The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙-ในสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙-ในสถานศึกษา1

คู่มือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙-ในสถานศึกษา

แนวปฏบิ ตั ิตามมาตรการผอ่ นคลายกจิ การและกิจกรรม
เพอื่ ป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19

กจิ กรรมดา้ นการออกกำ� ลงั กาย ประเภทดนตรี คอนเสริ ต์ และกฬี า

แนวปฏบิ ตั ิด้านการดนตรี
1) ให้มีระบบการคัดกรองวัดไข้นักร้อง นักดนตรี ผู้เข้าร่วมงาน และผู้ที่เก่ียวข้อง
หากพบว่ามีไข้ ไอ จาม มีน�้ำมูก หรือเหน่ือยหอบ หรือมีอุณหภูมิร่างกายเท่ากับหรือมากกว่า
37.5 องศาเซลเซยี สขน้ึ ไป แจ้งงดให้บริการ และแนะนำ� ไปพบแพทย์
2) ก�ำหนดให้ผู้ขับร้องสานเสียง นักร้อง นักแสดงดนตรี และผู้เข้าร่วมทุกคน ต้องสวม
หนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลา ยกเวน้ นกั แสดง นกั รอ้ ง นกั ดนตรี ใหถ้ อดหนา้ กากผา้ หรอื
หนา้ กากอนามยั ในชว่ งเวลาแสดงหรอื รอ้ งเพลง และจดั ใหม้ อี ปุ กรณป์ อ้ งกนั ตนเองทจ่ี ำ� เปน็ เชน่ ถงุ มอื
แผน่ ใสครอบหนา้ (Face shield) เป็นต้น
3) จัดให้มีมาตรการลดการสัมผัส เช่น เตรียมอุปกรณ์ส่วนตัว (ไมโครโฟน Head set)
ให้เพียงพอกับผู้ท่ีต้องใช้ นักแสดงควรน�ำอุปกรณ์ของใช้ส่วนตัวมาหรือมีมาตรการท�ำความสะอาด
กรณีใชส้ ่งิ ของร่วมกนั
4) จดั ใหม้ เี จลแอลกอฮอลส์ ำ� หรบั ทำ� ความสะอาดมอื ไวบ้ รกิ ารบรเิ วณตา่ ง ๆ อยา่ งเพยี งพอ
5) มีมาตรการหรอื สญั ลกั ษณเ์ พื่อเว้นระยะห่างท่เี หมาะสม
- รกั ษาระยะหา่ งระหวา่ งบุคคลอย่างนอ้ ย 1-2 เมตร
- ก�ำหนดจุดและบริเวณท่นี งั่ /ยืนของผู้เขา้ รว่ มงานใหห้ า่ งกนั อยา่ งน้อย 1 เมตร
- จดั ใหม้ รี ะยะหา่ งระหวา่ งเวทกี บั บรเิ วณทนี่ ง่ั /ยนื ของผเู้ ขา้ รว่ มงานอยา่ งนอ้ ย 5 เมตร
6) ให้ทำ� ความสะอาดพืน้ ทหี่ รอื บริเวณทมี่ ีการสัมผสั ร่วมกัน ดงั น้ี
- ทำ� ความสะอาดพนื้ ผวิ สมั ผสั หรอื อปุ กรณท์ ใ่ี ชร้ ว่ มกนั ดว้ ยนำ้� ยาทำ� ความสะอาดและ
อาจฆา่ เช้ือด้วยแอลกอฮอล์ 70% หรือโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (นำ้� ยาฟอกขาว) 0.1% โดยเนน้ จดุ ที่มี
ผู้สัมผัสร่วมกัน เช่น ไมโครโฟน เคร่ืองเสียง เคาน์เตอร์ ราวบันไดเล่ือน ที่จับประตู ปุ่มกดลิฟท์
จดุ ประชาสมั พันธ์ โต๊ะ ทน่ี ั่ง จุดที่มีการใชร้ ่วมกันในหอ้ งแต่งตวั แต่งหนา้ ฯลฯ
7) ปรับรูปแบบการจัดการแสดงและจัดให้มีมาตรการรักษาระยะห่าง เช่น ใช้ระบบการ
แสดงดนตรีออนไลน์ (Streaming) เข้ามาเพ่ิมเติม จ�ำกัดจ�ำนวนนักดนตรี จัดกิจกรรมเฉพาะกลุ่ม
(Private group) จัดกลมุ่ การชมงานแบบจดั กล่มุ (Social bubble) เปน็ ต้น
8) กรณีจัดกิจกรรมในอาคาร ควรจัดให้มีระบบระบายอากาศท่ีดี มีอัตราการหมุนเวียน
ของอากาศอย่างเพียงพอท้ังในอาคารและห้องส้วมและท�ำความสะอาดเครื่องปรับอากาศสม่�ำเสมอ
อย่างน้อยทกุ 6 เดอื น และงดสูบบหุ ร่ีภายในอาคาร
9) กำ� หนดขน้ั ตอนวธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการเขา้ ใชบ้ รกิ ารสถานท่ี จดั ทำ� คำ� แนะนำ� สอื่ ประชาสมั พนั ธ์
การป้องกันและ การลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายเช้ือโรคให้กับนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน
ทปี่ ฏิบัตติ ามอยา่ งเครง่ ครดั
หมายเหตุ : อ้างอิงจากคู่มือการปฏิบัติตามมาตรการผ่อนคลายกิจการและกิจกรรมเพ่ือป้องกัน
การแพร่ระบาดของ โรคโควิด 19 สำ� หรับการแสดง นาฏศิลป์ ดนตรี คอนเสริ ์ต กลุม่ ที่ 4 และ 5

