The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประเพณี วัฒนธรรม ชาวเผ่าเมี่ยน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประเพณี วัฒนธรรม ชาวเผ่าเมี่ยน

ประเพณี วัฒนธรรม ชาวเผ่าเมี่ยน

ขอ้ มูลทั่วไป

เมี่ยน หรือ เย้าชาวเมี่ยน (เย้า) ถิ่นฐานเดิมอยู่ในประเทศจีนแถบแม่น้ําแยงซี
“เมี่ยน” เป็นชื่อที่ทางราชการต้ังให้ หรือบางคร้ังจะเรียกว่า “อ้ิวเมี่ยน” แปลว่า
มนุษย์ ไดร้ บั การจดั ให้อยใู่ นเชื้อชาติ มองโกลอยด์ คือ อยู่ในตระกูลจีนธิเบต บรรพ
ชนได้ต้ังถิ่นฐานอยู่ที่ราบรอบทะเลสาปตงถิง แถบแม่น้ําแยงซี ยอมอ่อนน้อมให้ชน
ชาติผู้ปกครองรัฐ และไม่ยินยอมอยู่ภายใต้การบังคับกดขี่ของรัฐ จึงได้ทําการ
อพยพเข้าไปในปุาลึกบนภูเขาสูง ได้ตั้งถิ่นฐานสร้างบ้านด้วยมือของเขาเอง เพื่อ
ปกปูองเสรีภาพจึงถูกขนานนามว่า ม่อ เย้า ซึ่ง เหยา ซี เหลียน ได้บันทึกไว้ในเหลี
ยงซูต่อมาในสมัยราชวงศ์ซ่ง คําเรียกนี้ถูกยกเลิกไปเหลือแต่คําว่า "เย้า" เท่านั้น
จุดเด่นของชนเผ่าเมี่ยน (เย้า) บ้านปางค่าใต้ ตําบลผาช้างน้อย อําเภอปง จังหวัด
พะเยา ได้แก่ พาสปอร์ตที่ยาวที่สุดในโลก (ป๎จจุบันในพื้นที่โครงการหลวงมีชาว
เมี่ยนอาศยั อยู่ในพื้นที่ศนู ย์พัฒนาโครงการหลวงปง๎ ค่า อาํ เภอปง จังหวัดพะเยา)

ภาษา

ภาษาของเม่ยี นจดั อยใู่ นภาษาตระกุลจนี ธิเบต สาขาแมว้ -เยา้ ภาษาพูดของเม่ยี น
พฒั นาจากกลุ่มภาษาหนึ่งของชาวหมาน และแพรก่ ระจายไปสู่เขตต่างๆ ตาม
ท้องถิ่นที่มชี าวเมี่ยนอพยพไปถงึ ภาษาเมี่ยนไดก้ ระจายไปทว่ั เขตมณฑลกวางสี
กวางตุ้ง กุยจิ๋ว ฮูหนาน จากการติดต่อกลับชนเผ่าอืน่ ๆ เป็นระยะเวลานาน จึงทาํ
ให้ภาษาในปจ๎ จบุ นั ผ่านการพฒั ณากลายเป็นภาษาถิน่ ย่อย 3 ภาษา คือ ภาษา
เมี่ยน ภาษาปนู ู และภาษาลกั จา สาํ หรับภาษาเขียนของเมี่ยน มกั จะมคี วามเห็น
โดยทัว่ ไปว่าชาวเมี่ยนมีแต่ภาษาพดู ไมม่ ีภาษาเขียน จึงไดย้ ืมภาษาฮ่ันมาใช้ ชาว
เมีย่ นที่รภู้ าษามีไม่มากนัก แต่ภาษาฮน่ั กย็ งั มีบทบาท และอิทธิพลต่อชนชาติ
เมี่ยนมาก
ชาวเมี่ยนมีวิธกี ารใช้ตวั เขียนภาษาฮัน่ เปน็ ของตวั เอง ตัวเขียนนี้แตกต่างกนั กบั
ตัวหนังสือฮนั่ แบบมาตรฐาน เพราะชาวเมีย่ นไดค้ ิดสร้างตัวหนังสือไวใ้ ช้เองโดย
ดัดแปลงจากของฮน่ั ทาํ ให้ได้ภาษาเขียนใหม่ที่มลี กั ษณะเฉพาะ ซึง่ มีลกั ษณะผสม
ระหว่างภาษาเมี่ยนกบั ภาษาฮัน่ คือ มีรูปแบบการเขียนแบบกู้สูจื้อ ตามท้องถิน่ ของ
ชาวเมี่ยน และรปู แบบตัวหนงั สือฮ่นั ในอกั ษรฮน่ั ซึ่งเปน็ ตวั เดียวกันในอกั ษรเมีย่ นจะ
เขียนคนละอยา่ งกนั แต่อักษรทีป่ ระดิษฐข์ ึ้นนี้มจี ํานวนไม่มากและใช้เขียนข้อความ
ให้สมบรู ณ์ไม่ได้ ตอ้ งใช้ปนกับตัวหนังสือฮั่น คําศพั ท์ในภาษาเมี่ยนจะอ่านเปน็
สําเนียงชาวเมี่ยน โดยเฉพาะภาษาเมี่ยนในประเทศไทยคลา้ ยกบั ภาษาจนี ถนิ่
กวางตุ้ง ยง่ิ เฉพาะบทสวดในพิธีเลยี้ งผีจะมสี าํ นวนดงั กล่าวชัดเจนมาก

วิถชี ีวติ และลกั ษณะบา้ นเรือน

วิถีชิวิตด้านการละเล่นไม้โกงกาง (ม่าเกะเฮ้า) โครงสร้างทางสังคม
ชุมชนของเมี่ยนในอดีตน้ันพึ่งตนเองค่อนข้างสูง ทั้งในด้านการดํารงชีวิต และการ
จัดการภายในชุมชน จะมีตําแหน่งฝุายต่างๆ ที่มีความสําคัญ และเอื้อต่อการ
จัดการในชุมชน ครอบครัวของเมี่ยนเป็นครอบครัวที่ขยาย มีสมาชิกในครอบครัว
มาก เพราะถือว่าเปน็ แรงงานสําคัญ หัวหน้าครอบครัว คือ ผู้ชายอาวโุ สสงู สุด อาจ
เ ป็ น ปุู ห รื อ พ่ อ โ ด ย มี บุ ต ร ช า ย ค น โ ต เ ป็ น ผู้ สื บ ส กุ ล ค น ต่ อ ไ ป

เมื่อมีการแต่งงานฝุายชายจะเป็นฝุายเสียค่าสินสอด และค่าใช้จ่ายต่างๆ ผู้หญิง
เมีย่ นจะออกจากตระกูลเดมิ ของตน โดยเลิกใชแ้ ซเ่ ดมิ เปลย่ี นมานับถือผี และใช้แซ่
ของสามี และไปอยู่บ้านสามีด้วย แต่มีข้อยกเว้นเช่นผู้ชายไม่มีทรัพย์มากพอที่จะ
จ่ายค่าสินสอด รวมท้ังค่าเล้ียงแขก จึงยอมไปอยู่กับฝุายหญิงแทนอาจเป็นเวลา
15-20 ปี จึงจะนําภรรยาไปอยู่ด้วยได้ หรือในกรณีที่ฝุายหญิงจะต้องดูแลพ่อแม่
ฝุายหญิง จะต้องจ่ายค่าทรัพย์เป็นจํานวนมากแก่ฝุายชาย เพื่อที่จะฝุายชายมาอยู่
ร่วมครัวเรือน เพราะถือว่าเปน็ แรงงานสําคญั เพิม่ ขึน้ และฝุายชายจะต้องใช้ตระกูล
ของฝุายหญิง เมื่อมีลูกชาย ลูกชายจะต้องใช้สกุลของแม่ จากนั้นจะกลับสู่ระบบ
การสืบตระกลู ของฝาุ ยชายดงั เดิม

วิถชี ิวติ ดา้ นการละเลน่
ในชีวิตประจําวันของเมี่ยน การละเล่นที่แสดงออกถึงความรื่นเริงตามประเพณี
และเทศกาลต่างๆ กล่าวได้ว่าในป๎จจุบันแทบจะไม่มีโดยส้ินเชิง โดยเฉพาะ
การละเลน่ ในวัยผู้ใหญ่หรือวัยหนุ่มสาว ส่วนการละเล่นของเด็กๆ มีเพียงไม่กี่อย่าง
เช่น การเล่นไล่จับกัน ซึ่งเล่นรวมกันทั้งเด็กชายและหญิง การเล่นลูกข่าง การเดิน
ไม้โกงกาง เมี่ยนไม่มีการละเล่นตามประเพณีประจําเทศกาลที่มีรูปแบบชัดเจน
โดยเฉพาะการละเล่นของเมี่ยน มักเป็นการละเล่นที่อาศัยเล่นในโอกาสของงาน
พิธีกรรมต่างๆ และก็มักจะเป็นพิธีแต่งงานกับวันปีใหม่เท่าน้ัน ที่สามารถแสดง
การละเลน่ ไดอ้ ย่างสนุกสนานเตม็ ที่ การละเล่นของเมย่ี น ได้แก่

หนงั สตก๊ิ (ถางกง): ทํามาจากไม้ เมี่ยนจะนําไม้ประมาณเทา่ กับแขนที่ปลายแยก
ออกจากกนั นํามาแตง่ ใหส้ วยและพอกบั มือจบั เอาหนังยางมามัดใหส้ ามารถดงึ
แล้วยิงได้ วิธีการเลน่ นาํ กอ้ นหนิ มาวางตรงที่เป็นยาง ดงึ แลว้ ปลอ่ ยใช่เล่นยงิ แข่ง
กัน

ปนื ไมไ้ ผ้ (พ้าง พา้ ง): เป็นของเล่นที่เดก็ นิยมเล่นกันมาก วธิ ีการทาํ คือ เอาไมไ้ ผ่
ลําใหญ่ขนาดเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลาง 1-2 เซนติเมตร มาทาํ เป็นกระบอกปืน และเหลา
ไมอ้ กี อันมาใชส้ าํ หรับเป็นตวั ยิง จะนําผลของต้นไม้ชนิดหนึ่งมาเปน็ กระสนุ ในการ
เลน่ เมี่ยนเรียกว่าพ้าง พา้ งเปีย้ ว

กระบอกสูบนา้ (เฮา้ ดงแฟะ): เป็นการละเลน่ อีกอยา่ งหนึง่ ทีท่ ํามาจากไมไ้ ผ่ ใช้ไม้
ไผ่ทค่ี ่อนข้างแกท่ าํ เปน็ ตัวกระบอก และทําที่สูบโดยการตดั รองเท้าแตะเก่าๆ หรือ
เอายางมามัดเปน็ วงกลมเสีบบกบั ที่สูบ การเลน่ จะใชก้ ระบอกสูบน้ําขึ้นมาแลว้ ก็ดนั
น้าํ ออกใสก่ บั เพื่อนๆ ทีเ่ ล่นดว้ ย จะเลน่ ในชว่ งฤดูร้อน

