The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการไร่นา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การจัดการไร่นา

การจัดการไร่นา

Keywords: ไร่นา

ค�ำ แนะนำ�ที่ 3/2563
การจดั การไร่นา
จัดพมิ พ์ : กรมส่งเสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พิมพ์ท ่ี : กลุ่มโรงพมิ พ์ ส�ำ นักพฒั นาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี
ปที พี่ มิ พ ์ : พ.ศ. 2563 พิมพ์คร้งั ท่ี 1 จ�ำ นวน 5,000 เลม่

ค�ำ น�ำ

การจัดการไร่นา เป็นการเพ่ิมขีดความสามารถของเกษตรกร
ในฐานะผู้จัดการไร่นาหรือผู้จัดการฟาร์ม และดำ�เนินการประกอบอาชีพ
การเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยเกษตรกรมีการวางแผนการผลิต
อย่างเหมาะสม มีการเลือกวิธีการผลิตและการนำ�เทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาช่วย
ในการผลิตสินค้าในเวลาอันรวดเร็ว มีปริมาณเพียงพอต่อการบริโภค ลดต้นทุน
การผลติ รวมท้งั คำ�นงึ ถงึ ภาวะตลาดและราคาผลผลติ
กรมสง่ เสรมิ การเกษตรจงึ ไดจ้ ดั ท�ำ ค�ำ แนะน�ำ ความรทู้ างการเกษตร
เร่ือง การจัดการไร่นา เพื่อเพ่ิมพูนความรู้ความเข้าใจเร่ืองหลักการจัดการไร่นา
การวางแผน และงบประมาณไร่นา รวมถึงการจดบันทึก และจดบัญชีไร่นา
แก่เจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมการเกษตรและเกษตรกร โดยนำ�เสนอผ่านเกษตรกร
ตัวอย่างท่ีประสบความสำ�เร็จ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหากเจ้าหน้าท่ีและเกษตรกร
ได้น�ำ ไปศึกษาและปฏิบตั ิจะเกดิ ประโยชน์โดยตรงตอ่ ไป

กรมส่งเสรมิ การเกษตร
2563

สารบญั หนา้
1
1
การจดั การไร่นา 2
วตั ถุประสงค์ของการจัดการไรน่ า 3
จุดมงุ่ หมายในการจัดการไร่นา 4
คณุ สมบตั ิของผจู้ ดั การไร่นาท่ีดี 5
บทบาทของผูจ้ ดั การไร่นา 5
การวางแผนและงบประมาณไร่นา 7
ประโยชน์ของการวางแผนและงบประมาณไร่นา 8
ลักษณะของแผนและงบประมาณทด่ี ี 8
การบันทึกกจิ การและบญั ชไี รน่ า 9
ประโยชนข์ องการบนั ทึกกิจการและบัญชีไรน่ า 10
การทำ�บญั ชีไร่นา 12
สรปุ รายรับ – รายจ่าย และผลก�ำ ไรของไร่นา
สรปุ ขน้ั ตอนการจดั ไรน่ า 13
ตัวอย่างความส�ำ เรจ็ ของเกษตรกร
บรรณานุกรม 28

การจัดการไรน่ า

การจัดการไร่นา

การจดั การไร่นา คือ การรจู้ กั ใช้
ทรัพยากร ได้แก่ ท่ดี ิน ทุน และแรงงาน
ทม่ี อี ยใู่ นการท�ำ การเกษตรใหเ้ กดิ ประโยชน์
โดยการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อให้มีรายได้อย่างต่อเนื่อง และได้
กำ�ไรสูงสุด

วตั ถุประสงค์ของการจัดการไรน่ า

1. เพื่อเพ่ิมรายได้ต่อครัวเรือนของเกษตรกรอย่างต่อเน่ืองจากกิจกรรม
การปลูกพืชหลายคร้ังหลายชนิด หรือจากการผสมผสาน กิจกรรมทั้งพืช สัตว์
และประมง ในลักษณะการทำ�ไร่นาสวนผสมและตามกลุ่มพืชหลัก คือ ข้าว พืชไร่
และพืชสวน (พชื ผกั ไม้ผลและไม้ยืนตน้ )
2. เพ่ือส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ด้านการจัดการทรัพยากรที่ดิน
ทนุ แรงงาน ปัจจยั การผลติ และเทคโนโลยีการผลิตอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
3. เพื่อลดความเสี่ยงและให้เกษตรกรสามารถตัดสินใจเลือกกิจกรรม
การผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด และความเหมาะสมของแต่ละ
พ้นื ท่ี

การจดั การไร่นา 1

4. เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรประกอบอาชีพ
ตามวิชาการเกษตรแผนใหม่ ท้ังด้านการผลิต
และการจ�ำ หนา่ ย โ ดยยดึ หลกั ปรบั ปรงุ คณุ ภาพ
ผลผลิต ลดต้นทุนการผลิตต่อหน่วย มีรายได้
ตอ่ เนอ่ื งและก�ำ ไรสูงสดุ
5. เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรรู้จักการวางแผน
และงบประมาณไร่นา สามารถบันทึกกิจกรรม
ไร่นาและลงบญั ชไี ร่นาได้อยา่ งถูกตอ้ ง
6. เพ่ือเป็นรูปแบบและแกนนำ�ในการขยายผลให้
เกษตรกรข้างเคยี ง และเกษตรกรอ่นื ๆ เรยี นรู้ และน�ำ ไปปรับใช้ตามความเหมาะสม
กบั แต่ละสภาพไรน่ า

จดุ มุง่ หมายในการจัดการไร่นา

การจดั การไรน่ ามจี ดุ มงุ่ หมายทจ่ี ะใหม้ รี ายไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งและมกี �ำ ไรสงู สดุ
ท่ีเป็นตัวเงินท่ีได้จากผลการจัดการไร่นา รวมท้ังการอยู่ดีมีความสุขกับครอบครัว
การพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ การบันเทิงและอน่ื ๆ

2 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

คณุ สมบตั ิของผจู้ ัดการไรน่ าท่ดี ี

ในการประกอบอาชีพการเกษตร ย่อมจะมีทั้งประสบความสำ�เร็จ
และล้มเหลว เกษตรกรจำ�นวนไม่น้อยท่ีเร่ิมจากไร่นาขนาดเล็กหรือผู้เช่าจนกลาย
เป็นเจ้าของไร่นาขนาดใหญ่โต มีฐานะรำ่�รวย ในทางตรงกันข้ามมีเกษตรกร
อีกเป็นจำ�นวนมากท่ีเริ่มต้นจากการมีไร่นาขนาดใหญ่โตของตนเอง เมื่อดำ�เนินการ
ไปหลาย ๆ ปีกลับกลายเป็นผู้เช่าและมีฐานะยากจน ทั้งนี้เพราะความสามารถ
ในการจัดการไร่นาของเกษตรกรแต่ละคนแตกต่างกันไป ซ่ึงผู้จัดการไร่นาควรมี
คุณสมบัติ ดงั น้ี
1. เป็นผู้ท่ีมีความสามารถในการคิดริเริ่มและการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ
รู้จกั การวางแผนและงบประมาณไร่นา เพอ่ื การผลิตอยา่ งเหมาะสม
2. มีความกระตือรือร้นและสนใจศึกษา หาความรู้ใหม่ ๆ เพ่ือนำ�
ความรไู้ ปใชใ้ นการผลิตให้มีรายไดส้ งู ข้ึน
3. มคี วามอดทนและเขม้ แขง็ ในการปฏบิ ตั งิ านใหส้ �ำ เรจ็ ลลุ ว่ งเกษตรกร
มีความอุตสาหะและความพยายามที่จะดำ�เนินงานต้ังแต่เร่ิมดำ�เนินการจนเก็บเก่ียว
ผลผลติ ออกสู่ตลาด
4. มีความเต็มใจที่จะยอมรับหรือ
กล้าเผชิญกับความเสียหายท่ีอาจจะเกิดขึ้นกับ
การผลติ ในไร่นา เมื่อมีการตัดสินใจและปฏบิ ัติ
ในไร่นาแล้ว เมื่อมีการตัดสินใจและปฏิบัติ
ในไร่นาแล้ว ผลท่ีเกิดขึ้นอาจเป็นท่ีพอใจ
หรือไม่พอใจก็ได้ ซ่ึงจำ�เป็นจะต้องยอมรับ
กบั ความเปน็ จรงิ ทีเ่ กดิ ขึ้น

