The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติดนตรีไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ไอ วุ้น., 2023-02-10 20:30:34

ประวัติดนตรีไทย

ประวัติดนตรีไทย

ประวัติดนตรีไทย จัดท ำโดย นำงสำว นิลปัทม์ บัวแก้ว ม.5/2 เลขที่15 เสนอ คุณครู มนฐำรัตน์ ฤทธ ิ ์ ชยั โรงเรียนเทศบาล (6) วัดตันตยาภิรม


คำนำ ดนตรีไทย เป็นศิลปะในด้านการแสดงของคนไทย ซึ่งแสดงถึงภูมิปัญญาเฉพาะท้องถิ่น ที่มี การปรับเปลี่ยน แก้ไข เปลี่ยนแปลง ถึงแม้จะมีความใกล้เคียง กับดนตรีในหลายประเทศเพื่อนบ้าน แต่ดนตรีไทย ได้สร้างความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ มาจนเป็นที่จดจำของคนทั่วไป ทั้งชาวไทย และ ชาวต่างชาติปัจจุบัน ดนตรีไทย ถูกแรงอิทธิพลทั้งทางสังคม กาลเวลา และการเข้ามาของดนตรี ต่างชาติ ทำให้ดนตรีไทยค่อยลดความสำคัญ และความนิยมในสังคมเรื่อยมา ทั้งนี้ อาจจะเกิดจาก การไม่สนับสนุนในสังคม การไม่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐอย่างจริงจัง ทำให้ดนตรีไทยได้รับ ความนิยมลดลงและหมดความสำคัญไปในที่สุด รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นสำหรับผู้ที่สนใจศึกษาดนตรีไทย รวมถึงประชาชนคนไทยทั่วไป เพราะทำให้เราได้รับรู้ถึงที่มา การก่อกำเนิดของดนตรีไทย วิวัฒนาการในช่วงต่างๆ ทำให้รับรู้ได้ถึง ความอัจฉริยะ ของคนโบราณ ความสามารภ รวมถึงความปราณีต ความสร้างสรรค์ ที่ทำให้ดนตรี ไทยมีความงามในเรื่องรูป และเสียงมาจวบจนปัจจุบัน ผู้จัดทำ หวังอย่างยิ่งว่า (รายงาน หรือ โครงงาน) ฉบับนี้ จะเกิดแรงกระตุ้นให้ผู้ได้อ่าน ได้เกิดความรู้สึกสำคัญ และหวงแหนศิลปะที่บ่งบอ งถึงความเป็นชาติไทยนี้ ให้คงอยู่ มิให้ได้ลืมเลือน หรือเขียนไว้ให้อ่านเพียงในหน้าประวัติศาสตร์ หน้าหนึ่ง ของไทย เท่านั้น หากรายงานเล่มนี้ผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี่ด้วย นางสาว นิลปัทม์ บัวแก ้ว ม.5/2 เลขที่15


สารบัญ เรื่อง หน้า ประวัติดนตรีไทย 1 - 5 ลักษณะ 6 วงดนตรีไทย 7 ประเภทเครื่องดนตรีไทย 8 – 9 อ้างอิง 10


