ทาเนยี บแหลง่ เรยี นร้ตู าบลงมิ
กศน.ตาบลงิม
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอปง
สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดพะเยา
แหลง่ เรียนรู้ตาบลงิม
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คานา
พื้นที่ในแต่ละท่ีแต่ละแห่งท่ีเกิดข้ึน ล้วนแต่มีประวัติความเป็นมาแตกต่างกันท้ังนั้น
แลว้ แตว่ ่าจะเกิดมากอ่ นหรอื หลัง ล้วนแต่มีประโยชน์ต่อการเรียนรู้ ต่อการใช้ชีวิตของผู้คน และเกี่ยวข้องกับ
การดาเนนิ ชีวิตของผู้คนในสังคมด้านต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันได้มีการเรียนและศึกษาถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมา
ของพ้ืนท่ีแต่ละแห่งมากข้ึน อาจเป็นเพราะว่าในปัจจุบันการเรียนการสอนได้มีการบูรณาการเข้าสู่วิชาต่าง ๆ
และเนน้ การศกึ ษาด้วยตนเองเพอ่ื ใหเ้ กิดการพัฒนาและการเรยี นรสู้ ู่การนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวัน
กศน.ตาบลงิม ได้รวบรวมแหล่งเรียนรู้ตาบลงิม โดยการสอบถามผู้รู้ หน่วยงาน องค์กร
ต่าง ๆ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ตาบลงิม จะเป็นประโยชน์ให้กับผู้อ่านและผู้ต้องการศึกษา
คน้ คว้าไม่มากก็นอ้ ย ถา้ หากมีข้อมูลผดิ พลาดประการใดก็ขออภยั มา ณ ทน่ี ้ดี ้วย
กศน.ตาบลงิม
ผูจ้ ัดทา
แหล่งเรยี นรตู้ าบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แหล่งเรียนรู้
ตำบลงิม
แหลง่ เรยี นรูต้ าบลงิม
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แหลง่ เรียนรตู้ าบลงิม
ท่ี ช่ือแหล่งเรยี นรู้ ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ทีต่ ้งั
บ้านปัวดอย หมู่ท่ี 13
1 วดั ปวั ดอย (พระธาตุส้มปอ่ ย) โบราณสถาน ตาบลงมิ
บ้านป่าแดง หมู่ท่ี 9
2 วัดป่าแดง พระพุทธรปู ตาบลงิม
บา้ นแฮะ หมูท่ ี่ 11 ตาบลงิม
3 น้าตกหาดวงั มน แหล่งเรียนรู้ด้านธรรมชาติ
บา้ นนา้ ฮาก หม่ทู ่ี 16 ตาบลงิม
(น้าตกถ้าบ่อแร)่ พรรณไม้ สภาพนิเวศวิทยา
บา้ นแฮะ หมูท่ ่ี 11 ตาบลงิม
4 น้าตกหว้ ยทรายขาว แหล่งเรยี นร้ดู ้านธรรมชาติ บ้านปัว หมู่ท่ี 6 ตาบลงิม
เทศบาลตาบลงมิ
พรรณไม้ สภาพนิเวศวิทยา หม่ทู ี่ 4 ตาบลงิม
5 วงั ปลาดอยงา แหล่งศกึ ษาพันธป์ุ ลา รพ.สต.บา้ นเลีย้ ว หม่ทู ่ี 10
ตาบลงมิ
6 วงั มจั ฉาวดั ปัวลมุ่ แหลง่ ศกึ ษาพันธ์ปุ ลา บา้ นแบ่ง หมทู่ ี่ 5 ตาบลงิม
บ้านต้า หมู่ท่ี 18 ตาบลงมิ
7 สวนสขุ ภาพเฉลมิ -พระเกยี รติ แหล่งเรียนรู้สตั ว์จาลอง
80 พรรษามหาราชนั
/สวนสตั ว์จาลอง
8 ศูนยส์ มนุ ไพรพ้ืนบา้ น การแปรรูปสมุนไพร
9 ศนู ย์น้ายาชีวภาพ การทานา้ ยาชวี ภาพ
10 ศนู ย์ผสู้ ูงอายุ การทาตุงประเพณี ,
การทาดอกไมจ้ นั ทน์
เทศบาลตาบลงมิ การทาดอกไมง้ านศพ
แหลง่ เรียนรู้ตาบลงิม
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
วัดปวั ดอย (พระธาตสุ ม้ ป่อย)
สถานทีต่ งั้ บ้านปัวดอย หมู่ที่ 13 ตาบลงิม อาเภอปง จงั หวดั พะเยา
ความเปน็ มา
วัดปัวดอย (พระธาตุส้มป่อย) หมู่ที่ 13 บ้านปัวดอย ตาบลงิม อาเภอปง จังหวัดพะเยา
ตามประวัติความเป็นมา มีพญาเจ้าเมืองจ่า เป็นผู้สร้างข้ึนโดยใช้แรงงานจากเชลยศึก ซ่ึงเป็นพวกยาง
หรือพวกขมุ มาแผ้วถางขุดดินเพื่อสร้างพระธาตุแห่งนี้ เมื่อสร้างเสร็จแล้วได้ตั้งช่ือว่า พระธาตุศรีบางมล
และได้มอบหมายให้พญาช้างขาวไปอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ (กระดูกน้ิวมือซ้าย) ของพระพุทธเจ้า
ขนาดเท่าฝักส้มป่อย มาจากถ้าเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ มาประดิษฐานไว้ในพระธาตุแห่งน้ี และได้มีการ
จัดงานเฉลิมฉลองข้ึนในวันเพ็ญขึ้น 15 ค่า เดือน 6 (แปดเป็งเหนือ) โดยได้อัญเชิญหมู่เจ้าทั้งหลาย
มาร่วมเฉลิมฉลอง คือ เจ้าหลวงแสนแป เจ้าหลวงเวียงฮายเจ้าพญาช้างขาว และเจ้าหลวงจุ ต้ังแต่น้ัน
เป็นต้นมา พอถึงวันเพ็ญข้ึน 15ค่า เดือน 6 ชาวบ้านจะร่วมใจกันจัดงานสรงน้า พระธาตุข้ึนเป็นประจาทุกปี
ต่อมาภายหลังได้เปล่ียนช่ือใหม่ว่า พระธาตุกู่ตับ และหลังจากน้ันอีกไม่นานก็ได้เปลี่ยนช่ืออีกคร้ังช่ือว่า
พระธาตุส้มป่อย ซึ่งเป็นชื่อที่ตั้งตามขนาดพระบรมสารีริกธาตุท่ีนามาประดิษฐานไว้ในพระธาตุแห่งนี้
และมีการสร้างวดั ปวั ดอยขึน้ มาในบรเิ วณเดียวกัน จนถึงปัจจุบัน
องคค์ วามรู้
1.พระธาตสุ ้มป่อย
2.พระพุทธแสงเพชรจนิ ดามณี
3.หอเจ้าที่ ทา่ นท้าวขากาน และหลวงพอ่ อนิ ป๋ัน
แหล่งเรยี นรตู้ าบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
พระธาตุส้มป่อย
พระพทุ ธแสงเพชรจนิ ดามณี
หอเจา้ ที่ ทา่ นทา้ วขากาน และหลวงพอ่ อินปนั๋
แหล่งเรยี นรู้ตาบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
วดั ปา่ แดง
ทตี่ ้ัง บ้านป่าแดง หมู่ 9 ตาบลงิม อาเภอปง จงั หวัดพะเยา