การจัดการไรน่ า 3

บทบาทของผู้จดั การไร่นา

กิจการในไร่นาแตกต่างจากกิจการอื่น คือ เป็นกิจการที่เกี่ยวข้อง
กับการผลิตส่ิงท่ีมีชีวิต ซ่ึงจำ�เป็นจะต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ เช่น
แสงแดด อุณหภูมิ ฤดกู าล ปรมิ าณนำ้�ฝนและอืน่ ๆ เป็นอย่างมาก บทบาทที่ส�ำ คัญ
ของผจู้ ัดการไร่นา คือ
1. จะผลติ พืชหรือเล้ยี งสตั ว์อะไร เช่น ปลูกขา้ ว ถัว่ เขยี ว ขา้ วโพด มะมว่ ง
เล้ียงปลา เลยี้ งววั เป็นต้น
2. จำ�นวนและชนิดของปัจจัยการผลิตที่ใช้แรงงานในครอบครัวท่ีมีอยู่
เพียงพอหรือไม่
3. วธิ ีการผลติ เทคนคิ ทางวชิ าการ
4. ชนิดของโรงเรือนชนิดไหนเหมาะสมกับกิจการไร่นาและการใช้
เครอื่ งจกั รกลการเกษตร
5. การวางแผนและงบประมาณไร่นา และบันทึกทำ�บัญชี
ไรน่ าอยา่ งถกู ตอ้ ง เพื่อจะได้ทราบการหมุนเวียน

เงินสด รายได้ รายจา่ ย กำ�ไรทีไ่ ด้
6. จะซ้ือปัจจัยการผลิตและจำ�หน่าย
ผลผลติ ทไ่ี หน กบั ใคร เชน่ พอ่ คา้ ในทอ้ งถน่ิ
พอ่ คา้ คนกลาง กลมุ่ เกษตรกรหรอื สหกรณ์
เป็นต้น

4 กรมสง่ เสริมการเกษตร

การวางแผนและงบประมาณไร่นา

การทำ�นา ทำ�ไร่ หรือทำ�สวน ควรมีแผนและงบประมาณไว้ล่วงหน้า
ต้องกำ�หนดไว้ล่วงหน้าว่าในปีนี้จะปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์ชนิดใด จะต้องเสีย
ค่าใช้จ่ายเท่าใด หักค่าใช้จ่ายแล้วจะเหลือกำ�ไรเท่าใด การวางแผนและงบประมาณ
ไร่นาจะทำ�ใหเ้ จา้ ของไรน่ าสามารถ
1. ตัดสินใจเกีย่ วกบั ชนดิ ของพืชและสัตว์ทจี่ ะท�ำ
2. เลอื กวิธีการผลติ และการใช้เคร่อื งจกั รเครอ่ื งมอื
3. ก�ำ หนดแรงงานโดยใชแ้ รงงานสม่�ำ เสมอตลอดทัง้ ปี
4. กำ�หนดรูปแบบโรงเรือนต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับชนิดของสัตว์
ที่จะเลีย้ งและจ�ำ นวนท่จี ะเลีย้ ง

มีดงั น้ี
ประโยชน์ของการวางแผนและงบประมาณไร่นา

1. ท�ำ ใหส้ ามารถเพ่มิ ผลผลติ และรายได้แกเ่ กษตรกรโดยปฏบิ ตั งิ าน
ตามแผนท่ีวางไว้
2. ช่วยในการคาดคะเนผลผลติ และรายได้
3. ช่วยใหเ้ กษตรกรมแี ผนการใชท้ รพั ยากรอยา่ งเตม็ ท่ี

ตวั อย่างการวางแผนและงบประมาณไร่นา เนื้อที่ 10 ไร่

พชื /สัตว์ จำ�นวน พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. เดอื น ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. หมายเหตุ

ขา้ ว กข.43 10 ไร่ ต.ค. พ.ย.
ถ่ัวลิสงไทนาน 9 8 ไร่
ขา้ วโพดหวาน 2 ไร่
สกุ ร 2 ไร่

การจัดการไรน่ า 5

จากตัวอย่างการวางแผนและงบประมาณไร่นา มีกิจกรรมหลัก คือ การทำ�นา
โดยใช้ข้าวพันธ์ุ กข.43 จำ�นวน 10 ไร่ หลังจากเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว ยังมีน้ำ�พอทำ�
การเกษตรได้ จึงแบ่งพ้ืนที่เพ่ือทำ�พืชหลังนา โดยแบ่งปลูกถ่ัวลิสงพันธ์ุไทนาน 9
จำ�นวน 8 ไร่ และปลูกข้าวโพดหวาน จำ�นวน 2 ไร่ เพื่อจะได้ใช้ท่ีดินและแรงงาน
ใหเ้ ตม็ ทแ่ี ละเปน็ การเพม่ิ รายไดใ้ หม้ ากขน้ึ นอกจากนย้ี งั เลย้ี งสกุ รอกี 2 ตวั เพอ่ื จะได้
นำ�มูลสกุ รไปใช้ในการปลกู พืช และใชเ้ วลาที่มอี ยู่ใหม้ ากที่สุด

งบประมาณของขา้ ว กข.43 เนอื้ ที่ 10 ไร่

รายการ ปริมาณ ราคาตอ่ หนว่ ย มลู ค่า
(บาท) (บาท)
รายได้ 9,000 บาท 10 90,000
รายจ่าย 400 4,000
- คา่ เตรียมดนิ 10 ไร่ 20 5,000
- ค่าเมล็ดพันธุ์ 250 กโิ ลกรมั 12 6,000
- คา่ ป๋ยุ 500 กิโลกรัม 200 2,000
- คา่ สารเคมี 600 6,000
- ค่าจา้ งเกบ็ เกี่ยว
(คา่ แรงงาน + คา่ น้ำ�มนั - -
เช้อื เพลงิ + คา่ ขนส่ง) 23,000
- อื่น ๆ - 67,000
รวมค่าใช้จา่ ย
ก�ำ ไร

สำ�หรับงบประมาณของถั่วลิสงไทนาน 9 ข้าวโพดหวาน และสุกรใช้วิธี
แยกรายการเหมอื นกบั ขา้ ว กข.43 โดยแยกเปน็ รายละเอยี ดคา่ ใชจ้ า่ ยแตล่ ะรายการ
เชน่ กัน

6 กรมสง่ เสริมการเกษตร

ลกั ษณะของแผนและงบประมาณท่ีดี

การวางแผนและงบประมาณทดี่ คี วรมลี ักษณะ ดังนี้
1. ก�ำ หนดขนาดไรน่ าทจ่ี ะด�ำ เนนิ การใหม้ ขี นาดพอเหมาะกบั แรงงาน
ของครอบครัว เช่น มีท่ีดิน 50 ไร่ มีแรงงานในครอบครัว 3 คน ควรจะทำ�เพียง
10–20 ไร่ก่อนในปีนี้ อย่าวางแผนทำ�ทั้ง 50 ไร่ พร้อมกัน จะทำ�ให้ดูแลไม่ทั่วถึง
สว่ นทเ่ี หลือใหค้ นอ่นื เชา่ เพอ่ื ไดเ้ งินปหี นา้ จะขยายให้หมด เปน็ ต้น
2. ควรกำ�หนดใหม้ ีการใช้ปัจจัยต่าง ๆ ในการผลติ อยา่ งเตม็ ที่
3. ควรกำ�หนดให้มีการใช้วิธีผลิตที่ทันสมัย ถูกต้องตามหลักวิชาการ
เพราะจะช่วยในการผลติ ในไร่นามีประสทิ ธิภาพอันจะเป็นผลในการลดต้นทนุ ด้วย
4. ควรกำ�หนดแผนให้ยืดหยุ่นได้ คือ ถ้าราคาพืชผลเปล่ียนไป
อาจจะขาดทนุ ก็ควรแกไ้ ขโดยเปล่ยี นแปลงไปทำ�กจิ กรรมอน่ื ทเ่ี สย่ี งนอ้ ยกว่า
5. ควรคำ�นึงถึงสภาพดินฟ้าอากาศและภูมิประเทศในการวางแผน
ไรน่ า เช่น สภาพทล่ี มุ่ ดอน ท่ีราบ ซง่ึ เหมาะแก่การปลูกพืชตา่ งชนิดกัน
6. วางแผนใหเ้ หมาะกบั ความถนดั ความช�ำ นาญของตนเอง โดยเฉพาะ
กิจกรรมท่เี ปน็ หลกั ในไรน่ าต้องท�ำ ให้เหมาะสมกบั ความชำ�นาญของตนเอง
7. วางแผนต้องคำ�นงึ ถงึ ภาวะตลาด ราคาผลผลติ และแหลง่ ตลาด