คมู่ ือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา 45

แนวปฏิบตั ดิ า้ นการแสดง
1) ใหม้ รี ะบบการคดั กรองวดั ไขน้ กั รอ้ ง นกั ดนตรี ผเู้ ขา้ รว่ มงาน และผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ ง หากพบวา่
มไี ข้ ไอ จาม มนี ำ�้ มกู หรอื เหนอื่ ยหอบ หรอื มอี ณุ หภมู ริ า่ งกายเทา่ กบั หรอื มากกวา่ 37.5 องศาเซลเซยี ส
ข้ึนไป แจ้งงดใหบ้ ริการ และแนะน�ำไปพบแพทย์
2) ก�ำหนดให้ผู้ขับร้องสานเสียง นักร้อง นักแสดงดนตรี และผู้เข้าร่วมทุกคน ต้องสวม
หนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลา ยกเวน้ นกั แสดง นกั รอ้ ง นกั ดนตรี ใหถ้ อดหนา้ กากผา้ หรอื
หนา้ กากอนามยั ในชว่ งเวลาแสดงหรอื รอ้ งเพลง และจดั ใหม้ อี ปุ กรณป์ อ้ งกนั ตนเองทจี่ ำ� เปน็ เชน่ ถงุ มอื
แผน่ ใสครอบหน้า (Face shield) เป็นต้น
3) จัดให้มีมาตรการลดการสัมผัส เช่น เตรียมอุปกรณ์ส่วนตัว (ไมโครโฟน Head set)
ให้เพียงพอกับผู้ท่ีต้องใช้ นักแสดงควรน�ำอุปกรณ์ของใช้ส่วนตัวมาหรือมีมาตรการท�ำความสะอาด
กรณีใช้สง่ิ ของร่วมกัน
4) จดั ใหม้ เี จลแอลกอฮอลส์ ำ� หรบั ทำ� ความสะอาดมอื ไวบ้ รกิ ารบรเิ วณตา่ ง ๆ อยา่ งเพยี งพอ
5) มีมาตรการหรือสัญลักษณเ์ พือ่ เวน้ ระยะหา่ งทีเ่ หมาะสม
- รกั ษาระยะห่างระหวา่ งบุคคลอยา่ งน้อย 1-2 เมตร
- กำ� หนดจดุ และบรเิ วณทีน่ ่ัง/ยืนของผู้เข้ารว่ มงานใหห้ า่ งกันอย่างน้อย 1 เมตร
- จดั ใหม้ รี ะยะหา่ งระหวา่ งเวทกี บั บรเิ วณทน่ี ง่ั /ยนื ของผเู้ ขา้ รว่ มงานอยา่ งนอ้ ย 5 เมตร
6) กรณีจัดกิจกรรมในอาคาร ควรจัดให้มีระบบระบายอากาศท่ีดี มีอัตราการหมุนเวียน
ของอากาศ อยา่ งเพยี งพอท้ังในอาคารและหอ้ งส้วมและทำ� ความสะอาดเคร่ืองปรบั อากาศสมำ่� เสมอ
อย่างนอ้ ยทกุ 6 เดอื น และงดสูบบุหรีภ่ ายในอาคาร
7) กำ� หนดขนั้ ตอนวธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการเขา้ ใชบ้ รกิ ารสถานท่ี จดั ทำ� คำ� แนะนำ� สอ่ื ประชาสมั พนั ธ์
การป้องกันและการลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายเช้ือโรคให้กับนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน
ท่ปี ฏบิ ตั ติ ามอย่างเคร่งครัด