ไม้โกงกาง (มา่ เกะเฮ้า): ไมโ้ กงกางทํามาจากไมไ้ ผ่ ซึ่งจะมีความสูงประมาณ 2
เมตร ตรงขาเหยยี บจะสงู ขนึ้ มาจากพื้นประมาณ 50 ซม. หรือจะสูงกวา่ นีก้ ไ็ ด้
แล้วแต่ความต้องการของแต่ละคน ซึง่ เป็นการละเล่นที่ถือว่าสนกุ สนานมากในวยั
เดก็ สามารถเล่นได้ทุกฤดูกาล วิธีการเลน่ คือ ขึน้ ไปเหยียบแล้วก็วิ่งแข่งกัน

ขาหย่ังเชือ่ ก (ม่าเกะฮาง): เป็นขาหย่ังทีท่ ํามาจากเชือก การละเล่นก็จะนาํ ไมไ้ ผ่
มาตดั เหลือไวแ้ ค่ข้อต่อที่ก้ันระหว่างปูองเท่าน้ัน เจาะรแู ลว้ นาํ เชือกสอดทงั้ 2 ข้าง
การเลน่ กเ็ หมือนกับขาหยั่งธรรมดาเพียงแค่ใช้ขาเหนีบที่เชือกเท่าน้ันเอง

ลูกขา่ ง (ตะโหลย): การละเลน่ ลูกข่างเปน็ การละเล่นทีใ่ ห้ความสนุกสนาน
เพลิดเพลิน และเปน็ การละเลน่ ของผู้ชาย โดยเมื่อถึงเวลาที่เวน้ ว่างจากการทําไร่
ทําสวน ผู้ชายจะออกจากบา้ นต้ังแตเ่ ชา้ เพือ่ จะไปตดั ไม้เนื้อแขง็ สาํ หรับมาทาํ เป็น
ลูกข่าง เมือ่ กลบั มาถึงบ้านกจ็ ะเรม่ิ ทําลกู ข่างโดยเหลาปลายไมใ้ ห้แหลมๆ บางคน
จะใส่เหลก็ ตรงปลาย เพือ่ ใหล้ กู ข่างหมุนได้นาน จากนน้ั ก็จะมาเล่นกัน โดยแบ่งเปน็
สองฝุายๆ ละกีค่ นก็ได้

ลูกแกว้ (ปสู้ ่)ี : ลูกแกว้ นี้ถือว่าเป็นของเล่นอกี อย่างหนึ่งของเดก็ เมี่ยน เมือ่ ถึงชว่ ง
ฤดูกาลหนึ่ง เด็กเมีย่ นก็จะเปลีย่ นของเลน่ ไปตามฤดกู าลนั้น การเลน่ ลกู แก้วนี้กถ็ ือ
ว่าเปน็ อกี อย่างหนึ่งของการละเลน่ การเลน่ ลกู แก้วนี้จะนําลกู แก้วมาตีแข่งกนั โดย
ใช้มือเลน่ จะมีหลมุ อยหู่ ลุมหนึง่ เพือ่ การเล่น

ก้านกลว้ ย (น้อมจิวแฝด): จะนําก้านกลว้ ยมาตัดใบทิ้ง ตัดก้านใหเ้ ปน็ แฉกๆ ให้
ต้ังขนึ้ หลายๆ อัน แล้วใช้มือปด๎ ลงเร็วๆ ก็จะมีเสียงเกดิ ข้นึ มาอยา่ งไพเราะ การเล่น
ชนิดนี้เปน็ การละเล่นที่มีความปลอดภยั มากทีส่ ุด เด็กเล็กๆ จะนยิ มเล่นมาก

ลักษณะบ้านเรือน

ชาวเมี่ยนนิยมสร้างบ้านที่สูงกว่าระดับน้ําทะเลประมาณ 1,000-1,500 เมตร
ป๎จจุบันชาวเมี่ยนบางกลุ่มอาศัยอยู่พื้นที่ราบ ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับความสะดวกในการ
ประกอบอาชีพ และการปกครองของทางราชการ บ้านของเมี่ยนมักหันหลังสู่เนิน
เขา หากอยพู่ ื้นราบมกั หนั หน้าออกสู่ถนน ผังบ้านเป็นรปู สี่เหล่ียมผืนผ้า ปลูกคร่อม
ดินมีห้องนอนแบ่งแยกย่อยเป็นหลายๆ ห้อง ภายในบ้าน พ่อแม่แยกห้องให้ลูกสาว
เมื่อเห็นว่าลูกสาวเริ่มเป็นสาวแล้ว ท้ังนี้เพื่อความสะดวกในการเลือกคู่ของหญิง
สาวตามประเพณีการเที่ยวสาว มีห้องครัวแยกไปอีกห้องหนึ่ง และมีบริเวณห้อง
ใหญ่เป็นที่โล่งมีแคร่ หรือเตียงไว้นั่งเล่น หรือสําหรับแขกมุมใดมุมหนึ่งของห้อง ใน
บ้านไม่มีหน้าต่าง แต่มีประตูเข้าออกหลายทาง ประตูที่สําคัญที่สุด คือประตูผี
หรือประตูใหญ่ เป็นประตูที่ใช้ติดต่อกับวิญญาณ หรือแสดงการเพิ่ม หรือลด
สมาชกิ ของตระกูล เมื่อมีพิธีศพหรือแต่งงานจะต้องใช้ประตูนี้เป็นทางเข้าและออก
เวลาปกติ ทุกคนสามารถเดินเข้าออกทางนี้ได้ ประตูจะตรงกันข้ามกับห้ิงผี หรือ
เมีย้ นเตีย ก่อนสร้างบ้านต้องเอาดวงเกิดของหัวหน้าครอบครัว ไปดูว่าประตูผีนี้จะ
หันหน้าไปทางทิศใด ก็จะต้ังบ้านตามทางที่สอดคล้องกับดวงของผู้นําครอบครัว
ครอบครัวส่วนใหญ่เป็นครอบครัวขยาย เมื่อผู้ชายเมี่ยนแต่งงานจะนิยมนําภรรยา
ของตนมาอยู่กับฝุายพ่อแมข่ องตนเอง
ผู้อาวุโสฝุายชายจะเป็นผู้นําครอบครัวและมีอํานาจสูงสุดในบ้าน ยกเว้นเฉพาะใน
เรื่องงานครัว ซึ่งเป็นหน้าที่ของฝุายหญิง ส่วนในเรื่องอื่นๆ แล้วผู้อาวุโสจะเป็นผู้
ตัดสิน แต่ก่อนการตดั สินใจมกั จะมกี ารปรึกษาหารือกบั สมาชกิ ในบ้าน คือบุตรชาย
คนโต และภรรยากอ่ น ส่วนการรกั ษาพยาบาล ดแู ลบตุ ร หรือเจบ็ ปุวยเลก็ น้อยของ
สมาชกิ สตรีเม่ยี นจะมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรมากกว่าผู้ชาย และปลูกสมุนไพรไว้
ใช้เอง ผู้หญิงเมี่ยนจะทํางานหนัก พอมีเวลาว่างก็ป๎กผ้าสําหรับใช้เอง หรือเป็น
รายได้พเิ ศษ จึงมักจะไม่ค่อยเห็นผู้หญิงเมี่ยนว่างเลย เมี่ยนให้ความนับถือ และสืบ

เชื้อสายทางฝุาย โดยลกู จะใช้แซ่ตามพ่อ และวิญญาณบรรพษุรุษของพ่อชาวเมี่ยน
มีอิสระในการเลือกคู่ครอง นิยมที่จะแต่งงานกับคนในกลุ่มชาย และหญิงที่ใช้แซ่
เดยี วกัน แต่อยคู่ นละกลุ่มเครือญาติย่อยสามารถแต่งงานได้

วฒั นธรรมประเพณี

ประเพณีการแต่งงาน
การเลือกคคู่ รอง (หล่อเอ๊าโกว่): เมื่อเริม่ เป็นหนุ่มเปน็ สาว อายปุ ระมาณ 15 ปี
ขึ้นไป ในการเลือกคคู่ รองน้ัน เผ่าเม่ยี นฝาุ ยชายจะเป็นฝุายเข้าหาฝุายหญิง หนุ่ม
สาวเมีย่ นมีอสิ ระในการเลือกคู่ครอง หนุ่มอาจจะเข้าถงึ ห้องนอนเพียงคืนเดยี ว
หรือไปมาหาสอู่ ยู่เรื่อยๆ ถ้าทางฝุายสาวไม่ขดั ข้องกย็ ่อมได้เสรี ในการเลือกคู่ของ
เมีย่ น มีขอบเขตอยู่เพยี ง 2 กรณเี ท่านน้ั คือ ควรแต่งกับคนต่างแซ่ หรือบางทีคน
แซเ่ ดยี วกนั ถ้าชอบพอกนั กส็ ามารถอนโุ รมได้ไม่เข้มงวดมากนัก แต่ทีเ่ ข้มงวด คือ
ดวงของหนุ่มสาวทงั้ สองต้องสมพงษก์ นั โดยทัว่ ไปแล้วพี่ควรจะแต่งก่อนน้อง หาก
น้องจะทําการแต่งก่อนพี่ กต็ ้องจ่ายค่าทาํ ขวัญใหก้ ับพีท่ ย่ี งั ไมไ่ ด้แต่งงาน เมือ่ ทั้ง
สองฝุายมคี วามรกั ต่อกนั ฝุายชายจะเป็นฝุายไปบอกพอ่ แมห่ รือเครือญาติมา
ติดต่อสขู่ อตามประเพณตี ่อไป

การสู่ขอ (โท้นิ่นแซง): เมื่อหนุ่มตกลงปลงใจจะแต่งงานกับสาวใดแล้ว ฝุายชาย
จะต้องหาใครไปสืบถามเพื่อ ขอทราบวัน เดือน ปีเกิดของฝุายหญิง ถ้าพ่อแม่ฝุาย
หญิงยนิ ยอมบอกก็แสดงว่า พวกเขายอมยกให้ หลังจากนั้นก็จะนําเอาวัน เดือน ปี
เกิด ของหนุ่มสาวคู่น้ัน ไปให้ผู้ชํานาญเรื่องการผูกดวงดูว่าทั้งคู่มีดวงสมพงศ์กัน
หรือไม่ ถา้ ดวงไม่สมพงศก์ ันฝุายชายจะไม่มาสขู่ อ พร้อมแจ้งหมายเหตุให้ฝุายหญิง
ทราบ เมื่อดูแล้วถ้าเกิดดวงสมพงศ์กัน พ่อแม่จึงจัดการให้ลูกได้สมปรารถนา เริ่ม
ดว้ ยการสง่ สื่อไปนัดพ่อแมฝ่ ุายสาววา่ คํา่ พรุ่งนี้จะส่งเถ้าแก่มาสู่ขอลูกสาว แล้วพ่อ
แมฝ่ ุายหญิงจะต้องจดั ข้าวปลาอาหารไว้รับรอง ระหว่างที่ดื่มกินกันน้ัน เถ้าแก่ก็จะ
นํากําไลเงินหนึ่งคู่มาวางไว้บนสํารับ เมื่อเวลาดื่มกินกันเสร็จ สาวเจ้าเข้ามาเก็บ
ถ้วยชาม หากสาวเจ้าตกลงปลงใจกับหนุ่มก็จะเก็บกําไลไว้ หากไม่ชอบก็จะคืน
กําไลให้เถ้าแก่ ภายใน 2 วัน เถ้าแก่จะรออยู่ดูให้แน่ใจแล้วว่าสาวเจ้าไม่คืนกําไล
แล้วเถา้ แก่จงึ นดั วนั เจรจา

