เร่ือง :มลู นิธิส่ งเสรมิ ส่ือเด็กและเยาวชน Draw
ฐติ กิ มล วทญั ญตุ านนท์ ภาพ : Sawanee
บอกกลา่ วความคาดหวัง
หนงั สอื นิทานภาพ ชดุ เดก็ ปฐมวัยรู้เท่าทนั ส่อื ดจิ ทิ ลั มที ้งั หมด ๖ เลม่ ดว้ ยกนั เหมาะสำ�หรับเด็กปฐมวยั
ในช่วง ๒ วัย คอื ๓-๔ ปี และ ๕-๖ ปี
ความน่าสนใจและน่าตนื่ เต้นของหนังสอื นิทานภาพชดุ น้คี อื มเี น้อื หาท่ชี วนผอู้ ่านท่องโลกไอทใี นยุคดิจิทัล
ทเ่ี ด็ก ๆ ทุกคนสนใจ และผใู้ หญ่กอ็ ยากรู้ จึงเป็นหนังสือนิทานภาพท่ผี ้ใู หญ่และเด็กเรยี นรู้ไปดว้ ยกนั เปน็ สะพาน
เชอื่ มคนหลายวยั และยังใหม้ ุมมองในการมองสอื่ ไอที วา่ เปน็ สว่ นหนึ่งของวิถชี วี ิตที่ตอ้ งเขา้ ใจและสร้างสมดุล
ในชีวิตใหเ้ ปน็ ซึ่งคาดหวงั ว่าผู้ใหญ่จะได้ “เข้าใจ” “เท่าทัน” และ “ประยกุ ต์ใช”้ สือ่ อยา่ งสรา้ งสรรค์ และใชเ้ ปน็ สอ่ื
ในการสร้างทักษะชวี ติ ของเดก็ และคนรอบตวั เดก็ ไปพร้อมกัน
คณะท�ำ งานหวงั วา่ หนงั สอื นทิ านภาพชุดนี้ จะเปน็ ส่ือสรา้ งสรรคท์ เี่ ด็ก ครอบครัว คุณครู และผู้ใหญเ่ ห็น
คณุ คา่ น�ำ มาสู่การพูดคยุ แลกเปล่ยี น และหรอื ถา่ ยทอด เผยแพรใ่ นชอ่ งทางต่าง ๆ เพอ่ื เรยี นรู้การอยูก่ ับสอ่ื ในยุค
ดจิ ทิ ัลอยา่ งชาญฉลาด และช่วยกันสรา้ งพลเมอื งดิจทิ ัลในอนาคต
เข็มพร วิรณุ ราพนั ธ์
ผจู้ ัดการสถาบันส่ือเด็กและเยาวชน (สสย.)
เรื่อง : ฐติ กิ มล วทัญญตุ านนท์
ภาพ : Sawanee Draw
1
สมยั น้ใี คร ๆ กม็ มี ือถอื
2
เม่นน้อยก็เหมือนกนั ชอบเล่นมอื ถือทั้งวนั
3
เล่นจนลมื เวลา
ลืมทกุ อยา่ งหมดเลย
4
วู้ป.....
5
6
7
8
“เราอยู่ทีไ่ หนเนยี่ ”
9
“ที่น่ี มนั ท่ไี หนกนั นะ”
10
ชา้ งน้อยเลน่ มอื ถือ
ไม่ยอมออกก�ำ ลังกาย
11
ยรี าฟจอ้ งแตห่ นา้ จอจนสายตาส้นั
12
“จะถามใครด”ี
13
“ทำ�ไมไม่มีใครตอบ”
แมวน้อยมอมแมม มัวแต่ก้มหน้าไมย่ อมเลยี ขน
14
ลงิ จ๋อผอมโซ ไมร่ อ้ งเจยี๊ ก เจีย๊ ก
15
“ท่ไี หนกไ็ มร่ ู้ นา่ กลวั จงั เลย”
16
“แล้วเราจะออกไปได้ยังไง”
17
เมน่ น้อยได้ยนิ เสยี งคณุ แมเ่ รียก
ทนั ใดนั้น
18
ตุ้บ....