46 คู่มอื การเฝ้าระวงั ตดิ ตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศกึ ษา

แนวปฏิบตั ิดา้ นการจดั คอนเสิร์ต
1) จ�ำกดั จำ� นวนผรู้ ว่ มกจิ กรรมไมเ่ กนิ 200 คน
2) มมี าตรการหรือสญั ลกั ษณเ์ พ่อื เว้นระยะหา่ งท่ีเหมาะสม
- จดั ทีน่ ัง่ มรี ะยะห่างอย่างน้อย 1 เมตร หรอื ในลักษณะแถวเวน้ แถวและนงั่ 2 ทน่ี ง่ั
เว้นระยะห่างกนั อยา่ งนอ้ ย 2 ทน่ี ง่ั
- รักษาระยะหา่ งระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1-2 เมตร
- ก�ำหนดจดุ และบริเวณทน่ี งั่ /ยืนของผเู้ ข้าร่วมงานใหห้ ่างกนั อย่างนอ้ ย 1 เมตร
- จดั ใหม้ รี ะยะหา่ งระหวา่ งเวทกี บั บรเิ วณทน่ี งั่ /ยนื ของผเู้ ขา้ รว่ มงานอยา่ งนอ้ ย 5 เมตร
3) จดั ใหม้ เี จลแอลกอฮอลส์ ำ� หรบั ทำ� ความสะอาดมอื ไวบ้ รกิ ารบรเิ วณตา่ ง ๆ อยา่ งเพยี งพอ
4) ให้ทำ� ความสะอาดพนื้ ท่หี รอื บริเวณทมี่ ีการสัมผัสร่วมกนั ดงั น้ี
- ทำ� ความสะอาดพน้ื ผวิ สมั ผสั หรอื อปุ กรณท์ ใ่ี ชร้ ว่ มกนั ดว้ ยนำ้� ยาทำ� ความสะอาดและ
อาจฆ่าเชอื้ ดว้ ยแอลกอฮอล์ 70% หรอื โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ (นำ�้ ยาฟอกขาว) 0.1% โดยเนน้ จดุ ทมี่ ี
ผู้สัมผัสร่วมกัน เช่น ไมโครโฟน เคร่ืองเสียง เคาน์เตอร์ ราวบันไดเลื่อน ท่ีจับประตู ปุ่มกดลิฟท์
จดุ ประชาสมั พนั ธ์ โต๊ะ ทน่ี ั่ง จดุ ทม่ี กี ารใชร้ ว่ มกนั ในหอ้ งแต่งตวั แตง่ หน้า ฯลฯ
5) ปรับรูปแบบการจัดการแสดงและจัดให้มีมาตรการรักษาระยะห่าง เช่น ใช้ระบบการ
แสดงดนตรีออนไลน์ (Streaming) เข้ามาเพ่ิมเติม จ�ำกัดจ�ำนวนนักดนตรี จัดกิจกรรมเฉพาะกลุ่ม
(Private group) จดั กล่มุ การชมงานแบบจดั กลุ่ม (Social bubble) เป็นตน้
6) กรณีจัดกิจกรรมในอาคาร ควรจัดให้มีระบบระบายอากาศท่ีดี มีอัตราการหมุนเวียน
ของอากาศอย่างเพียงพอทั้งในอาคารและห้องส้วมและท�ำความสะอาดเครื่องปรับอากาศสม่�ำเสมอ
อย่างนอ้ ยทกุ 6 เดอื น และงดสบู บุหรี่ภายในอาคาร
7) กำ� หนดขนั้ ตอนวธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการเขา้ ใชบ้ รกิ ารสถานที่ จดั ทำ� คำ� แนะนำ� สอื่ ประชาสมั พนั ธ์
การป้องกันและ การลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายเชื้อโรคให้กับนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน
ที่ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครดั

คูม่ อื การเฝ้าระวงั ติดตามและแผนเผชิญเหตรุ องรบั การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศกึ ษา 47

แนวปฏิบตั ดิ า้ นการแข่งขนั กีฬา
1) ให้มีระบบการคดั กรองผจู้ ดั การแขง่ ขัน เจ้าหนา้ ท่ี และนักกีฬาหากพบวา่ มีไข้ ไอ จาม
มีน�้ำมูก หรือเหนื่อยหอบ หรือมีอุณหภูมิร่างกายเท่ากับหรือมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส ข้ึนไป
ใหห้ ยดุ เขา้ รว่ มกจิ กรรม และแนะนำ� ไปพบแพทย์ รวมทง้ั มรี ะบบการคดั กรองและตรวจสอบความเสยี่ ง
สำ� หรบั นกั กฬี าผฝู้ กึ สอน กรรมการผตู้ ดั สนิ และเจา้ หนา้ ทจ่ี ดั การแขง่ ขนั กอ่ นวนั ทำ� การแขง่ ขนั 14 วนั
2) ให้ผู้ฝึกสอน กรรมการผู้ตัดสิน นักกีฬาตัวส�ำรองที่ไม่ได้แข่งขัน และเจ้าหน้าที่จัดการ
แข่งขนั ตอ้ งสวมหนา้ กากอนามัยหรอื หนา้ กากผ้าตลอดเวลา
3) จัดให้มีท่ีล้างมือพร้อมสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์ไว้ในบริเวณต่างๆ เช่น บริเวณประตู
ทางเข้าออก หน้าห้องเก็บตัวนักกฬี า หอ้ งสว้ ม เป็นตน้
4) จำ� กัดจำ� นวนคนไม่ให้แออดั เชน่ จ�ำกดั จำ� นวนผฝู้ ึกสอน กรรมการผูต้ ัดสนิ นกั กฬี าตัว
ส�ำรองที่ไม่ได้แข่งขัน และเจ้าหน้าที่จัดการแข่งขัน ก�ำหนดจ�ำนวนคนต่อพ้ืนที่ไม่น้อยกว่า 1 คนต่อ
4 ตารางเมตรของพื้นทีส่ นามกฬี า (ไม่รวมลานจอดรถ) จัดใหม้ ีชอ่ งทางเขา้ ออกชดั เจน และแยกห่าง
จากกนั มรี ะบบการลงทะเบยี นล่วงหน้าส�ำหรบั นักกีฬา ผ้ฝู ึกสอน กรรมการผตู้ ัดสนิ และเจา้ หนา้ ที่
จัดการแข่งขัน
5) ให้มีการจัดระยะห่างท่ีเหมาะสม มีการเว้นระยะหา่ งของพืน้ ท่ีสำ� หรบั นักกฬี าตัวสำ� รอง
ผู้ฝึกสอน กรรมการผู้ตัดสนิ และเจ้าหนา้ ทีจ่ ัดการแขง่ ขันให้ห่างกัน อยา่ งนอ้ ย 2 เมตร หรืออยา่ งนอ้ ย
1 เมตรในกรณีมีฉากกัน้ โดยมีเครื่องหมายหรอื สัญลกั ษณ์ท่ชี ัดเจน
6) ใหท้ ำ� ความสะอาดพืน้ ที่หรอื บรเิ วณทม่ี ีการสัมผัสร่วมกัน