เมื่อถึงเวลาซึ่งวันเดินทางไปนี้สําคัญมาก เพราะมีข้อห้าม และความเชื่อในการ
เดนิ ทางหลายอย่าง เช่น ขณะเดินทาง ระหว่างทางหากพบคนกําลังปลดฟืนลงพื้น
สตั วว์ ิง่ ตัดหน้า ไม้กาํ ลังล้ม คนล้ม ฯลฯ ส่ิงเหล่านี้ คือ ส่ิงที่ส่อไปในทางที่ไม่ดีจะไม่
มีโชคตามความเชื่อ แต่ถ้าไม่พบส่ิงเหล่านี้ระหว่างทาง ก็สามารถเดินทางไปบ้าน
ฝุายหญิงได้ และถ้าไปถึงบ้านฝุายหญิง แล้วพบสาวเจ้ากําลังกวาดบ้าน หรือพบ
คนกาํ ลงั เจาะรางไม้ หรือเตรียมตวั อาบน้ําอยู่ พ่อแม่ของฝุายชายก็จะเลิกความคิด
ที่จะไปสู่ขอเหมือนกัน เพราะเชื่อว่าเป็นส่ิงไม่ดีจะทําให้คู่บ่าวสาวต้องลําบาก เมื่อ
พ่อแม่ฝุายชายเดินทางไปถึงบ้านฝุายหญิง โดยไม่ได้พบอุปสรรคใดๆ แล้ว
ครอบครัวของฝุายชายจะต้องนําไก่ 3 ตัว ประกอบด้วย ไก่ตัวผู้ 2 ตัว และไก่ตัว
เมีย 1 ตัว แล้วนําไก่ตัวผู้ 1 ตัวมาปรุงอาหาร เพื่อเป็นการสู่ขอ แล้วร่วมกัน
รับประทาน พ่อแม่ฝุายหญิงจะเชิญญาติอย่างน้อย 2-3 คน มาร่วมเป็นพยาน
ระหว่างทีร่ บั ประทานอาหารกนั อยนู่ ั้น กเ็ ริ่มเจรจาค่าสินสอดตามประเพณี ซึ่งส่วน
ใหญ่ ค่าสนิ สอดจะกาํ หนดเป็นเงินแท่งมากกว่า หรือบางครั้งอาจจะใช้เงินก็ได้ตาม
ฐานะ สําหรับไก่อีก 2 ตัว หลังจากฆ่าแล้วจะนํามาเซ่นไหว้บรรพบุรุษของตระกูล
ทั้งสองฝุาย เพื่อเป็นการแจ้งให้บรรพบุรุษท้ังสองฝุายให้รับรู้ในการหมั้น พร้อมทั้ง
ฝุายชายจะมอบด้ายและผ้าทอหรืออุปกรณใ์ นการปก๎ ชุดแต่งานไว้ใช้สําหรับงานพิธี
แต่งให้กับฝุายหญิง เพื่อใช้ป๎กชุดแต่งงาน เจ้าสาวจะต้องป๎กชุดแต่งงานให้เสร็จ
จากอุปกรณ์ที่ฝุายชายเตรียมไว้ในตอนหมั้นและเจ้าสาวจะไม่ทํางานไร่ จะอยู่บ้าน
ทาํ งานบ้านและปก๎ ผ้าประมาณ 1 ปี สว่ นเจ้าบ่าวต้องเตรียมอาหารท่จี ะใช้เลีย้ งแขก
และทําพิธีกรรมเช่น หมู ไก่ และจัดเตรียมเครื่องดนตรี จัดบุคคลที่จะเข้าทํา
พิธีกรรมทางศาสนา และอุปกรณ์การจัดงานทั่วไป หลังจากหม้ันแล้วบ่าวสาวจะ
อยู่ด้วยกันทีบ่ ้านฝุายใดก็ได้แลว้ แต่จะตกลงกนั

พิธีแตง่ งานใหญ่ (ตม่ ช่งิ จา): พิธนี ี้เปน็ พธิ ีใหญ่ซึ่งจะต้องใช้ค่าใชจ้ ่ายสงู คนทีจ่ ัด
พิธใี หญ่นี้ส่วนมากจะเป็นผู้ทมี่ ีฐานะดี จะใช้เวลาในการทําพธิ ี 3 คืน 3 วนั ซึ่ง
จะต้องใช้เวลาเตรียมงานกนั เปน็ ปี คือ ต้องเล้ยี งหมู เลยี้ งไก่ไว้ใหพ้ อกับการเล้ยี ง
แขก

พิธีแตง่ งานเลก็ (ชิ่งจาตอน): พิธตี ่างๆ จะเปน็ การกนิ เลีย้ งฉลองอย่างเดียวไมม่ ี
พิธกี รรมอะไรมาก จะใชเ้ วลาทําพธิ ีเพยี งวันเดียว เจ้าสาวไม่ต้องสวมที่คุมทมี่ ี
น้ําหนกั มาก และพธิ ีเล็กนี้ไม่ต้องสิน้ เปลืองค่าใชจ้ ่ายมาก จดุ สาํ คญั ของการ
แต่งงานของเมี่ยน คือ ตามทีเ่ จ้าบา่ วตกลงสัญญาจ่ายค่าตัวเจ้าสาวกบั พ่อแมข่ อง
เจ้าสาวไว้ เพือ่ เป็นการทดแทนที่ได้เลยี้ งดูเจา้ สาวมา และฝุายเจา้ บ่าวจะต้องบอก
วิญญาณบรรพบุรษุ ของตนเองยอมรบั และช่วยคุ้มครองเจ้าสาวด้วย ประการ
สดุ ท้ายเจ้าบ่าวและเจ้าสาวจะต้องดื่มเหล้าที่ทาํ พิธี แล้วร่วมแก้วเดยี วกัน การ
แต่งงานของเมี่ยนนน้ั จะต้องทาํ ตามประเพณที กุ ข้ันตอนอย่างพถิ ีพิถนั และเปน็ ไป
ในลกั ษณะที่ใหเ้ กียรติซึ่งกันและกนั ทั้งสองฝุาย

ประเพณีวนั ขึน้ ปใี หม่ (เจ๋ยี เซียง เหฮียง)

พิธีฉลองปีใหม่ของเมี่ยนจะจัดเป็นประจําทุกๆ ปี หลังจากปีเก่าได้ผ่านพ้นไปแล้ว

เชน่ เดียวกับชนเผ่ากลุ่มอื่นๆ ท่ัวไป แต่เนื่องจากเผ่าเมี่ยนใช้วิธีนับวัน เดือน ปี แบบ

จีน ดงั นั้นวันฉลองปีใหมจ่ ึงเรม่ิ พรอ้ มกนั กบั ชาวจีน คือ วันตรุษจีน ภาษาเมี่ยนเรียก

ว่า เจี๋ยฮยั๋ง ก่อนที่จะถึงพิธี เจี๋ยงฮยั๋ง นี้ ชาวบ้านแต่ละครัวเรือน จะต้องเตรียม

ส่ิงของเครื่องใช้ที่จําเป็นท้ังของใช้ส่วนตัว และของใช้ในครัวเรือนให้เรียบร้อยก่อน

เพราะเมื่อถึงวันขึ้นปีใหม่แล้ว จะมีกฏข้อห้ามหลายอย่างที่เผ่าเมี่ยน ยึดถือและ

ป ฏิ บั ติ กั น ต่ อ ๆ กั น ม า

วันขึ้นปีใหมน่ ี้ ญาติพ่นี ้องของแต่ละครอบครวั ซึง่ แต่งงานแยกครอบครัวออกไปอยู่
ที่อื่น ก็จะพากันกลับมาเย่ียมพ่อแม่ และญาติพี่น้องของตนเอง ซึ่งเป็นการพบปะ
สังสรรค์ และทําพิธีบวงสรวงบรรพบุรุษร่วมกัน (เสียงเมี้ยน) พิธีนี้จะเริ่มวันที่ 30
ซึง่ ถือว่าเปน็ วันสง่ ท้ายปีเกา่ และต้อนรบั ปีใหม่ และเป็นการแสดงความขอบคุณแก่
วิญญาณ บรรพบุรุษที่ได้คุ้มครองดูแลเรา ในรอบปีที่ผ่านมาด้วยดี หรือบาง
ครอบครัวทีม่ กี ารบนบานเอาไว้กจ็ ะมา ทําพธิ ีแก้บน และเซ่นไหว้กนั ในวนั นี้

ประเพณีเจย๋ี เจยี บเฝย หรือ เชยี ดหาเจยี บเฝย (วันสารท์ จีน)
ตรงกับวันที่ 14 – 15 เดือน 7 ของจีน วันเชียดหาเจียบเฝยของเมี่ยนจะมี 2 วัน คือ
วันที่ 14 หรือเรียกว่า "เจียบเฝย" และวันที่ 15 เรียกว่า "เจียบหือ" ก่อนถึงเชียดหา
เจียบเฝย 1 วัน คือวนั ที่ 13 หรือที่เรียกกันว่า "เจียบฟาม" ชาวบ้านจะเตรียมของใช้
สําหรับทําพิธี เช่น กระดาษเงิน กระดาษทอง และหาฟืนมามาเก็บไว้มากๆ
เพราะว่าในวันทําพิธีนี้ห้ามไปทําไร่ และเก็บฟืน ส่วนคนที่ไปนอนค้างคืนไนไร่ก็จะ
ทยอยกันเดินทางกลบั บ้านในวันนี้ นอกจากนยี้ ังทาํ ขนมทีเ่ รยี กกันว่า "เจียบเฝยยว้ั "

วนั ที่ 14 หรือ เจียบเฝยนี้ เชื่อกันว่าเปน็ วนั ของคน ชาวบ้านจะไม่ไปไร่เข้าปุาล่าสัตว์
ไม่ทํางานใดๆ วันนี้จะมีการเซ่นไหว้บรรพบุรุษตามความเชื่อที่มีมาแต่โบราณ
เพราะเป็นที่เทพเจ้า เทพธิดา วิญญาณบรรพบุรุษเฉลิมฉลองคร้ังย่ิงใหญ่ มีการ
ทําบุญกันทุกบ้านเรือน มีการขออภัยโทษแก่ดวงวิญญาณต่างๆ ให้เป็นอิสระ
ลูกหลานจะต้องมีการทําพิธีบวงสรวง เผากระดาษเงิน กระดาษทองส่งไปให้
วิญญาณบรรพบุรุษได้ใช้จ่าย วันที่ 15 วิญญาณบรรพบุรุษจะได้คุ้มครองดูแล
ลูกหลาน

