The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ถอดบทเรียนเกษตรกรดีเด่นสาขาอาชีพไร่นาสวนผสม ประจำปี 2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ถอดบทเรียนเกษตรกรดีเด่นสาขาอาชีพไร่นาสวนผสม

ถอดบทเรียนเกษตรกรดีเด่นสาขาอาชีพไร่นาสวนผสม ประจำปี 2561

Keywords: เกษตรกรดีเด่น,ไร่นาสวนผสม

คาํ นาํ

เอกสารคาํ แนะนาํ เรอ่ื ง ถอดบทเรยี นเกษตรกรดเี ดน สาขาอาชพี ไรน า
สวนผสม ประจําป 2561 ฉบับน้ีไดจัดทําขึ้น เพื่อเปนแนวทางการสงเสริม
การเกษตรหรือเปนกรณีตัวอยาง การสงเสริมการทําไรนาสวนผสมของ
เกษตรกรที่เกิดข้ึนจริง จากการดําเนินกิจกรรมในการปฏิบัติงานในฟารมของ
เกษตรกร ซ่ึงรูปแบบดังกลาวสามารถประชาสัมพันธเผยแพรสูเกษตรกร
และบุคคลท่ัวไปท่ีสนใจใหเกิดแรงบันดาลใจ สามารถนําไปประยุกต ปรับใช
ใหเกดิ ประโยชนตามความเหมาะสมในแตล ะพนื้ ที่

กรมสง เสรมิ การเกษตร ขอขอบพระคณุ ในความรว มมอื เปน อยา งดยี ง่ิ
จากหนวยงาน เจาหนาที่ และเกษตรกรท่ีเกี่ยวของในการใหขอมูล ทําให
การถอดบทเรียนในครั้งนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี จึงขอขอบคุณทุก ๆ ทาน
มา ณ โอกาสน้ี และหวงั เปน อยา งย่งิ วา ผลท่ีไดจ ากการถอดบทเรยี นในครง้ั น้ี
จะเปนประโยชนตอการนําไปใชเพ่ือพัฒนาเกษตรกร และเจาหนาที่สงเสริม
การเกษตรตอ ไป

กรมสง เสรมิ การเกษตร
2562

การปอ งกนั กาํ จัดโรคและแมลงศัตรูมนั สาํ ปะหลัง

สารบัญ

บทนํา หนา
แผนท่ีแสดงท่ตี ้ังฟารมเกษตรกร 1
เกษตรกรดีเดน แหงชาติ สาขาอาชพี ไรนาสวนผสม ประจาํ ป 2561 2
3
นายใจ สุวรรณกิจ 7
เกษตรกรดเี ดนระดับเขต สาขาอาชีพไรน าสวนผสม ประจาํ ป 2561 10
13
นายเร่มิ อดุ มฉวี 16
นายทองพลู โฉมสะอาด 19
นายสมพร ดาวลอย 22
นายอํานวย ศรสี ขุ 25
นายวิริยะ แสนอนุ 28
นางสมพาน ผิวละออง
นายพิชิต ชมู ณี
นายชาญ ม่ันฤทธ์ิ

บทนาํ

การเกษตรของไทยในอดีตเปนการทําการเกษตรเพื่อยังชีพ โดยอาศัย
ความอุดมสมบูรณจากธรรมชาติและส่ิงแวดลอม จึงไมประสบปญหามากนัก
แตปจจุบันมีการเปล่ียนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ อันเน่ืองมาจากการ
เพิ่มขึ้นของจํานวนประชากร มีการใชเทคโนโลยีการเกษตรแผนใหมเพื่อเพ่ิม
ผลผลิตใหเพียงพอแกการบริโภคของประชากร และเพ่ือการสงออกเปนรายได
เขาสูประเทศ จึงทําใหการประกอบอาชีพเกษตรกรรมประสบปญหา ท้ังปญหา
ภยั ธรรมชาติ ไมว า จะเปน การระบาดของโรคแมลงศตั รพู ชื ตลอดจนความแปรปรวน
ดา นการตลาด กอ ใหเ กดิ ผลผลติ และรายไดท ่ไี มมน่ั คง