การจัดการไรน่ า 7

การบันทกึ กิจการและบัญชีไร่นา

การบันทึกกิจการและบัญชีไร่นา เป็นการบันทึกข้อมูลต่าง ๆ และ
ทำ�บัญชีไร่นาเพื่อให้ทราบรายได้ รายจ่าย กำ�ไร และวิธีการดำ�เนินงานในไร่นา
จะได้เป็นข้อมูลเพือ่ ปรับปรงุ ไรน่ าในปตี ่อ ๆ ไปให้ดียงิ่ ข้นึ

ประโยชน์ของการบนั ทกึ กิจการและบญั ชไี ร่นา

1. เกษตรกรจะได้ทราบว่ามีรายได้ รายจ่าย และกำ�ไรจากกิจกรรม
ในไรน่ าเปน็ จำ�นวนเงนิ มากน้อยเพยี งใด
2. ผลิตผลในไร่นานำ�มาบริโภคในครัวเรือนเป็นจำ�นวนและมูลค่า
เทา่ ใด
3. ผลผลิตทไี่ ดร้ บั จากการปลกู พืชและเล้ียงสัตว์เป็นไปตามแผนการ
ผลิตที่วางไวห้ รอื ไม่ ควรปรับปรุงการผลติ ดา้ นไหน
4. ใช้เป็นหลักในการวางแผนและงบประมาณในปีต่อ ๆ ไป เพ่ือให้
การปรับปรงุ ไร่นาดยี ง่ิ ๆ ขน้ึ

8 กรมสง่ เสริมการเกษตร

การทำ�บญั ชไี รน่ า

เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ค่อย
คนุ้ เคยกับการท�ำ บญั ชไี ร่นา นอกจากการจดจ�ำ และ
บันทึกเตือนความจำ�บ้างเล็กน้อยเท่าน้ัน จึงไม่ทราบ
รายได้ รายจ่าย และกำ�ไรที่แท้จริงของไร่นา ดังนั้น
เพ่ือให้ง่ายต่อการทำ�และสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้
จงึ ควรท�ำ บญั ชีรายรับ - รายจ่ายอย่างง่าย ดงั น้ี

รายรับ กิจกรรม............ รายจ่าย กจิ กรรม............

วนั ปริมาณ ราคาตอ่ หนว่ ย จำ�นวนเงิน วัน ปริมาณ ราคาต่อหน่วย จ�ำ นวนเงิน
เดอื น รายการ (บาท) เดือน รายการ (บาท)
ปี ปี

รวมรายรบั รวมรายจา่ ย

การจัดการไรน่ า 9

ภายในฟารม์ สว่ นใหญม่ กี จิ กรรมหลาย ๆ อยา่ ง บญั ชรี บั จา่ ย ควรจะแยก
เป็นกิจกรรมแต่ละชนิด เพ่ือให้ง่ายต่อการบันทึก เช่น ข้าว ถั่วลิสง ไก่ ปลา
พอเสร็จส้ินฤดูกาลผลิต (ปกติคิดในรอบปี) ก็ทำ�บัญชีรายรับ - รายจ่ายของแต่ละ
กิจกรรมมารวมสรุปของทั้งไร่นาอกี ครั้งหน่ึง ดงั น้ี

สรปุ รายรบั – รายจา่ ย และผลก�ำ ไรของไร่นา

กำ�ไรจากการปลกู พชื กำ�ไรจากการเล้ยี งสตั ว์

ชนิด รายรบั รายจ่าย กำ�ไร ชนิด รายรับ รายจา่ ย กำ�ไร
พืช (บาท) (บาท) (บาท) สัตว์ (บาท) (บาท) (บาท)

รวม รวม
รายรบั จากพชื ทงั้ หมด บาท รายรับจากสตั ว์ทั้งหมด บาท
รายจา่ ยจากพืชท้งั หมด บาท รายจ่ายจากสัตวท์ ง้ั หมด บาท

(1) กำ�ไรจากพชื ทงั้ หมด บาท (2) ก�ำ ไรจากสตั ว์ทงั้ หมด บาท
กำ�ไรจากพืชทงั้ หมด (บาท) (1) + กำ�ไรจากสตั ว์ทงั้ หมด (บาท) (2)
= ก�ำ ไรท้ังหมดของไร่นา (บาท)
การคิดก�ำ ไร (ก�ำ ไร = รายได้ – รายจา่ ย)

10 กรมสง่ เสริมการเกษตร

ตวั อยา่ งบัญชรี ายรบั -รายจา่ ยอย่างง่าย

รายรับ กิจกรรมนาข้าว รายจ่าย กจิ กรรมนาข้าว

วัน รายการ ปริมาณ ราคาตอ่ หนว่ ย จำ�นวนเงิน วนั รายการ ปริมาณ ราคาตอ่ หนว่ ย จ�ำ นวนเงิน
เดือน (บาท) เดือน (บาท)
ปี ปี

11 1,200
ธ.ค. ขายขา้ ว 3 ตนั 9,000 27,000 ธ.ค. ซอ้ื ปยุ๋ เคมี 100 ก.ก. 12
62 62

10 90 90
ส.ค. ซอ้ื สารเคมี 1 ลิตร
62 1,290

รวมรายรับ 27,000 รวมรายจา่ ย

ส่งิ ท่ีต้องคดิ ในการจดั ไรน่ า
รายจา่ ย ค่าใชจ้ ่ายในการผลติ ค่าเตรียมดนิ ค่าเตรยี มโรงเรอื น ค่าเตรยี มบ่อ
คา่ พนั ธ์ุพืช และคา่ พนั ธสุ์ ัตว์ ค่าเพาะปลกู
คา่ ปยุ๋ (คอก หมัก ชีวภาพ เคม)ี คา่ อาหารสตั ว์
คา่ สารเคมีปอ้ งกนั กำ�จดั วัชพชื โรค แมลงศตั รแู ละสารอ่ืน ๆ
คา่ นำ้�มันเชือ้ เพลงิ และนำ้�มันหล่อล่นื คา่ วสั ดุอุปกรณ์อนื่ ๆ
ค่าเก็บเก่ียว (เก็บผลผลิต) คา่ แรงงานจ้างต่าง ๆ
ค่าแรงงานในครอบครวั คา่ ใช้จา่ ยอน่ื ๆ

รายได ้ ปรมิ าณผลผลิต
ราคากิโลกรมั ละกี่บาท
รวมเป็นเงนิ ทัง้ หมดกบี่ าท

การจดั การไรน่ า 11

สตวัรอุปย่างขควัน้ ามตสำ�เอร็จนขอกงเกาษรตรจกรดั ไร่นา

7 รายงานผล
6 รายงานปญั หา อปุ สรรค
5 บนั ทึกรายรับ-รายจ่าย ก�ำ ไร
4 ติดตามดแู ล
3 ด�ำ เนนิ งาน
2 วางแผน
1 สำ�รวจ

ขนั้ ตอนท่ี 1 ส�ำ รวจเกบ็ ข้อมูลเบอ้ื งตน้ ของไร่นา
ข้นั ตอนที่ 2 วางแผนการจัดการไร่นา และงบประมาณไรน่ า
ขัน้ ตอนท่ี 3 ด�ำ เนินงานตามแผนอย่างถกู ต้องรอบคอบ
ขนั้ ตอนที่ 4 ติดตามดแู ลผลการด�ำ เนนิ งานอยา่ งใกลช้ ิด
ข้นั ตอนท่ี 5 บนั ทึกรายรับ – รายจ่าย และก�ำ ไรของไรน่ า
ขัน้ ตอนที่ 6 รวบรวมปญั หา และอปุ สรรค พร้อมแก้ไขใหถ้ กู ตอ้ ง
ขนั้ ตอนที่ 7 รายงานผลการด�ำ เนินงาน พรอ้ มปญั หาอุปสรรคและ
ขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ

12 กรมส่งเสริมการเกษตร

ตัวอยตวัา่ องย่าคงคววามาสม�ำ เรสจ็ ขอำ�งเเรกษ็จตรขกรองเกษตรกร

นางส�ำ รวย บางสรอ้ ย

เกษตรกรดเี ดน่ แหง่ ชาติ สาขาอาชพี ไรน่ าสวนผสม
ปี 2561

อาย ุ 50 ปี
การศกึ ษา ประถมศึกษาปที ่ี 6
สถานภาพ สมรสกับนายแสงจนั ทร์
บางสร้อย มีบุตร 2 คน
ที่อยู่ บ้านเลขท่ี 4 หมู่ 12 บ้านสวนปอ
ตำ�บลหนองแคน อ�ำ เภอปทุมรตั ต์
จังหวดั ร้อยเอด็
โทรศพั ท์ 06 1109 4549

คตปิ ระจ�ำ ใจ
มงุ่ มน่ั ศรทั ธา เสยี สละ พฒั นาดว้ ยใจ

1. ความคิดรเิ ริม่ และความพยายามฟันฝา่ อปุ สรรค
1.1 ความคดิ รเิ รม่ิ
1) พ.ศ. 2525 เรม่ิ ประกอบอาชพี ท�ำ นา และคา้ ขายสนิ คา้ เบด็ เตลด็
ตลาดนัดในอ�ำ เภอ
2) พ.ศ. 2534 เริ่มปว่ ย
3) พ.ศ. 2538 ปว่ ยหนกั ตามองไมเ่ หน็ 8 เดอื น หลงั จากหายปว่ ย
ได้ต้ังปณิธานกับพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร จะเดินตามรอยท้าวพ่อ หลังจากหายป่วย
เริม่ ปลกู มะนาวบนคันนา 50 ตน้ ภายในระยะเวลา 9 เดือนมีรายได้ 100,200 บาท
และขดุ บอ่ เล้ียงปลา จ�ำ นวน 2 บ่อ

การจัดการไรน่ า 13

4) พ.ศ. 2559 ไดเ้ ขา้ รว่ มโครงการเกษตรทฤษฎใี หมข่ องกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์
5) พ.ศ. 2560 นายสฤษดิ์ วิฑูรย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด
นายฐปน สิริวัฒนภักดี ประธานคณะกรรมการบริหาร ของบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ
จำ�กัด (มหาชน) ได้มาติดตามโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ และได้ให้คำ�แนะนำ�
แนวคิดการทำ�เกษตรทฤษฎีใหม่ และการทำ�ไร่นาสวนผสมให้มีกิจกรรมการ
ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ และการทำ�ประมงให้เกิดความหลากหลาย เกิดความย่ังยืน
ในการประกอบอาชพี

1.2 ความพยายามฟันฝ่าอุปสรรค
1) เดมิ ท�ำ นาใชป้ ยุ๋ เคมมี าก ตน้ ทุนการผลติ สูงหน้าดนิ แขง็ ดนิ ขาด
อินทรียวตั ถุ
2) พ.ศ. 2538 นางสำ�รวย บางสร้อย หายปว่ ยเร่มิ ทำ�การเกษตร
แบบลองผิดลองถูก โดยไม่ใช้สารเคมี เน่ืองจากตระหนักในเรื่องสุขภาพและ
สง่ิ แวดล้อม
3) เรม่ิ ศกึ ษาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของพระบาทสมเดจ็
พระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และได้น้อมนำ�มาปรับใช้
ในชวี ติ ประจ�ำ วนั
4) เริ่มทำ�ไร่นาสวนผสมโดยทดลองปลูกในพื้นที่น้อยก่อน
มีกิจกรรมปลูกมะนาว ปลูกพืชผักต่าง ๆ เพื่อให้มีรายได้ รายวัน รายสัปดาห์
รายเดือน และรายปี มีอาหารไว้บริโภคอย่างเพียงพอ และขยายพื้นท่ีปลูกพืชเพ่ิม
จำ�นวน 6 ไร่ และปัจจุบันน้ีขยายพ้ืนท่ีเพ่ิม จำ�นวน 20 ไร่ โดยเน้นปลูกพืช
ไม่ใช้สารเคมี มีกิจกรรมท่ีหลากหลาย เช่น แตงกวา ข้าวโพด พืชผักหลายชนิด
พืชอาหารสัตว์ เล้ียงโค เลี้ยงเป็ด เล้ียงไก่ เล้ียงปลา เป็นต้น ซ่ึงเป็นกิจกรรม
ท่ีเก้ือกูลซึ่งกันและกัน ลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ สร้างภูมิคุ้มกัน
ให้กับตนเองและครอบครัว ได้นำ�แนวคิดของโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่มาปรับใช้
ในพนื้ ทข่ี องตนเอง ดงั นี้

14 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

ใชท้ รพั ยากรทด่ี นิ ใหม้ ปี ระสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสดุ
วางแผนการเพาะปลกู ให้เหมาะสมทางกายภาพของดิน
บรหิ ารจดั การน�ำ้ ให้เพยี งพอตลอดทั้งปี
อนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ดิน น้�ำ อากาศ
โดยไมใ่ ช้สารเคมี
ปลกู พชื หมนุ เวยี น
นำ�วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น
ท�ำ ปุ๋ยหมัก น�ำ้ หมกั ชีวภาพ สารชีวภัณฑ์ และน�ำ ฟางมาเปน็ อาหารสตั ว์ เปน็ ต้น

1.3 การพัฒนาการเกษตร
1) การจดั การทด่ี นิ มีการจดั ระบบการปลกู พืช คือ ขา้ ว + พืช +
สัตว์ + ประมง มกี จิ กรรมดงั นี้
ปลกู ข้าวอนิ ทรยี พ์ นั ธห์ุ อมมะลิ 105
ปลูกพืชผัก ได้แก่ ขึ้นฉ่าย แตงกวา ถั่วฝักยาว ข้าวโพด
ถั่วลสิ ง กะหล่ำ�ปลี มะนาว เพาะกล้าไม้ เปน็ ตน้
ไม้ผล ไดแ้ ก่ อินทผาลัม
เลยี้ งสตั ว์ ได้แก่ ไก่พ้นื เมือง ไก่ไข่ เปด็ โคพ้นื เมอื ง
ประมง ได้แก่ เลี้ยงปลานิล ปลาตะเพียน ปลาดุก
เพาะลกู ปลาและกบ
2) การแกไ้ ขปญั หาเรอ่ื งน�ำ้
ขุดบ่อนำ้� จำ�นวน 5 บ่อ
เพ่ือสำ�รองนำ้�ไว้ใช้ในฤดูแล้ง และเลี้ยงปลาไว้
บรโิ ภคและจ�ำ หนา่ ย

การจดั การไรน่ า 15

3) การปรบั ปรงุ บ�ำ รงุ ดนิ
ปลูกพืชหมุนเวียนหลังฤดูทำ�นา ได้แก่ แตงกวา ข้าวโพด
ถ่ัวลิสง
ใช้ปุ๋ยอนิ ทรยี ์ น้ำ�หมักชวี ภาพ
เลิกใชส้ ารเคมี ปุย๋ เคมที ุกชนดิ และผลติ สารไลแ่ มลง ฮอร์โมน
ชนดิ ต่าง ๆ ใชเ้ อง
ไถกลบตอซงั ฟางขา้ ว
พืชปุ๋ยสด เชน่ ปอเทือง ถ่ัวพล้า (จ�ำ หน่ายเมล็ดพนั ธ)์ุ เปน็ ต้น
4) การลดตน้ ทนุ การผลติ
เลกิ ใช้สารเคมที กุ ชนิด
ผลิตปุ๋ยอนิ ทรีย์ ป๋ยุ หมกั และฮอรโ์ มนชนิดตา่ ง ๆ ใช้เอง
5) การลดความเสย่ี งดา้ นรายได/้ การตลาด
ปลูกพืชหลากหลายชนิด ตามความต้องการของตลาด และ
ลดความเสย่ี ง และใชเ้ ทคโนโลยสี ง่ เสรมิ การขาย เชน่ ชอ่ งทางเครอื ขา่ ยสงั คมเฟซบกุ๊
(Facebook) แอปพลิเคชนั ไลน์ (LINE) เป็นต้น
ศึกษาความตอ้ งการของตลาด
ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (โซล่าเซลล์) ลดต้นทุนค่าไฟฟ้า และ
ผลติ พชื จ�ำ หน่ายได้ตลอดเวลา
แปรรูปผลผลิตจ�ำ หน่ายเพื่อสรา้ งมูลค่าเพ่ิม
6) การลดรายจา่ ยในครวั เรอื น
ใช้หลักการประหยัดในการดำ�รง
ชีพกินทกุ อย่างทีป่ ลกู
ลดรายจา่ ย เพ่มิ รายได้
ขยายโอกาส
จดั ระบบการปลกู พชื เลย้ี งสตั ว์
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมในพืน้ ที่