วันที่ 15 หรือ "เชียดหาเจียบหือ" หรือเรียกอีกอย่างว่า "เมี้ยน ปูาย เหย" เชื่อกันว่า
เป็นวันของผีจะมีการปลดปล่อยผีทุกตัวตน เพื่อให้มารับประทานอาหารที่ผู้คนทํา
พิธีให้ วันนี้ชาวบ้านจะอยู่กับบ้านไม่ให้ออกไปไหน ห้ามคนเข้าออกหมู่บ้าน ห้าม
เด็ดใบไม้ใบตองท้ังส้ิน เพราะเชื่อว่าวิญญาณจะใช้ใบไม้ใบตองเหล่านี้ห่อของ
กลบั ไปเมืองวญิ ญาณ จะมีการพูดว่าใบไม้ 1 ใบ เป็นที่อยู่อาศัยของวิญญาณ 1 ตัว
เมี่ยนจึงไม่เก็บใบไม้ต่างๆ ในวันนี้ ในวันนี้ก็เป็นอีกวันที่ชาวเมี่ยนไม่ไปทําไร่นา
เพราะดวงวิญญาณต่างๆ ออกเดินทางกลับบ้านเมืองของตน เมี่ยนเชื่อว่าถ้า
ออกไปไหนมาไหนละก็อาจจะชนถูก และเหยียบถูกโดยที่เราไม่รู้ และอาจทําให้เรา
ปุ ว ย เ มื่ อ เ ร า ไ ป ไ ป ทํ า ถู ก ด ว ง วิ ญ ญ า ณ เ ห ล่ า น้ั น

วันที่ 16 ก็จะเริ่มปฏิบัติงานตามปกติ เพราะเชื่อว่าวิญญาณที่ถูกปล่อยมานั้น ถูก
เรียกกลับไปหมดแล้ว ดวงวิญญาณไม่สามารถมารบกวนเราได้แล้ว ดวงวิญญาณ
จะถกู เรียกกลับแล้ว กต็ ้องไปอยู่ตามทีต่ ่างๆ ที่ตนอยู่ เมี่ยนจะทําพิธีเจี๋ยเจียบเฝยอ
ย่างนี้เป็นประจําทุกปี เพื่อให้ดวงวิญญาณได้มารับอาหารไปกินใช้ในแต่ละปี และ
ให้ดวงวิญญาณมาช่วยคุ้มครองครอบครัว ตลอดกระทง้ั หมู่บ้านของชาวเมีย่ น

ประเพณีการบวช (กว๋าตงั )
คําว่า "กว๋า ตัง" ในภาษาเมี่ยนมีความหมายว่าแขวนตะเกียง ซึ่งเป็นการทําบุญ
เพื่อให้เกิดความสว่างขึ้น และเมี่ยนเองก็จะถือว่าผู้ที่ผ่านพิธีนี้แล้ว จะมีตะเกียง 3
ดวง พธิ ีนี้ไดร้ บั อทิ ธิพลมาจากลทั ธิเต๋า เปน็ พิธีทีท่ าํ เฉพาะผู้ชายเท่าน้ัน ถือเป็นการ
สร้างบุญบารมีให้กับตนเอง ทําบุญอุทิศให้บรรพบุรุษ และเป็นผู้สืบสกุล ไม่มี
หลักฐานปรากฏแน่ชัดว่า พิธีกรรมนี้มีประวัติความเป็นมาอย่างไร มีเพียงแต่คํา
บอกเล่าจากการสันนิษฐานของผู้อาวุโสว่า พิธีกว๋าตัง นี้มีมานานมากแล้ว คงจะ
เป็น "ฟุามชิงฮู่ง" เป็นผู้บัญญัติให้ชาวเมี่ยนทําพิธีนี้ เมื่อประมาณ 2361 ปีมาแล้ว
เพราะ ฟุามชงิ ฮู่ง เปน็ ผู้สร้างโลกวิญญาณและโลกของคน ฟุามชิงฮู่ง จึงบอกให้ทํา
พิธกี วา่ ตัง เพือ่ ช่วยเหลือคนดีที่ตายไปให้ได้ขึ้นสวรรค์ หรือไปอยู่กับบรรพบุรุษของ
ตนเอง จะไดไ้ มต่ กลงไปในนรกที่ยากลาํ บาก พิธีนเี้ ปน็ พิธบี วชพธิ ีแรกซึง่ จะทาํ ให้กับ
ผู้ชายเมย่ี น โดยไม่จํากดั อายุ ในประเพณีของเมี่ยน โดยเฉพาะผู้ชายถ้าจะเป็นคนที่
สมบูรณ์จะต้องผ่านพิธีบวชก่อน

พิธีกว๋าตัง หมายถึงพิธีแขวนตะเกียง 3 ดวง เป็นพิธีที่สําคัญมาก เพราะถือว่าเป็น
การสืบทอดตระกูล และเป็นการทําบุญให้บรรพบุรุษด้วย ในการประกอบพิธีกว๋า
ตังนี้ จะต้องนําภาพเทพพระเจ้าทั้งหมดมาแขวน เพื่อเป็นสักขีพยานว่าบุคคล
เหล่านี้ว่าได้ทําบุญแล้ว และจะได้ขึ้นสวรรค์เมื่อเสียชีวิตไป จุดสําคัญของพิธีนี้คือ
การถ่ายทอดอํานาจบุญบารมีของอาจารย์ผู้ประกอบพิธีกรรม ซึ่งในขณะทําพิธีนี้
จะมีฐานะเป็นอาจารย์ (ไซเตี๋ย) ของผู้เข้าร่วมพิธีอีกฐานะหนึ่ง และผู้ผ่านพิธีนี้
จะต้องเรียกผู้ที่ถ่ายทอดบุญบารมีนี้ว่า อาจารย์ตลอดไป ผู้เป็นอาจารย์ไม่
จําเป็นต้องเป็นผู้ประกอบพิธีกรรมเสมอไป แต่ต้องผ่านการทําพิธีกว๋าตัง หรือพิธี
บวชขั้นสูงสุด"โต่ว ไซ" ก่อน

เมื่อผ่านพิธีนี้แล้ว จะทําให้เขาเป็นผู้ชายที่สมบูรณ์ เขาจะได้รับชื่อใหม่ ชื่อนี้จะ
ปรากฏรวมอยู่รวมกับทําเนียบวญิ าณของบรรพบุรุษของเขา ซึ่งเป็นการสืบต่อตระ
กุลมิให้หมดไป เมื่อเขาเสียชีวิตเขาสามารถไปอยู่กับบรรพบุรุษที่ (ย่าง เจียว ต่ง)
และอาจจะหลงไปอยู่ในที่ต่าํ ซ่ึงเป็นที่ที่ไม่ดีหรือนรกก็ได้ สําหรับชายที่แต่งงานแล้ว
เวลาทําพิธีบวช ภรรยาจะเข้าร่วมพิธีด้วย โดยจะอยู่ด้านหลังของสามี และการทํา
พิธีสามารถทําได้พร้อมๆ กันหลายๆ คนก็ได้ แต่คนที่ทําน้ันจะต้องเป็นญาติพี่น้อง
กนั หรือนบั ถือบรรพบรุ ษุ เดียวกนั เมีย่ นเรียกวา่ (จ่วง เมี้ยน) หลังจากผ่านพิธีนี้แล้ว
ผู้ทําพิธีจะได้รับชื่อผู้ใหญ่ และชื่อที่ใช้เวลาทําพิธีด้วยเรียกว่า (ฝะ บั๋ว) ในการเข้า
พิธีบวชนี้ในหมู่บ้านเครือญาติ จะมีการตรวจสอบหลักฐานของแต่ละคนจาก "นิ่
นแซงเปูน" คือ บันทึกวันเดือนปีเกิดหรือสูติบัตร (เอ้โต้ว) คือ การปฏิบัติต่อกันมา
และ "จาฟนิ ตาน" คือ บนั ทึกรายชือ่ ของบรรพบรุ ษุ ทีแ่ ต่ละคนถือครองอยู่

ศาสนา ความเชื่อ และพิธีกรรม

ชาวเมี่ยนส่วนใหญ่จะนับถือเทพยดา วิญญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณท่ัวไป ทุก
บ้านจะมีหงิ้ บชู า เปน็ ที่สิงสถิตของวญิ ญาณบรรพบุรุษ และมีความเชื่อในเรื่องที่อยู่
เหนือธรรมชาติ และส่ิงศักด์ิสิทธิ์ ตลอดจนการนับวันเดือนปี ส่ิงที่เกี่ยวข้องกับ
ชีวิตประจําวัน โชคลางและการทํานาย พิธีกรรมที่สําคัญ จะมีพิธีกรรมการ
ต้ังครรภ์ พิธีกรรมการเกิด การสู่ขวัญ การบวช การแต่งงาน พิธีงานศพ ขึ้นปีใหม่
และวันกรรม วันเจี๋ย เจียบ เฝย (สาร์ทจีน) พิธีซิบตะปูงเมี้ยน เมี่ยนได้เริ่มนําเอา
ลัทธิเต๋ามาเป็นแนวทางในการปฎิบัติเมื่อคร้ังอพยพทางเรือในช่วงคริสศตวรรษที่
13 ความเชื่อของเมี่ยนจึงผสมผสานกันระหว่างความเชื่อเรื่องเทพ และวิญญาณ
ชง่ึ มคี วามคิดพื้นฐานในการยอมรับเรื่องอาํ นาจของเทพ เจ้าปุาเจ้าเขาหรือส่ิงเหนือ
ธรรมชาติเป็นหลัก ชาวเมีย่ นเชือ่ ว่า ในชีวติ คนจะมขี วัญ (เวิ่น) ซ่อนอยู่ในสวนต่างๆ
ของรา่ งกายซึ่งมีทั้งหมด 11 แห่ง คือที่ เสน้ ผม, ศีรษะ, ตา, หู, จมูก, ปาก, คอ, ขา,
แขน, อก, ท้อง, และเท้าเมื่อเสียชีวิตไปขวัญ จะเปล่ียนเป็นวิญญาณหรือผี (เมี้ยน)
และจะสิงสถิตย์อยู่ในธรรมชาติ เช่น ในภูเขา แม่น้ํา หรือท่ัวไป ซึ่งปกติอํานาจของ
วิญญาณหรือของเหนือธรรมชาติ ในโลกจะมคี วามสัมพันธ์อันดีกับมนุษย์ แต่ถ้าไป
ทําให้ผีโกรธแล้วผี จะทําให้เกิดความทุกข์ทรมานและมีความเสียหายได้ เมี่ยนมี
ทัศนคติว่าความมั่นคง และความปลอดภัยของมนุษย์ทั้ง ขณะดํารงชีวิตอยู่และ
หลังจากตายไปแล้วล้วนจะขึ้นอยู่กับวิญญาณหรือภูตผีเพราะเมี่ยน เชื่อว่ามนุษย์
อยู่ในความคุ้ม ครองของวิญญาณหรือภูตผี การสร้างความสัมพันธหรือติดต่อกับ
วิญญาณภตู ผีกระทาํ ไดโ้ ดยผา่ นพิธกี รรมเท่านั้น