ความเป็นมา
วัดป่าแดง สร้างข้ึนเมื่อปี พ.ศ. 2527 มีโบราณวัตถุที่เป็นแหล่งเรียนรู้คือ พระพุทธรูป
ซ่ึงเปน็ ทย่ี ึดเหนย่ี วจิตใจของพุทธศาสนกิ ชนตาบลงมิ โดยเฉพาะบ้านป่าแดง หมู่ที่ 9 ตาบลงิม ไม่มีใครทราบ
ประวัติความเป็นมา เล่าต่อกันมาหลายชั่วอายุคนสันนิฐานว่า อยู่คู่บ้านป่าแดงมาตั้งแต่ประมาณปี
พ.ศ. 2225
องคค์ วามรู้
พระพทุ ธรูป
1.พระเจา้ แสนแซว่
2.พระพุทธสหิ ิงค์
3.พระสงิ หส์ าม
แหลง่ เรยี นรู้ตาบลงิม
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
น้าตกหาดวังมน
ทต่ี ัง้ บา้ นแฮะ หมู่ 11 ตาบลงมิ อาเภอปง จงั หวดั พะเยา
ความเปน็ มา
น้าตกหาดวังมนต้ังอยู่ในบริเวณพื้นที่ป่าของบ้านแฮะ ตาบลงิม อาเภอปง จังหวัดพะเยา
ซึง่ มีสภาพแวดล้อมทส่ี วยงาม เพราะล้อมรอบไปดว้ ยภเู ขาและต้นไม้นานาพันธ์ุ อีกท้ังชาวบ้านยังพร้อมใจกัน
อนุรักษ์พ้ืนท่ีป่าแห่งนี้เอาไว้เพ่ือให้รุ่นลูกหลานได้มีโอกาสได้ชมความงาม ศึกษาเรียนรู้เรื่อง ระบบนิเวศน์
และไดม้ าทอ่ งเทย่ี วพักผอ่ นชมธรรมชาตขิ องผืนปา่ แห่งนี้
องคค์ วามรู้
1.ศึกษาพรรณไม้ สภาพนเิ วศวทิ ยา
2.ศึกษาการพฒั นาการอนุรกั ษ์ต้นนา้ น้าเงนิ
แหลง่ ข้อมลู :โรงเรียนปงพัฒนาวทิ ยาคม (www.pongppk.ac.th)
แหลง่ เรยี นรตู้ าบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
นา้ ตกหว้ ยทรายขาว
ท่ตี ัง้ ตาบลงิม อาเภอปง จังหวัดพะเยา
ความเป็นมา
นา้ ตกหว้ ยทรายขาว เปน็ แหล่งน้าธรรมชาติ ท่ีอยู่ในหน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้าน้าเงิน
อยู่ในป่าสงวนแหง่ ชาติ ช่อื ป่าสงวนแห่งชาติ แม่ยม – แมเ่ ต้น หนว่ ยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้าน้าเงิน
มีพื้นท่ี รับผิดชอบรวมประมาณ 227.39 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 142,118.75 ไร่ โดยมีพื้นท่ีซ้อนทับ
กับเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าเวียงลอ 69.7 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 43,168.75 ไร่ ขอบเขตหน่วย
ครอบคลมุ ตาบลผาชา้ งนอ้ ย ตาบลงมิ และตาบลออย จังหวัดพะเยา ก่อนที่จะมีหน่วยศึกษาการพัฒนาการ
อนุรกั ษต์ น้ นา้ น้าเงนิ นา้ ตกห้วยทรายขาวยังไม่มีความน่าสนใจ เนื่องจากทางเข้าไปเย่ียมชมยากลาบากจึงไม่
เป็นทรี่ ู้จัก เมือ่ มหี นว่ ยงานเขา้ ไปประจาการ ก็เร่มิ มีถนนหนทางเขา้ ชม หว้ ยทรายขาว และเร่ิมเป็นที่รู้จักและ
บอกกันตอ่ ๆมา
ทาเล ที่ตงั้ และอาณาเขต
ทศิ เหนือ จดสันปันน้าแบ่งเขตอาเภอปง กับอาเภอเชียงคา ตลอดแนวของสันดอยภูลังกา
ตาบลผาชา้ งน้อย อาเภอปง
ทศิ ตะวนั ออก จดเสน้ ทางลาดยางหมายเลข 1092 และบา้ นน้าต้ม ตาบลผาช้างน้อย อาเภอปง
ทศิ ตะวนั ตก จดดอยมอ่ นยาว เขตอาเภอเชียงคา ดอยแงม้ และดอยแปหลวง เขตอาเภอจุน
ทศิ ใต้ จดบ้านหนองท่าควายอาเภอปง จังหวดั พะเยา
ลกั ษณะทางธรณวี ิทยา
หิน เป็นภูเขาหินปูนกระจายอยู่ทั่วไป เกิดจากการแปรภาพมาเป็นเวลานานจนภูเขาส่วนใหญ่
ไดผ้ พุ งั กลายเป็นดิน สภาพดัง้ เดิมเป็นภเู ขาหินปนู (Limestone)
ลักษณะทางปฐพีวิทยา
ดิน เป็นดินเหนียวมีค่าความเป็นกรด – ด่าง ( PH ) ประมาณ 5-5.5 โดยหุบเขาเป็นดินเหนียว
ปนกรวด การระบายนา้ ไดด้ ี แต่ลักษณะดินตามไหลเ่ ขา ซ่งึ มคี วามลาดสงู
แหล่งเรยี นรู้ตาบลงิม
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ลักษณะทางพชื พรรณ
ดว้ ยสภาพพื้นทม่ี ีความลาดชันสูง เป็นภูเขาสูง สลับซับซอ้ น ทาใหเ้ กิดสภาพป่าหลายชนิด ไดแ้ ก่
1.) ป่าดิบแล้ง (Dry evergreen forest) จาแนกโดยชนิดไม้เด่นในสังคมและอัตราส่วน
การผสมผสานกันระหว่างไม้ท่ีไม่ผลัดใบกับไม้ที่ผลัดใบ คือ ไม่เด่นในช้ันเรือนยอดมีไม้ที่ไม่ผลัดใบผสมกับ
ไมผ้ ลดั ใบในอัตราส่วนที่เท่า ๆ กัน ไม้ดัชนีของป่าได้แก่ ยางแดง ตะเคียนหิน เคี่ยมคะนอง กระบาก ขึ้นผสม
กบั ไมผ้ ลดั ใบเช่น มะคา่ โมง ตะแบกใหญ่ สมพง ปออีเก้ง เป็นต้น ไม้ชั้นรองที่จัดได้ว่าเป็นดัชนีสาคัญของป่าน้ี
ส่วนหนึ่ง คือ พลองใบเลก็ พลองใบใหญ่ กัดลิ้น คา้ งคาว และกระเบากลัก พื้นป่าเด่นด้วยไม้พุ่มเล็ก เช่น ข่อย
หนาม เปล้าเงิน คนทา พันธ์ุไม้เดิมที่สารวจพบในพื้นท่ีหน่วย ท่ีสาคัญได้แก่ ไม้ยางขาว ตะแบก ยมหิน ก่อ
งวิ้ ป่า มะขามปอ้ ม ประดู่ มะกอก มะค่าโมง ไผ่ปา่
2.) ป่าผสมผลัดใบหรือป่าเบญจพรรณ (Mixed deciduous forest) จาแนกจากสภาพ
ทาง สรีระของพืชในสังคม คือพืชเกือบทั้งหมดมีการทิ้งใบในช่วงฤดูแล้ง แต่เดิมเรียกว่าป่าเบญจพรรณ
ปา่ ผสมผลัดใบ ปา่ ผสมผลัดใบอาจแบ่งตามได้เด่นของสังคมเป็นสองชนิดย่อยคือ ป่าผสมผลัดใบที่มีไม้สักและ
ป่าผสมผลัดใบท่ีไม่มีไม่สัก ป่าผสมผลัดใบท่ีมีไม้สักกระจายอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ไม้เด่นของป่าน้ี