48 คู่มือการเฝา้ ระวังตดิ ตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศกึ ษา

แนวปฏบิ ตั ิดา้ นการใช้สระว่ายน้ำ�
1) จดั ใหม้ กี ารคดั กรองเบอ้ื งตน้ หรอื เฝา้ ระวงั ไมใ่ หผ้ มู้ อี าการเจบ็ ปว่ ย เชน่ มไี ข้ ไอ มนี ำ�้ มกู เจบ็ คอ
หายใจล�ำบาก เหน่อื ยหอบ ไมไ่ ด้กลนิ่ ไม่รูร้ ส กอ่ นลงสระวา่ ยน�ำ้ ทุกครัง้ เพื่อปอ้ งกันการแพรเ่ ชื้อโรค
2) จัดให้มกี ารลงทะเบยี นเข้าและออกจากสถานที่ และจำ� กัดทางเข้า –ออกชอ่ งทางเดียว
3) ก�ำกับดูแลปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของระบบฆ่าเชื้ออย่างเคร่งครัด เพ่ือให้ระบบ
มีประสิทธภิ าพ
4) ตรวจสอบคุณภาพนำ้� ในสระทุกวัน และกำ� หนดมาตรการก่อนลงสระว่ายน้ำ�
5) จัดให้มีจุดบรกิ ารลา้ งมือดว้ ยสบู่หรอื เจลแอลกอออล์ 70% หรือน�้ำยาฆ่าเช้อื โรคบรเิ วณ
ท่บี รกิ าร
6) เตรียมอปุ กรณ์ของใชส้ ่วนตัวส�ำหรับการวา่ ยน�้ำ เช่น แวน่ ตา หมวกว่ายน�้ำ ชุดวา่ ยน�ำ้
ผา้ เชด็ ตัว เป็นตน้
7) จัดให้มีระบบระบายอากาศท่ีดี มีอัตราการหมุนเวียนของอากาศอย่างเพียงพอท้ังใน
อาคารและหอ้ งสว้ ม มกี ารไหลเวยี นอากาศไมน่ อ้ ยกวา่ 10 (Air Change per Hour ≥10) และทำ� ความ
สะอาดเคร่อื งปรับอากาศสมำ�่ เสมออยา่ งน้อยทุก 6 เดือน

คมู่ ือการเฝา้ ระวงั ตดิ ตามและแผนเผชญิ เหตุรองรับการแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศกึ ษา 49

แนวปฏบิ ัตดิ ้านการใชส้ นามกฬี า
1) ให้มีระบบการคดั กรองผูจ้ ัดการแขง่ ขัน เจ้าหนา้ ที่ และนักกฬี า หากพบว่ามไี ข้ ไอ จาม
มีน�้ำมูก หรอื เหนือ่ ยหอบ หรือมีอณุ หภมู ริ า่ งกายเทา่ กับหรอื มากกวา่ 37.5 องศาเซลเซยี ส ข้นึ ไปให้
หยดุ เขา้ รว่ มกิจกรรม และแนะนำ� ไปพบแพทย์ รวมทั้งมรี ะบบการคัดกรองและตรวจสอบความเส่ียง
ส�ำหรับนักกีฬา ผู้ฝึกสอน กรรมการผู้ตัดสิน และเจ้าหน้าที่จัดการแข่งขัน ก่อนวันท�ำการแข่งขัน
14 วนั
2) ให้ผู้ฝึกสอน กรรมการผู้ตัดสิน นักกีฬาตัวส�ำรองที่ไม่ได้แข่งขัน และเจ้าหน้าท่ีจัดการ
แข่งขนั ตอ้ งสวมหนา้ กากอนามยั หรอื หนา้ กากผา้ ตลอดเวลา
3) จดั ใหม้ ที ี่ลา้ งมือพรอ้ มสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์ไว้ในบริเวณต่างๆ เชน่ บรเิ วณประตทู าง
เขา้ ออก หน้าหอ้ งเกบ็ ตวั นกั กฬี า ห้องส้วม เปน็ ต้น
4) จ�ำกัดจ�ำนวนคนไม่ให้แออัด เช่น จ�ำกัดจ�ำนวนผู้ฝึกสอน กรรมการผู้ตัดสิน นักกีฬา
ตัวสำ� รองทีไ่ ม่ไดแ้ ขง่ ขนั และเจา้ หนา้ ที่จดั การแข่งขนั ก�ำหนดจำ� นวนคนต่อพื้นท่ไี มน่ ้อยกว่า 1 คนต่อ
4 ตารางเมตรของพนื้ ท่สี นามกีฬา (ไมร่ วมลานจอดรถ) จัดให้มชี อ่ งทางเขา้ ออกชดั เจน และแยกหา่ ง
จากกนั มรี ะบบการลงทะเบียนล่วงหน้าสำ� หรบั นักกีฬา ผูฝ้ กึ สอน กรรมการผ้ตู ัดสิน และเจ้าหนา้ ท่ี
จัดการแขง่ ขัน
5) ใหม้ ีการจดั ระยะหา่ งทีเ่ หมาะสม มกี ารเว้นระยะหา่ งของพ้ืนทส่ี ำ� หรบั นักกีฬาตัวสำ� รอง
ผูฝ้ ึกสอน กรรมการผู้ตัดสิน และเจา้ หนา้ ท่ีจดั การแขง่ ขันให้ห่างกัน อยา่ งนอ้ ย 2 เมตร หรืออย่างนอ้ ย
1 เมตร ในกรณีมฉี ากกั้น โดยมเี คร่อื งหมายหรอื สัญลักษณท์ ่ชี ดั เจน
6) ให้ท�ำความสะอาดพ้นื ทหี่ รอื บรเิ วณทีม่ ีการสมั ผสั ร่วมกัน