จากปญ หาดงั กลา ว การทาํ ไรน าสวนผสม จงึ เปน ทางเลอื กอกี รปู แบบหนงึ่
ของเกษตรกร โดยเปลี่ยนจากการทําการเกษตรเพียงอยางเดียว มาทํากิจกรรม
การเกษตรหลาย ๆ อยาง เพ่ือเพิ่มระดับรายได ลดรายจาย และขยายโอกาส
สามารถหมุนเวียนการใชทรัพยากรในฟารมไดมากข้ึน สรางความสมดุลใหกับ
ธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม ทําใหเกิดระบบนิเวศเกษตรของชุมชนดีขึ้น เกษตรกร
มคี ุณภาพชีวิต มคี วามมั่นคง และย่งั ยืนในอาชพี การเกษตรตอ ไป

การถอดบทเรียนเกษตรกรที่ประสบความสําเร็จ ดานไรนาสวนผสม
เปนการดึงความรูจากการทํางาน ปรากฏการณที่เกิดขึ้นระหวางการทํางาน และ

ปจจัยความสําเร็จที่เกี่ยวของ เพ่ือเปนตนแบบ
ใ น ก า ร พั ฒ น า ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง เ ก ษ ต ร ก ร ท่ี
ประกอบอาชีพไรนาสวนผสม ใหประสบผล
สําเร็จในระยะเวลาท่ีสั้นลง และสามารถ
นําไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนในการ
พัฒนาไรนาสวนผสมไดตามความ
เหมาะสมกบั บริบทของตนเอง

ถอดบทเรยี นเกษตกรการปดอีเดงนกนั สกาํ ขจาัดอโารชคีพแไลรนะแาสมวลนงผศสัตมรมู ปันรสะจาํ ปาํ ปะห 2ล5งั 61 51

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง

แผนทแ่ี สดงทต่ี ง้ั ฟารม เกษตรกร

นายวริ ิยะ แสนอุน

นายเร่ิม อุดมฉวี

นายชาญ มน่ั ฤทธ์ิ

นายอํานวย ศรีสขุ นางสมพาน ผิวละออง
นายสมพร ดาวลอย นายทองพลู โฉมสะอาด

นายใจ สวุ รรณกิจ

นายพิชติ ชูมณี

24 กรมสง เสรมิ การเกษตร

นายใจ สุวรรณกจิ

เกษตรกรดเี ดน แหงชาติ
สาขาอาชีพไรนาสวนผสม ประจําป 2561
ท่ีอยู : บานเลขท่ี 224 หมูท่ี 2

ตาํ บลฝาละมี อาํ เภอปากพะยูน
จังหวัดพทั ลงุ
โทรศัพท : 08 3537 1313

พนื้ ทีก่ ารเกษตร
แปลงท่ี 1 ต.ปา บอน อ.ปา บอน จ.พทั ลงุ พืน้ ที่ 6 ไร 2 งาน ปลูกยางพารา
แปลงที่ 2 ต.นาปะขอ อ.บางแกว จ.พัทลุง พน้ื ที่ 13 ไร 2 งาน ปลูกยางพารา
แปลงท่ี 3 ต.ฝาละมี อ. ปากพะยนู จ.พทั ลงุ พน้ื ท่ี 12 ไร 1 งาน ทาํ ไรน าสวนผสม

ไรน าสวนผสม
พ้ืนท่ี 12 ไร 1 งาน มแี ผนผังดังน้ี
นาขาว จาํ นวน 1 ไร 1 งาน (พนั ธุสงั ขหยด)
ยางพารา จาํ นวน 4 ไร
สระนํ้า/คูน้าํ เพือ่ ใช้น้ําทางการเกษตร และเล้ยี งปลา จํานวน 2 ไร
ไมผล ไดแก มะนาว (GAP) ลองกอง (GAP) กระทอน (GAP)
สมเขียวหวาน สม โอ ละมุด มะมว ง เงาะ ทุเรยี น ทุเรยี นเทศ
ฝรั่ง มะกรดู หมาก กลวย มะพรา ว สม จุก สมโชกุน
พชื ผัก ไดแ ก ถ่ัวฝกยาว ผักคะนา ผักกาดขาว กวางตงุ ผกั บุง
เลีย้ งสตั ว ไดแก เปด ไก เลี้ยงผงึ้ โพรงไทย
ท่ีอยูอาศัย/โรงเก็บอปุ กรณ
ปลกู หญา แฝก รอบ ๆ สระน้าํ