คือ สัก ข้ึนผสมกับไม้อ่ืน ๆ เช่น เสลา รกฟ้า แดง ประดู่ ชิงชัน เป็นต้น ชั้นรองท่ีพบเสมอได้แก่ อินทนิลบก
กาสามปีก ตว้ิ คามอก เถาวัลย์ทส่ี าคัญ เช่น ทองกวาวเครือ หรือเครือแมด เป็นแหล่งไม้ไผ่ท่ีสาคัญ ชนิดท่ีพบ
ได้แก่ ไผ่ซาง ไผ่ซางดอย ไผ่บงดา ไผ่บง ไผ่ไร่ไผ่ข้าวหลาม เป็นแหล่งกล้วยไม้ที่สาคัญแหล่งหนึ่ง โดนเฉพาะ
กลว้ ยไม้ในสกุลหวาย สกุลชา้ ง สกุลกหุ ลาบ สกุลเขม็ และกาเรการ่อน เป็นต้น พ้ืนป่าบางตอนอาจมีหญ้าข้ึน
ผสมในส่วนท่ีมีเรือนยอดเปิดแต่ในบางส่วนที่ป่าค่อนข้างทึบมักประกอบด้วยพืชล้มลุกที่ทนร่มผสมกับ
ไม้พมุ่ เตีย้ และลกู ไม้ บางส่วนเปน็ สงั คมพืชทไี่ ม่มไี มส้ กั ข้ึนผสมกบั ไม้ชนิดอ่ืน ๆ
3.) ป่าเต็งรัง (Deciduous dipterocarp forest) เป็นป่าที่มีลักษณะเป็นโครงสร้างโดยทั่วไป
เหมือนกับป่าผสมผลัดใบ แต่จาแนกได้โดยไม้ดัชนีท่ีเป็นไม้เด่นในเรือนช้ันยอดคือ การปรากฏของไม้เต็งรัง
เหยี ง พลวง ยางกราด ซ่ึงลว้ นเปน็ ไม้ในวงศไ์ มย้ างทีไ่ มผ่ ลดั ใบ และขน้ึ ผสมกบั เปน็ เรอื นยอดชน้ั บนของป่า
4.) ป่าดงดิบเขา (Hill evergreen forest) จาแนกจากลักษณะโครงสร้างของสังคมพืช
ระดับความสูงจากน้าทะเล และชนิดพันธ์ไม้ดัชนี ปกติพบบนยอดเขาสูงที่มีความสูงจากระดับน้าทะเลเกิน
กว่า 1,200 เมตร ภูมิอากาศหนาวเย็นตลอดปี มีไม้ในวงศ์ไม้ก่อ เป็นไม้เด่นในสังคมและมีไม้ในกลุ่มไม้สน
และไม้ทกี่ ระจายมาจากเขตอบอุ่นเข้าผสมอย่หู ลายชนิด ไม้ดัชนีของป่าชนิดน้ี คือ ก่อก้างด้าง ก่อดา ก่อเดือย
และก่อแดง ไม้ในกลุ่มไม้สน เช่น ซางลิง พญามะขามป้อม ขุนไม้ สนสามปี ไม้เขตอบอุ่นท่ีพบ เช่น
กาลังเสือโคร่ง พื้นป่าค่อนข้างรกทึบด้วยเฟิร์น มอส ไลเคน บนพ้ืนที่ที่มีระดับความสูงมาก ๆ อากาศเย็นจัด
และชืน้ ตลอดปี ต้นไมจ้ ะแคระแกรน และตามกง่ิ และลาตน้ มมี อส และพชื เกาะติดขน้ึ คลมุ หนาแน่น
องคค์ วามรู้
1.ศกึ ษาพรรณไม้ สภาพนิเวศวิทยา
2.ศกึ ษาการพัฒนาการอนรุ กั ษต์ น้ น้าน้าเงนิ
แหล่งข้อมูล :โรงเรยี นปงพฒั นาวทิ ยาคม (www.pongppk.ac.th)
แหลง่ เรยี นรูต้ าบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
วังปลาดอยงา
ที่ตัง้ บา้ นแฮะ ตาบลงิม อาเภอปง จังหวัดพะเยา
ความเป็นมา
ในปี พ.ศ. 2537 ได้เกิดอุทกภัยขึ้นกับหมู่บ้านแฮะ ทาให้มีฝูงปลาจานวนมากมาอาศัยอยู่บริเวณ
หน้าฝายของบ้านแฮะชาวบ้านเห็นก็ได้นาอาหารมาให้ฝูงปลา จานวนนี้ทุก ๆ วัน จนในที่สุดเม่ือทุก ๆ อย่าง
ในหมู่บ้านเร่ิมเขา้ ทเ่ี ข้าทางดีแลว้ ฝูงปลาจานวนนั้นกม็ ไิ ด้หายไปไหนกย็ งั อาศัยอยทู่ ่ีน่ีจนถึงทุกวนั นี้
วังปลาดอยงามีสภาพแวดล้อมที่สวยงาม เพราะล้อมรอบไปด้วยภูเขาและต้นไม้นานาพันธุ์
โดยเฉพาะอย่างยง่ิ มีพันธป์ุ ลาหลากหลายพันธ์ุแตล่ ะพันธ์ลุ ว้ นสวยงาม และหาดูไดย้ าก เช่น ปลานิล ปลาสลิด
ปลาตะเพยี น ปลาดกุ เปน็ ต้น แตเ่ นอื่ งจากชาวบ้านแฮะมีอาชีพหลกั คอื ปลกู ข้าวโพด และเป็นเหตุให้ชาวบ้าน
นาข้าวโพดมาเป็นอาหารใหเ้ หล่าฝูงปลาในวังปลาดอยงา ทาใหข้ า้ วโพดกลายเป็นอาหารอันโอชะให้กับบรรดา
ฝูงปลาอีกท้ังยังเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย และเป็นการอนุรักษ์สภาพแม่น้าไม่ให้เน่าเสีย อีกทั้งชาวบ้านยัง
พร้อมใจกันอนุรักษ์พันธุ์ปลาเอาไว้เพ่ือให้รุ่นลูกหลานได้มีโอกาสได้ชมความงาม และหมู่บ้านแฮะยังเป็น
หมู่บ้านตวั อย่างของการเกษตรท่ดี ีและใชช้ วี ิตตามแนวพระราชดาริในด้านเศรษฐกจิ พอเพียง
องค์ความรู้
1.เป็นแหลง่ ศึกษาพันธ์ุปลาตา่ งๆ
2.เปน็ แหล่งการเกษตรกรรม
แหลง่ ข้อมูล :โรงเรียนปงพฒั นาวทิ ยาคม (www.pongppk.ac.th)
แหล่งเรียนรู้ตาบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
วังมัจฉาวัดปวั ลุ่ม
ทีต่ ัง้ วดั บ้านปัวลุ่ม หมทู่ ี่ 6 ตาบลงิม อาเภอปง จงั หวดั พะเยา
ความเปน็ มา
ลักษณะที่เด่นชัดของวัดปัวลุ่ม คือ มีวังมัจฉาท่ีมีเหล่าปลามาก มายซ่ึงเกิดจากการ ที่พระครูสุนันท
บริรักษ์ ได้เลี้ยงไว้ตั้งแต่เมื่อคร้ังอดีต ซ่ึงหลวงพ่อ ยังได้ริเร่ิมสร้างกุฏิสองช้ันเมื่อปี พ.ศ. 2510
และสร้างศาลาการเปรียญเมื่อปี พ.ศ. 2515 จนเสร็จในปี พ.ศ. 2517 หลังจากนั้นท่านก็ได้สร้างพระอุโบสถ
เมอ่ื ปี พ.ศ. 2530 แลว้ เสร็จ พ.ศ. 2535 จานวนเงนิ 1,200,000 บาท
เหตุอัศจรรย์วดั บ้านปัวล่มุ
ในคืนวันท่ี 30 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2537 เวลา 03.00 เป็นวันที่มีพายุ เข้ามาทาให้เกิดน้าป่าไหล
หลากมามากจนท่วมหมู่บ้าน แต่ในขณะนั้นศาลาการเปรียญซ่ึงเป็นท่ีต้ังบาเพ็ญกุศลเจ้าอาวาสอยู่น้าไม่ท่วม
มายังศาลาการเปรยี ญเลยท่งั ที่น้าท่วมท้งั ชมุ ชน
ปลาที่เจ้าอาวาสเลี้ยงไว้หลังจากท่ีท่านมรณภาพไปปลาท่ีท่านเล้ียงไว้ยัง มีบางคนไม่พอใจ