ความเชื่อเกีย่ วกบั สถานที่
ความเชื่อเกี่ยวกับสถานที่หรือสุสานถือเป็นเรื่องที่สําคัญสําหรับเมี่ยนมาก เช่น
สุสานหรือหลุมฝ๎งศพของเมี่ยน ก่อนที่จะทําการไปฝ๎งกระดูก หรือศพจะมีการทํา
พิธีถามดวง วิญญาณของผู้ตาย และเจ้าที่ก่อนว่าจะพักอยู่ไหนโดยอาจารย์ผู้
ประกอบพิธีจะใช้ไข่ไก่ดิบ 1 ฟอง แล้วโยนไข่ไปเรือ่ ยๆ จนกว่าไข่จะแตก ถ้าไข่แตกที่
ไหนก็แสดงว่าทําเลตรงน้ันดี และสามารถฝ๎งกระดูกได้ แต่ถ้าไข่ไม่แตกก็ต้องโยน
ต่อไปเรื่อยๆ จนกว่าไข่จะแตก พื้นที่ฝ๎งกระดูกหรือบริเวณสุสานของบรรพบุรุษ
จะต้องทําพิธีและไปดูแลสุสานให้ดี หากทําเลที่ตั้งสุสานของบรรพบุรุษไม่ดีหรือที่
เมี่ยนเรียกว่า ออน ต้อย ลูกหลานก็ไมเ่ จริญ

ความเชือ่ เกีย่ วกบั ปา่ เขาต่าง ๆ
เมีย่ นเชื่อว่าดอยทกุ ดอย ปุาทกุ ปุาจะมีเจ้าปาุ เจ้าเขาและวญิ ญาณอยู่จํานวนมาก
เมื่อเดนิ ทางเข้าไปในปาุ อาจชนใส่ เหยียบใส่ หรือทําผิดโดยทเ่ี ราไม่รู้ตัว ซึ่งอาจทาํ
ให้ดวงวิญญาณเจ้าปุาเจ้าเขาเหล่านี้ไดร้ ับความเดือดรอ้ น และอาจจะจับเอาขวญั
ของเราไปหรือทําใหเ้ ราเจบ็ ปุวยได้ ดงั น้ันจึงจะต้องทําพธิ ีกรรมขอขมาต่อดวง
วิญญาณเจ้าปุาเขา

ความเชื่อเกีย่ วกบั หนองนา้
เมี่ยนเชือ่ ว่าในหนองน้ําจะมีผหี รือดวงวิญญาณสิงสถิตย์อยู่มากมาย เช่น จ่าง ต๋อง
ซุ้ย, เย่ียน ฟิว เมี้ยน ถ้าเกิดหนองน้ําแห่งไหนมี จ่าง เมี้ยน อาศัยอยู่ หากคนไป
รบกวน หรือทําผิดต่อ จ่าง เมี้ยน อาจจะทําให้ไม่สบายต้องทําพิธีถาม โบว้ กวา
(เสีย่ งทาย) ว่าได้ไปรบกวนอะไร พอรแู้ ล้วกจ็ ะต้องทาํ พธิ ีขอขมา

ความเชือ่ เกีย่ วกับแม่นา้
ในแมน่ ้ําเมี่ยนมคี วามเชื่อว่ามีดวงวิญาณ อือ่ ฮอย ฮู่ง หรือ ซุ้ย โกว้ เมี้ยน อาศัยอยู่
มีความเชือ่ ว่าหา้ มผู้หญิงในช่วงอยู่ไฟเอาเสื้อผ้าไปซกั อาบน้าํ หรือข้ามแม่น้าํ
เพราะถือว่าผู้หญิงในชว่ งอยไู่ ฟร่างกายยังไม่สะอาด หากมคี วามจาํ เป็นต้องข้าม
แมน่ ้าํ กต็ ้องเอากระดาษผี (เจ่ย ก๋อง) มา่เผาเพือ่ เปน็ การบอกกล่าว และขอขมาต่อ
เทพที่อาศัยอยใู่ นแมน่ า้ํ กอ่ นจึงจะขา้ มน้ําได้

ความเชือ่ เกี่ยวกบั จอมปลวก
เมี่ยนเชือ่ ว่าในจอมปลวกน้ันมีสิ่งศักดส์ิ ทิ ธิอ์ าศัยอยู่ และสิ่งศกั ดิ์สิทธิท์ ี่อาศัยอยใู่ น
จอมปลวกนี้เปน็ สิ่งทีค่ มุ้ ครองใหเ้ ราเดินทางปลอดภัย เมื่อเดินทางผ่านไปจะต้อง
เกบ็ เอาใบไม้ใบหญ้า มาวางไว้บนจอมปลวก เพราะถือว่าเป็นการมงุ หลังคาใหก้ ับ
จอมปลวกเพือ่ ไม่ใหจ้ อมปลวก โดนแดดโดนฝน การที่จะทราบไดว้ ่าปลวกอนั ใดที่
เปน็ สถานทศี่ กั ดส์ิ ทิ ธิ์อาศยั อยู่ จะสงั เกตไดว้ ่า หลังจากท่คี นเอาใบไมใ้ บหญ้าไปวาง
ไวแ้ ล้ว หากจอมปลวกน้ันยงั มีการสร้างดินทับใบไม้ใบหญ้าอยลู่ ะกแ็ สดงว่าทีน่ ้ันมี
ความศักดส์ิ ทิ ธิ์จริง เวลาเดนิ ทางผ่านต้องระมดั ระวงั ห้ามปส๎ สาวะใกล้ๆ กบั จอม
ปลวกหรือบางคนดวงไม่ดีแค่เดนิ ผ่าน เมื่อกลับมาถึงบ้านกไ็ มส่ บายต้องทําพิธีขอ
ขมา ความเชื่อเกี่ยวกบั นรก-สวรรค์ เมีย่ นเชื่อว่าในขณะปน็ มนษุ ยอ์ ยู่นั้นหากทาํ แต่
เรื่องทีไ่ มด่ ี เมือ่ เสยี ชีวติ วิญญาณจะตกนรกและวญิ ญาณจะไมไ่ ด้ไปเกิดใหม่ เมื่อมี
ญาติเสยี ชีวติ หลงั จาก งานศพผ่านไปไม่นาน ลูกหลานก็จะมีการทําพธิ ีเชญิ
วิญญาณคนตายมาถามวา่ เปน็ อยา่ งไรบา้ ง อยู่สขุ สบายหรือไม่ หากวิญญาณตก
นรกหรืออยู่ ลาํ บากก็จะบอกให้ลกู หลานทราบ เมื่อรู้วา่ วญิ ญาณบรรพบุรษุ ตก
นรกลูกหลานต้องทาํ พิธเี อาวิญญาณขนึ้ จากนรก ทําพิธนี ี้เรยี ก เซียว เต่ย หยัวน
การขึ้นสวรรค์เชือ่ ว่าคนทีจ่ ะขน้ึ สวรรค์ไดน้ ้ัน คือ คนทีผ่ ่านพิธีบวชใหญ่ (โต่ว ไซ)
เพราะถือว่าเป็นคนทีม่ บี ญุ บารมี และภรรยาจะไดบ้ ุญบารมีจากสามี ซึ่งกส็ ามารถ
ขึ้นสวรรคไ์

พิธีส่งผีป่า
เรียกว่า พิธีฝูงเย่ียนฟิวเมี้ยน หมายถึง การส่งผีปุา พิธีกรรมนี้เป็นพิธีกรรมของ
เมี่ยนที่มีมาแต่ดั้งเดิมแล้ว และได้สืบทอดมาจนถึงทุกวันนี้ เมี่ยนเชื่อว่าพิธีกรรมนี้
เป็นอีกพิธีกรรมหนึ่งที่ช่วยในการที่คนๆ หนึ่งไปทําผิดต่อผีปุาหรือลบหลู่โดยไม่ได้
ต้ังใจ แล้วเมื่อผีปุาเกิดความโกรธจึงทําให้เกิดการเจ็บปุวยขึ้นมา และจะไม่
สามารถรกั ษาได้ โดยท่วั ไปจึงต้องทําพิธีเพือ่ ขอขมา

การทาํ พธิ ีนี้จะเริ่มมาต้ังแต่การทําพิธีกรรมย่อย โดยเมื่อมีคนที่เกิดอาการเจ็บปุวย
ขึ้นมา ไม่สามารถรักษาให้หายได้โดยการกินยา คนในครอบครัวนั้นก็ต้องไปทําพิธี
ถามหมอผี โดยการไปทําพิธี (โบ้วจุ๋ยซากว๋า) ก่อน คือ ทําพิธีถามวิญญาณบรรพ
บุรุษว่าที่เกิดอาการปุวยนี้ เกิดจากสาเหตุใด เมื่อทําการถามเสร็จแล้ว หมอผีก็จะ
บอกคนปุวยว่าคนปุวยนั้นได้ทําผิดต่อผีปุา คนปุวยก็จะได้รู้ว่าตนน้ันได้ทําผิด
อย่างไรต่อผีปุา และทําผิดต่อส่ิงไหน จากน้ันหมอผีก็จะบอกให้กับคนปุวย และ
ครอบครัวให้ไปทําพิธีส่งผีปุา โดยหมอผีจะบอกว่าจะต้องนําอะไรในการเซ่นไหว้
เพื่อขอขมา หลังจากน้ันคนในครอบครัวก็จะหาวัน เพือ่ ที่จะไปทาํ พธิ ีส่งผีปุาต่อไป

การส่งผีปุานี้จะต้องเตรียมอุปกรณ์ตั้งแต่อยู่บ้าน อุปกรณ์ก็จะมีสัตว์ที่ใช้เซ่นไหว้
กระดาษเงินกระดาษทอง (เจ่ยก๋อง) เอาไปเพื่อเป็นเงนิ ทองทีจ่ ะเอาไปเผาส่งให้กับผี
ปุา และยังมี (จ๋าว) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ถามความต้องการ เวลาส่งเงินทองให้กับผีปุา
ว่าเพียงพอหรือว่ายังไม่เพียงพอ จ๋าวเป็นอุปกรณ์ที่ทํามาจากไม้ไผ่ ถ้าไม้ไผ่หงาย
ท้ัง 2 อัน ก็แสดงว่าผีปุาพอใจกับเงินทองที่คนปุวยส่งไปให้แล้ว ถ้าไม้ไผ่ไม่หงาย
อย่างที่ต้องการทั้ง 2 อัน ละก็ต้องทําการถามต่อไปเรื่อยๆ จนกว่าผีปุาพอใจ การ
สง่ วญิ ญาณผปี ุานี้ จะเริ่มทําตั้งแต่อยบู่ ้านเลย ก่อนทีจ่ ะออกไปในปุาเพื่อที่จะทําพิธี
ส่งผีปุาน้ัน หมอผีก็จะสวดยันต์ปูองกันผีร้ายไว้ให้คนละอัน คนที่จะไปน้ันจะต้อง
ได้รับยนั ต์ปูองกนั ผีปุาจากหมอผีคนละอนั โดยหมอผีจะทาํ การสวดคาถาก่อน เพื่อ