16 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

7) การจัดการด้านแรงงาน ใช้แรงงานในครัวเรือนเป็นหลัก มีแรงงาน
ทง้ั หมด 4 คน
8) การจดั การดา้ นการเงนิ
จดั ท�ำ บัญชรี ายรบั -รายจา่ ยต้นทุนการผลติ ต่าง ๆ ไว้สมำ่�เสมอ
จงึ ทำ�ให้ทราบถึงสถานการณ์ด้านการตลาดเวลา
ลดตน้ ทนุ ในการผลิต เชน่ ยกเลกิ การใช้สารเคมปี ยุ๋ เคมี ท�ำ นา
หยอดเพื่อประหยัดเมล็ดพันธ์ุข้าว ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ใช้แรงงานในครัวเรือน
เปน็ ตน้
คัดเลอื กเมลด็ พนั ธแ์ุ ละเกบ็ เมล็ดพนั ธไ์ุ วท้ ำ�พนั ธ์เุ อง
ลดรายจ่ายในครัวเรือน โดยปลูกทุกอย่างที่กิน กินทุกอย่าง
ทป่ี ลกู
สามารถช�ำ ระหนส้ี นิ ทเ่ี กดิ จากการเจบ็ ปว่ ย จ�ำ นวน 2,000,000 บาท
ปัจจุบันเหลอื หน้สี นิ้ จำ�นวน 500,000 บาท จากการทำ�ไร่นาสวนผสม 3 ปี
9) การน�ำ เทคโนโลยมี าใชเ้ หมาะสมกบั พน้ื ทแ่ี ละไมท่ �ำ ลายสง่ิ แวดลอ้ ม
น�ำ ดนิ ไปตรวจวเิ คราะหเ์ พอ่ื ใหท้ ราบถงึ ความอดุ มสมบรู ณ์ และ
ปัญหาของดินในแปลงปลกู พืช และพบว่า ดินขาดธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
และแคลเซยี ม
ยกเลกิ การใชป้ ยุ๋ เคมแี ละสารเคมที กุ ชนดิ ใชป้ ยุ๋ คอก ปยุ๋ อนิ ทรยี ์
ปรับปรงุ ดนิ และผลิตสารไล่แมลง ฮอร์โมนชนดิ ต่าง ๆ ใช้เอง
ไมเ่ ผาตอซงั ใชว้ ธิ ไี ถกลบตอซงั และพน้ื ทบ่ี างสว่ นเลย้ี งปลาดกุ
หลงั เกบ็ เกย่ี วขา้ ว
ใชต้ ลาดน�ำ การผลติ โดยการศกึ ษาราคาสนิ คา้ และความตอ้ งการ
สินค้าของตลาดจากอินเทอร์เน็ต เพื่อวางแผนการผลิต เน้นสินค้าปลอดภัย
จ�ำ หนา่ ยผา่ นชอ่ งทางเครอื ขา่ ยสงั คมเฟซบกุ๊ (Facebook) แอปพลเิ คชนั ไลน์ (LINE)
และตลาดทอ้ งถ่ิน ตลาดอ�ำ เภอปทุมรตั น์ โรงพยาบาลปทุมรตั น์

การจดั การไร่นา 17

ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ จำ�นวน 2 โรงเรือน
แต่ละโรงเรือนขนาดพื้นที่กว้าง 8 เมตร ยาว
20 เมตร โดยวิเคราะห์ความต้องการของ
ตลาด และพบว่าผักบางชนิดมีราคาแพง
แต่บางฤดูไม่สามารถปลูกบนพื้นดินได้ จึงนำ�
มาปลูกเป็นผักไฮโดรโปนกิ สแ์ ทน
โดยใชน้ ำ้�จากบอ่ ใหญข่ นาดกว้าง 15 เมตร
ยาว 25 เมตร ลึก 1.50 เมตร ที่เล้ียงปลา

เบญจพรรณ สูบลงบ่อซีเมนต์ท่ีใช้เล้ียงปลาดุก
ขนาดวงบ่อกว้าง 0.80 เมตร ลึก 1.50 เมตร จำ�นวน 8 บ่อ และใช้น้ำ�หมัก
จากหน่อกล้วยผสมกับนำ้�หมักจากนำ้�ซาวข้าวใส่ในบ่อเล้ียงปลาดุก บ่อละ
2-3 ลิตร ทุก ๆ 4 วัน เป็นการให้ปุ๋ยทางน้ำ�แทนการใช้ปุ๋ยเคมี ซ่ึงสามารถ
ลดต้นทุนการผลิตได้ ขณะเดียวกันก็มีรายได้จากการเล้ียงปลาดุก โดยได้รับ
การอบรมจากมหาวิทยาลัยขอนแก่น และศึกษาดูงานจากเกษตรกรท่ีประสบ
ความสำ�เร็จในจังหวดั ยโสธร และจากทางอนิ เทอรเ์ น็ต
บ่อท่ีเลี้ยงปลาดุกจะนำ�ฟางมาหมักที่มุมบ่อ เพื่อให้เกิด
ไรแดง และแพลงก์ตอนเป็นอาหารปลาทำ�ให้ลดค่าใช้จา่ ยด้านอาหารปลา
ทำ�นาโดยวิธีการหยอดเพ่ือประหยัดเมล็ดพันธ์ุข้าว จากปกติ
ใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวจำ�นวน 30 กิโลกรัมต่อไร่ เม่ือทำ�นาหยอดใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว
จำ�นวน 10 กิโลกรัมต่อไร่ สามารถลดต้นทุนการผลิตได้ จำ�นวน 1,125 บาทตอ่ ไร่
มีเทคนิคการใช้ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ในนาขา้ ว
* ใช้รถบรรทุกปุ๋ยขับหว่านปุ๋ยไปตามแปลงนา เพ่ือประหยัดแรงงาน
โดยจะหว่านป๋ยุ ในช่วงเวลาเช้า เน่อื งจากช่วงเช้าจะไม่ร้อนแดด และลมไม่แรง
ทง้ั นต้ี อ้ งดทู ศิ ทางลมประกอบดว้ ย

18 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

* หวา่ นป๋ยุ คอกจำ�นวน 800 กิโลกรัมต่อไร่ จากน้ันไถแปร หลงั จากน้นั
ฉีดพน่ ด้วยน้ำ�หมกั ชวี ภาพ และหวา่ นทับด้วยป๋ยุ อนิ ทรีย์ จำ�นวน 50 กโิ ลกรัมไร่
เมื่อเสร็จแล้วจึงหยอดเมล็ดพันธ์ุข้าว เมื่อข้าวเจริญเติบโตได้ขนาดสูง
50 เซนติเมตร จะทำ�การหว่านปุ๋ยอินทรีย์อีกคร้ัง จำ�นวน 50 กิโลกรัมไร่
และมั่นดแู ลก�ำ จดั วัชพืชอย่างสม�่ำ เสมอ มีผลผลติ ขา้ วทไี่ ด้รบั เฉลี่ย 1 ตนั ตอ่ ไร่
ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (โซล่าเซลล์) ได้รับงบประมาณ
สนับสนุนจากสำ�นักงานเกษตรจังหวัด และสำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อมจังหวัดร้อยเอ็ด จำ�นวน 2 ชุด ครอบคลุมพ้ืนที่ 100 ไร่ มีกลุ่มสมาชิก
ผู้ใช้น้ำ�สามารถทำ�นาและปลูกพืชผักหลังฤดูกาลทำ�นา เช่น แตงกวา ข้าวโพด
ถว่ั ลิสง เปน็ ต้น
เพาะพันธุ์ปลาไว้เลี้ยงเอง เพ่ือเก็บไว้เป็นพ่อพันธุ์แม่พันธุ์
และจำ�หน่าย และแจกลูกปลาให้กับเกษตรกรท่ีต้องการ จำ�นวน 265,000 ตัว
เพือ่ สรา้ งแหล่งอาหารให้ชมุ ชน โดยไดร้ บั การอบรมจากประมงจงั หวดั