เพราะอยากกินปลาเหล่านั้นเน่ืองจากเห็นว่าเจ้าอาวาสท่าน มรณะไปแล้วจึงมีบางคนไปจับปลาน้ันมา
แต่ตอ่ มาไมน่ านผลกรรมก็ตามทนั โดยคนท่จี บั ปลามากนิ น้ันตายอย่างไร้สาเหตุ
องคค์ วามรู้
1.เปน็ แหล่งศึกษาพันธป์ุ ลาต่างๆ
2.เปน็ ทเ่ี คารพสักการบชู าของชาวบ้าน
แหลง่ ข้อมูล :ผู้ใหญ่บา้ น บ้านปัวลุ่ม ต.งมิ อ.ปง จ.พะเยา
แหลง่ เรยี นรตู้ าบลงิม
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สวนสุขภาพเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา มหาราชัน
/สวนสัตวจ์ าลอง
ที่ตง้ั
สวนสุขภาพเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษามหาราชัน ต้ังอยู่ทิศใต้ ของสานักงานเทศบาลตาบลงิม
ซึ่งมีพื้นท่ีรวม 70 ไร่ นอกจากนี้บริเวณท่ีทาการของสานักงานเทศบาลตาบลงิม (แห่งใหม่) ประกอบด้วย
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนอนบุ าลเทศบาลตาบลงิม อาคารสานักงาน สระวา่ ยน้า สนามกีฬา
ความเป็นมา
สวนสุขภาพเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษามหาราชัน เร่ิมก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2548 และกาหนด
แลว้ เสร็จภายในปี พ.ศ. 2551 เพ่ือถวายแด่ในหลวง รัชกาลท่ี 9 ทา่ น ภายในพื้นทปี่ ระกอบด้วย
- สระเกบ็ น้าขนาด 15 ไร่ มีทางเดนิ คอนกรตี รอบสระ สาหรบั ออกกาลงั กาย
- น้าตกจาลอง
- รปู ปนั้ สตั วจ์ าลอง เชน่ ไดโนเสาร์ , เสอื , แรด, ชา้ ง, ม้า, ยรี าฟ
- พนั ธไ์ุ มช้ นดิ ต่างๆ เพ่ือเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ
องคค์ วามรู้
ศกึ ษาเรยี นรู้เร่ืองสัตว์ จากรปู ปนั้ สตั ว์จาลอง เช่น ไดโนเสาร์, เสือ, แรด, ช้าง, ม้า, ยรี าฟ
และพนั ธไ์ุ มต้ ่าง ๆ
แหลง่ ข้อมูล :เทศบาลตาบลงิม
แหลง่ เรยี นร้ตู าบลงิม
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ศนู ยส์ มนุ ไพรพ้ืนบา้ น
ทต่ี ง้ั โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพชุมชนตาบล บ้านเลี้ยว หมูท่ ี่ 10 ตาบลงมิ อาเภอปง จงั หวัดพะเยา
ความเป็นมา
ศูนย์สมุนไพรพื้นบ้าน ต้ังอยู่ที่ รพ.สต.บ้านเล้ียว หมู่ท่ี 10 ตาบลงิม อาเภอปง จังหวัดพะเยา
โดย หมอชัยหรือคุณวีระชัย คามา ผอ.รพ.สต.บ้านเล้ียว อ.ปง จ.พะเยา “รวบรวมกลุ่มภูมิปัญญาพื้นบ้าน
เพอื่ การสืบทอด นามาต่อยอดบูรณาการกับการให้บริการสุขภาพ ชุมชนสามารถพึ่งตนเอง” ยึดเป็นแนวทาง
ตลอด 25 ปีของการทางานในชุมชนบ้านเลี้ยว ทุ่มเทสรรพกาลัง สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน จัดผ้าป่า
ระดมทุนเพ่ือดาเนินกิจกรรมศูนย์บริการหมอเมือง(หมอพื้นบ้าน) ทาหน้าท่ีเป็นตัวกลางประสานงบประมาณ
จากกองทุนสุขภาพชุมชน(สปสช.) ตาบลงิม หลักการทางานคือฟ้ืนฟูให้ชาวบ้านได้เห็นความสาคัญ
ของภูมิปัญญาที่มีอยู่ หลังจากน้ันเป็นขั้นตอนวิเคราะห์ว่าชุมชนมีปัญหาอะไร แล้วนาเอาความรู้มาปรับใช้
ประโยชน์ แกไ้ ขปัญหาท่ีเชื่อมโยงใหเ้ ห็นรูปธรรมชดั เจน ได้แก่
ตารบั ยาสมุนไพรขบั สารพิษในกลมุ่ เกษตรกร
รพ.สต.บ้านเลี้ยว กลุ่มหมอพื้นบ้านบ้านเลี้ยว แปรรูปสมุนไพร ชารางจืด เรื่องตารับ
ยาสมุนไพรขับสารพิษในร่างกาย รางจืด ย่านาง พิลังกาสา ฝางแสน ทองพันชั่งฯ เป็นตารับยา
ของหมอพื้นบ้าน และผลิตยาสมุนไพรเพ่ือรณรงค์ให้เกษตรกรใช้ต้มด่ืมและอบสมุนไพรขับสารพิษ
ตรวจเลือดเพ่ือคัดกรองเกษตรกรที่มีสารปนเป้ือนในกระแสเลือดจานวน 200 คนให้มารับบริการ
อบสมนุ ไพรขบั สารพษิ ชาสมนุ ไพร ตารับยาตม้ ขับสารพษิ
ส่ิงประดิษฐ์จากกองขยะ
พ่อหมอแต่ง กุสาวดี หมอเมืองบ้านเลี้ยว มองเช่ือมโยงถึงปัญหาใกล้ตัวของชาวบ้าน
บอกว่าในอดีตตะไคร้หอมนิยมปลูกไว้ใกล้บ้านหรือคอกสัตว์ ไล่ยุงและแมลงที่มารบกวนสัตว์
ก็ไดน้ ามาประดิษฐ์คิดสรา้ งสรรค์ ทาตะเกยี งสมุนไพรตะไคร้หอมไล่ยุงช่วยเสริมใช้ประโยชน์สมุนไพร
ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลอื ดออก โดยใชอ้ ปุ กรณท์ ่ีหาได้ง่ายในชุมชน
ผงปรงุ รสสมนุ ไพร
ภูมิปัญญาเคร่ืองปรุงอาหารจากสมุนไพร เพื่อใช้ทดแทนผงชูรสในชุมชน ประกอบด้วย
สมุนไพรต่างๆ เช่น มะรุม ย่านาง ผักหวานบ้าน ใบเล็บครุฑ ผักชีฝรั่ง พญายอ ฯลฯ นาวัตถุดิบ
มาหน่ั ใหล้ ะเอียด ตากใหแ้ ห้งแล้วบดให้ละเอยี ด
แหลง่ เรยี นรู้ตาบลงิม
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กลมุ่ หมอเมืองทาชาสมุนไพรล้างพิษ ตะเกยี งไล่ยงุ ตะไคร้หอม
หมอแตง่ กุสาวดี พาเด็กๆเดนิ สารวจสมนุ ไพร หอ้ งอบสมุนไพรท่ี รพ.สต.บา้ นเลี้ยว
ความร่วมมือกนั ในชุมชน การใช้องค์ความรหู้ มอเมอื งรว่ มกบั รพ.สต.บ้านเลย้ี ว โดยมองเชือ่ มโยงถงึ
ปญั หาใกล้ตัวของชาวบา้ น เกิดการวเิ คราะห์ปัญหาตลอดจนคน้ หาศักยภาพของคนชมุ ชน เปน็ ทางออกหน่ึงใน
การดูแลสขุ ภาพของคนในชมุ ชนทพ่ี ง่ึ ตนเองด้านสุขภาพได้อย่างยง่ั ยนื .
