ ะแนะน�ำการรับงานให้ กฎระเบียบก็เอาเปรียบ เช่น สมมุติเรากดได้
งานสง่ เค้ก ตวั เลือกท่เี รามคี อื หน่ึง ยอมวิง่ แล้วเคก้
คนใหม่ วันหนงึ่ เราก็เร่มิ เอะใจ เมื่อบรษิ ัทเรยี กเก็บ เละ ก็ควักเงนิ จ่ายค่าเสียหายให้ลูกค้าไป กับ สอง
ยกเลิกงาน แล้วยอมอดวันน้นั เพราะกฎท่ีเขาตั้ง
เงนิ จากไรเดอรค์ นละ ๒๐๐ บาท โดยบอกวา่ ใช้เป็น ขึน้ คอื หากยกเลกิ ออเดอรจ์ ะถกู ระงบั สญั ญาณ ๒๔
ช่ัวโมง ไรเดอร์มีสองตัวเลือกในชีวติ เท่านั้น เราจงึ
หลกั ประกนั หากคนขบั ทำ� สนิ คา้ เสยี หาย แตห่ ากเรา ต้องออกมาขับเคล่ือนโดยร่วมกับหลายภาคส่วน
อาทิ สถาบนั แรงงานและเศรษฐกจิ ทเี่ ปน็ ธรรม (Just
ทำ� สินค้าเสยี หาย เราต้องชดใชค้ ่าสินคา้ เตม็ จำ� นวน Economy and Labour Institute: JELI) และ
American Solidarity Center ซงึ่ เปน็ องคก์ รทำ� งาน
คำ� ถามคือ แล้วเก็บเงินเราไปท�ำไม พอเราเห็นความ วจิ ัยและสนบั สนุนคนงานให้เกิดการรวมกลุ่ม เพื่อ
รว่ มกนั คดิ และหาแนวทางเรยี กรอ้ งสทิ ธิของไรเดอร์
ไม่โปรง่ ใสจงึ คิดวา่ เราต้องท�ำอะไรสักอย่าง
ปัญหาท่ี ไรเดอร์ต้องเจอเม่ือเข้ามาอยู่ ใน ภาพ: hilight.kapook.com

แพลตฟอร์ม โดนลดค่ารอบ การรับคนขับแบบ
ไม่จ�ำกัดจ�ำนวน โดนลดการเข้าถึงงานเพื่อให้
คนใหมๆ่ ไดร้ บั งาน การต้องจ่ายคา่ อุปกรณข์ อง
บริษทั ทง้ั เสอ้ื กระเปา๋ และอืน่ ๆ นอกจากนี้ ยงั
มีสงิ่ ท่ีไรเดอร์ต้องเสียเพ่มิ อีก เช่น เสียค่าเสื่อม
สภาพรถ คา่ นำ้� มนั คา่ โทรศพั ทท์ ตี่ อ้ งเปน็ รนุ่ ใหมๆ่
สญั ญาณอนิ เทอรเ์ นต็ กต็ อ้ งแรง และยงั ตอ้ งเสยี่ ง
กบั อบุ ตั เิ หตุโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ชว่ งโควดิ พวกเรา
มีโอกาสเส่ียงท่ีจะได้รับเชือ้ มากกว่าคนอ่ืน พอ
เห็นอย่างนีแ้ ล้ว มันไม่มีอะไรคุ้มค่าเลย มีแต่ได้
ทำ� แค่พอมเี งินเข้ามาหมนุ แถมยงั ไม่พอเลย้ี งชพี
อีกตา่ งหาก

๒ Platform แพลตฟอรม์ คือ ช่องทางบนโลกออนไลน์ทีร่ วบรวมขอ้ มลู ตา่ งๆ รวมถงึ รวบรวมร้านค้า สินค้า จ�ำนวนมากเข้าไวด้ ้วยกนั
เปน็ พ้นื ที่ทีท่ ำ� ให้ผูซ้ ือ้ และผูข้ ายมาพบกันได้ในโลกโซเชียล ผ่านเว็บไซตแ์ ละแอปพลเิ คชัน

39ผ้ไู ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กันยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔

ภาพ: hilight.kapook.com ท�ำประกันสังคม แต่กระบวนการท�ำงานที่เป็นจรงิ
ไมต่ า่ งจากพนกั งานของบริษทั สถานะทางกฎหมาย
ต อ น น้ี ใ น เ พ จ ท่ี ผ ม เ ป ็ น แ อ ด มิ น มี ส ม า ชกิ ท่ียังคลุมเครือเป็นเหมือนช่องว่างให้ถูกเอาเปรียบ
ประมาณ ๒๐,๐๐๐ กว่าคน แต่คนที่ท�ำอาชพี นม้ี ี ในขณะเดยี วกนั สวสั ดกิ ารตา่ งๆ ท่ีควรจะมี ก็ไมม่ ี
มากกว่านี้อีก ถ้าจะถามผมว่าอาชพี ไรเดอร์ยังเป็น
อาชพี ท่ีน่าท�ำอยู่ไหม ผมตอบในมุมของผมนะ ไม่ ไรเดอร์เป็นอีกกลุ่มอาชพี ที่เกิดอุบัติเหตุบน
นา่ ทำ� ครบั หาอยา่ งอนื่ ทำ� ดกี วา่ เราโดนเอาเปรียบใน ท้องถนนบ่อยมาก ประกันอุบัติเหตุ หรือค่ารักษา
ทกุ ทาง ตอนนมี้ อี ยหู่ น่ึงแพลตฟอรม์ ทอ่ี ยภู่ ายใตก้ าร พยาบาลจึงเปน็ เรื่องทส่ี ำ� คญั และมคี วามจำ� เปน็ มาก
ดูแลของธนาคาร ที่ไรเดอร์จะไม่โดนหักเปอร์เซ็นต์ หรือแม้แต่เร่อื งวัคซีนป้องกันโควิดที่มีความจ�ำเป็น
แต่ผมก็ไม่รู้นะว่าต่อไปเขาจะหักหรอื เปล่า ต้องดู มาก เพราะกลุ่มอาชีพนถี้ ือว่าเป็นผู้มีความเสี่ยงสูง
กนั ไปยาวๆ ครบั ในภาพฝัน ผมกค็ าดหวังว่าเราน่า เรารวมตัวกันเรียกร้องขอวัคซีนท่ีดี ท่ีมีคุณภาพให้
จะมีแพลตฟอร์มของคนไทยที่ไม่เอาเปรียบ ได้มา กบั กลมุ่ อาชีพนี้ ใหเ้ ขาไดฉ้ ดี เปน็ กลมุ่ แรกๆ ทกุ อยา่ ง
ร่วมแบ่งสัดส่วนการให้บรกิ ารกับเจ้าหลักๆ ท่ีมีอยู่ ตอ้ งมาจากการเรียกรอ้ ง รอ้ งขอ ไม่มีใครออกมารับ
ในเรว็ วนั ” ผดิ ชอบช่วยเหลอื

สงสัยไหมคะ ว่าเพราะอะไรบริษัทเจ้าของ ในขณะเดียวกันหน่วยงานรัฐท่ีน่าจะเป็นส่วน
แพลตฟอร์มถงึ ไมด่ แู ลไรเดอร์ให้ดกี ว่านี้? ของงานที่ให้ความคุ้มครองแรงงาน ผลักดันให้
อาชีพนี้เข้าสู่ระบบ แต่กลับกลายเป็นท�ำหน้าที่เป็น
หนว่ ยงานภาครัฐทำ� อะไรไม่ได้เลยหรือ? คนกลางไกลเ่ กลยี่ ใหบ้ ริษทั เจา้ ของแพลตฟอรม์ ซง่ึ มี
และในฐานะผู้ใช้บริการอย่างเราๆ จะมีส่วน รายไดม้ หาศาลจากน้�ำพกั น�ำ้ แรงของคนเลก็ ๆ ในเมอ่ื
ชว่ ยพ่ีๆ ไรเดอร์ได้อยา่ งไร? ไม่มีใครปกปอ้ ง ไรเดอรเ์ อง รวมถึงพที่ เี่ ป็นผู้จดั การ
โครงการสถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม
อีกหน่ึงหน่วยงานที่ไม่พูดถึงไม่ได้ และน่าจะ และเครือข่าย ตอ้ งร่วมมือชว่ ยเหลอื กนั
คลายขอ้ สงสยั ใหก้ ับเราได้
ขอ้ เรียกรอ้ งหลกั ๆ ๒ ขอ้ ขอ้ ที่ ๑ คา่ รอบ หรอื
คณุ สธุ ิลา ลนื คำ� หรอื คณุ บี ผจู้ ดั การโครงการ คา่ ตอบแทนทเ่ี ป็นมาตรฐาน บรษิ ัทจะไมส่ ามารถ
สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจทเ่ี ปน็ ธรรม ปรับขึน้ ลงไปตามอ�ำเภอใจ ข้อท่ี ๒ บรษิ ัทมี
หนา้ ที่ในการคมุ้ ครองความปลอดภยั และชวี ติ ของ
“ค�ำถามท่วี า่ ทำ� ไมบรษิ ัทเจา้ ของแพลตฟอร์ม ไรเดอร์ ผา่ นการใหป้ ระกนั ภยั ตา่ งๆ”
ถึงไม่ให้ความคมุ้ ครองไรเดอร์ เพราะไรเดอร์ไม่ไดม้ ี
สถานะเปน็ ลกู จา้ ง แตม่ สี ถานะเปน็ พารท์ เนอร์ หรือ
ห้นุ ส่วน จึงไมม่ ีความจ�ำเป็นต้องคมุ้ ครองใดๆ หรอื

40 ผไู้ ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

ค�ำถามตอ่ มา แลว้ คนทัว่ ไปในฐานะผู้ใช้บริการ ภาพ: www.facebook.com/JustEconLaborInstitute
จะมีส่วนร่วมอย่างไร
ชวนคุณผู้อ่านมาดูข้อมูลเชิงสถิติสักเล็กน้อย
“อยากให้ออกมามีส่วนร่วมหากเห็นข่าวการ ค่ะ ไม่ใช่ในไทยเท่านน้ั ท่ีต้องเผชญิ กับปัญหา ยังมี
เรียกรอ้ ง ถ้าเป็นไปไดอ้ ยากใหม้ าเปน็ ส่วนหน่งึ หรือ อีกหลายประเทศท่ีต้องเจอกับสถานการณ์เดียวกัน
เลือกใช้แพลตฟอร์มท้องถิน่ ท่ีไม่เอาเปรยี บ อย่าง กับเรา
ตอนน้ีก็มีหลายพ้ืนที่ หลายหน่วยงาน ออกแบบ
แพลตฟอรม์ มาใชก้ ันเอง”