การจดั การไรน่ า 19

2. ผลงานและความส�ำ เรจ็ ของผลงาน
2.1 ผลงาน
1) พน้ื ทท่ี �ำ การเกษตร จ�ำ นวน 20 ไร่ มกี ิจกรรมดำ�เนินการดังนี้
สว่ นที่ 1 พ้ืนที่ 1 ไร่ เป็นท่ีอยูอ่ าศยั เก็บอุปกรณก์ ารเกษตร
โรงเรือนส�ำ หรับเล้ยี งสัตว์ และปลูกพชื ผสมผสาน
สว่ นที ่ 2 พ้นื ที่ 1 ไร่ เลยี้ งสตั ว์
ส่วนที่ 3 พ้ืนที่ 2 ไร่ ขุดบ่อ 5 บ่อ เลี้ยงปลาตะเพียน
ปลาดกุ ปลานลิ และเพาะขยายพนั ธปุ์ ลา
ส่วนท่ี 4 พ้ืนที่ 10 ไร่ ปลูกข้าวอินทรีย์พันธ์ุหอม 105
หลงั เกบ็ เกยี่ วปลกู พืชหมนุ เวียน ป๋ยุ พชื สด และปลูกพืชผกั หมนุ เวียน
สว่ นที่ 5 พื้นท่ี 6 ไร่ ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น (อินทผาลัม)
พชื ผกั ต่าง ๆ และแปลงหญ้าเลีย้ งสตั ว์
2) มกี จิ กรรมการผลติ อาหารทห่ี ลากหลาย ทง้ั ขา้ วพชื ผกั เลย้ี งสตั ว์
และประมง
3) แปลงมคี วามอดุ มสมบรู ณ์
4) ผลผลติ ดา้ นพชื ปศสุ ตั ว์ ดา้ นประมง ดังน้ี
(1) ดา้ นพชื
ข้าวหอมมะลิ พ้ืนท่ี 10 ไร่ เดิมผลผลิตเฉลี่ย
300 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ ปัจจบุ ันผลผลติ เฉลี่ย 1,000 กิโลกรมั ตอ่ ไร่
ข้ึนฉ่าย พ้นื ที่ 2 งาน ผลผลติ 1.2 ตัน
แตงกวา พนื้ ที่ 2 งาน ผลผลิต 2.1 ตนั
ถ่ัวฝักยาว จำ�นวน 50 หลมุ ผลผลิต 102 กิโลกรมั
ข้าวโพด พน้ื ท่ี 1 ไร่ ผลผลิต 450 กิโลกรมั ต่อไร่
ถว่ั ลสิ ง พนื้ ท่ี 2 ไร่ ผลผลติ 600 กิโลกรัม
กะหล่�ำ ปลี พืน้ ท่ี 1 งาน ผลผลติ 20 กิโลกรัม
มะนาว จำ�นวน 50 ตน้ ผลผลติ 400 กิโลกรัม

20 กรมส่งเสริมการเกษตร

เพาะกลา้ ไม้ พื้นท่ี 1 งาน จำ�นวน 11,300 ตน้ แจกจ่ายให้
โดยไม่คิดเงนิ หรอื ค่าตอบแทนใด ๆ เพอ่ื ปลูกปา่ ชุมชน
(2) ดา้ นปศสุ ตั ว์
ไก่พ้นื เมือง จ�ำ นวน 360 ตัวต่อปี
ไก่ไข่ จำ�นวน 20 ตัว
เปด็ จ�ำ นวน 10 ตวั
โคพน้ื เมอื ง จำ�นวน 13 ตวั ได้ลกู 6 ตวั ตอ่ ปี
(3) ด้านประมง
ปลานลิ จ�ำ นวน 5,000 ตัว
ปลาตะเพยี น จ�ำ นวน 2,000 ตัว
ปลาดกุ จำ�นวน 5,000 ตัว
ผลติ ลูกปลา จำ�นวน 350,000 ตวั ต่อปี
กบ จ�ำ นวน 1,000 กิโลกรมั ปี
5) ใช้วิชาการในการปรับปรุงการผลิต ได้แก่ การปรับปรุงดิน
การเพาะพนั ธป์ุ ลา การใชพ้ ลงั งานแสงอาทติ ย์ การใชช้ อ่ งทางเครอื ขา่ ยสงั คมเฟซบกุ๊
(Facebook) และแอปพลเิ คชนั ไลน์ (LINE) จ�ำ หนา่ ยผลผลติ การใชน้ �ำ้ เลย้ี งปลาดกุ
มาใช้ปลูกผกั ไฮโดรโปนิกส์ การลดตน้ ทนุ การผลิตข้าว และการยกเลกิ ใช้สารเคมี
6) นำ�ผลผลิตไปใช้ประโยชน์เพ่ือเพ่ิมมูลค่าเพ่ิม

ได้แก่ แปรรูปข้าวหอมมะลิอินทรีย์ ทำ�เป็นป้ัน
ขลิบและทำ�เค้กจำ�หน่าย
7) นำ�ส่ิงเหลือใช้มาใช้ประโยชน์ เช่น
การทำ�ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก และ
ท�ำ ปุ๋ยน้ำ�หมักชีวภาพ และ
ฮอรโ์ มนตา่ ง ๆ เปน็ ต้น

การจดั การไรน่ า 21

2.2 การจดั การ
1) มีผังฟาร์ม/แผน และงบประมาณฟารม์ ปฏทิ ินการปลูกพชื
สัตว์ ประมง
2) มกี ารจดบนั ทกึ บญั ชฟี ารม์ และแยกเปน็ รายพชื ซง่ึ สามารถ
น�ำ มาวเิ คราะหต์ น้ ทุนการผลติ และตรวจสอบข้อมลู ย้อนหลงั ได้ 3 ปี
3) มีการจัดการผลผลิต/การจำ�หน่าย/การตลาด โดยจำ�หน่าย
ในตลาดชุมชน ตลาดนัดอำ�เภอ โรงพยาบาล และช่องทางเครือข่ายสังคมเฟซบุ๊ก
(Facebook) แอปพลิเคชันไลน์ (LINE) เป็นสินคา้ อนิ ทรีย์
4) ใช้แรงงานทีส่ อดคล้องกับกจิ กรรมและขนาดของพ้ืนท่ี
5) มีการผสมผสานเก้ือกูลการใช้ประโยชน์ร่วมกันและพ่ึงพา
อาศัยกนั และกัน
6) ผลตอบแทน/การลงทนุ (ยอ้ นหลัง 3 ปี)

รายการ รายรบั /รายจา่ ย (บาท)
พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561
ต้นทนุ
รายรบั 88,314 117,384 151,817
กำ�ไร 171,120 412,269 419,431
82,806 294,885 267,614

รายได้รายวัน ได้แก่ พชื ผัก ผักขึ้นฉา่ ย มะนาว และผักบุ้ง
รายได้รายสัปดาห์ ไดแ้ ก่ มะเขือ พริก โหระพา ไขไ่ ก่ และถั่วฝักยาว
รายได้รายเดือน หรอื ตามฤดกู าลผลติ 2–4 เดือน ไดแ้ ก่ พชื ผกั กบ เปด็ ปลาดุก
ปลาตะเพียน และปลานิล
รายไดร้ ายปี ได้แก่ พืชผกั แตงกวา ถั่วลสิ ง ข้าวนาปี และโค