แหลง่ เรยี นรู้ตาบลงิม
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ศูนยน์ า้ ยาชวี ภาพ
ที่ต้งั บ้านแบง่ หมทู่ ่ี 5 ตาบลงิม อาเภอปง จงั หวัดพะเยา
ความเปน็ มา
ศูนย์น้ายาชีวภาพจัดต้ังข้ึน เป็นการรวมกลุ่มของประชาชนบ้านแบ่ง จัดต้ังกลุ่มการทาน้ายาชีวภาพ
ข้ึนเพ่ือส่งเสริมให้เกษตรกรลดการใช้สารเคมีท่ีมีราคาแพง และนาไปประกอบเป็นอาชีพเสริม สร้างรายได้
ลดรายจ่ายในการเกษตรและครัวเรือนได้ โดยแรกเริ่มเดิมทีได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากเทศบาล
ตาบลงิม และเปน็ พีเ่ ล้ียงในการรวมกลมุ่ ที่ยัง่ ยืน พงึ่ พาตนเองได้
องคค์ วามรู้
ศึกษาเรยี นรู้วธิ ีการทานา้ ยาชีวภาพ
แหล่งเรยี นร้ตู าบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
โฮงเฮียนสรา้ งสุขเทศบาลตาบลงิม
ท่ตี ง้ั อาคารสานักงานเทศบาลตาบลงมิ (หลังเกา่ ) บา้ นตา้ หมู่ 18 ตาบลงิม อาเภอปง จังหวัดพะเยา
ความเป็นมา
ศูนย์ผู้สูงอายุเทศบาลตาบลงิม ก่อต้ังขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2552 โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณ
จากเทศบาลตาบลงิมและศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง มีการรวมกลุ่ม
ของผสู้ งู อายใุ นเขตเทศบาลตาบลงิมในการทา ตุงประเพณี การทาดอกไม้จันทน์ ทาพวงหรีด ทาโคมประเพณี
ดอกไม้ประดิษฐ์ท่ีใช้ในงานศพ จาหน่ายในพื้นท่ีตาบลงิมและพ้ืนท่ีใกล้เคียง สมาชิกกลุ่มสามารถถ่ายทอด
ความรู้ให้กบั คนในชุมชนและผู้ทส่ี นใจมาเรยี นรู้ได้
องคค์ วามรู้
ศึกษาเรยี นรู้ เร่อื ง การทาตุงประเพณี โคมประเพณี การทาดอกไมจ้ ันทน์ ดอกไม้ประดษิ ฐท์ ่ีใช้
ในงานศพ การทาพวงหรดี
แหลง่ เรียนร้ตู าบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แหล่งเรียนรู้ในพืน้ ท่อี าเภอปง จังหวัดพะเยา
แหล่งเรยี นรตู้ าบลงิม
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
**แหลง่ เรยี นรู้ในเขตพนื้ ทตี่ าบลควร**
กลุ่มทอผ้าฝา้ ยพ้ืนเมอื ง
ทตี่ ้ัง หอประชมุ หมู่บ้าน บ้านปา่ คา หมู่ที่ 3 ตาบลควร อาเภอปง จังหวดั พะเยา
ประวัติความเปน็ มา
กลุ่มการทอผ้าฝ้ายพ้ืนเมือง ก่อต้ังกลุ่มเม่ือปี 2535 โดยเป็นการรวมตัวกันของสตรีในหมู่บ้าน
ท่ีว่างจากการทานา ทาไร่ และต้องการหารายได้เสริมให้กับครอบครัวปัจจุบันยังคงรวมกลุ่มถักทอผ้าฝ้าย
เช่นท่ีผ่านมา ได้มีการสาธิตและสอนให้กับประชาชนท่ีสนใจ มีหน่วยงานที่เก่ียวข้องเข้ามาให้การสนับสนุน
อย่างต่อเนื่องโดยมีผู้ชานาญการในด้านการทอประจาอยู่กลุ่มตลอด คือ นางมาลี ขันตา หรือ ท่ีชาวบ้าน
ต่างรจู้ กั ดีทีช่ ือ่ “ป้ามาลี” ซงึ่ ปา้ มาลจี ะเป็นผสู้ าธิต และอธิบายงานทอผา้ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
องค์ความรู้
1. เป็นแหล่งเรยี นรดู้ ้านงานศลิ ปหัตถกรรม
2. เป็นแหลง่ สรา้ งอาชีพสาหรับคนในชมุ ชน
แหล่งข้อมูล
1. ผใู้ หญ่บา้ น บา้ นปา่ คา หมู่ที่ 3 ตาบลควร อาเภอปง จังหวดั พะเยา
2. http://www.thaitambon.com/tambon/ttambon.asp?ID=560602
แหลง่ เรยี นรู้ตาบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
วดั ปา่ คาใหม่
ทีต่ ั้ง หมู่ท่ี 9 ถนน ปง-นา้ ปุก ตาบลควร อาเภอปง จงั หวัดพะเยา
ประวัตคิ วามเปน็ มา
เดิมทีน้ัน ที่วัดป่าคาใหม่ยังเป็นป่าซ่ึงชาวบ้านนาวัวมาเลี้ยง ต่อมาเกิดอุทกภัยน้าท่วมมีคนล้มตาย
เปน็ จานวนมาก ทาใหต้ อ้ งยา้ ยทอ่ี ยู่อาศัยกนั จึงพาลกู เมยี มาสร้างบา้ นเรยี กว่าบ้านป่าคาใหม่ ในปี พ.ศ.2506
ทางวัดได้รับหนังสือจากกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ศธ.0403/10566 ให้วัดป่าคาใหม่เป็นวัดที่สมบูรณ์ตาม
พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ.121 แต่งต้ังย้อนหลังเป็นกฎหมายบังคับใช้ต้ังแต่วันที่ 21
กันยายน พ.ศ. 2532 โดยอธิบดีกรมศาสนาเป็นผู้ลงนามได้รับพระราชการทานวิสุงคามสืบ วันที่ 23
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 ปัจจุบันวัดป่าคาใหม่ยังเป็นศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ และยังให้ความรู้
เกี่ยวกบั ภาษาบาลีใหก้ ับประชาชน ตาบลควร และประชาชนผู้สนใจ
องคค์ วามรู้
1. เปน็ แหลง่ เรยี นรดู้ ้านศาสนา
2. เป็นศูนย์รวมจติ ใจใหก้ ับประชาชนในหมบู่ า้ น
แหลง่ ข้อมูล ผ้ใู หญบ่ ้าน บ้านป่าคา หมู่ท่ี 9 ตาบลควร อาเภอปง จงั หวดั พะเยา
แหล่งเรยี นรตู้ าบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
โรงพยาบาลสุขภาพตาบลควร
ทตี่ ้ัง หมู่ท่ี 10 บา้ นหัวฝาย ตาบลควร อาเภอปง จงั หวดั พะเยา
ประวตั ิความเปน็ มา
แต่เดิมมีชื่อว่า อนามัยตาบลควร ก่อต้ังข้ึนเมื่อประมาณ พ.ศ. 2502 ให้บริการรักษาโรคทั่วไป
และเป็นแหล่งศึกษาเก่ียวกับสมุนไพรพ้ืนบ้านต่อมาได้เปลี่ยนช่ือเป็น โรงพยาบาลสุขภาพตาบลควรเม่ือ
พ.ศ. 2554 เป็นตน้ มาจนถึงปัจจบุ ัน
ปัจจุบันนี้โรงพยาบาลสุขภาพตาบลควรได้จัดสร้างอาคารอเนกประสงค์เพ่ิมข้ึนเพื่อรองรับการ
ให้บรกิ ารแก่ประชาชนในชุมชนอย่างทว่ั ถึง มเี จ้าหน้าที่อานวยความสะดวกอยู่ตลอด
องค์ความรู้
1. เปน็ แหล่งเรียนรู้ดา้ นสขุ ภาพ
2. เปน็ สถานพยาบาลชมุ ชน
แหล่งข้อมูล ผู้ใหญ่บา้ น บา้ นหัวฝาย หมทู่ ่ี 10 ตาบลควร อาเภอปง จังหวดั พะเยา
แหลง่ เรียนรตู้ าบลงิม
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
**แหลง่ เรียนร้ใู นเขตพน้ื ทต่ี าบลปง**
วดั พระธาตดุ อยหยวก