เครื่องดนตรีไทยเกิดจากชนชาติไทยเองและการเลียนแบบชน ชาตอินื่ๆ ทอี่ยใุ่กลช้ดิ โดยเรมิ่ตัง้แตส่มัยโบราณทไี่ทยตัง้ถนิ่ฐาน อยู่ในอาณาจักรฉ่องหวู่ดินแดนของประเทศจีนในปัจจุบัน ท าให้ เครื่องดนตรีไทยและจีนมีการแลกเปลี่ยนเลียนแบบกัน นอกจากนี่ ยังมีเครื่องดนตรีอีกหลายชนิด ทชี่นชาตไิทยประดษิฐข์นึ้ใชก้อ่นที่ จะมาพบวัฒธรรมอนิเดยี ซงึ่แพรห่ลายอยทู่างตอนใตข้องแหลม อนิ โดจนี ส าหรับชอื่เครอื่งดนตรดี ัง้เดมิของไทยจะเรยีนตามค า โดดในภาษาไทย เชน่เกราะ โกรง่กรับ ฉงิ่ฉาบ ขลยุ่พณิเป๊ียะ ซอ ฆ ้องและกลอง ต่อมาได ้มีการประดิษฐ์เครื่องดนตรีให้ พัฒนาขึ้น โดยน าไม ้ที่ท าเหมือนกรับหลายอันมาวางเรียงกันได ้ เครื่องดนตรีใหม่ เรียกว่าระนาดหรือน าฆ ้องหลาย ๆ ใบมาท าเป็น วงเรียกว่า ฆ ้องวง เป็นต ้น นอกจากนี้ยังมีการผสมผสานกับวัฒนธรรมทางดนตรี ของอินเดีย มอญ เขมร ในแหลมอินโดจีนที่ไทยได ้ย ้ายไปตั้งถิ่น ฐานอยู่ ไดแ้ก่พณิ สงัข์ปี่ไฉน บัณเฑาะว์กระจับปี่จะเข้โทน (ทับ) เป็ นตน้ตอ่มาเมอื่มคีวามสมัพันธก์บั ประเทศเพอื่นบา้นมาก ขึ้น ไทยได ้น าบทเพลงและเครื่องดนตรีบางอย่างของประเทศ เพอื่นบา้นมาบรรเลงในวงดนตรไีทย เชน่กลองแขกของชวา กลองมลายูของมลายู เปิงมางของมอญ และกลองยาวของไทย ใหญท่พี่มา่น ามาใช้รวมทัง้ขมิมา้ลอ่และกลองจนี ซงึ่เป็ นเครอื่ง ดนตรขีองจนีเป็ นตน้ตอ่มาไทยมคีวามสมัพันธช์าวกบัตะวันตก และอเมรกิา ก ็ไดน้ ากลองฝรั่ง เชน่กลองอเมรกินัและเครอื่งดนตรี อนื่ๆ เชน่ ไวโอลนีออรแ์กน มาใชบ้รรเลงในวงดนตรขีองไทย จากประวัติเครื่องดนตรีไทยดังกล่าว สามารถแบ่งประวัติศาสตร์ ของเครื่องดนตรีไทยได ้เป็นสมัย 4 ดังนี้


สม ัยสุโขท ัย ชาวไทยมีความสนุกสนานกับการเล่นดนครีและร้องเพลง กนัมากดังทปี่รากฏในหลักศลิาจารกึพอ่ขนุรามค าแหงหลักที่ 1 ว่า "ดบงคมกลอง ดว้ยเสยีงพาทย์เสยีงพณิเสยีงเลอื้น เสยีงขบั ใคร จักมักเลน่เลน่ ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลอื้น เลอื้น" ซงึ่แลดง ถงึการบรรเลงเครอื่งดนตรปีระเภทตีเป่า ดดีและสีคอืกลอง ปี่ พณิและเครอื่งดนตรทีมี สีายไวส้ ไีด้นอกจากนยี้ังมหีลักฐานของ ลา้นนาไทยทมี่ศีลิ ปวัฒนธรรมรว่มสมัยกนั ในหลักศลิาจารกึ ในวัด พระยืน จังหวัดล าพูน ที่จารึกไว ้ว่า "ให้ถือกระทงข ้างตอกดอกไม ้ ไตเ้ทยีน ตพีาทยด์ ังพณิฆอ้งกลอง ปี่สรไนพสิเนญชยัทะเทยีด กาหลแตรสงัมาลยก์งัสดาล มรทงคด์งเดอืด เสยีงเลศิเสยีงกอ้ง อกีทัง้คนรอ้งโหอ่อื้ดาสรทา้นทั่งทัง้นครหรภิญุชยัแล" ซงึ่แสดง ถึงเครื่องดนตรีบรรเลงในวงดนตรี และประชาชนน ามาเล่นเพื่อ ความสนุกสนานครึกครื้นกัน ดังนั้นจึงสามารถกล่าวถึงเครื่องดนตรี ไทยในสมัยสุโขทัยได ้จากวงดนตรีไทยในสมัยนั้น ได ้แก่ วงแตร สงัข์ทใี่ชบ้รรเลงในพระราชพธิตีา่ง ๆ ประกอบดว้ยเครอื่งดนตรี แตรฝรั่ง แตรงอน ปี่ไฉนแก ้ว กลองชนะ บัณเฑาะว์ และมโหระทึก วงปี่พาทย์เครื่องห้าประกอบด ้วย ปี่ใน ฆ ้องวง ตะโพน กลองทัด และฉงิ่นอกจากนยี้ังมเีครอื่งดนตรเีชน่พณิและซอสามสาย อยู่ ในสมัยนั้นอีกด้วย