ดูจากข้อเรียกร้องท่ีพี่บีเล่ามา ไม่ได้ยากเกิน
ความสามารถที่หน่วยงานของภาครัฐ หรอื บริษัท
เจ้าของแพลตฟอร์มจะท�ำได้ แม้ตัวฉันเองจะไม่คุ้น
เคยกบั อาชพี นี้ หรืออยู่ในแวดวงนี้ ยงั แอบตงั้ ภาพฝนั
วา่ เราอยากเหน็ ภาครฐั ผซู้ งึ่ เปน็ ตวั แทนของประชาชน
ได้แสดงความรักและปกป้องประชาชนของตนด้วย
การสร้างข้อก�ำหนด มาตรการ ให้บรษิ ัทเจ้าของ
แพลตฟอร์มมีสวัสดิการคุ้มครองไรเดอร์ ในสังกัด
วนั น้ีไดแ้ ต่หวังใหฝ้ นั นน้ั เปน็ จรงิ

ภาพ: www.facebook.com/JustEconLaborInstitute

ทมี่ าจาก Rocket Media Lab (เว็บไซต์ประชาไท)

41ผ้ไู ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

มีตัวอย่างแพลตฟอร์มท่ีได้รับการวจิ ัย จนไป ภาพ: www.hfocus.org
ถึงการน�ำมาทดลองใช้และใช้จริงอย่าง ‘ตามส่ัง-
ภาพ:prachatai.comตามสง่ ’ โครงการพัฒนาชอ่ งทาง ส่ังอาหาร-ส่งคน Cooperative ท่ีให้ความส�ำคัญกับท้ังไรเดอร์ ร้าน
ท่ีเกิดขึน้ มาบนความร่วมมือของวนิ มอเตอร์ไซค์ ค้า และผู้บริโภค เปิดพื้นท่ีให้ทุกฝ่ายร่วมพูดคุยหา
รับจ้างซอยลาดพร้าว ๑๐๑ ร่วมกับส่วนงานต่างๆ รูปแบบการบริการที่พึงพอใจและราคาท่ีเหมาะสม
จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการสนบั สนุน ซงึ่ ถา้ มองจากมมุ สหกรณ์ ‘ตามสงั่ ตามสง่ ’ มเี จา้ ของ
ของส�ำนกั งานสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ซ่ึงมี มากกว่าหนึ่งกลุ่มที่เข้าท�ำหน้าที่เป็นตัวกลางแทน
อาจารยอ์ รรคณฐั วนั ทนะสมบตั ิ นกั วิชาการสถาบนั บรษิ ทั แพลตฟอร์ม
เอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ผู้ประสาน
งานโครงการ ‘ตามสั่ง-ตามสง่ ’ ขณะนี้ ‘ตามสัง่ ตามสง่ ’ ใหบ้ รกิ ารในลกั ษณะ
Community Base หรอื ใช้พ้ืนท่ีเป็นตัวตั้ง เช่น
โครงการ ‘ตามสง่ั ตามสง่ ’ เป็นความพยายาม พื้นที่ลาดพร้าว ไรเดอร์ ร้านค้า และผู้บริโภค จะ
เสนอทางออกจากปญั หาของเศรษฐกจิ แพลตฟอรม์ ดำ� เนินกจิ กรรมกนั เองในพน้ื ท่ี ทำ� ใหเ้ กดิ ขอ้ ไดเ้ ปรียบ
โดยอาศัยฐานความคิดจากเศรษฐกิจสมานฉนั ท์ หากผู้บริโภคต้องการสั่งซื้ออาหารมากกว่า ๑ ร้าน
เป็นการต่อยอดมาจากงานวจิ ัย “ไรเดอร์-ฮีโร่- เพราะแต่ละร้านไม่ไกลกันมาก ไรเดอร์คนเดียว
โซ่ตรวน” ที่ศึกษาแพลตฟอร์มเรยี กรถ, แอร์บี
แอนด์บี (Airbnb)๓ และแม่บา้ น และตอ่ มามีการท�ำ ภาพ: www.hfocus.org
วจิ ัยอีกชิ้นท่ีศึกษาแพลตฟอร์มพนกั งานส่งอาหาร
โดยเฉพาะ ซึง่ มีการน�ำเสนอผลวจิ ยั ไปเมอ่ื วนั ที่ ๓๑
สิงหาคม ๒๕๖๔

ขออนุญาตยกบทสัมภาษณ์ตอนหน่ึงจากเว็บ
ประชาไท ที่ได้สมั ภาษณ์ไว้อยา่ งน่าสนใจ

อาจารย์อรรคณฐั พูดไว้ว่า “โครงการ ‘ตาม
สั่ง ตามส่ง’ อาศัยแนวคิดเศรษฐกิจสมานฉันท์มา
แกป้ ัญหา โดยมีลักษณะเป็น Multi Stakeholders

๓ สตาร์ทอัพเกี่ยวกับการแบ่งปันที่พักท่ีได้รับความนยิ มอย่างมากทั่วโลก ด้วยแนวคิดการท�ำธุรกิจที่ให้ผู้คน ใครก็ตามที่มีห้องว่าง
สามารถเปดิ ห้องให้ผอู้ ืน่ มาเชา่ ได้ เปดิ หอ้ งให้นักทอ่ งเท่ยี วจากท่ัวทกุ มุมโลกเขา้ พักได้ อา้ งอิงจาก https://startitup.in.th