ทตี่ ั้ง เลขท่ี 50 หมู่ 6 บ้านหนุน ถนน ปง-เชยี งม่วน ตาบลปง อาเภอปง จงั หวัดพะเยา
ประวตั ิความเป็นมา
ตานานกล่าวไว้ว่า เมื่อคร้ังพุทธกาล พระพุทธเจ้าเสด็จมายังดอยภูเติม พญานาคที่รักษาดอยนี้
คิดว่าพระองค์เป็นพญาครุฑ จึงแทรกกายหนี ครั้นได้ฟังธรรมจากพระองค์ พญานาคก็เกิดความเลื่อมใส
พระพุทธองค์จึงมอบพระเกศาให้ และตรัสกับพระอานนท์ว่า เม่ือพระตถาคตนิพพานแล้ว ให้นากระดูก
ริมตาขวามาไว้รวมกับพระเกศาน้ัน กาลข้างหน้าจะมีชื่อว่าพระธาตุภูเติม จึงมีการสร้างพระธาตุและบรรจุ
พระเกศาธาตุและพระบรมสารีริกธาตุที่เป็นกระดูกตาขวาไว้ภายใน ต่อมาเรียกภายหลังว่า
พระธาตดุ อยหยวกปจั จุบันยังมปี ระชาชนเขา้ ไปสักการบชู าทุกวัน และอยรู่ ะหว่างการบรู ณะพระธาตุ
องค์ความรู้
1. เป็นแหล่งเรยี นรดู้ ้านศาสนา
2. เปน็ สถานที่ประกอบพิธกี รรมทางศาสนา
3. เป็นแหลง่ ศกึ ษาข้อมูลดา้ นศาสนา
แหล่งข้อมูล ทา่ นพระอธกิ ารคามา ใจรา (เจา้ อาวาสวดั พระธาตุดอยหยวก)
แหลง่ เรียนรตู้ าบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
**แหล่งเรยี นรูใ้ นเขตพืน้ ท่ีตาบลผาชา้ งนอ้ ย**
ศนู ยพ์ ฒั นาโครงการหลวงปงั คา่
ประวตั ิความเปน็ มา
ปี พ.ศ. 2530 มูลนธิ โิ ครงการหลวงได้จดั ตงั้ ศนู ยพ์ ัฒนาโครงการหลวงปงั คา่ ขน้ึ เร่ิมตน้ โดยกรมพัฒนา
ท่ีดินดาเนินการบุกเบิกพื้นที่ จัดทาระบบอนุรักษ์ดินและน้า จัดสรรพ้ืนท่ีทามาหากินให้แก่ราษฎร
จากน้ันส่งเสริมให้ปลูกไม้ผลเมืองหนาวศูนย์พัฒนาโครงการหลวงปังค่า สูงจากระดับน้าทะเล 640 เมตร
พื้นท่ีรับผิดชอบ 22,505 ไร่ ประกอบด้วยชาวเขาเผ่าเย้าและม้ง ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะพ้ืนที่
เปน็ เนนิ เขาและภูเขาสงู มีลาน้าสายสาคัญ คอื ลาน้าแมค่ ะ และลาน้าเงนิ
กิจกรรมการท่องเท่ียว
การท่องเท่ียวเชงิ เกษตร
ชมแปลงผลผลิต เช่น ฟักทองยักษ์ ฟักทองสีขาว ฯลฯ โดยฟักทองยักษ์เคยหนักสุดถึง 72 กิโลกรัม เม่ือปี
พ.ศ.2551
ชมแปลงไมด้ อกไม้ประดบั เช่น แวก็ ซ์ฟลาวเวอร์ มะเขือการต์ ูน ฯลฯ
ชมแปลงไม้ผล เช่น อะโวกาโด มะมว่ ง ส้มโนรตี ะ สม้ คัมควอท ฯลฯ
ชมสวนลน้ิ จ่ี ของเกษตรกรบนพ้นื ทีก่ ว่า 2,000 ไร่ โดยจะออกผลในชว่ งเดือนเมษายน – พฤษภาคม
การทอ่ งเทย่ี วเชงิ วฒั นธรรม
ชมวถิ ีชีวิตของชนเผ่าม้งทีห่ มู่บา้ นสิบสองพฒั นา และบา้ นปางคา่ เหนือ
ชมวถิ ชี วี ติ ของชนเผา่ เย้าทบี่ า้ นปางคา่ ใต้
การทอ่ งเทีย่ วทางธรรมชาติ
ยอดดอยภูลังกา เป็นแหล่งต้นน้าของแม่น้ายม ยอดเขาสูง 1,720 เมตรจากระดับน้าทะเล เป็นสันเขาแคบๆ
สามารถชมพระอาทิตย์ข้ึนและทะเลหมอกยามเช้า โดยจุดนี้สามารถมองเห็นประเทศสาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว และสามเหลีย่ มทองคาได้อยา่ งชดั เจน
แหลง่ เรียนรตู้ าบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ดอยภนู ม เปน็ สนั เขาแคบๆ ทอดตวั ต่อลดหล่ันมาจากดอยภูลังกา สามารถชมทิวทัศน์ได้รอบโดยเฉพาะทะเล
หมอกพระอาทิตยข์ ้ึนและตก
ดอยหวั ลิง ถ้ามองทางทิศเหนือหรือใต้จะเห็นยอดดอยคล้ายหัวลิงหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ด้านตะวันตก
เป็นป่าดงดิบเขาด้านทิศตะวันออกเป็นหน้าผาสูงชันมีหญ้าปกคลุมและลมพัดแรง เหมาะสาหรับชมทะเล
หมอก และพระอาทิตย์ข้ึน
จดุ ชมทะเลหมอก ท่ีบา้ นปางมะโอ อยเู่ ลยทางเข้าภลู งั กา ไปตามเส้นทางหลวงสาย 1148 ราว 10 กิโลเมตร
ของฝากของที่ระลึก
ผลผลติ ทางการเกษตรตามฤดูกาล
ผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรมชาวบ้าน เช่น ผ้าเขียนลายเทียน ผ้าปัก กระเป๋าใส่เงิน กระเป๋าใส่มือถือ สมุดจด
บันทึกหนา้ ปกลายผา้ ปกั เส้อื แบบเยา้ เคร่อื งเงิน ฯลฯ
ท่ีพัก-ร้านอาหาร
บ้านพักรับรองภายในศูนย์ฯ จานวน 5 หลัง รองรับได้ 20 คน มีสถานที่กางเต็นท์ และบริการเช่า
เต็นท์พร้อมถุงนอน ส่วนที่พักของวนอุทยานภูลังกา มีร้านอาหารบริการภายในศูนย์ และมีร้านค้าของ
ชาวบา้ นในบริเวณหมบู่ ้าน
การเดนิ ทาง
เร่ิมต้นจากจังหวัดพะเยา ผ่านอาเภอดอกคาใต้-จุน มุ่งหน้าไปอาเภอเชียงคา ไปตามทางหลวง
หมายเลข 1179 เลี้ยวขวาท่ี กม.8 เข้าทางหลวงสาย 1148 สายเชียงคา-น่าน จากนั้นเลี้ยวซ้ายที่ กม.90
ขับต่อไปตามถนน รพช. อีกประมาณ 5 กิโลเมตร เป็นถนนลาดยางไปจนถึงวนอุทยานภูลังกา รถเก๋งสามารถ
ขน้ึ ไปไดอ้ ย่างสบาย หากจะขน้ึ ไปเที่ยวทด่ี อยภูลงั กา ใหต้ ิดต่อเหมารถ 4WD ทวี่ นอทุ ยานภลู ังกา
สอบถามรายละเอยี ดเพิ่มเตมิ
ศูนย์พฒั นาโครงการหลวงปงั ค่า บ้านปังค่า ตาบลผาชา้ งน้อย อาเภอปง จังหวัดพะเยา 56140 โทร 054-
401-023, 086-881-5544
วนอุทยานภูลังกา โทร 081-883-0307
องค์การบรหิ ารส่วนตาบลผาช้างน้อย โทร 054-401-100
แหล่งขอ้ มลู http://www.thairoyalprojecttour.com/?p=1045
แหล่งเรียนรตู้ าบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
วนอทุ ยานภูลงั กา
ทต่ี ัง้
วนอทุ ยานภลู ังกาอยใู่ นท้องท่ีอาเภอเชียงคาและอาเภอปง จังหวัดพะเยา อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ
ปา่ น้าเป๋อื ย ป่าน้าหยวนและป่าน้าลาว และป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ยม มีเนื้อที่ประมาณ 7,800 ไร่ กรมป่าไม้
ได้ประกาศจดั ตัง้ เมอื่ วันท่ี 8 พฤษภาคม 2545
ลักษณะภูมิประเทศ
เป็นภูเขาสูงชันอยู่ในเทือกเขาสันปันน้า วางตัวอยู่ในแนวตะวันออก-ตะวันตก สูงจากระดับน้าทะเล
ปานกลาง ประมาณ 900-1,720 เมตร มีลาห้วยที่สาคัญ คือ น้าแม่คะไหลผ่านด้านทิศใต้ ห้วยน้าต้ม