7) ไดน้ �ำ ผลตอบแทนไปลงทนุ ในการปรบั ปรงุ กจิ กรรมตอ่ ในฟารม์

22 กรมส่งเสริมการเกษตร

2.3 ความยง่ั ยนื ดา้ นการประกอบอาชพี
มีกิจกรรมทำ�หลากหลาย ทั้ง ข้าว พืช สัตว์ ประมง ทำ�ให้
นางสำ�รวย บางสร้อย มีรายได้ต่อเนื่องตลอดปีท้ังรายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน
และรายปีชุมชนยอมรับสามารถเป็นต้นแบบให้กับชุมชน มีการใช้ทรัพยากร
หมนุ เวียนในไร่นา และมีบตุ รชายสืบทอดกจิ กรรมต่าง ๆ ในฟาร์ม

3. ความเปน็ ผูน้ �ำ และเสียสละเพ่อื สว่ นรวม
3.1 เป็นเครือข่ายศูนย์เรียนรู้การเพ่ิมประสิทธิภาพ
การผลิตสนิ คา้ เกษตร (ศพก.)
3.2 เปน็ จดุ เรยี นรโู้ ครงการเกษตรทฤษฎใี หมร่ ะดบั อ�ำ เภอ
3.3 เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้กับหน่วยงาน
ราชการและเอกชน
3.4 ชนะเลิศการประกวดสมาชิกการพัฒนาบทบาทสตรี
ดีเด่นระดับจงั หวดั ประจำ�ปี 2560
3.5 ชนะเลศิ การประกวดประมงอาสาดเี ดน่ ระดบั จังหวัดปี 2561
3.6 รองชนะเลิศเกษตรกรดเี ด่นสาขาบญั ชีฟารม์ ระดับภาคปี 2562
3.7 เป็นประธานกลุ่มนาแปลงใหญ่เกษตรผสมผสานบ้านสวนปอ
โดยการจดั ทำ�แปลงสาธิตการผลติ เมลด็ พันธ์ขุ ้าวหอมมะลิ 105
3.8 เปน็ ประธานกลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชนเลีย้ งโคบา้ นสวนปอ
3.9 จดั ตง้ั ธนาคารปยุ๋ อนิ ทรยี ์ มสี มาชกิ 36 ราย มหี นุ้ ทง้ั หมด 160 หนุ้
ปัจจุบันมีเงินทุนหมุนเวียน 26,000 บาท ใช้หลักบริหาร “การบริหารจัดการต้อง
ซอ่ื สตั ย์ โปรง่ ใส สามารถตรวจสอบได”้
3.10 ประวัติการอบรมต่าง ๆ
1) อบรมโครงการพฒั นากระบวนการผลติ ขา้ วหอมมะลปิ ลอดภยั
ปี 2560
2) อบรมการบริหารจดั การพน้ื ที่เกษตรทฤษฎใี หม่
3) อบรมหลกั สตู รการพฒั นาการเปน็ ผนู้ �ำ เกษตรกรตามแนวทาง
เกษตรทฤษฎใี หม่
4) อบรมตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของพฒั นาชมุ ชน
5) เพาะเลี้ยงพนั ธุป์ ลา กรมประมง
6) อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของการศึกษานอก
โรงเรยี น (กศน.)

การจดั การไรน่ า 23

7) อบรมอาสาฝนหลวง
8) อบรมการพฒั นาเกษตรกรตน้ แบบธนาคารเพอ่ื การเกษตร
และสหกรณก์ ารเกษตร (ธกส.)
3.11 ทำ�ประโยชน์เพื่อส่วนรวม คือ เพาะพันธ์ุปลาแจกจ่ายให้กับ
เกษตรกรในชมุ ชน เพ่ือใหม้ ีอาหารโปรตีนบริโภคอยา่ งเพยี งพอ
3.12 เป็นผู้มีความสามารถในการสื่อสารและทำ�ความเข้าใจกับ
เกษตรกรในชุมชนไดเ้ ปน็ อย่างดี
3.13 มีการขยายผลให้กบั เกษตรกรท่ีตอ้ งการรบั องคค์ วามรู้

4. การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
4.1 ทต่ี ั้งฟารม์
พื้นที่การเกษตรมีเอกสารสิทธิ์แบบโฉนดที่ดิน (น.ส.4จ.)
เลขท่ี 7041 ซึ่งไม่อย่ใู นเขตปา่ สงวนแห่งชาติ
4.2 ขั้นตอนต่าง ๆ บางขั้นตอนในการผลิตพืช สัตว์ ประมง
หรือประเด็นสำ�คัญในการรักษาธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในลักษณะไร่นาสวนผสม
และเกษตรผสมผสาน
1) ใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยพืชสด และปลูกพืช
หมนุ เวียนเพอ่ื ปรับปรงุ บ�ำ รงุ ดนิ
2) ยกเลิกการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี โดยปลูกข้าวอินทรีย์
และพืชอินทรยี ท์ ุกชนดิ เพื่อดแู ลสุขภาพของตนเองและครอบครัว
3) ปลกู พชื คลมุ ดนิ เช่น พืชตระกูลถ่ัว
4) การป้องกันกำ�จัดศัตรูพืช โดยวิธีการผสมผสาน เช่น
เขตกรรม การใช้สารชวี ภาพ เปน็ ต้น
5) มแี หล่งเกบ็ นำ้�ไว้ใชใ้ นฤดแู ลง้
6) มกี ารนำ�มูลสตั วม์ าทำ�ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก
7) มีการจัดการคอกสัตว์เลี้ยง และโรงเรือน บ่อปลา/สัตว์น้ำ�
กิจกรรมพืชในแปลงอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและสุขลักษณะ มีอากาศ
ถ่ายเทมีการจัดสรรระบบนำ้�ในบ่อเล้ียงปลาแล้วนำ�กลับมาใช้ประโยชน์ ปลูกผัก
ไฮโดรโปรนิกส์ ไม่มกี ลน่ิ รบกวน
8) ไมเ่ ผาตอซัง ใชว้ ธิ ไี ถกลบตอซงั

24 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

5. จดุ เด่น
5.1 มีความพยายาม มานะ
อดทน ศึกษาหาความรู้เพ่ือพัฒนาตนเอง
ตลอดเวลา
5.2 พ.ศ. 2559 ยกเลิกการใช้
ปุ๋ยเคมีและสารเคมี หันมาผลิตข้าวอินทรีย์ และ
ปลูกพืชอนิ ทรยี ์
5.3. รวมกลุ่มจัดตั้งนาแปลงใหญ่ เพื่อผลิต
เมล็ดพันธุ์ข้าวหอมดอกมะลิ 105 โดยใช้แรงงานคนคัดพันธุ์ปนในระยะต่าง ๆ
คัดรวงข้าวท่ีสมบูรณ์ไว้เปน็ เมลด็ พนั ธุ์
5.4 ริเร่ิมทำ�นาหยอด จากเดิมทำ�นาหว่านข้าวแห้ง สามารถลด
เมลด็ พนั ธ์ขุ า้ วจากไร่ละ 30 กิโลกรมั ตอ่ ไร เหลอื ไรล่ ะ 10 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร
5.5 รวมกลมุ่ จดั ตง้ั ธนาคารปยุ๋ อนิ ทรยี ์ จ�ำ นวน 36 ราย มหี นุ้ 160 หนุ้
เงนิ ทุนหมนุ เวยี น 26,000 บาท เพ่อื ผลติ ป๋ยุ อนิ ทรีย์ใชเ้ อง
5.6 ปลูกพืชปุ๋ยสด เช่น ปอเทือง ถ่ัวพร้า เพื่อปรับปรุงดินเป็นต้น
และเก็บเมลด็ พันธุ์ข้าวไวใ้ ช้เอง
5.7 ปลูกพืชหมุนเวียนหลังการทำ�นา เช่น แตงกวาข้าวโพด
ถ่ัวลสิ ง งา และพชื ผักอ่นื ๆ เพ่ือเพม่ิ รายได้ เป็นต้น
5.8 บริหารจัดการนำ้�โดยใช้ระบบนำ้�หยดในแปลงพืชสามารถ
ควบคุมปรมิ าณน�ำ้ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
5.9 ผลิตสารชีวภัณฑ์ควบคุมโรคและ
แมลงศัตรูพชื ผลิตปยุ๋ หมกั น้ำ�หมกั ชีวภาพ
5.10 หลังเก็บเกี่ยวข้าวจะอัดฟาง
ข้าวเป็นก้อน สำ�หรับใช้เป็นอาหารสัตว์ โดยจะ
หมักฟางกับน้ำ�ตาลประมาณ 7 วัน เพ่ือเพิ่มสาร
อาหารใหก้ ับโค
5.11 เพาะพนั ธป์ุ ลาตะเพยี น ปลานลิ
เพ่อื เลยี้ งเอง จ�ำ หนา่ ยและแจกจ่ายใหช้ มุ ชน