50 คมู่ ือการเฝ้าระวงั ติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรบั การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

เอกสารอ้างองิ

กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ . (2563). รายงานสถานการณ์ โควดิ 19 : สถานศึกษา.
สืบคน้ 21กรกฎาคม 2563, จาก https://covid19.th-stat.com/
กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . (2563). คมู่ อื สำ� หรบั สถานศกึ ษาในการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาด
ของโรคโควิด 19. กรุงเทพฯ : บรษิ ัท คิว แอดเวอร์ไทซิง่ จ�ำกัด
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือผู้พิทักษ์อนามัยโรงเรียน. กรุงเทพฯ :
บริษทั ซีจีทลู จ�ำกัด
กระทรวงสาธารณสขุ . (2563). ไทยรสู้ โู้ ควดิ . สบื คน้ 10 สงิ หาคม 2563, จาก https://www.
facebook.com/thaimoph/photos/a.117672836509295/165025128440732/
?type=3&_tn_=-R
กระทรวงสาธารณสุข. (2563). ไทยร้สู ู้โควิด “สถานการณป์ ระเทศไทย”. สืบค้น 10 สิงหาคม
2563, จาก https://www.facebook.com/thaimoph/posts/165024331774145?
__tn__=-R
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือการปฏิบัติตามมาตรการผ่อนคลายกิจการ
และกิจกรรม เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ส�ำหรับประเภทกิจการ
และกจิ กรรม กลุม่ ท่ี 3. กรุงเทพฯ : สำ� นกั พมิ พ์อกั ษรกราฟฟคิ แอนดด์ ีไซน์
ข่าวเนชั่น. (2563). ด่วน ปิด 274 โรงเรียนใน จ.ระยอง. สืบค้น 21 กรกฎาคม 2563,
จาก https://www.nationtv.tv/main/content/378785178/
https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/situation/situation-no240-300863.pdf

คมู่ ือการเฝ้าระวงั ติดตามและแผนเผชิญเหตรุ องรบั การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา 51

รายนามผบู้ รหิ ารและนักวิชาการเข้าร่วมประชุมพจิ ารณา
คู่มือการเฝา้ ระวงั ติดตามและแผนเผชิญเหตรุ องรับการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศกึ ษา