และน้าแม่รูไหลลงน้าแม่รูทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ ห้วยคะแนงและห้วยป่ายางไหลลงน้าแม่ลาว
ทางทิศเหนือ ลาหว้ ยทงั้ หมดจะไหลลงสแู่ ม่น้ายมต่อไป
พืชพันธแุ์ ละสัตว์ป่า
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าดงดิบเขาและดงดิบริมห้วย ประมาณ 63 % มีพันธ์ุไม้เด่นได้แก่ไม้ในวงศ์ไม้ก่อ
เช่น ก่อเดือย ก่อใบเลื่อม ก่อแป้น ก่อลิ้มและก่อหร่ัง ทะโล้ กายาน นางพญาเสือโคร่ง และกาลังเสือโคร่ง
เป็นต้น ปา่ โปรง่ ประมาณ 21 % มีพันธ์ุไมเ้ ดน่ ทพี่ บไดแ้ ก่ ทะโล้ ไมก้ อ่ ค่าหด ช้าแป้น ปอเลียงฝ้าย กางหลวง
และเป็นทุ่งหญ้า ประมาณ 16 % มีพันธุ์ไม้จาพวกหญ้าคา เลา หญ้าพง แขม และสาบแล้งสาบกา เป็นต้น
ในอดีตพื้นที่บริเวณไหล่เขาใกล้ยอดดอยเคยเป็นพ้ืนที่ปลูกฝ่ิน ในปัจจุบันอยู่ในขั้นตอนของการทดแทน
ทางธรรมชาติและเป็นแหล่งต้นน้าช้ัน 1A เป็นต้นกาเนิดของแม่น้ายม สัตว์ป่าท่ีพบได้แก่ เก้ง หมูป่า เลียงผา
อ้นเล็ก กระจงเล็ก กระแตใหญ่เหนือ กระรอก เสือโคร่ง เสือดาว หมี ชะมด อีเห็น สัตว์จาพวกนก และ
สัตวเ์ ลอื้ ยคลานตา่ งๆ
แหลง่ เรยี นรตู้ าบลงิม
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การเดนิ ทาง
การเดินทางไปวนอุทยานภูลังกามี 3 เส้นทาง ดังนี้เดินทางจากอาเภอเมืองเชียงรายตามทางหลวง
แผ่นดนิ หมายเลข 1148 ถึงอาเภอเทิง ระยะทาง 64 กิโลเมตร จากอาเภอเทิงถึงอาเภอเชียงคา 26 กิโลเมตร
ไปบ้านทุ่งหล่มใหม่ 8 กิโลเมตร แล้วเล้ียวซ้ายไปทางทิศเหนือถึงบ้านแฮะ 12 กิโลเมตร เลี้ยวขวาไปอีก 5
กิโลเมตร แล้วเล้ียวซ้ายไปทางทิศเหนือถึงวนอุทยาน 12 กิโลเมตร รวมระยะทางทั้งหมด 127 กิโลเมตร
เดินทางจากจังหวัดพะเยาผ่านอาเภอปงถึงแยกทางเข้าอาเภอเชียงคาตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1092
ระยะทาง 104 กโิ ลเมตร แล้วเดินทางต่ออีก 3 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1148 เลี้ยวซ้ายไป
ทางทิศเหนือถึงวนฯ 12 กิโลเมตร รวมระยะทาง 119 กิโลเมตร เดินทางจากอาเภอเมืองน่านถึงอาเภอ
ท่าวังผาตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข1080 ระยะทาง 43 กิโลเมตร เดินทางไปทางเหนือแล้วเล้ียวขวาไป
อาเภอสองแถวตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1148 ระยะทาง 33 กิโลเมตร จากอาเภอสองแถว
ถงึ อาเภอเชยี งคาแลว้ เดนิ ทางตอ่ ไปถึงวนฯ 71 กโิ ลเมตร รวมระยะทางทัง้ หมด 147 กโิ ลเมตร
ภาพทวิ ทศั น์
ดา้ นธรรมชาตทิ ่ีสวยงาม
ดอยภูลงั กา ดอยภูลังกา เป็นสันเขาแคบๆ ด้านตะวันตกเป็นป่าดงดิบเขาด้านทิศตะวันออกเป็นหน้าผาสูงชัน
มีหญ้าปกคลุมและลมพัดแรง เม่ือข้ึนไปบนยอดดอยชมพระอาทิตย์ข้ึนและทะเลหมอกยามเช้าได้สวยงาม
และสามารถมองเห็นประเทศสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว
กิจกรรม : ชมทิวทศั น์
แหล่งข้อมลู http://park.dnp.go.th/visitor/nationparkshow.php?PTA_CODE=4064
แหลง่ เรยี นรตู้ าบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
**แหลง่ เรยี นรู้ในเขตพน้ื ทตี่ าบลนาปรัง**
โรงพยาบาลปง
ที่ต้งั ต้งั อยูเ่ ลขท่ี 395 บ้านแสนสขุ หมู่ที่ 9 ตาบลนาปรงั อาเภอปง จังหวัดพะเยา
ประวัตคิ วามเป็นมา
พ.ศ. 2486 เป็นสุขศาลาช้ัน 2 ตั้งอยู่บ้านดู่ หมู่ 3 ตาบลปงอาเภอปง จังหวัดพะเยา พ.ศ. 2502
เปล่ียนเป็นสถานีอนามัยประจาอาเภอ พ.ศ. 2510 ได้รับเงินงบประมาณจานวน 595,000 บาทสร้างเป็น
สถานีอนามยั ช้ัน1 โดยประชาชนบริจาคเงนิ ซื้อที่ดินเปน็ เงิน 10,000 บาท ไดท้ เี่ พิ่ม 3 ไร่ 2 งาน 10 ตารางวา
พ.ศ. 2517 ยกฐานะเป็นศูนย์การแพทย์และอนามัย มีนายแพทย์เทพนฤมิตร เมธนาวินเป็นหัวหน้าคนแรก
พ.ศ. 2520 ปรับเป็นโรงพยาบาลอาเภอขนาด10 เตียงได้รับบริจาคเคร่ืองเอกซ์-เรย์ และเคร่ืองปรับอากาศ
จากข้าราชการและประชาชนท่ีจัดงานโดดร่ม เพื่อหาเงินบริจาค พ.ศ. 2530 กระทรวงสาธารณสุข
จัดสรรงบประมาณจานวน 5,295,000 บาท ทาการก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลชุมชนขนาด 10 เตียง
ณ บ้านาปรัง ตาบลนาปรัง อาเภอปง จังหวัดพะเยาทาพิธี อย่างเป็นทางการ เม่ือ วันท่ี 11 เมษายน 2531
โดย ฯพณฯ พลตรีชาติชาย ชุนหะวัน รองนายกรัฐมนตรี (ตาแหน่งในขณะนั้น) พ.ศ. 2534
กระทรวงสาธารณสขุ จัดสรรงบประมาณ จานวน 11,038,000 บาท ทาการก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลชุมชน
ขนาด 30 เตียงทาพิธีเปิด อย่างเป็นทางการเม่ือวันที่ 26 มิถุนายน 2536 โดย ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี
นายชวน หลีกภัย ปจั จุบันยังคงเปดิ ให้บริการทุกวนั
องค์ความรู้
1. เปน็ แหลง่ เรียนรดู้ ้านสขุ ภาพ
2. เป็นศูนย์รวมใหป้ ระชาชนมาออกกาลงั กายตอนเย็น
3. เป็นสถานพยาบาล
แหล่งข้อมูล https://www.facebook.com/ponghospital
แหล่งเรยี นรตู้ าบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กลมุ่ หตั ถกรรมชาวเขา
ที่ต้ัง บ้านหว้ ยคอกหมู หมู่ที่ 8 ตาบลนาปรัง อาเภอปง จงั หวดั พะเยา
ประวัตคิ วามเป็นมา
กลุ่มหัตถกรรมชาวเขาเป็นการรวมตัวกันของแม่บ้าน ท่ีว่างจากการทางาน ซ่ึงเดิมก็ปักผ้าไว้ใช้
ในครัวเรอื นกนั อยูท่ กุ ครัวเรือนอยแู่ ลว้ จงึ ไดร้ วมตวั กนั เพื่อหารายได้เสริมและแปรรูปผ้าปกั ให้เปน็ สินคา้ อืน่ ๆ
องค์ความรู้
1. เปน็ แหล่งเรยี นรดู้ ้านงานศิลปหัตถกรรม
2. เป็นแหลง่ สรา้ งอาชพี สาหรบั คนในชมุ ชน
แหลง่ ข้อมลู https://www.facebook.com/ponghospital