จะให้คุ้มครองคนที่จะไปด้วยในขณะเดินทาง ต้องเอาติดไว้กับเสื้อที่เราใส่อยู่ เพื่อ
เปน็ การปูองกันส่งิ ชว่ั รา้ ยต่างๆ เมื่อไปถึงในปุาที่ท่จี ะทําพธิ ีแล้ว ผู้ช่วยหมอผีก็จะทํา
การเตรียมพื้นทีแ่ ล้วกจ็ ดั เครือ่ งเซ่นไหว้ แล้วก็ฆ่าไก่เพื่อที่จะทําพิธีต่อไป ไก่น้ันจะมี
ทั้งหมด 3 ตัว ตัวหนึ่งจะเป็นไก่ที่ฆ่าเพื่อเซ่นไหว้ให้กับ (ใส เตี๋ย) ซึ่งเป็นวิญญาณ
บรรพบุรุษของคนปุวย เพื่อให้วิญญาณบรรพบุรุษช่วยคุ้มครองคนปุวยและ
ครอบครัวของคนปุวย อกี 2 ตวั เปน็ ไกท่ ีฆ่ า่ เพือ่ เซ่นไหวใ้ ห้กับผีปาุ เพือ่ ขอขมากบั ผี
ปุาที่ทําให้โกรธและไปลบหลู่ถูกผีปุาโดยไม่รู้ตัวน้ันเอง จึงเป็นเหตุทําให้ไม่สบาย
และปุวยเกิดขึ้น จึงต้องทําการขอขมาให้ผีปุาไม่มาทําร้ายอีก ขอจงปล่อยให้คน
ปุวยกลับมาเปน็ อสิ ระเหมือนเดมิ อยา่ ไดท้ ํารา้ ยกันอีกต่อไป ในขณะที่ทําอยู่น้ันกจ็ ะ
มีด้ายเส้นหนึ่งที่ใช้ผูกไว้กับ (สิเจียน) และผีปุาที่เราทําเป็นรูปจําลองขึ้นมา แล้วทํา
การสวดขอขมาผีปุาเพื่อปล่อยให้คนปุวยนั้นให้เป็นอิสระ เมื่อทําการสวดเสร็จก็จะ
ตัดด้ายเส้นนั้นให้ขาด เพื่อไม่ให้ผีปุามารบกวนคนปุวยอีก เมื่อตัดเสร็จแล้วก็จะทํา
การเผากระดาษเงิน กระดาษทองใหก้ ับผีปุาทีต่ ้องการจนหมด แล้วก็นําร่างจําลอง
ของผีปุาไปทิ้งให้ไปอยู่ในปุาเหมือนเดิม หลังจากน้ันก็จะเสร็จพิธีในการทํา ผู้ช่วย
หมอผีก็จะนําไก่มาต้มยําทําแกง แล้วก็ร่วมรับประทานกันกับทุกคนที่มาด้วยการ
ส่งผีปุานี้จะใช้เวลา 2 ชั่วโมงกว่าๆ จึงเป็นอันเสร็จพิธี พอทานเสร็จตอนกลับบ้าน
จะห้ามนําอาหารที่เหลือกลับบ้าน และจะไม่แวะเข้าบ้านของชาวบ้าน เพราะถือว่า
ไมเ่ ป่็นมงคล และเมือ่ กลับถงึ บ้านกต็ ้องล้างมือก่อนเข้าบ้าน คนที่ไปน้ันต้องทําตาม
พิธอี ย่างพถิ ีพิถนั

พิธีเรยี กขวญั

การเรียกขวัญก็เป็นอีกหนึ่งพิธีกรรมที่เมี่ยนให้ความเคารพนับถือมาโดยตลอด ใน
ระยะ 1 ปีของเมี่ยนนั้นแต่ละคนต้องทําการเรียกขวัญอย่างน้อย 1ครั้ง บางคนน้ัน
อาจจะเรียกขวญั ปีละ 2-3 คร้ังก็มี เนื่องจากคนคนน้ันเกิดอาการปุวยเกิดขึ้น หรือ
ทําเมื่อตกใจเหน็ อะไรทไ่ี มด่ ี จะต้องเดินทางไกล จากบ้านไปนาน ชนเผ่าเมี่ยนจึงทํา
การเรียกขวัญ เพื่อที่ให้ขวัญกับมาอยู่กับตัว เมี่ยนเชื่อว่าการเรียกขวัญน้ันจะช่วย
ขจัดความทุกข์ทรมานได้ และเมื่อทําแล้ว วิญญาณบรรพบุรุษก็จะมาคุ้มครอง
และดูแลผู้เรียกขวญั เมื่อเรียกขวัญเสรจ็ กจ็ ะทาํ ใหค้ นที่สู่ขวัญน้ันสบายใจขึน้

การเรียกขวญั ของเมี่ยนน้ันจะอยู่ช่วงระหว่างเทศกาลปีใหม่ของเมีย่ น เพราะช่วงน้ัน
พี่น้องในทกุ ๆ บ้านก็จะกลบั บ้านมาพรอ้ มหน้าพร้อมตากัน พี่น้องที่อยู่ไกลเมื่อกลับ
มาถึงบ้าน พ่อแม่ก็จะห่าหมอผีมาช่วยเรียกขวัญ เนื่องจากว่าคนที่อยู่ห่างไกลจาก
บ้านนั้นจะไม่ค่อยกลบั บ้าน จึงไม่ค่อยไดเ้ รียกขวญั เท่าไหร่นัก กวา่ จะไดเ้ รียกขวัญที
หนึง่ กต็ ้องนานเปน็ ปี ชว่ งเทศกาลปีใหม่นจี้ ึงเปน็ ช่วงทีเ่ หมาะกบั การเรียกขวญั ใหก้ ับ
คนในครอบครัวมากที่สุด การเรียกขวัญนี้จะใช้เวลาไม่มากนัก และไม่ต้องใช้
เครื่องเซ่นไหว้มากมาย ถ้าเรียกขวญั เด็กอายุ 1 - 12 ขวบ จะใช้ไก่ตัวและไข่ไก่ฟอง
กระดาษเงินและเหล้า เป็นเครื่องเซ่นไหว้ โดยจัดไว้บนโต๊ะหน้าห้ิงบูชา (ซิบเมี้ยน
เมี่ยน) จะทําพิธีท่องคาถา และเผากระดาษเงินให้วิญญาณบรรพบุรุษ เพื่อขอให้
ชว่ ยดูแลรักษา เมือ่ ยามทีไ่ มส่ บายเกิดขึ้น หรือเวลาที่ออกไกลบ้านไป และคุ้มครอง
ขวญั ใหอ้ ยู่กับตัวตลอด

การเรียกขวัญของผู้ใหญ่นั้นก็จะทําคล้ายกันกับของเด็ก เพียงแต่แค่เปล่ียน
เครื่องเซ่นไหว้ใช้หมูแทนไก่กับไข่ นอกนั้นก็จะเหมือนกับเด็กทุกข้ันตอน การเรียก
ขวัญจะใช้เวลาไม่มากนักประมาณ 2 ชั่วโมงเท่านั้นเอง เมื่อทําพิธีเสร็จก็จะ
ทําอาหารร่วมรับประทานกับอาจารย์ผู้ประกอบพิธี อาจารย์ผู้ประกอบพิธีก็จะ

บอกว่าขวัญเรากลับมาหรือยัง เพื่อที่จะได้รู้ว่าเป็นอย่างไรบ้าง ดีหรือว่าไม่ดีตาม
ประเพณี อาจารยผ์ ู้ประกอบพิธีก็จะบอกเรา ถ้าหากว่าไม่ดีเราก็ต้องทําพิธีตามข้ัน
ต่อไปที่อาจารย์ผู้ประกอบพิธีบอกคนในครอบครัวก็จะหาหมอผีมาช่วยเรียกขวัญ
ให้กับคนคนนั้น

พิธีสะพานเรียกขวญั หรือพิธีตอ่ อายุ

โดยการสร้างสะพานให้วิญญาณข้ามกลับมาหาร่าง เป็นพิธีที่ใช้ระยะเวลาหนึ่งวัน
จะทําพิธีกันที่ชายหมู่บ้าน การจัดพิธีโดยเริ่มจาก เตรียมไม้กระดาน ซึ่งพึ่งเลื่อย
จากต้นไม้สดๆให้มปี ุมไมย้ ื่นจากกระดานจํานวนเท่าครั้งของพิธที ที่ าํ มาแลว้ สําหรบั
คนๆนั้น เขาจะทอดกระดานแผ่นนี้ ข้ามลําธารหรือทอดบนพื้นดินให้ขนานกับ
ทางเข้าหมบู่ ้าน ก่อนทําพิธี ผู้ประกอบพิธีจะเตรียมเขียนสารขึ้นมาหลายฉบับ โดย
ฉบับหนึ่งถึงบรรพชน ฉบับหนึ่งถึงเทพเจ้าํุตไต๋ (คือ) และอีกฉบับถึงขวัญที่หลง
ทางหายไป แล้วประทับตรามา้ เร็ว (ม้าเร็วคือ) เพื่อให้สารน้ันไปถึงมือผู้รับโดยด่วน
แล้วจึงล้มลูกแบ่งหมูตัวน้ันเป็นห้าช้ินแล้วประกอบเข้ากันเป็นหมูอย่างเดิม ตั้งไว้ที่
ปลายสะพานด้านหมู้บ้าน ตั้งเครื่องเซ่นพระเจ้าํุตไต๋ไว้ใกล้ๆตัวหมู ส่วน
เครื่องเซ่นอีกชุดหนึ่งต้ังไว้บนโต๊ะเล็กที่ปลายสะพานอีกด้าน ผู้ประกอบพิธีจะทํา
การไหว้วิญญาณอุป๎ชฌาจารย์ (คือ) และเผาสารเป็นการส่งข้อความไปสู่ภูตภูมิ
เมื่อเริ่มพิธีคนปุวยจะต้องนั่งขัดสมาธิอยู่ที่เชิงสะพานด้านหมู่บ้าน มีผ้าขาวคล่ีวาง
พาดตัก ผู้ประกอบพธิ ีจะสวดมนต์หลายจบแล้วซดั ข้าวสารมาจากปลายสะพานอีก
ด้านหนึ่ง มายังคนปุวย ซึ่งคนปุวยจะต้องพยายามรับให้ได้บ้างด้วยผ้าขาวเพื่อ จะ
นําข้าวสารที่ได้ไปถวายผู้ประกอบพิธี ผู้ประกอบพิธีจะมอบไก่เป็นๆ หนึ่งตัวให้คน
ปุวยพรอ้ มกับท่อนไม้ ซึ่งเมื่อคนปุวยรับมาแล้วก็จะต้องเดินข้ามสะพานแล้วกลับไป
บ้านทันทีโดยไม่เหลียวหลัง แล้วผู้ประกอบพิธีขะเผาเงินกระดาษท้ายพิธี หากทํา
ทุกอย่างถูกต้องแล้ว เชื่อกันว่า ไม่ช้าไม่นาน ขวัญก็จะกลับเข้าร่างเป็นอันฟื้นคือ
สุขภาพ ในป๎จจุบัน การทําพิธีนี้ถือได้ว่าเป็นพิธีที่นิยมทําพิธีหนึ่ง ซึ่งเป็นความเชื่อ
ของคนสมยั ก่อนถึงป๎จจบุ ัน ซึง่ คนส่วนใหญ่แลว้ จะเชื่อคลา้ ยๆกนั คือ ถ้าทําพิธีแล้ว
จะสบายใจ เพราะเชื่อว่า การทําพิธีนี้แล้ว จะเรียกขวัญคืนมา ต่ออายุแล้วยังลบ
ลา้ งสง่ิ ทีไ่ ม่ดีที่เขา้ มาทําให้ไม่สบาย จึงมพี ิธนี ี้เกดิ ข้ึนตามความเชือ่