วันท่ี 14 กันยายน 2563 ณ ห้องประชุมก�ำธร สวุ รรณกิจ ชั้น 1 อาคาร 1 กรมอนามัย

กระทรวงสาธารณสขุ ผ้เู ชีย่ วชาญ/ภาคเี ครอื ขา่ ย
1. นายแพทย์กติ ตพิ งศ์ แซ่เจ็ง 24. ศาตราจารย์นายแพทยส์ มศักด์ิ โลห่ ์เลขา
นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ ด้านสง่ เสรมิ สุขภาพ กรมอนามัย ประธานราชวทิ ยาลยั กุมารแพทย์แหง่ ประเทศไทย
2. นายแพทยเ์ อกชัย เพียรศรีวัชรา 25. รองศาสตราจารย์แพทยห์ ญงิ ลัดดา เหมาะสุวรรณ
ผ้อู ำ� นวยการสำ� นักสง่ เสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามัย ประธานศูนยข์ อ้ มูลและวจิ ยั ราชวทิ ยาลัยกมุ ารแพทย์
3. แพทย์หญิงวลยั รตั น์ ไชยฟู แหง่ ประเทศไทย และคณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์
ผู้อ�ำนวยการกองระบาดวทิ ยา กรมควบคมุ โรค 26. แพทยห์ ญงิ สธุ าทิพย ์ เอมเปรมศลิ ป์
4. นายแพทย์เฉวตสรร นามวาท ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศ์ าสตร์
นายแพทย์ชำ� นาญการพิเศษ กองระบาดวิทยา กรมควบคมุ โรค โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวทิ ยาลยั มหิดล
5. นางสมนกึ เลศิ สโุ ภชวณิชย์ 27. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นายแพทยน์ พพร อภิวฒั นากลู
นักวิชาการสาธารณสขุ ชำ� นาญการพิเศษ กองโรคตดิ ตอ่ ท่วั ไป กรมควบคุมโรค ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์ คณะแพทยศ์ าสตร์
6. นายธนโชติ เทียมแสง โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล
พยาบาลวชิ าชพี ชำ� นาญการ สถาบันสขุ ภาพจติ เด็กและวยั รุ่นราชนครนิ ทร์ 28. นางนภทั ร พิศาลบุตร
กรมสุขภาพจติ องคก์ ารยูนิเซฟประเทศไทย
7. ดร.แพทยห์ ญงิ สายพิณ โชตวิ ิเชียร 29. นายแพทยเ์ มธิพจน์ ชาตะเมธกี ุล
ผู้อำ� นวยการส�ำนกั โภชนาการ กรมอนามยั ผอู้ �ำนวยการกองควบคุมโรค สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร
8. นายแพทย์ธีรชัย บุญยะลพี รรณ 30. นายแพทย์ธนชั พจน์พิศุทธิพงศ์
รองผอู้ ำ� นวยการสถาบันพัฒนาอนามยั เด็กแห่งชาติ กรมอนามัย ผอู้ �ำนวยการกองสรา้ งเสริมสุขภาพ สำ� นักอนามยั กรงุ เทพมหานคร
9. ทพญ.กรกมล นยิ มศลิ ป์ 31. นางสาวกมลพรรณ เนืองนิตย์
ทันตแพทย์เชยี่ วชาญ สำ� นักทนั ตสาธารณสขุ กรมอนามัย กองสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สำ� นกั อนามยั กรุงเทพมหานคร
10. ดร.นภัสบงกช ศภุ ะพิชน์
หัวหนา้ กลุม่ พฒั นาเทคโนโลยกี จิ กรรมทางกายวยั เรยี นวยั รุ่น กระทรวงศึกษาธิการ
กองกจิ กรรมทางกายเพือ่ สขุ ภาพ 32. ดร.เกศทพิ ย์ ศภุ วานชิ
11. นางสาวชณัญณศิ า เลศิ สโุ ภชวณชิ ย์ ผู้ช่วยปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการพิเศษ ส�ำนักสุขาภิบาลอาหารและน้�ำ 33. นายทวสี ทิ ธิ์ ใจห้าว
กรมอนามยั ผ้อู ำ� นวยการส�ำนักตรวจราชการและตดิ ตามประเมนิ ผล
12. นางสาวพชามญชุ์ บุญประจกั ษ์ ส�ำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการ ส�ำนักสุขาภิบาลอาหารและน้�ำ 34. นางสาวนวลพรรณ พูลศรีสวัสดิ์
กรมอนามัย รองผู้อำ� นวยการส�ำนักเทคโนโลยีเพอ่ื การเรียนการสอน สพฐ.
13. นางสาวเอมอร ขันมี 35. นายตฤณ ก้านดอกไม้