สม ัยอยุธยา เป็ นชว่งทบี่า้นเมอืงมศีกึสงครามอยตู่ลอดเวลา จงึ ท าให ้ดนตรีไทยไม่เจริญก ้าวหน้ามากนัก ยังคงมีเครื่อง ดนตรีในวงปี่พาทย์ เครื่องห ้าเท่าเดิม จนมาเพิ่มระนาดเอก ภายหลังในตอนปลายสมัยอยธุยา สว่นวงดนตรทีเี่กดิขนึ้ใน สมัยนั้น ได ้แก่ วงมโหรี ที่บรรเลงโดยผู้หญิง เพื่อขับกล่อม ถวายแด่พระมหากษัตริย์ ประกอบด ้วยเครื่องดนตรี กระจับปี่ ซอสามสาย โทน(ทับ) กรับ ร ามะนา ขลุ่ยและฉิ่ง แต่ต่อมา ไดน้ าจะเขซ้งึ่เป็ นเครอื่งดนตรขีองมอญมาประสมแทน กระจับปี่ เพื่อให ้ท านองได ้ละเอียดลออและไพเราะกว่า และวงเครื่องสาย ประกอบด ้วยเครื่องดนตรี ซอด ้วง ซออู้ จะเข ้ ขลุ่ย โทน(ทับ) และฉิ่ง


สม ัยธนบุรี มีวงดนตรี3 ประเภท เชน่เดยีวกบั สมัยอยธุยา คอื วงปี่พาทย์ วงมโหรี และวงเครื่องสาย แต่มีเครื่องดนตรีของ ชาติต่างๆ เข ้ามาในประเทศไทยหลายชนิด ดังปรากฏใน หมายก าหนดการของพระมหากษัตริย์ในสมัยนั้นว่า “ ทรง พระกรุณาโปรดเกล ้าฯ ให ้พิณพาทย์ไทย พิณพาทย์รามัญ มโหรีไทย ฝรั่ง มโหรีญวน เขมร ผลัดเปลี่ยนกัน สมโภช 2 เดือนกับ 12 วัน ” ในงานสมโภชพระแก ้วมรกต เป็นต ้น