ถอดบทเรียนเกษตรกราดรปเี ดอ นงกสันากขําาจอดั าโชรพี คไแรนลาะแสมวนลผงศสัตมรปมู รนั ะจสาํ ปะ2ห5ล6งั 1 53

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง

รูปแบบแผนผงั ฟารม นายใจ สวุ รรณกจิ

คนู ํ้า คูนาํ้

ไมผ ลผสมผสาน ไมผ ล
พ้นื ที่ 5 ไร คนู ้ํา

ยางพารา คนู ํ้า สระนํ้าเลี้ยงปลา ไมผ ล นาขา วพ้นื ท่ี 1 ไร
พน้ื ที่ 4 ไร ไมผล กนิ พชื พื้นท่ี 2 ไร คนู ้ํา 1 งาน

คนู ํ้า ไมผล หลมละอะมมนงากดุายวอเกหงสรตะทม ุ ทไโุเมรออ ียผนสนลม เเงทเไขาดศะยีแ วมกมหะะวกมารว นูดง
คูน้ํา สฝมรั่งจกุ หมาก กลวย มะพราว
ไมผ ล

ปฏิทนิ การปลูกพืชและเลีย้ งสัตว

ชนดิ พืช/สัตว ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ขา วสังขห ยด
ยางพารา เก็บเก่ยี ว ไถ,ตดั หญา หวาน ใสปยุ ใสปุย
ไถ,ตัดหญา ไถ,ตดั หญา
มะนาว ตดั แตง กง่ิ ,ดอก
ใสป ยุ ใสปยุ ใสปุย
กระทอ น ตดั แตง กง่ิ ,ดอก
มะพราวน้ําหอม ใสป ยุ ใสป ุย เก็บเก่ยี ว ตดั แตง กง่ิ ,ดอก
ใสปุย
ลองกอง ใสปยุ

ผง้ึ โพรงไทย ใสปุย ตดั แตง กง่ิ ,ดอก ใสป ุย เก็บเก่ยี ว ตดั แตง กง่ิ ,ดอก
ตดั แตง กง่ิ ,ดอก ใสป ุย
เกบ็ เกยี่ ว
ใสปุย แตงรัง

เกบ็ เกี่ยว
แตง รงั

หวา น ไถ,ตัดหญา ใสปุย ตดั แตงก่งิ ,ดอก เก็บเก่ียว แตงรงั

4 กรมสงเสรมิ การเกษตร

จดุ เริ่มตน สกู ารเปลยี่ นแปลงและการแกไ ขปญ หา
เดิมเปดอูซอมเคร่ืองยนต ทํานา และทําสวนยางพารา เร่ิมศึกษาดูงาน

โครงการฟารมตัวอยางตามพระราชดําริในสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
ในรชั กาลท่ี 9 อ.บางแกว จ.พทั ลงุ และจากแปลงเศรษฐกจิ พอเพยี งทป่ี ระสบความสาํ เรจ็
ประกอบกับป 2534 ราคาขาวตกตํ่า จึงเปล่ียนมาทําไรนาสวนผสม เนนใชแรงงาน
ในครัวเรือนเปนหลักลดการพึ่งปจจัยภายนอก ป 2538 เลิกใชปุยเคมี หยุดเผาตอซัง
ใชวิธีไถกลบตอซัง ปลูกพืชตระกูลถ่ัวหลังการทํานาเปนปุยพืชสด ทําปุยหมัก
นํา้ หมักชีวภาพใชเ อง ปรบั ปรงุ ดิน ปลกู หญา แฝก เพอ่ื อนุรักษด นิ และนาํ้

รวมกลุมเกษตรกร จํานวน 30 คน ลดตนทุนการผลิตโดยลดการใชปุยเคมี
และสารเคมี โดยขอรับการสนบั สนุนวสั ดุอปุ กรณใ นการผลิตปยุ หมัก และน้าํ หมักชีวภาพ
จากสาํ นักงานพฒั นาท่ีดินพทั ลุง
กระบวนการดําเนินงาน / ข้นั ตอนการดาํ เนนิ งานสกู ารพัฒนา
แนวคิด/หลักการทํางาน : ยึดหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุมกัน

ในตวั ทีด่ ี มคี วามเอ้ืออาทรที่ดีตอ กนั ในชมุ ชน
แนวทางการดาํ เนนิ งาน

1. คํานึงถึงความตองการของตลาด
2. วางแผนการผลติ ตามความตองการของตลาด
3. กําหนดปฏทิ ินการปลกู พชื
4. คิดคนเคร่ืองมืออุปกรณตาง ๆ และนําเทคโนโลยีมาใชในฟารม เชน

ทําคันไถแบบเหล็ก (ผาน) แทนไม ประดิษฐอุปกรณหอผลกระทอน
ปองกันแมลงวันทองผลิตกับดักแมลงวันทอง เสริมรากยางพารา 2 ตน
เปนตนเดียวกัน ใชหลักฟสิกสวางทอระบายนํ้าเขา-ออกฟารม โดย
ไมตอ งใชเ ครอ่ื งปมนํา้ ขายผลผลติ ทางอินเตอรเ นต็
5. พฒั นาผลผลิตใหปลอดภยั ตอ ผบู รโิ ภค โดยการผลิตสินคาไปสู GAP
6. จาํ หนายผลผลิตโดยตรงสูผบู รโิ ภค

ถอดบทเรียนเกษตรกราดรปเี ดอนงกสันากขําาจอัดาโชรีพคไแรนลาะแสมวนลผงศสัตมรปูมรันะจสาํ ปะ2ห5ล6งั 1 5

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง

7. แปรรูปผลผลิต เพ่ือสรางมูลคาเพ่ิม เชน แปรรูปน้ํามันมะพราว
ขนมเคก ใบเตย การจาํ หนา ยกง่ิ พนั ธพุ ชื แปรรปู นา้ํ มะนาว กระทอ นทรงเครอื่ ง
เคกมะพรา ว

8. จดบันทึกบัญชีครัวเรือน และบัญชีฟารมโดยแยกบัญชีเปนรายพืช
และแสดงงบประมาณฟารม

9. จัดทําแผนผังฟารม เพ่ือจะไดรูวาการปฏิบัติงานสวนไหนจะตองวาง
ตาํ แหนง ใหอ ยใู นจุดใดจงึ สะดวกใชป ระโยชนตอการทําฟารม

10. ศกึ ษาเรยี นรูตลอดเวลาเพ่ือพฒั นากจิ กรรมในฟารม
ภาพกจิ กรรมแปลง นายใจ สวุ รรณกิจ

64 กรมสง เสรมิ การเกษตร

นายเร่มิ อุดมฉวี

เกษตรกรดีเดนระดบั เขต
สาขาอาชีพไรนาสวนผสม ประจําป 2561
ท่ีอยู : บา นเลขท่ี 136 หมูท ่ี 5

บานกดุ นาดี ตาํ บลเสือโคก
อาํ เภอวาปปทุม
จงั หวัดมหาสารคาม
โทรศพั ท : 06 3040 8504

พ้นื ทีก่ ารเกษตร
จาํ นวน 27 ไร แบง ระบบการทาํ ฟารมเปน 4 สว น
พนื้ ที่ 1 ไร เปน ทอ่ี ยอู าศยั เกบ็ อุปกรณก ารเกษตร ปลูกพืชผกั
พ้ืนที่ 7 ไร ขดุ สระนํ้าจํานวน 2 สระ ขนาด 4 ไร และ 3 ไร/เลี้ยงปลานลิ
ปลาตะเพียน
พ้ืนที่ 12 ไร ปลูกขาวปลอดสารพิษ ไดแก ขาวหอมมะลิ 105 และ กข.6
พื้นที่ 7 ไร ทาํ ไรนาสวนผสม ไดแก องนุ มะพราว กลวย มะมว ง ลําไย

รปู แบบแผนผงั ฟารม นายเริม่ อุดมฉวี

ไมผ ล

ไมผล
บอ น้ํา

แปลงองุน แปลงองนุ

บอนํา้ ไมผ ล

นาขา ว 75

ถอดบทเรยี นเกษตรกราดรปเี ดอ นงกสนั ากขาํ าจอัดาโชรพี คไแรนลาะแสมวนลผงศสัตมรปูมรันะจสาํ ปะ2ห5ล6งั 1