19
เม่นนอ้ ยลืมตาตื่นข้นึ พบวา่ อย่ใู นอ้อมกอดของแม่
20
“ออกไปเลน่ ขา้ งนอกกับเพ่อื นๆ บา้ ง ดีกวา่ อย่ใู นบา้ นทั้งวันนะ”
แม่บอกกับเมน่ นอ้ ย
21
ผู้ใหญช่ ว่ ยปูพืน้ ฐานความฉลาดทางดจิ ิทัลใหเ้ ด็กปฐมวยั ได้
ความฉลาดทางดิจทิ ลั (Digital Intelligence) หรอื DQ เป็นความสามารถด้านการรับรู้ สตปิ ัญญา อารมณ์ และสงั คม
ที่จะทำ�ให้เราเผชิญหน้ากับความท้าทาย และปรับตัวใหเ้ ข้ากบั ยุคดิจิทลั ได้อย่างเหมาะสม แม้จะฟังดเู ป็นเรอ่ื งยาก และดูเหมือนจะ
ยังหา่ งไกลเกนิ เด็กวยั นี้ แต่พ่อแม่ คณุ ครู ผดู้ แู ลเดก็ สามารถสร้างการเรียนรแู้ ละปูพน้ื ฐานเพือ่ ให้เด็กมที ักษะชวี ิตและฐานทม่ี ั่นคง
โดยใชส้ ่อื นิทาน เพลง กระบวนการเลน่ อิสระ และกจิ กรรมสร้างสรรคเ์ พ่อื เสริมทกั ษะสำ�คญั ดังนี้
ปลอดภัย จัดการเวลา ๑. การใช้เวลากบั หน้าจอ
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
๖. การรับมอื กับปญั หา
การกลั่นแกลง้ กนั ไม่ใช้เวลาอยูห่ น้าจอนาน ๆ
ออกไปเลน่ กบั เพ่อื น
ท้งั ในชีวิตจริงและบนโลกออนไลน์ และท�ำ กิจกรรมอ่นื ๆ
ไดอ้ ย่างชาญฉลาด รจู้ ักปรึกษาผูใ้ หญ่
ขอความช่วยเหลือ
เหน็ ใจผู้อื่น เข้าใจสื่อ
๕. เขา้ ใจความรสู้ ึกของผู้อ่นื ๒. รู้จกั และเขา้ ใจสอื่
รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา เรียนรู้ วา่ สอ่ื มผี ู้ออกแบบและ
มคี วามสามารถในการแสดงความ สรา้ งข้ึนมา มหี ลายรูปแบบให้เลอื กใช้
เป็นประโยชน์ เชน่ รวู้ า่ หนังสอื นทิ าน
เหน็ อกเหน็ ใจ ท้ังในชวี ิตจรงิ มีคนเขียนเรอ่ื ง มีคนวาดรปู เปน็ ตน้
และบนโลกออนไลน์
คดิ
เขา้ ใจตนเอง
๓. การคดิ วิเคราะห์
๔. เขา้ ใจตนเอง
รจู้ กั ตง้ั ขอ้ สงสัยไม่เชอ่ื อะไรง่าย ๆ
วา่ รู้สกึ อยา่ งไรเมื่อรบั รู้เนอ้ื หาของส่ือนนั้ ๆ สอบถามขอ้ มูลจากผใู้ หญ่
และส่ือสารบอกความรสู้ ึกได้
รู้จักควบคุมตัวเอง หรือร้จู กั ค้นหาขอ้ มลู หลายแหล่ง
22
หลักการง่าย ๆ ใช้สื่อเพอื่ การเรยี นรู้ของเด็กปฐมวยั
ส่อื ปลอดภยั ผใู้ หญ่ชว่ ยเลอื กสื่อ
มีผ้ใู หญ่ดูแล ทม่ี ีเนอ้ื หาสร้างสรรค์
ชวนพดู คุย
เหมาะกบั วัย
การใชส้ ื่อไมบ่ ัน่ ทอน ใชเ้ วลากบั หน้าจอ
สุขภาพกายและใจ ไม่นานเกินไป
ของเดก็ (ไมเ่ กิน ๒๐-๓๐ นาที
ต่อวนั )
การใชส้ ่อื ไม่ปิดกั้น
ไมข่ ัดขวางปฏิสมั พนั ธ์ ใชส้ ือ่ ที่สรา้ งสนุ ทรียะ
มองเห็นความงาม
กบั คนรอบขา้ ง ของส่ิงรอบตัว
เดก็ สร้างสอื่ ง่าย ๆ
ใช้สื่อนิทาน
ไดด้ ว้ ยตนเอง สอื่ ท่ีเป็นของจริง
ใชเ้ วลาส่วนใหญ่ และของจำ�ลอง
เล่นอิสระ และเขา้ ถึงศลิ ปะ
และธรรมชาติ
23
สรา้ งสรรคเ์ ร่ือง เมน่ น้อยหลงทาง
ฐติ กิ มล วทัญญุตานนท์
จบการศึกษา จากมหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ปรญิ ญาตรี เร่ือง
วรรณกรรมสำ�หรับเดก็ ปริญญาโทภาษาศาสตรก์ ารศกึ ษา ฐิติกมล วทญั ญตุ านนท์
เจ้าของงานเขียน “เดด็ เด่ยี วในป่าความมืด” ภาพ