สมยัรตันโกสนิทร์คณะละครและวงปี่พาทย์ไทยสมัย รัตนโกสนิทร์มคีวามกา้วหนา้ทางดนตรมีาก เรมิ่จาก สมัยรัชกาลที่ 1 ได ้เพิ่มกลองทัดขึ้นในวงปี่พาทย์ เป็น 2 ลูก และเพิ่มระนาดในวงมโหรีปี่พาทย์อีก 1 ราง สมัยรัชกาลที่ 2 เริ่มมีปี่พาทย์บรรเลงประกอบเสภา จึง ไดน้ าเปิงมางมาตดิขา้งสกุถว่งเสยีงใหต้ า่ลง เรยีกวา่ สองหนา้ ใช้ ประกอบการบรรเลงประกอบเสภา และได ้เพิ่มฆ ้องวงในวงมโหรี ด ้วย สมัยรัชกาลที่ 3 มีผู้สร้างระนาดทุ้มและฆ ้องวงเล็กขึ้นมา ท าให้เกิดวงปี่พาทย์เครื่องคู่ขึ้นในสมัยนัน้ซงึ่ประกอบดว้ยเครอื่ง ดนตรรีะนาดทเีปลยี่นชอื่เป็ นระนาดเอก เพอื่ใหเ้ขา้คกู่บัระนาด แบบใหม่ ที่เพิ่มราง 1 ราง และสร้างขนาดใหญ่เรียกว่า ระนาดทุ้ม และฆ ้องวงใหญ่ เพื่อให้เข ้าคู่กับฆ ้องวงเล็กที่สร้าง ขนาดเล็กลง เรียกว่า ฆ ้องวงเล็ก นอกจากนี่ยังมีการน าปี่นอกเข ้ามาผสมเข ้าคู่ กบั ปี่ใน และเครอื่งดนตรเีดมิคอืตะโพน กลองทัดและฉงิ่เชน่เดมิ รวมทั้งมีวงมโหรีเครื่องคู่เกิดขึ้น โดยมีการน าระนาดทุ้ม ฆ ้องวง เล็ก และขลุ่ยหลีบ ให้เข ้าคู่กับเครื่องดนตรีที่มีอยู่เดิม สมัยรัชกาลที่ 4 วงปี่พาทย์มีความเจริญมาก โดยเจ้านาย ขุนนาง ข ้าราชการ ต่างก็มีวงปี่พาทย์ประจ าบ ้านกัน และ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงพระราชด าริให้น าลวด เหล ็ กเล ็ ก ๆ ทที่รงทอดพระเนตรจากนาฬกิาตัง้ โตะ๊ทกี่ลไกขา้งใน มลีวดเสน้เล ็ ก ๆ สนั้บา้งยาวบา้ง ปักเรยีงกนัถี่ๆ เป็ นวงกลมคลา้ย หวีตรงกลางมีแกนหมุนและเหล ็ กเขยี่เสน้ลวดเหล ็ กเหลา่นัน้ผา่น ไปโดยรอบทพี่ระองคท์รงเรยีกวา่นาฬกิาเขยี่หวีซงึ่มเีสยีงดัง กังวานมาสร้าง เป็นระนาดทุ้มเหล็ก และระนาดเหล็กที่เล็กกว่า และมเีสยีงสงูกวา่มาเพมิ่เขา้ในวงปี่พาทย์และเรยีกวงปี่พาทยน์ ี้ ว่า วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มเครื่องดนตรี ระนาดทุ้มเหล็กและระนาดเอกเหล็กที่ท าด ้วยทองเหลือง


ลักษณะ ลักษณะการประสานเสียงของดนตรีไทยตามแบบโบราณนั้น ใช้หลัก อาศัยสีเสียง (Tone color) ของเครื่องดนตรีเป็นเครื่องแยกแต่ละแนวทำนอง คือให้เครื่องดนตรีแต่ ละชิ้นประสานเสียงกันแบบแนวนอน คือให้เสียงลูกตกตรงกัน มากกว่าประสานแบบ แนวตั้งที่อาศัยคอร์ด (chord) เป็นพื้นฐานหลักตามแบบสากล ลีลาดนตรีไทย ลีลาเครื่องดนตรีไทย หมายถึงท่วงท่าหรือท่วงทำนองที่เครื่องดนตรีต่างๆได้บรรเลง ออกมา สำหรับลีลาของเครื่องดนตรีไทยแต่ละเครื่องที่เล่นเป็นเพลงออกมา บ่งบอกถึง คุณลักษณะและพื้นฐานอารมณ์ที่จากตัวผู้เล่น เนื่องมาจากลีลาหนทางของดนตรีไทยนั้น ไม่ได้กำหนดกฏเกณฑ์ไว้ตายตัวเหมือนกับดนตรีตะวันตก หากแต่มาจากลีลาซึ่งผู้บรรเลง คิดแต่งออกมาในขณะเล่น เพราะฉะนั้นในการบรรเลงแต่ละครั้งจึงอาจมีทำนองไม่ซ้ำกัน แต่ยังมี ความไพเราะและความสอดคล้องกับเครื่องดนตรีอื่นๆอยู่ ลักษณะเช่นนี้ได้อิทธิพลมาตั้งแต่สมัยโบราณ ที่มี"กฎเกณฑ์" อยู่ที่การวาง "กลอน" ลงไปใน "ทำนองหลัก" ในที่นี้ หมายถึงในเพลงไทยเดิมนั้นเริ่มต้นด้วย "เนื้อ เพลงแท้ๆ" อันหมายถึง "เสียงลูกตก" ก่อนที่จะปรับปรุงขึ้นเป็น "ทำนองหลัก" หรือที่ เรียกว่า "เนื้อฆ้อง" อีกชั้นหนึ่ง ซึ่งในชั้นเนื้อฆ้องนี้ส่วนใหญ่จะยังคงเป็นทำนองห่างๆ ยัง ไม่มีความซับซ้อนมาก แต่ยังกำหนดลักษณะในการเล่นไว้ให้ผู้บรรเลงแต่ละคนได้บรรเลง ด้วยลีลาเฉพาะของตนในกรอบนั้นๆ โดยลีลาที่กล่าวมาก็หมายถึง "กลอน" หรือ "หนทาง" ต่างๆที่บรรเลงไปนั่นเอง