การแต่งกาย

ชาวเมี่ยนมีชื่อเสียงในเรื่องการตีเครื่องเงิน ทั้งนี้เพราะเมี่ยนนิยมใช้เครื่องประดับที่
เป็นเงินเช่นเดียวกับชาวชนเผ่ากลุ่มอื่นๆ และรูปแบบเครื่องประดับแต่ล่ะช้ิน เป็น
งานฝีมือปราณตี เมือ่ มีงานประเพณีผู้หญิงเม่ยี นจะประดบั เครือ่ งเงนิ กนั อย่างเต็มที่

การตัดเย็บการป๎กลายและการใช้สีในการป๎กลายเครื่องใช้ต่างๆ ทั้งใน
ชวี ิตประจาํ วัน และใชใ้ นพิธกี รรมต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพิธีบวช (กว๋าตัง) และ
พิธีแต่งงานเช่น ผ้าต้มผาเป็นผ้าคลุมวางทับโครงไว้บนศีรษะของเจ้าสาวในพิธี
แต่งงานแบบใหญ่ ฯลฯ แต่ที่เมี่ยนนิยมป๎กลายมีผ้าห่อเด็กสะพายหลัง [ซองปุ๋ย]
และถงุ ใส่เงิน [ยา่ นบ่วั ] และสิ่งทีเ่ มีย่ นนํามาตกแต่งคือ การถักเส้นด้าย คล้ายด้ินใช้
สําหรับติดปลายชายเสื้อผ้าการใช้ผ้าตัดปะเป็นวิธีการอันเก่าแก่ของเมี่ยนที่ได้ รับ
อทิ ธิพลมาจากประเทศจีนสว่ นใหญ่เมย่ี นทีพ่ นั หัวแบบหวั แหลม (ก่องเปลวผาน) จะ
นิยมการตัดปะ ส่วนการใช้พู่ประดับสตรีเมี่ยนทุกกลุ่มจะติดพู่ก้อนกลม สีแดงเป็น
แถวยาวและสร้อยลกู ป๎ดติดพู่ห้อย อาจจะใช้ไหมพรมสแี ดงจํานวนเส้นคู่ตั้งแต่ 2-8
เสน้ ติดที่ชายเสื้อสตรีตรงข้างเอว

ชาวเมี่ยนใหค้ วามสาํ คัญกับการแต่งกายให้เหมาะสมก่อนการทําพิธีกรรม การเย็บ
ป๎กชุดจึงเป็นเรื่องของหญิงเมี่ยน ซึ่งชุดการเข้าพิธีจะคล้ายกับชุดเทวภาพเต๋า
(เมี้ยน) ที่เมี่ยนนําถือ ซึ่งก่อนการเข้าพิธีบวช (ก๋วาตัง) หญิงเมี่ยนจะต้องเตรียมชุด
ไวใ้ ห้พร้อมก่อนการเข้าพิธีกรรม การป๎กผ้าชุดของผู้เข้าพิธกรรมีที่มีลวดลายป๎ก มี
ผ้าจุ้นและเส้นต้อตาย สีที่ใช้มีสีขาวและสีแดง เป็นส่วนใหญ่นอกจากนี้อาจารย์ผู้
ประกอบพิธีกรรมและผู้เข้าพิธีกรรมต้องใช้คือผ้าชนิดต่างๆมาประกอบดว้ ย

ลักษณะการแต่งกายของผชู้ าย
ประกอบไปดว้ ยเสื้อตวั สน้ั หลวม คอกลมช้ินหน้าหอ่ อกออ้ มไปติดกระดมุ ลูกตุ้มเงนิ
ถึงสบิ เมด็ เปน็ แถวทางด้านขวาของรา่ งในบางทีอ่ าจนิยม ป๎กลายดอกทีผ่ ืนผ้าด้วย
แล้วสวมกบั กางเกงขาก๊วยทงั้ เสื้อ และกางเกงตดั เยบ็ ดว้ ยผ้าฝาู ยทอมือยอ้ มคราม
สนี ้าํ เงนิ หรือยอ้ มดําคนรุ่นเก่ายงั สวมเสื้อกํามะหยใ่ี นงานพธิ ี แต่ยิง่ อายมุ ากขึน้ เสื้อ
ของชายเมี่ยนก็จะลดสสี ันลงทุกทีจนเรียบสนิท ในวัยชราบรุ ษุ เมีย่ นจะใชผ้ ้าโพก
ศีรษะในงานพิธีเท่านน้ั เครื่องแต่งกายเด็ก ทง้ั เด็กหญิงและเด็กชายจะมีการแต่ง
กายที่คลา้ ยกบั แบบฉบับของการแต่งกายผู้ใหญ่ทั้งหญิง และชาย เพียงแต่เครื่อง
แต่งกาย ของเดก็ จะมีสีสันน้อยกว่าบ้าง เช่น เด็กหญงิ อาจจะยงั ไม่ปก๎ กางเกงให้
เพราะยงั ไมส่ ามารถรักษาหรือดูแลให้สะอาดได้ จึงเป็นการสวมกางเกง เด็ก
ธรรมดาทั่วไป สว่ นเดก็ ชายกเ็ หมือนผู้ใหญ่ คือ มีเสื้อกับกางเกงและทีไ่ ม่เหมือนคือ
เด็กชายจะมีหมวกเด็ก ซึ่งทั้งเด็กหญิงและเดก็ ชายจะมีการปก๎ ก็มลี กั ษณะคลา้ ยกัน
แต่หมวกเดก็ ผู้ชายจะเยบ็ ด้วยผ้าดําสลับผ้าแดง เป็นเฉกประดบั ดว้ ยผา้ ตดั เป็น
ลวดลายขลิบรมิ ดว้ ยแถบไหมขาวติดปยุ ไหมพรมแดงบนกลางศีรษะ หรือมีลายเสน้
หนึ่งแถวและลายปก๎ หนึ่งแถวสลับกันอย่างละสองแถว สาํ หรบั หมวกเด็กหญิงมี
ลายปก๎ เพม่ิ ขึ้นอกี หนึง่ แถว หรือสองแถวและจะมีผา้ ดาํ ป๎กลวดลายประดบั ไหม
พรมสีแดงสดบนกลางศีรษะและข้างหู

ลักษณะการแตง่ กายของผู้หญิง
ประกอบไปดว้ ยกางเกงขาก๊วย ซึ่งเต็มไปดว้ ยลายป๎กเสื้อคลมุ ตัวยาวถึงข้อเท้า มี
ไหมพรมอยรู่ อบคอ ผา้ คาดเอวและผ้าโพกศีรษะ การพันศีรษะต้องพนั ศีรษะ ด้วย
ผ้าพื้นเปน็ ช้ันแรก จากนั้นก็มาพันชน้ั นอกทบั อกี ที การพนั ชั้นนอกจะใชผ้ ้าพนั ลาย
ปก๎ ซึ่งมลี ักษณะการพันสองแบบคือแบบหวั โต (กอ่ งจุ้น) และแบบหัวแหลม (ก่อง
เปลวผาน) และผ้านี้จะพันไวต้ ลอดแมใ้ นเวลานอน หญิงเมีย่ นนุ่งกางเกงขาก๊วยสดี าํ
ดา้ นหน้ากางเกง เป็นลายปก๎ ทีล่ ะเอยี ด และงดงามมาก ลวดลายนี้ใชเ้ วลาปก๎ 1 -
5 ปีขึ้นอยู่กับความละเอยี ดของลวดลาย และเวลาวา่ งของผปู้ ก๎ เปน็ สําคัญ ดว้ ยเหตุ
นี้หญิงเมย่ี นจึงอวดลายปก๎ ของตน ดว้ ยการรวบปลายเสื้อที่ผ่าดา้ นข้างท้ังสองมา
มัดด้านหลงั และใช้ผ้าอกี ผืนหนึง่ ทําหน้าเปน็ เขม็ ขัดทบั เสื้อ และกางเกงอกี รอบหนึง่
โดยท้งิ ชายเสื้อซึ่งป๎กลวดลายไว้ขา้ งหลงั การตดั เยบ็ จะตัดเยบ็ ด้วยผ้าฝูายพื้นสดี าํ
ยกเว้นเสื้อคลมุ ซ่งึ อาจใช้ผ้าทอเครือ่ งในบางกรณี การป๎กลายของเมย่ี นตามบาง
ท้องถิน่ อาจเหมือนหรือแตกต่างกนั บ้างตามความนิยม

เครื่องดนตรี

เครือ่ งดนตรีของเมีย่ นมีลกั ษณะเป็นการเล่นดนตรีแบบง่ายๆ ไม่ซบั ซ้อน โอกาสใน
การเลน่ ดนตรีของเมี่ยนค่อนข้างจํากัด คือ ดนตรีของเมี่ยนจะมีโอกาสนําออกมา
เลน่ ไดก้ เ็ ฉพาะ เพื่อใชเ้ ป็นสว่ นประกอบในการดําเนินพิธีกรรมใหญ่ๆ หรือสาํ คญั ๆ
ตามตําราพธิ ีกรรมระบุไวว้ ่า ต้องใชเ้ ครือ่ งดนตรีประกอบเท่านน้ั เชน่ การแต่งงาน
พิธบี วช พิธงี านศพ พธิ ีกรรมดงึ วญิ ญาณคนตายจากนรก (เชวตะหย่ัว) เป็นต้น
และในบางพิธกี รรมเหลา่ นี้ การใชเ้ ครือ่ งดนตรีร่วมประกอบพธิ ีกรรมยงั ไม่อาจใช้
เครื่องดนตรีครบทกุ ประเภทอีกด้วย ทั้งนี้ข้ึนอยู่กบั ชนิดของพธิ ีกรรม และ
คณุ สมบัติของบคุ คลทเ่ี ป็นเจ้าของพิธีกรรม เชน่ ดนตรปี ระกอบพิธกี รรมแก่ผตู้ าย
ทีไ่ ม่เคยผ่านการบวชใหญ่ จะใช้ปี่ไม่ได้ หรือพีธีดึงวิญญาณคนตายข้ึนจากนรก จะ
ใช้เครือ่ งดนตรีเพียงแค่ฉาบและกลองเท่านั้น นอกจากกรณีเพื่อเปน็ สว่ นประกอบ
ทางพิธีกรรมดังกล่าวแล้ว ดนตรีของเมีย่ นไม่มโี อกาสสง่ เสียงสําเนียงให้ผู้อืน่ ได้ยิน
อกี แมแ้ ต่การฝึกซอ้ ม

การเลน่ ดนตรีประกอบพิธีกรรม จังหวะและทํานองของดนตรีจะเปลย่ี นแปลงไป
ตามขั้นตอนของพีธกี รรม หรือเหตุการณใ์ นพิธกี รรม เชน่ การแตง่ งาน ข้ันตอน
พิธกี รรมท่เี จ้าบ่าวเจ้าสาวทาํ พธิ ีไหว้วิญญาณบรรพบุรุษ ไหว้ฟูาดนิ ดนตรจี ะทาํ
จังหวะและทํานองอย่างหนึง่ การเชญิ แขกเข้าโต๊ะรับประทานอาหาร หรือกําลัง
รบั ประทานอาหาร ดนตรีก็จะทําจังหวะทีแ่ ตกต่างกนั ไป ผู้เข้าใจจังหวะและทาํ นอง
ดนตรีจะสามารถรเู้ หตุการณ์ หรือข้ันตอนที่กาํ ลงั ดําเนินอยใู่ นพิธกี รรมน้ันได้ แม้
มิไดเ้ หน็ ดว้ ยตาก็ตาม เครื่องดนตรีของเมีย่ นยงั ไมส่ ามารถที่จะเอาออกมาเลน่
เหมือนกับเผ่าอื่นได้ ตอ้ งใช้สาํ หรบั ในพิธีกรรมเท่าน้ัน ดังนั้นเมี่ยนจงึ ไม่ค่อยจะมี
การละเลน่ ที่โดดเดน่ เหมือนกับเผ่าอื่น