42 ผไู้ ถ่ ฉบับท่ี ๑๑๗ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

สามารถไปซ้ืออาหารได้ ซ่ึงแพลตฟอร์มใหญ่ๆ ท�ำภาพ: www.hfocus.org สายบุร,ี เบตง เป็นต้น (ขอบคุณข้อมูลจากเว็บ
ไม่ได้ ในกรุงเทพฯ เราใช้วินมอเตอร์ไซค์เป็นหลัก ภาพ: www.facebook.com/JustEconLaborInstituteประชาไท)
ดังน้ัน เขาจะมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจของเขาอยู่
แล้ว อย่างการส่งผู้โดยสาร การส่งอาหารเป็นราย นอกจากแพลตฟอร์มอาชีพไรเดอร์แล้ว ยังมี
ได้เสรมิ กิจกรรมตัวนเ้ี ป็นโอกาสที่เพิ่มขนึ้ มา เขาก็ แพลตฟอร์มอาชีพแม่บ้าน พนักงานนวดไทย ช่าง
ไม่ได้รู้สึกว่ามันมีปัญหาอะไรกับการมีตรงน้ีอยู่ ไม่ ตัดผม ฯลฯ ที่ได้รับผลกระทบจากกฎระเบียบของ
ได้มีต้นทุนมากมาย แต่ถ้าเขาสแตนด์บายเพื่อจะ บริษทั เจา้ ของแพลตฟอรม์ อยา่ งไมเ่ ปน็ ธรรม กฎทม่ี ี
ท�ำอันน้ีโดยตรง มันยังอยู่ไม่ได้ตอนนี้ ไม่สามารถ ไวส้ ำ� หรบั คมุ้ ครองและใหส้ ทิ ธพิ เิ ศษกบั ลกู คา้ จนลมื
เป็นอาชพี ๆ เดียวได้ แต่อย่างร้านค้าก็มีอาชพี ของ มองคา่ ความเปน็ คนของคนทอ่ี ยภู่ ายใตแ้ พลตฟอรม์
ตวั เองอยู่แลว้ คอื ขายอาหาร การมีช่องทางน้ีเพมิ่ รวมไปถึงทัศนคติของคนบางกลุ่มในสังคมที่ ใช้
ก็เปน็ โอกาส ย่งิ เปน็ ร้านทอ่ี ย่บู นแพลตฟอร์มอยู่ ถ้อยคำ� ดูถกู ไม่ให้เกยี รติ หรือตอ่ วา่ เรอื่ งการพดู จา
แล้วก็ตอบโจทย์หลายอยา่ ง หนึง่ รับเงนิ สดเลย การบรกิ าร ของกลุ่มอาชพี นีบ้ นโลกโซเชียล ท่ีมีให้
สอง ไมต่ อ้ งเสีย ๓๐ เปอร์เซน็ ต์ แล้วหลายรา้ นก็ เห็นกนั อยบู่ ่อยๆ
ยงั ขายแพลตฟอรม์ อน่ื ไปดว้ ย ขายของเราไปดว้ ย
คือเป็นทางเลือก ลดตน้ ทุนการบริโภคของคนใน หากพ้ืนฐานทางความคิด เราไม่ได้มองว่า
ชมุ ชน เพม่ิ โอกาสทางอาชพี ใหก้ ับวนิ เพ่มิ โอกาส คนมีค่าเท่ากับคน เราก็คงเห็นภาพเหล่านต้ี ่อไป
การขายแบบไม่ต้องเสยี คา่ ใช้จ่าย” เรอ่ื ยๆ อย่าปล่อยให้ผู้รบั โทษจากสังคม เปน็ คน
เล็กๆ ท่ีหาเช้ากินค่�ำ เพราะแท้จรงิ แล้ว ผู้ท่ีบีบ
ปัจจุบันโครงการมีการสร้างโมเดลไว้ท้ังหมด บังคับ คือเจ้าของแพลตฟอร์ม โดยมีเราซ่ึงเป็น
๑๓ พ้ืนที่ บางสว่ นเรมิ่ ทำ� แล้วและบางสว่ นอยู่ในขัน้ ลกู คา้ รว่ มกดข!่ี
ตอนการดำ� เนินการ เชน่ ลาดพรา้ ว ๑๐๑, สามยา่ น,
เพชรเกษม, กลุ่มหาบเร่แผงลอยที่บางขุนเทียนกับ
หมู่บ้านนักกีฬา, ลาดกระบัง, คลองเตย, ภูเก็ต,

นกเขาครวญ อาลัยกงิ่ ท่เี คยเกาะ 43
หญ้าน้�า ทุง ขนุ หลวง

ครกหนิ เครอ่ื งแกง
ผมมำถึงดินแดนในหุบเขำ
อีกครั้ง เวลำหน้ำฝน เมฆ ‘ใส่บวบด้วยคงจะอร่อย
โตเร็วจรงิ วันก่อนยังลูกเล็กๆ

รำ่ ยรำ� ตอนเชำ้ ฝนเลอื กเวลำตก อย่เู ลย’

ได้ทั้งกลำงวันกลำงคืน ต้นไม้ ‘ตะไครส้ ำมสต่ี น้ เลอื กเอำ

ตน้ หญำ้ สดเขยี ว ปกี นกปำ่ นำนำ กอโคนตน้ อวบๆ ขม้นิ กระเทยี ม

ชนดิ เปยี กปอน นอนอำบน้ำ� ฝน มแี ลว้ พรกิ ไทยด�ำมแี ลว้ ขุดหวั

บำงวัน หยดน�ำ้ ค้ำงจำกใบไม้ ข่ำไปอีกหน่อย เก็บใบโหระพำ

กระโดดลงผืนดินข้ำมวันข้ำม ไปด้วย’