การจัดการไรน่ า 25

5.12 เลี้ยงปลาแบบประหยัด คือ ทำ�แซนวิช
ให้ปลา โดยใช้ฟางข้าวและปุ๋ยคอกมาอัด
เป็นชั้น ๆ ประมาณ 6 – 7 ชัน้ แลว้ มดั เปน็ ก้อน
นำ�ไปแช่ในนำ้�ประมาณ 5 – 7 วัน ฟางข้าวจะ
เริ่มเน่า จะเกิดไรแดงและแพลงก์ตอนเป็นอาหาร
ของปลา ทำ�ให้ลดต้นทุนในการเลี้ยงปลา ใช้เวลา
เลย้ี ง 3 เดือน จงึ จับจ�ำ หน่าย
5.13 หลังทำ�นา แบ่งพื้นท่ี 2 งาน ผันนำ้�เข้ามาเลี้ยง
ปลาดกุ 3,000 ตัว ปลาจะกนิ ไรแดงและแพลงก์ตอนทีเ่ กดิ จาก
การเน่าเปื่อยของฟางขา้ วที่แช่น�ำ้ ลดตน้ ทุนคา่ อาหาร
5.14 มีการทำ�บัญชีครัวเรือนและบัญชีฟาร์มอย่างต่อเนื่อง รวมท้ัง
เปน็ ครูบัญชอี าสาของส�ำ นักงานตรวจบญั ชสี หกรณ์จังหวัดรอ้ ยเอ็ด
5.15 ใช้ตลาดนำ�การผลิต โดยศึกษาราคาสินค้าและความต้องการ
ของตลาด
5.16 จำ�หน่ายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต เช่น ช่องทางเครือข่ายสังคม
เฟซบุ๊ก (Facebook) แอปพลเิ คชนั ไลน์ (LINE) เปน็ ตน้
5.17 ปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์โดยใช้น้ำ�จากการเลี้ยงปลาดุก และ
แผงไข่ท่ใี ชแ้ ล้วมาเปน็ วัสดปุ ลูก
5.18 ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (โซล่าเซลล์) ซ่ึงเป็นพลังงานสะอาด
เพือ่ ใชน้ ้ำ�ครอบคลุมพน้ื ท่ี 100 ไร่ ร่วมกับสมาชกิ กลมุ่ ผใู้ ชน้ ้ำ�
5.19 แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เพื่อสร้าง
มูลค่าเพ่ิม ไดแ้ ก่ ข้าวสารอนิ ทรยี ์ ปั้นขลิบจากขา้ วอินทรยี ์
5.20 เปน็ เครอื ข่ายศนู ยเ์ รยี นรเู้ พมิ่
ประสทิ ธภิ าพการผลติ สนิ ค้าเกษตร (ศพก.)
5.21 เป็นจุดเรียนรู้โครงการเกษตร
ทฤษฎีใหม่ ระดบั อ�ำ เภอ
5.22 เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้
ให้หนว่ ยงานราชการและเอกชน
5.23 เปน็ ประธานกลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน
เลี้ยงโคบา้ นสวนปอ
5.24 ไม่เผาตอซัง ใช้วิธีไถกลบตอซัง
5.25 การจัดการศตั รพู ชื โดยวิธผี สมผสาน

26 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

ผงั ฟาร์ม N

พลังงานแสงอาทิตย
บอ นำ้ บอท่ี 5
บอนำ้ บอ ที่ 4

แปลงนา ทำขา วอนิ ทรีย 10 ไร
และปลูตนมะนาวตามคันนา 50 ตน

บอ น้ำ คอกเปด
บอ ที่ 3
คอกไก
บอพลาสติก
เล้ียงปลาดุก

เพาะพนั ธกุ ลาไม

แปลงปลกู แตงกวา บอนำ้
บอท่ี 2
โรงเรอื นปลูกผัก
ไฮโตรโปรนคิ โรงผสม
ปยุ อนิ ทรยี 
บอ นำ้ บอ ที่ 1
ท่อี ยูอาศยั

การจดั การไร่นา 27

บรรณานกุ รม

กรมส่งเสรมิ การเกษตร. (2531). เอกสารวชิ าการ 39 ชุดเรียนรู้ดว้ ยตนเอง.
กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำ�กดั .
ฝ่ายจัดการไร่นา (2528). คู่มือการอบรมการจัดการไร่นา. กรุงเทพฯ :
กรมส่งเสริมการเกษตร. กองพัฒนาการบรหิ ารงานเกษตร.
ฝ่ายจัดการไร่นา. (2529). รูปแบบฟาร์มส่งเสริม (โมเดล). กรุงเทพฯ :
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร. กองพัฒนาการบริหารงานเกษตร.
สำ�นักงานเกษตรจังหวัดนครศรีธรรมราช. (2531). เอกสารการจัดการไร่นา
ในงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการไร่นา วันท่ี 5 กันยายน
2531 หมู่ที่ 6 บ้านเกาะจากตำ�บล เกาะทวด อำ�เภอปากพนัง
จงั หวัดนครศรีธรรมราช.

28 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

ค�ำ แนะนำ�ท่ี 3/2563
การจดั การไร่นา

ทีป่ รึกษา อธบิ ดีกรมสง่ เสริมการเกษตร
รองอธบิ ดีกรมส่งเสรมิ การเกษตร
นายเข้มแขง็ ยตุ ธิ รรมด�ำ รง รองอธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ การเกษตร
นางกลุ ฤดี พฒั นะอ่มิ รองอธิบดีกรมสง่ เสรมิ การเกษตร
นายชาตรี บญุ นาค รองอธบิ ดีกรมส่งเสริมการเกษตร
นายทวี มาสขาว ผู้อำ�นวยการส�ำ นักพฒั นาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี
นายอาชว์ชยั ชาญ เลีย้ งประยูร ผู้อ�ำ นวยการกองวจิ ัยและพัฒนางานสง่ เสริมการเกษตร
นายวฒุ ิชยั ชิณวงศ ์
นายวุฒนิ ัย ยวุ นานนท์

เรียบเรียง ผอู้ ำ�นวยการกล่มุ จัดการฟารม์ และเกษตรกรรมยง่ั ยืน
นางสมคดิ นมุ่ ปราณี
นางเนตรนรศิ ผดงุ ศิลป์ นกั วิชาการส่งเสริมการเกษตรชำ�นาญการพิเศษ
นางสาวเสาวณิต เทพมงคล นักวชิ าการส่งเสรมิ การเกษตรช�ำ นาญการ
นางสาวพมิ ประภา สินค้ำ�คูณ นกั วชิ าการส่งเสริมการเกษตรช�ำ นาญการ
นางสาวพรี ชา มณชี าติ นักวิชาการสง่ เสริมการเกษตรชำ�นาญการ
นางสาวรตั นาภรณ์ นพพนู นกั วิชาการสง่ เสริมการเกษตรช�ำ นาญการ
นางสาวอารีย์วรรณ เหลอื งทอง นกั วชิ าการสง่ เสริมการเกษตร
กลมุ่ จดั การฟารม์ และเกษตรกรรมยัง่ ยนื กองวิจยั และพฒั นางานสง่ เสรมิ การเกษตร

บรรณาธกิ าร
นางสาวพนดิ า ธรรมสุรักษ ์ ผูอ้ ำ�นวยการกล่มุ พฒั นาสื่อส่งเสรมิ การเกษตร
นายสุรนันท์ หลำ�รวิ้ นกั วิชาการเผยแพรช่ ำ�นาญการ
กลมุ่ พัฒนาสอ่ื สง่ เสริมการเกษตร ส�ำ นักพัฒนาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี

ออกแบบ

กลุ่มโรงพิมพ์ ส�ำ นักพฒั นาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสรมิ การเกษตร

www.doae.go.th


Click to View FlipBook Version