แหล่งเรยี นร้ตู าบลงิม
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
**แหล่งเรียนรู้ในเขตพื้นท่ตี าบลออย**
วดั พระธาตกุ กู่ งั้
ท่ีตั้ง บ้านดอนเจรญิ หมู่ท่ี 13 ตาบลออย อาเภอปง จังหวดั พะเยา
ประวัตคิ วามเป็นมา
พระธาตุกู่กั้งแต่เดิมเป็นกู่ที่สร้างด้วยอิฐท่ีชารุดแล้ว ผู้สร้างก็คือ ครูบา อินแปง ในปี จ.ศ.๑๒๙๔
จากนนั้ มามีครบู า จยั ลงั กา คนธสาโรได้พบเมือ่ พ.ศ.๒๔๗๕ ในขณะน้ันเกิดมีเหตุการณ์เกิดขึ้น คือ มีฆ้องใหญ่
1 ใบ ในฆ้องมเี รือคา ๑ ลา บรเิ วณพระธาตุมนี า้ ลอ้ มรอบองคพ์ ระธาตุและมีปลาก้ังคาลอยข้ึนมาเล่นน้าทุกคืน
วันเพ็ญ และพบเห็นศิลาใหญ่ ๑ ก้อน บรรจุอยู่ในพระธาตุพร้อมพระอังคารของพระพุทธเจ้า ประมาณปี
พ.ศ. ๒๔๘๕ ครูบาจัยลังกา คนธสาโร และคณะสงฆ์ และพ่อขุนอุดม พร้อมคณะศรัทธา ตาบลออย
ช่วยกันบูรณะขึ้นพรอ้ มตงั้ ชื่อวา่ “พระธาตุกูก่ ั้ง” ต้ังแตน่ น้ั มา
องค์ความรู้
1. เปน็ แหลง่ เรียนรดู้ ้านศาสนา
2. เปน็ ศูนย์รวมจิตใจใหก้ ับประชาชนในหม่บู า้ น
แหล่งข้อมูล สอบถามผใู้ หญ่บ้าน บ้านดอนเจรญิ ตาบลออย อาเภอปง
แหลง่ เรยี นรู้ตาบลงิม
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กลมุ่ หตั ถกรรมไมบ้ ้านดอนทอง
ท่ตี ้งั บา้ นเลขที่ 20 หม่ทู ี่ 12 ตาบลออยอาเภอปง จังหวัดพะเยา
ประวัตคิ วามเป็นมา
แต่เดิมทีชาวบ้านได้ประกอบเป็นอาชีพสามารถสร้างรายได้ให้กับครอบครัวมานานแล้ว ต่อมาได้
รวมตวั กนั จัดตง้ั กลุม่ ข้นึ เพ่อื ส่งเสรมิ และพฒั นาฝมี อื ใหเ้ ข้าส่ตู ลาดได้ โทรศัพท์ /โทรสาร 054 – 401905
องค์ความรู้
1. เปน็ แหล่งเรียนรู้ด้านงานศิลปหตั ถกรรม
2. เปน็ แหลง่ สรา้ งอาชีพสาหรบั คนในชุมชน
แหล่งข้อมลู ประธานกล่มุ นายนทิ ัศน์ จลุ พงษ์
แหล่งเรียนรตู้ าบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
**แหล่งเรียนรู้ในเขตพน้ื ทตี่ าบลขุนควร**
ถา้ ผาต้ัง
ทต่ี ั้ง บา้ นผาตั้ง หมู่ 6 ตาบลขุนควร อาเภอปง จังหวัดพะเยา
ประวัตคิ วามเป็นมา
เปน็ ถ้าอย่บู นดอยเต้ยี ๆ อย่ทู ี่ บ้านผาต้ัง อ.ปง จ.พะเยา ภายในถา้ มีพระพุทธรูปท่สี ร้างโดยทหารไทย
ทมี่ ีการสร้างไว้เมื่อคราวใชเ้ ป็นฐานในการต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ ภายในถา้ ยังมีหนิ งอกหินย้อยทส่ี วยงาม และ
เป็นท่ีอยู่อาศัยของค้างคาวจานวนมากชาวบ้านมกั นยิ มไปเกบ็ ขี้ค้างคาวไปขาย และยงั เป็นที่ทอ่ งเทย่ี วที่นิยม
ของพะเยาอีกแห่ง
องคค์ วามรู้
1.เป็นแหลง่ เรียนรูด้ ้านธรรมชาติ
2.เปน็ แหล่งเรียนร้ดู ้านธรณวี ิทยา
แหลง่ ข้อมูล http://www.thaitambon.com/
แหล่งเรยี นรตู้ าบลงิม
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กลมุ่ ส่งเสรมิ อาชีพตาบลขุนควร
ที่ตั้ง บ้านเลขที่ 49 หมูท่ ่ี 10 ตาบลขุนควร อาเภอปง จงั หวดั พะเยา
ประวตั ิความเป็นมา
กลุ่มการทาพรมเช็ดเท้า เปน็ การรวมตัวกันของแม่บ้านที่ต้องการหารายได้เพ่ิมเติมจาการทาไร่ทานา
เพ่ือช่วยเหลือครอบครัว โทรศัพท์/โทรสาร 054-431427
องคค์ วามรู้
1. เป็นแหลง่ เรยี นรู้ดา้ นงานศลิ ปหัตถกรรม
2. เปน็ แหลง่ สรา้ งอาชีพสาหรบั คนในชุมชน
แหล่งข้อมูล ประธานกล่มุ พรมเชด็ เทา้ นางบัวบาล จิณะแสน
แหล่งเรียนรู้ตาบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
วัดพระธาตตุ ้นฝาง
ทตี่ งั้ บ้านต้นฝาง ตาบลขุนควร อาเภอปง จงั หวดั พะเยา
ประวตั คิ วามเป็นมา
วัดแห่งนี้เป็นโบราณสถานท่ีมีอายุประมาณ 700 ปี ตามจารึกหลักฐาน พย. 58 ของกรมศิลปากร
สันนษิ ฐานได้ว่าในอดตี วดั แหง่ น้ีน่าจะเป็นเมืองท่ีใหญ่ และมีคนอาศัยอยู่เป็นจานวนมาก มีความเจริญรุ่งเรือง
เพราะบริเวณรอบๆมีแม่น้าสองสายไหลผ่าน มีภูเขาล้อมรอบหลักฐานอีกอย่างคือ วัตถุโบราณที่คนสมัยก่อน
ใชใ้ นการดารงชีวิต
วัดพระธาตุต้นฝางแห่งนี้มีเจดีย์เป็นหลักฐานยืนยันอยู่ประมาณ 12 องค์ อดีตมีครูบาชุมจาก
ประเทศพม่ามาธุดงที่วัดแห่งนี้ท่านบอกว่าเป็นที่เก็บอัฐฐิของกษัตริย์สองพี่น้องลูกมหาเทวี ปัจจุบันทางวัด
ไดเ้ กบ็ ข้าวของเครอื่ งใช้ ของคนในสมัยนนั้ ไว้เพอ่ื เป็นหลกั ฐาน ณ ศาลาปฏบิ ัติธรรมวดั พระธาตุตน้ ฝาง
องคค์ วามรู้
1. เปน็ แหลง่ เรียนรู้ด้านศาสนา
2. เป็นศนู ย์รวมจิตใจให้กับประชาชนในหมู่บ้าน
แหล่งข้อมลู สอบถามผูใ้ หญ่บา้ น บ้านตน้ ฝาง ตาบลขุนควร อาเภอปง
แหลง่ เรียนรู้ตาบลงิม
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
**แหลง่ เรียนรู้ในเขตพนื้ ทตี่ าบลผาช้างนอ้ ย**
นา้ ตกวงั พญานาค
ทต่ี ั้ง บ้านน้าคะ-สานกว๋ ย หมทู่ ่ี 6 ตาบลผาชา้ งน้อย อาเภอปง จงั หวัดพะเยา
ประวตั คิ วามเปน็ มา
เกิดจากผลงานของธรรมชาติจากสายน้าขนาดใหญ่อยู่ 2 สาย คือ น้าคะและน้างิม ที่ไหลผ่านภูเขา
นอ้ ยใหญ่ มีความลกึ กวา่ 1 เมตร และเปน็ วงั น้าที่มสี เี ขียวตลอดปี
องคค์ วามรู้
1.เป็นแหล่งเรียนร้พู ักผ่อนหย่อนใจ
2.ศึกษาพรรณไม้ สภาพนิเวศวิทยา
แหลง่ ข้อมลู ประชาชนบ้านน้าคะ
แหลง่ เรยี นรตู้ าบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ทป่ี รกึ ษา คณะผจู้ ดั ทา
1.นายรฐั วฒั นุธรรม
ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอปง
คณะทางาน
นางดวงสมร ตาคา ครู กศน.ตาบลงิม
นายมานนท์ ใจมาเครือ ครู กศน.ตาบลงิม
เจา้ หนา้ ทบี่ นั ทึกข้อมลู
ผู้เรียบเรียงจัดทาและออกแบบปก
นายมงคล ภธิ รรมมา
แหลง่ เรยี นร้ตู าบลงมิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------