คืน รำวกับจะกังวำนไปถึงแนว เดินผ่ำนแปลงผักกำด

ก�ำแพงภูเขำที่อยู่ไกลออกไป บ้ำนหลังน้อยๆ ท่ีตั้ง เก็บใบผักกำดอีกหนึ่งก�ำมือ มีต้นผักชีให้พอเก็บ

อยู่บนไหลเ่ ขำสูง ไม่ต่ำงจำกรงั นอ้ ยๆ ของนกปำ่ สกั ได้ เวลำผ่ำนไปไม่นำน ผมได้วัตถุดิบประกอบเป็น

ตัวหนึ่ง ซกุ อยู่ท่ำมกลำงดงไม้ เครอ่ื งแกงขึ้นมำได้แลว้

ควำมเงยี บ ปกคลุมไปท่ัวอำณำบริเวณ เสยี ง

รอบตวั เต็มไปดว้ ยเสยี งจำกธรรมชำติปำ่ เขำ

‘ครกหินเครอื่ งแกง’ เหมือนเสียงของควำม

รสู้ ึกเข้ำมำแทรก

พริกต้นใหญ่เรียกผมให้เดินเข้ำไปหำ ดกดื่น

เต็มต้น กอกล้วยอยู่ใกล้ๆ ก�ำลังแทงปลีเครอื ใหม่

ออกมำ เครอื ออ่ นบนตน้ ใกลๆ้ กำ� ลงั โต อกี เครือใกล้

แกเ่ ตม็ ที เดด็ ปลำยใบกลว้ ยมำโพง๑ ใสพ่ รกิ สด พลนั

สำยตำมองเหน็ บวบลกู งำม กำ� ลงั หอ้ ยโหนอยู่ใตเ้ ถำ

เล้ือยขนึ้ ตน้ มะมว่ ง

๑ โพง ควำมหมำยจำก พจนำนุกรมแปล ไทย-ไทย อ.เปล้อื ง ณ นคร หมำยถงึ ก. ตกั วดิ เช่น โพงนำ�้

44 ผู้ไถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กันยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔

ส่ิงขบั เคลอ่ื นชีวติ ไปได้ มคี รกหนิ เครือ่ งแกง ตำ� ๆๆ ตำ� ๆๆ ตำ� เขา้ ไป จากแผว่ ๆ เบาๆ จนหนกั
รวมอยดู่ ้วย มือหนักแรง เสียงยิ่งดังสะท้อนกอ้ งหุบเขาออกไป

‘ไมม่ ีครกหนิ เครอื่ งแกง ชีวิตคงอับเฉา’ ‘ใครแอบมาตำ� ครกเคร่อื งแกงอยูท่ ้ายหมู่บา้ น’
พดู กับแมว หรือพูดกบั สงิ่ ใด ก็ยงั เป็นเสยี งพดู แม้ไม่มีใครสงสยั มอื ตำ� ก็อดสงสยั ไม่ได้ ขน้ั
อยูข่ ้างใน ความสุขคอื อะไร ความโดดเด่ยี วในยคุ เช้อื ตอนการตำ� เครอ่ื งแกง ต้องการความนิง่ สงบอยา่ ง
โรคไวรัสโควิดพัดพาไปทุกหนแห่ง ไม่เว้นเมืองและ ที่สุด เพ่ือให้วัตถุดิบแต่ละอย่างแตกตัวแทรกซึม
ชีวติ กลางป่าเขา ยามนยี้ ามยาก ห่างเมืองห่างใคร หากันได้แนบสนทิ กลิน่ ผสมเริ่มคลุ้งโชยจมูก จาก
ห่างหมู่บ้านห่างใครได้ ห่างๆ กันไว้ ก็จะได้อยู่รอด หยาบจนแหลกละเอียดคามือ เป็นเครือ่ งแกงสูตร
ปลอดภัย ปลอบโยนและต้ังความหวังไว้ พึ่งพา ท�ำมอื อันแตกต่าง
ตวั เองไว้ใหม้ ากทส่ี ุด

ครกหินเครอื่ งแกงลูกน้มี ีอายุปีผ่านนายก
รัฐมนตรมี ามากกว่าสิบคน มากพอจะเคลิบเคลิม้
กบั นโยบายตง้ั ความหวงั ใหก้ บั ประชาชน อยดู่ กี นิ ดี มี
ความหวัง และมีความสุข มเี งนิ มอี าหารมากพออยู่
พอกิน น่ันสิ จะฝากความหวังปากทอ้ งไว้กบั ใครได้

ในนามของเน้ือหมูหนงึ่ ชิ้นแช่ฟรซี ช้ินส่วน
วัตถดุ ิบจากเมอื ง กับพืชผักในสวน ผมเหน็ ผลเบอ้ื ง
ปลาย มอื้ อาหารทอี่ าศยั พชื ผกั มาชมุ นมุ จะกลายรา่ ง
เป็นอาหารอกี อยา่ ง

ไมห่ นักหัว ไม่หนกั ไหล่ และไม่ฝันรา้ ย
พริกสดเผ็ดจัดจ้าน พริกแห้งเผ็ดเพิม่ สี พรกิ
ไทยดำ� ร้อนแรง กระเทียมกล่ินไมม่ เี ทียบเทียม ขมิ้น
สกี ลน่ิ เฉพาะ ตะไครห้ อมรสย่งิ กวา่ ใดๆ เพียงแค่น้กี ็
ไมต่ อ้ งไปรอ้ งขอความสงสารจากท่ีใด