วงดนตรีไทย ดนตรีไทยมักเล่นเป็นวงดนตรี มีการแบ่งตามประเภทของการ บรรเลงที่เป็นระเบียบมาแต่โบราณกาลจนถึงปัจจุบันเป็น 3 ประเภท คือ - วงปี่พาทย์ ประกอบด้วยเครื่องตีเป็นสำคัญ เช่น ฆ้อง กลอง และมีเครื่องเป่า เป็นประธานได้แก่ ปี่ นอกจากนั้นเป็นเครื่อง วงปี่พาทย์ยังแบ่งไปได้อีกคือ วงปี่ พาทย์ชาตรี,วงปี่พาทย์ไม้แข็ง,วงปี่พาทย์เครื่องห้า,วงปี่พาทย์เครื่องคู่,วงปี่พาทย์ เครื่องใหญ่,วงปี่พาทย์ไม้นวม,วงปี่พาทย์มอญ,วงปี่พาทย์นางหงส์ - วงเครื่องสาย เครื่องสาย ได้แก่ เครื่องดนตรี ที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีที่มีสาย เป็นประธาน มีเครื่องเป่า และเครื่องตี เป็นส่วนประกอบ ได้แก่ ซอด้วง ซออู้ จะเข้ เป็นต้น ปัจจุบันวงเครื่องสายมี4 แบบ คือ วงเครื่องสายเครื่องเดี่ยว,วง เครื่องสายเครื่องคู่,วงเครื่องสายผสม,วงเครื่องสายปี่ชวา - วงมโหรี ในสมัยโบราณเป็นคำเรียกการบรรเลงโดยทั่วไป เช่น "มโหรี เครื่องสาย" "มโหรีปี่พาทย์" ในปัจจุบัน มโหรี ใช้เป็นชื่อเรียกเฉพาะวงบรรเลง อย่างหนึ่งอย่างใดที่มีเครื่อง ดีด สี ตี เป่า มาบรรเลงรวมกันหมด ฉะนั้นวงมโหรีก็ คือวงเครื่องสาย และวงปี่พาทย์ ผสมกัน วงมโหรีแบ่งเป็น วงมโหรีเครื่องสี่,วง มโหรีเครื่องหก,วงมโหรีเครื่องเดี่ยว หรือ มโหรีเครื่องเล็ก,วงมโหรีเครื่องคู่


ประเภทเครื่องดนตรีไทย เครื่องดนตรีไทยแบ่งตามลักษณะการทำให้เกิดเสียงได้เป็น 4 ประเภท คือ ดีด สี ตี เป่า เครื่องดีด จะเข้ เครื่องสี ซอสามสาย


เครื่องตี ระนาดเอก เครื่องเป่า ขลุ่ย ได้แก่ ขลุ่ยหลิบ,ขลุ่ยเพียงออ,ขลุ่ยอู้


อ้างอิง https://th.wikipedia.org/wiki/เครื่องดนตรีไทย


Click to View FlipBook Version