ส�ำวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สำ� นักสุขาภบิ าลอาหารและน้ำ� นกั วิชาการการศกึ ษาชำ� นาญการพิเศษ ส�ำนกั เทคโนโลยี
กรมอนามัย เพอื่ การเรียนการสอน สพฐ.
14. นางสาวกัลยลักษณ์ ทบั ทิมโส 36. นางสาวสชุ าดา สภาพงศ์
นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปฏิบัติการ ส�ำนักอนามยั สิ่งแวดล้อม กรมอนามัย รองผูอ้ ำ� นวยการสำ� นกั อำ� นวยการ สำ� นักงานสง่ เสรมิ การศึกษา
15. นางสาวนฤมล ธนเจรญิ วัชร นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย (กศน.)
นักโภชนาการปฏิบัติการ สำ� นกั โภชนาการ กรมอนามยั 37. นางสาวจติ รลดา โคตรโพน
16. นางสาวภมิ ณณฎั ฐ์ พงษเ์ กษตร นักวชิ าการศึกษาช�ำนาญการ สำ� นักงานส่งเสริมการศกึ ษา
นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฏิบัตกิ าร กองกิจกรรมทางกายเพ่ือสุขภาพ นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั (กศน.)
กรมอนามัย
17. นางสาวอนัญญา รกั ปัญญา 38. นายปก อว่ มเกยี รติบตั ร
นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ัตกิ าร สถาบนั พัฒนาอนามยั เด็กแหง่ ชาติ นกั ทรัพยากรบคุ คลปฏิบตั ิการ ส�ำนักงานส่งเสริมการศกึ ษา
กรมอนามัย นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั (กศน.)
18. นางปนัดดา จ่นั ผอ่ ง 39. นางสาวรังสิมา เนตรนยั
นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการพิเศษ สำ� นกั สง่ เสริมสขุ ภาพ กรมอนามยั นักวิชาการ สำ� นกั บูรณาการกจิ การการศึกษา
19. นางสาววลั นิภา ชณั ยะมาตร์ สำ� นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
นักวิชาการสาธารณสขุ ปฏบิ ตั กิ าร สำ� นักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามยั
20. นางสาวคัทลียา โสดาปดั ชา
นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฏิบัติการ ส�ำนกั ส่งเสรมิ สุขภาพ กรมอนามัย
21. นางสาวอรอุมา โภคสมบตั ิ
นกั วชิ าการสาธารณสขุ ช�ำนาญการพเิ ศษ สำ� นกั สง่ เสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามัย
22. นางสาวฟารดี า เม๊าะสนิ
นักวชิ าการสาธารณสขุ ช�ำนาญการ ส�ำนักสง่ เสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามัย
23. นายเนติ์ ภปู่ ระสม
นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบตั กิ าร สำ� นกั สง่ เสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามัย

52 คมู่ ือการเฝ้าระวังตดิ ตามและแผนเผชิญเหตรุ องรบั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศึกษา

ค่มู ือการเฝา้ ระวงั ติดตามและแผนเผชญิ เหตรุ องรบั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศึกษา 53

54 คมู่ อื การเฝ้าระวงั ตดิ ตามและแผนเผชิญเหตรุ องรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศกึ ษา

ค่มู ือการเฝา้ ระวงั ติดตามและแผนเผชญิ เหตรุ องรบั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศึกษา 55

56 คมู่ อื การเฝ้าระวงั ตดิ ตามและแผนเผชิญเหตรุ องรบั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศกึ ษา



¡ÃзÃÇ§È¡Ö ÉÒ¸¡Ô Òà ¡ÃзÃǧÊÒ¸ÒóʢØ
http://bit.do/schoolcovid-19-v2risk


Click to View FlipBook Version