45ผูไ้ ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กันยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔

อาหารเปน็ วิถชี ีวิต อาหารเปน็ ทอี่ ยทู่ ย่ี นื ของ
จิตใจ การปลกู พชื ผกั ไวก้ นิ เอง ปรงุ อาหารดว้ ยตวั
เอง เปน็ ความมงั่ คงั่ มากมายในชีวิต มแี ตค่ วามอมิ่
เตม็ ขยายออกไปจากพ้นื ที่ภายในใจ

ในโลกของอาหาร ภาวะใจยังชอบเข้าไป
เกาะเกยี่ ว ใจหวิ กายหิว ใจเคล่ือน กายเคล่อื น แต่
ครกหินเคลื่อนไหวเมื่อไหร่นัน้ หมายถึงการกลับ
มาสู่พื้นท่ีภายในด้วยความเอาใจใส่อย่างแท้จรงิ
เสมอ

เนอ้ื เป็นช้นิ ยามหลอม
รวมกับบวบ มะเขือ พริกหยวก
มันเทศ มะเขือพวง ใบยี่หร่า
ใบผักชี ผสมลงในน้ำ� กะทิข้น
คลั่ก กลายเป็นแกงคั่วหมูผัก
รวม อย่างทอ่ี ยากใหเ้ ปน็

ทห่ี มายของเคร่อื งแกง กบั
รวมผักในกลิ่นกะทิ เป็นอาหาร
จานเด็ดท่ีดูเหมือนง่ายข้นึ มาได้
ทันที

ไม่ใช่เรอื่ งยากอะไร หากจะตักใส่ถ้วยย่ืนให้
เพ่ือนบ้านสักถ้วย เป็นแกงก�ำนลั ยามได้นึกถึงกัน
อยากให้อิม่ อร่อยร่วมกัน ไม่ให้ตกหล่นในน้�ำมิตร
จิตใจของกันและกนั

ความสุขของครกหินเครอื่ งแกงปรากฏชัดเจน
อาหารบนเตาเปน็ อาหารของใจดว้ ย การเดนิ ทางของ
วัตถุดิบสู่กาย เป็นความมหัศจรรย์แห่งอารยธรรม
การอยกู่ ารกิน ตกทอดกันมารนุ่ ตอ่ รุ่นคน

สถานการณ์ชีวติ และโลกท่ีเปล่ียนไปมาก ครก
หินเคร่ืองแกงยังเปน็ สิ่งหล่อเล้ยี งใจ เล้ียงกาย เป็น
อาหารได้ด่ังใจ การกลับมาสู่ครัวเรือน กลับมาสู่
ภายในอยา่ งแทจ้ ริงอกี อยา่ งหน่งึ

เรอ่ื งงา่ ยๆ ใกล้ตวั และอย่กู บั ตวั ในชีวิตประจ�ำ
วนั เราคงไม่ปล่อยให้ครกหนิ เงียบงนั หากไม่ได้ยนิ
เสยี งครกเสยี งสาก ชวี ติ ก็ขาดรสชาติไปอกี อยา่ ง

46 บทความ
องอาจ เดชา : รายงาน/เรยี บเรยี ง

ร่าง พ.ร.บ. สภาชนเผ่าพ้นื เมืองฯ

“เราตอ้ งการยืนยนั สิทธิความมีตวั ตนของคนชาตพิ นั ธุ์ในไทย”

เ ป ็ น ท่ี รั บ รู ้ กั น ดี ว ่ า ว่าด้วยสิทธชิ นเผ่าพ้ืน
ประเทศไทย เรา เมืองที่รัฐบาลไทยร่วม

มี ช น เ ผ ่ า พ้ื น เ มื อ ง ใ น รับรองไปเม่ือปี พ.ศ.

ประเทศไทย ท่ีหลาก ๒๕๕๐ จนท�ำให้เกิดการ

ห ล า ย ก ลุ ่ ม ช า ติ พั น ธุ ์ เลือกปฏิบัติ มีการข่มขู่

และกระจายตัวอยู่ท่ัว จับกุม คุมขัง และเรียก

ทุกภูมิภาค จากข้อมูล คา่ ปรับอยู่บอ่ ยครงั้

ของเครือข่ายชนเผ่าพื้น นอกจากนช้ี นเผ่า­

เมืองแห่งประเทศไทย ภาพ: theactive.netพื้ น เ มื อ ง ส ่ ว น ใ ห ญ ่

(คชท.) ในประเทศไทย อยู่ ในสภาวะสูญเสีย

ป ี ๒ ๕ ๖ ๔ ไ ด ้ มี ก า ร อัตลักษณ์ ภาษา และ

ส�ำรวจจ�ำนวนประชากร วัฒนธรรมท้องถน่ิ ของ

ท่ียอมรับว่าตนเองเป็น ตนเองไปอย่างรวดเร็ว

ชนเผ่าพ้ืนเมืองประมาณ อีสาน หรือกลุ่มชาวเล วัฒนธรรมชุมชนและขัด อกี ทง้ั กระแสโลกาภวิ ฒั น์

๔๓ กลุ่มชาติพันธุ์ มี ชนเผา่ พน้ื เมอื ง มอแกลน กับหลักเจตนารมณ์ของ และกระบวนการพัฒนา

จ�ำนวนประชากรท้ังหมด อูรักลาโว้ย อยู่ในแถบ ปฏิญญาสหประชาชาติ ประเทศท่ีมีพลังดึงดูด