การละเล่นของเมี่ยน ไดแ้ ก่
1. หนังสตก๊ิ (ถางกง)
ทํามาจากไม้ เมีย่ นจะนาํ ไม้ประมาณเทา่ กับแขนที่ปลายแยกออกจากกัน นํามาแต่ง
ให้สวยและพอกับมือจบั เอาหนงั ยางมามัดใหส้ ามารถดึงแลว้ ยิงได้ วิธีการเลน่ นาํ
ก้อนหินมาวางตรงทีเ่ ปน็ ยาง ดงึ แลว้ ปลอ่ ยใชเ่ ลน่ ยิงแข่งกนั

2. ปนื ไม้ไผ้ (พา้ ง พา้ ง)
เป็นของเล่นทีเ่ ด็กนิยมเลน่ กนั มาก วธิ ีการทํา คือ เอาไมไ้ ผ่ลําใหญ่ขนาดเส้นผ่าน
ศนู ยก์ ลาง 1-2 เซนติเมตร มาทาํ เปน็ กระบอกปืน และเหลาไม้อีกอนั มาใชส้ าํ หรับ
เป็นตวั ยิง จะนําผลของต้นไม้ชนิดหนึง่ มาเปน็ กระสนุ ในการเลน่ เมีย่ นเรียกว่าพ้าง
พ้างเปีย้ ว

3. กระบอกสบู นา้ (เฮ้าดงแฟะ)
เป็นการละเลน่ อีกอยา่ งหนึ่งที่ทาํ มาจากไมไ้ ผ่ ใชไ้ มไ้ ผ่ทค่ี ่อนข้างแกท่ าํ เป็นตัว
กระบอก และทําท่สี บู โดยการตัดรองเท้าแตะเกา่ ๆ หรือเอายางมามัดเป็นวงกลม
เสบี บกับที่สบู การเลน่ จะใชก้ ระบอกสบู น้าํ ขึ้นมาแลว้ ก็ดันน้าํ ออกใส่กับเพื่อน ๆ ที่
เลน่ ด้วย จะเล่นในช่วงฤดรู ้อน

4.ไมโ้ กงกาง (ม่าเกะเฮ้า)
ไมโ้ กงกางทาํ มาจากไม้ไผ่ ซึง่ จะมีความสงู ประมาณ 2 เมตร ตรงขาเหยยี บจะสงู
ขึ้นมาจากพื้นประมาณ 50 ซม. หรือจะสูงกว่านี้กไ็ ด้ แล้วแต่ความต้องการของแต่
ละคน ซึง่ เปน็ การละเล่นที่ถือว่าสนกุ สนานมากในวัยเดก็ สามารถเลน่ ไดท้ กุ ฤดูกาล
วิธกี ารเลน่ คือ ขึ้นไปเหยียบแล้วกว็ ิง่ แข่งกนั

5. ขาหย่ังเชื่อก (มา่ เกะฮาง)
เปน็ ขาหยงั่ ทีท่ ํามาจากเชือก การละเล่นก็จะนําไมไ้ ผ่มาตัดเหลือไวแ้ ค่ข้อต่อทีก่ นั้
ระหว่างปูองเท่านั้น เจาะรูแล้วนําเชือกสอดท้ัง 2 ข้าง การเล่นกเ็ หมือนกับขาหยง่ั
ธรรมดาเพียงแค่ใช้ขาเหนีบที่เชือกเท่านั้นเอง

6. ลกู ขา่ ง (ตะโหลย)
การละเลน่ ลกู ข่างเป็นการละเล่นที่ให้ความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ และเปน็
การละเลน่ ของผู้ชาย โดยเมือ่ ถึงเวลาทีเ่ วน้ ว่างจากการทําไร่ทาํ สวน ผู้ชายจะออก
จากบ้านต้ังแตเ่ ชา้ เพื่อจะไปตดั ไม้เนื้อแขง็ สําหรับมาทําเปน็ ลกู ข่าง เมือ่ กลับมาถึง
บ้านกจ็ ะเร่มิ ทําลูกข่างโดยเหลาปลายไมใ้ ห้แหลม ๆ บางคนจะใสเ่ หล็กตรงปลาย
เพือ่ ใหล้ กู ข่างหมนุ ได้นาน จากนนั้ ก็จะมาเล่นกนั โดยแบ่งเปน็ สองฝาุ ย ๆ ละกี่คนก็
ได้
7. ลกู แกว้ (ป้สู ่)ี
ลกู แกว้ นี้ถือว่าเป็นของเล่นอกี อย่างหนึ่งของเดก็ เมี่ยน เมือ่ ถึงชว่ งฤดูกาลหนึง่ เดก็
เมี่ยนก็จะเปลี่ยนของเลน่ ไปตามฤดูกาลน้ัน การเลน่ ลกู แก้วนี้กถ็ ือว่าเป็นอกี อย่าง
หนึง่ ของการละเล่น การเล่นลูกแกว้ นี้จะนําลกู แกว้ มาตีแข่งกนั โดยใช้มือเลน่ จะมี
หลมุ อยู่หลมุ หนึง่ เพื่อการเลน่

8. ก้านกลว้ ย (น้อมจวิ แฝด)
จะนาํ ก้านกลว้ ยมาตดั ใบทิ้ง ตัดก้านใหเ้ ปน็ แฉก ๆ ใหต้ ั้งขึน้ หลาย ๆ อัน แลว้ ใช้มือ
ป๎ดลงเร็ว ๆ กจ็ ะมีเสียงเกดิ ข้นึ มาอยา่ งไพเราะ การเล่นชนิดนี้เปน็ การละเล่นทีม่ ี
ความปลอดภัยมากที่สดุ เด็กเล็ก ๆ จะนิยมเลน่ มาก

ความเชื่อ...เรื่องของ “ไข่ตม้ ...ย้อมสแี ดง”

ชาวจีน เชื่อว่า “ไข่” เป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ “ไข่สีแดง” เป็น
สัญลักษณ์แห่งการก่อเกิด ความมีโชคดี มีความสุขรอบด้าน…ประเพณีการเกิด
ของชาวจนี หลงั จากเด็กลืมตาดูโลก พ่อแมจ่ ะจดั งานเล้ียงไข่ต้มสีแดงขึ้น โดยนําไข่
ไปต้มให้สุกแล้วย้อมเปลือกให้เป็นสีแดง รับประทานกันในครอบครัวและแจกจ่าย
ญาติสนิทมิตรสหาย เพื่อความเป็นสิริมงคลและเป็นการประกาศการถือกําเนิดที่
น่ายินดีในครั้งนี้ชาวจีนยังเชื่อว่าเป็นการอวยพรให้มีลูกหลานมากๆด้วย ในบาง
พื้นทีท่ างตอนกลางของประเทศจีน จะต้มไข่ตามเพศของเด็ก คือ สําหรับบ้านที่ได้
ลูกชาย โดยปกติต้มไข่เป็นเลขคู่เช่น 6 หรือ 8 ใบและแต้มจุดสีดําบนปลายไข่
สําหรับบ้านที่ได้ลูกสาว ต้มไข่เป็นเลขคี่เช่น 5 หรือ 7 ไม่มีการแต้มจุดดําชาวเมี่ยน
(เย้า)...ชนชาติเชื้อสายจีนเดิมแถบแม่น้ําแยงซี ที่อาศัยอยู่มากในแถบจังหวัดทาง
ภาคเหนือ โดยมีความเชื่อว่า "ไข่ต้มย้อมสีแดง เป็นการอวยพรปีใหม่ให้มีโชคลาภ
สุขภาพแข็งแรง ชีวิตเจริญรุ่งเรือง"และการมอบไข่ต้มย้อมสีแดงให้กับแขกผู้มา
เยือน ถือเป็นการอวยพรในงานเฉลิมฉลองตรุษจีนและปีใหม่ของชาวเมี่ยน
ชาวตะวันตก เทศกาลอีสเตอร์ คือ ประเพณีเก่าแก่ที่รู้จักกันดีเกี่ยวกับไข่ใน
วฒั นธรรมแบบตะวนั ตก“ไข่ไก่” เป็นสัญลักษณ์ของวันอีสเตอร์ที่หมายถึง การเกิด
ใหม่...ไข่ในเทศกาลอีสเตอร์จึงเป็นการแสดงถึงการกําเนิดใหม่ของพระเยซู
การนําไข่ไก่มาระบายสีในพิธีฉลองให้มีหลายสีและมีลวดลายต่างๆกัน อาจเป็น
เพราะไข่สงบนิ่งด้วยการหลับใหลและลวดลายเปลือกปริแตกออก...แสดงถึงการ
นําไปสกู่ ารมีชีวติ ใหมใ่ นประเทศยโุ รปบางแห่งอาจไม่นิยมระบายสีไข่อีสเตอร์หลาย
สแี ต่จะระบายดว้ ยสแี ดงสีเดียว เปน็ สญั ลกั ษณ์หมายถึงพระโลหติ ของพระเจ้า

สาํ หรบั บ้านเรา ชาวไทย เรือ่ งราวของไข่ต้มย้อมสแี ดงนี้ มีหลายอย่างเก่ยี วกบั
ความเชื่อในหลายจังหวัด...“การบนบานขอพร” หรือขอความสาํ เร็จต่างๆด้วย “ไข่
ต้มยอ้ มสีแดง” เปน็ ความเชื่อทีท่ ราบกนั ดีว่า หากผู้ทีบ่ นบานขอพรสิง่ ศกั ด์สิ ทิ ธิ์
ต่างๆไว้แลว้ สมหวังให้มาแก้บนดว้ ยไข่ต้มย้อมสแี ดง เคยเหน็ บางคนบนไข่ไวน้ บั ร้อย

ใบทีเดียว “พิธกี รรมในวนั สําคญั ” ความเชือ่ ในการนํา “ไข่ต้มย้อมสแี ดง” เพือ่ มา
ประกอบในพิธีสาํ คัญของวันสาํ คญั ต่างๆของประเพณชี าวไทยเพราะเชื่อว่า ไข่ต้มสี
แดง หมายถึง ความโชคดี ส่งิ ใหมๆ่ ทีจ่ ะเกดิ กบั ชีวิต



กางเกงชาวเขาเผ่าเยา้ (เมย่ี น) อาศยั อยู่ในประเทศไทยใชผ้ ้าใยกญั ชงสีดาํ ทําช่วงเอว
เปูากางเกง และขากางเกง ตกแต่งดว้ ยการปก๎ ลายจากด้ายหลากสี ใช้ด้ายสีเหลือง
สแี ดงเลือดหมู สขี าว สบี านเยน็ สมี ่วงและสีเขียว ลวดลายสวยงาม ขาตรง เปูา
กางเกงตํา่ สีสนั สวยงาม งานฝีมือ


Click to View FlipBook Version