ปจั จบุ ัน ท�ำ งานนอกเสน้ ทางนักเขียน แตก่ ย็ ังรกั และขอบคณุ Sawanee Draw
ทุกโอกาสท่ไี ดท้ ำ�การเขียนนิทานสำ�หรบั เด็กอันเป็นทีร่ กั พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑
กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ จ�ำ นวน ๒,๐๐๐ เลม่
สร้างสรรคภ์ าพ บรรณาธิการ / อำ�นวยการ
เขม็ พร วิรุณราพนั ธ์
Sawanee Draw กองบรรณาธิการ
ผศ.ลักษมี คงลาภ, สุดใจ พรหมเกดิ , รศ.ถิรนันท์ อนวัชศริ วิ งค์,
จบปรญิ ญาตรี คณะมณั ฑนศิลป์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ดร.สรานนท์ อินทนนท,์ ศศิกานท์ พชื ขุนทด
เริม่ อาชีพดว้ ยการเป็นฝา่ ยศิลปกรรมร่นุ บุกเบกิ บรรณาธิการภาพ
ส�ำ นักพมิ พแ์ พรวเพอ่ื นเดก็ ก่อนผันตัวมาท�ำ งาน ระพีพรรณ พฒั นาเวช
ด้าน Interactive Media Design อย่หู ลายสิบปี ประสานงาน
ปจั จุบนั หันมาวาดรปู อีกครง้ั หลงั การเรียนปริญญาโท สิรวิ ัลย์ เรอื งสรุ ัตน์, วาสนา ศรทรง
สาขาวชิ า Children’s Book Illustration ที่ประเทศอังกฤษ ศิลปกรรม
24 สวนีย์ พรวศิ วารักษกลู
จดั พิมพ์โดย
สถาบันส่ือเด็กและเยาวชน (สสย.)
๖/๕ ซอยอารีย์ ๕ ถนนพหลโยธนิ แขวงสามเสนใน
เขตพญาไท กรุงเทพ ฯ ๑๐๔๐๐
โทร. ๐ ๒๖๑๗ ๑๙๑๙-๒๐
www.childmedia.net I www.cclickthailand.com
แผนงานสร้างเสรมิ วฒั นธรรมการอ่าน สสส.
๔๒๔ หมบู่ ้านเงาไม้ ซอยจรญั สนทิ วงศ์ ๖๗ แยก ๓ ถนนจรญั สนทิ วงศ์
แขวงบางพลดั เขตบางพลดั กรงุ เทพ ฯ ๑๐๗๐๐
โทร ๐ ๒๔๒๔ ๔๖๑๖
www.happyreading.in.th
พมิ พ์ท่ี
หนังสอื นิทานภาพ ชุด “เดก็ ปฐมวัยรเู้ ทา่ ทนั สอื่ ดิจิทลั ”
ก่อเกิด
ในสถานการณย์ ุคดจิ ทิ ลั สอ่ื ใหมเ่ ขา้ มามีบทบาทในชีวิตประจ�ำ วันของเด็กและคนทุกวยั มากข้ึน
โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เดก็ ๆ เขา้ ถงึ ส่ือและเทคโนโลยีตงั้ แตอ่ ายุนอ้ ย ๆ จงึ มคี วามจ�ำ เป็นท่จี ะตอ้ งเสรมิ สร้าง
การอยกู่ บั ส่ือให้เป็นและสมดุล และผใู้ หญ่รอบตวั ชว่ ยกันปพู นื้ ฐานความฉลาดในการใชส้ ื่อ
สร้างสรรคน์ ิทานภาพเพื่อสร้างพลเมอื งดิจิทลั
สถาบนั ส่อื เดก็ และเยาวชน มลู นธิ สิ ่งเสริมสอื่ เดก็ และเยาวชน (สสย.) ได้ท�ำ การส�ำ รวจและวจิ ัย
แนวทางการใชส้ ือ่ เพอื่ เตรียมความพรอ้ มให้เดก็ ปฐมวัย ไดม้ ีความรเู้ ท่าทนั สอ่ื และดิจทิ ลั พบวา่
ในหลายประเทศทั่วโลกใชน้ ิทานภาพเปน็ สื่อ เพอ่ื สร้างพน้ื ฐานใหเ้ ดก็ ตั้งแตอ่ ายุนอ้ ย ๆ ในการเปน็ พลเมอื ง
ทเ่ี ท่าทันและมคี วามสามารถสรา้ งสรรคส์ อื่ ไดเ้ อง จึงรว่ มมือกบั แผนงานสร้างเสริมวฒั นธรรมการอา่ น
สำ�นักงานกองทนุ สนับสนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) จดั ท�ำ โครงการหนงั สอื นิทานภาพ
ชุด เด็กปฐมวัยรูเ้ ทา่ ทันสอ่ื ดิจทิ ลั ขึน้
หนงั สือนทิ านภาพ ชุด “เดก็ ปฐมวัยรู้เท่าทันสือ่ ดิจิทัล”
เด็กปฐมวยั รูเ้ ท่าทันสือ่ ดจิ ิทัล
เขา้ ใจ เทา่ ทนั ประยุกตใ์ ช้
มลู นิธิส่ งเสริมส่ือเด็กและเยาวชน