ประมาณ ๔ ลา้ นกวา่ คน จังหวัดภูเก็ต พังงา และ

กระจายอยทู่ ว่ั ทกุ ภมู ภิ าค ระนอง เป็นต้น

ของประเทศไทย อาทิ แ ล ะ แ น ่ น อ น ว ่ า

กลุ่มชาติพันธุ์ ม้ง, เย้า, ชนเผ่าพื้นเมืองกลุ่ม

กะเหรยี่ ง, อาข่า, ลีซู, เหล่าน้ี ยังคงประสบ

ลาหู่, คะฉ่ิน, ไทใหญ่, ปัญหาจากสถานการณ์

ดาระอ้ัง ซึ่งส่วนใหญ่ ความขัดแย้ง ความไม่

จะอยู่แถบภาคเหนือ เป็นธรรมอยู่มากมาย

นอกจากนนั้ จะมีกลุ่ม ทั้ ง ใ น เ รื่อ ง น โ ย บ า ย ภาพ: theactive.net

มอญ อยู่ในแถบภาค กฎหมาย และมาตรการ

กลาง ตะวันออก มีลาว ท่ีถูกน�ำไปปฏิบัติแบบ

โซ่ง, กูย ที่อยู่ทางภาค ไ ม ่ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ วิถี

47ผู้ไถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กันยายน - ธันวาคม ๒๕๖๔

เยาวชนและคนวยั ทำ� งาน แหง่ ประเทศไทย (คชท.)

อ อ ก จ า ก ชุ ม ช น ไ ป สู ่ บอกเล่าให้ฟังในฐานะ

เมืองมากขน้ึ เพ่ือให้มี ท่ีเป็นตัวแทนพ่ีน้องชน

มาตรการขจัดการเลือก พื้นเมืองอาข่า มองว่า

ปฏิบัติ มีการส่งเสริม ปัญหาหลักๆ จะเป็น

และคุ้มครองสิทธิชนเผ่า เร่ือง ป่าไม้ ที่ดิน และ

พ้ืนเมอื ง พร้อมท้งั สรา้ ง สัญชาติ ซ่ึงเรื่องป่าไม้

หลักประกันการยอมรับ ทดี่ นิ กจ็ ะคลา้ ยกบั พน่ี อ้ ง

การมีตัวตนของชนเผ่า กลมุ่ อนื่ ๆ คอื ชมุ ชนทอี่ ยู่ ภาพ: theactive.net

พ้ืนเมืองในประเทศไทย ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติ

และมีกลไกหนุนเสรมิ หรือป่าสงวน มีปัญหา

การพฒั นาศกั ยภาพแกน ในเร่ืองสทิ ธิในการทำ� กนิ

น�ำทั้งหญิง ชาย และ และอยอู่ าศยั อยา่ งมนั่ คง

เยาวชนของชนเผ่าพ้ืน และมีข้อจ�ำกัดในการใช้ สวัสดิการต่างๆ จาก ใหม่ ไม่อยากให้มองว่า

เมืองให้สามารถแก้ไข ทด่ี นิ และทรพั ยากรตา่ งๆ รัฐ โดยเฉพาะกลุ่มท่ีมี เป็นกลุ่มท่ีสร้างภาระให้

ปญั หาของตนเอง ตลอด ด้วย ปญั หาซำ้� ซอ้ น เชน่ พกิ าร กับรัฐ หรือเป็นกลุ่มท่ี

จนให้ชนเผ่าพ้ืนเมืองได้ “เร่อื งสญั ชาติ ชาว หรือป่วยเป็นโรคร้าย มีแต่ปัญหา แต่อยาก

มีส่วนร่วมในการพัฒนา อาข่ายังมีคนตกหล่น แรง พอไม่มสี ัญชาตกิ ็ไม่ ให้มองว่าเป็นพลเมือง

ชุมชนและประเทศชาติ ไม่ได้สัญชาติอยู่หลาย สามารถใช้สิทธิบัตรทอง ไ ท ย ก ลุ ่ ม ห นง่ึ ท่ี ค ว ร

ท่ียั่งยืน และสามารถ หม่ืนคน ท�ำให้พวกเขา ได้ ทำ� ใหม้ ภี าระค่าใชจ้ า่ ย ต้องได้รับการพัฒนา

ก�ำหนดวถิ ีชีวติ ตนเอง ไม่ได้รับและเข้าไม่ถึง ในการรักษาพยาบาลสูง หรอื ยกระดับศักยภาพ

ไดจ้ รงิ อยู่อย่างยากล�ำบาก ยงิ่ เพื่อให้มีคุณภาพชวี ติ ที่

วิไลลักษณ์ เยอ­ ช่วงนส้ี ถานการณ์โควดิ ดี และเป็นก�ำลังส�ำคัญ

เบาะ ตัวแทนชนเผ่า ท�ำให้พวกเขามีงานลด ในการพัฒนาประเทศ

พ้ืนเมืองอาข่า ปัจจุบัน ลง แต่มีรายจ่ายท่ีสูง กลุ่มหน่ึง โดยเฉพาะ

เป็นรองผู้อ�ำนวยการ และไม่ได้รับการเยียวยา ในภาคการเกษตร ชน

สมาคมศูนย์รวมการ ใดๆ ท�ำให้ใช้ชวี ติ อย่าง เผ่าพื้นเมืองถือเป็น

ศึ ก ษ า แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ยากล�ำบากพอสมควร” กลุ่มท่ีมีการผลิตพืชผล

ข อ ง ช า ว ไ ท ย ภู เ ข า ใ น วิไลลักษณ์ ยังพูด การเกษตรท่ีใหญ่และ

ประเทศไทย (ศ.ว.ท./ ถึงเรื่องทัศนคติของรัฐ เป็นส่วนส�ำคัญในการ

IMPECT) และ ไทยท่ีมีต่อชนเผ่าพื้น ขับเคล่ือนเศรษฐกิจของ

ก อ ง เ ล ข า นุ ก า ร เมืองด้วยว่า อยาก ประเทศไทยเป็นอย่าง

เ ค รอื ข ่ า ย ช น ใหร้ ฐั มองพลเมอื ง มาก เพียงแต่พวกเขา

เ ผ ่ า พื้ น เ มื อ ง ชนเผ่าพื้นเมือง ขาดการสนับสนุนอย่าง

ภาพ: www.facebook.com/impectTH 48 ผ้ไู ถ่ ฉบบั ท่ี ๑๑๗ : กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๖๔
ภาพ: Facebook page IMN เค ืรอข่ายสื่อชนเ ่ผา ้ืพนเ ืมอง
ในยคุ ลม่ สลายทางภาษา เดียว เล่าให้ฟัง
และวัฒนธรรม ซ่ึงเป็น วา่ ประวัตศิ าสตรด์ ้งั เดิม
สง่ิ ท่ีน่าเป็นห่วง และ ของพี่น้องชาวเล อูรัก­
ตอ้ งรีบฟน้ื ฟหู รอื อนรุ กั ษ์ ลาโว้ยนน้ั ท�ำมาหากิน
อย่างเรง่ ด่วนเลย” ตามหมู่เกาะต่างๆ ใน

เชน่ เดียวกบั เดียว แถบทะเลอันดามัน พี่
ท ะ เ ล ลึ ก ตั ว แ ท น พี่ นอ้ งเราอยกู่ นั มานานนบั
น้องชาวเล อูรักลาโว้ย ร้อยปี จนถึงในช่วงยุค
เกาะลันตา จังหวัดกระบ่ี สงครามโลกครั้งที่สอง
เป็นองค์รวม เช่น ไม่มี ศึกษานนั้ เป็นฐานส�ำคัญ และเป็นผู้ประสานงาน ได้มีการปักเขตแดนกัน
สัญชาติก็ไม่สามารถเข้า ในการพัฒนาคน การ เครือข่ายชนเผ่าพื้นเมือง แถบมะรดิ ทวาย ตะนาว
ถงึ แหลง่ ทนุ ในการลงทนุ ศึกษาควรจะสร้างคนให้ ภาคใต้ ได้เล่าถึงปัญหา ศรี เม่ือก่อนนั้นเป็นของ
ได้ หรอื บางชมุ ชนอยหู่ า่ ง สมบูรณ์ ในทุกๆ ด้าน ของพ่ีน้องชาวเล ชนเผ่า ไทย แต่ต่อมามีการแบ่ง
ไกลท�ำให้ไม่มีถนน ไม่มี แต่ปัจจุบันต้องยอมรับ พ้ืนเมืองอูรักลาโว้ย เอา ดินแดนกลายเป็นของ
ไฟฟ้า ไม่มีสัญญาณ ว่า การศกึ ษาก�ำลงั พราก ไว้ในวงเสวนาออนไลน์ พม่า แล้วฝั่งอันดามัน
มือถือ หรอื อินเทอร์เน็ต คนออกจากครอบครัว “ฟังเสียงชาวเล เม่ือ ท า ง ใ ต ้ ก็ ไ ป ขน้ึ กั บ
ท�ำให้ยากต่อการค้าขาย ออกจากถ่นิ และองค์ พ้ืนท่ีจิต วญิ ญาณถูก มาเลเซยี ซง่ึ ตอนน้นั เกาะ
หรอื ขนส่งสินค้าต่างๆ ความรู้ภูมิปัญญาดีงาม คุกคาม” ท่ีทางเครือ­ หลีเป๊ะจะต้องประกาศ
เป็นต้น ของท้องถน่ิ ขณะน้ี เรา ข่ายสื่อชนเผ่าพื้นเมืองฯ เป็นของมาเลเซีย แต่
“เร่ืองความเป็น มีชนเผ่าพ้ืนเมืองหลาย ได้จัดขนึ้ เม่ือวันที่ ๒๓ ว่าสมัยรัชกาลที่ ๕ ได้
พลเมือง อยากให้รัฐรีบ กลุ่มชาติพันธุ์ ก�ำลังอยู่ ตลุ าคม ๒๕๖๔ ที่ผ่านมา มีการอพยพโยกย้ายพ่ี
แก้ไขระเบียบ นโยบาย
หรือกฎหมายที่เก่ียวกับ
สถานะบุคคล ให้เอื้อ
ห รือ พิ จ า ร ณ า ก า ร ใ ห ้
สัญชาติได้อย่างรวดเร็ว
และครอบคลุมมากขนึ้
สำ� หรบั บคุ คลทร่ี อพสิ จู น์
สถานะบุคคลอยู่ โดย
เนน้ การทำ� งานอยา่ งเปน็
ระบบและเป็นรูปธรรม
ร ่ ว ม กั บ ห น ่ ว ย ง า น ใ น
ระดบั พนื้ ที่ สว่ นเรอ่ื งการ
ศึกษา ดิฉันมองว่าการ


Click to View FlipBook Version