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง

ปฏทิ ินการเก็บเกยี่ ว

ปฏทิ ินการเก็บเกีย่ ว
เดอื น ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
กิจกรรม
ขาว
มะมว ง
องนุ
มะพราว
ลําไย
กลว ย
มะนาว
ฝรั่ง
ขนนุ
ปลาธรรมชาติ
กลา ไม
กุงฝอย บรโิ ภคในครวั เรอื น

จดุ เร่มิ ตนสูการเปลี่ยนแปลงและการแกไ ขปญ หา

เดิมปลูกขาวและพืชหมุนเวียน ประสบปญหาภัยแลง ราคาขาวถูก เร่ิมศึกษา
ดูงานในพ้ืนท่ีตาง ๆ และนําศาสตรพระราชามาปรับใช และปรับเปล่ียนพื้นท่ีนามาทํา
ไรนาสวนผสมและปลูกองุน ใชแรงงานในครัวเรือนเปนหลัก และใชแรงงานจางตาม
ฤดูกาล วางแผนการผลิตใหสอดคลองกับพ้ืนท่ี ผลิตปุยอินทรีย และปุยนํ้าหมักชีวภาพ
ใชเ พือ่ ลดตนทุนการผลิต และลดการใชสารเคมี ใชป ยุ ตามคา วเิ คราะหด นิ

กระบวนการดําเนินงาน / ข้นั ตอนการดาํ เนนิ งานสกู ารพฒั นา

แนวคิด/หลกั การทาํ งาน : ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงในการดาํ รงชวี ิต
แนวทางการดาํ เนนิ งาน

1. ศึกษาชนิดพชื ท่ีจะปลกู
2. ดคู วามตอ งการของตลาด
3. นาํ ดินไปตรวจวิเคราะหเพ่ือใชป ุยตามคาการวิเคราะหดนิ
4. กเู งนิ ธนาคารเพ่อื การเกษตรและสหกรณก ารเกษตร

จํานวน 400,000 บาท ลงทุน
5. วางแผนการผลิตในกิจกรรมตาง ๆ ใหเหมาะสมกบั พื้นที่

84 กรมสง เสริมการเกษตร

6. กาํ หนดปฏิทนิ ในการปลูกพชื
7. จัดทาํ แผนผงั ฟารม
8. คัดเลือกพนั ธุพชื ท่เี หมาะสมกอ นนํามาเพาะปลูกในแปลง
9. ขดุ สระเก็บนา้ํ ไวใชใ นฤดูแลง
10. เก็บเกย่ี วพชื ในระยะทเี่ หมาะสม
11. หลงั การเกบ็ เก่ยี วผลผลติ มีการตัดแตง กงิ่ ดูแลรักษา
12. จาํ หนา ยผลผลติ ในตลาดทอ งถน่ิ โดยใชร ถโมบายเคลอื่ นท/่ี ประชาสมั พนั ธ
13. ขยายพันธุพืชไวปลูกเองในสวนและจําหนาย หลากหลายสายพันธุ

ใหล ูกคาเลอื กซ้ือ
14. ขายพันธอุ งนุ ทั่วประเทศ พรอ มรบั ดแู ลสวนและใหค าํ แนะนํา
15. แปรรูปองุน เชน องุน ดอง ไวนองนุ
16. จดบนั ทึกบัญชฟี ารม
17. ศกึ ษาหาความรตู ลอดเวลา
ภาพกจิ กรรมแปลง นายเรม่ิ อุดมฉวี

ถอดบทเรยี นเกษตรกราดรปเี ดอ นงกสนั ากขาํ าจอดั าโชรีพคไแรนลาะแสมวนลผงศสัตมรปูมรันะจสําปะ2ห5ล6งั 1 95

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง

นายทองพูล โฉมสะอาด

เกษตรกรดีเดนระดับเขต
สาขาอาชพี ไรนาสวนผสม ประจาํ ป 2561
ทีอ่ ยู : บานเลขที่ 18/1 หมทู ี่ 6

ตําบลวงั เย็น อาํ เภอแปลงยาว
จงั หวดั ฉะเชิงเทรา
โทรศัพท : 08 5254 3002, 08 5284 3002

พื้นที่การเกษตร
พ้นื ท่ีของตนเอง 33 ไร พ้นื ท่ีเชา 27 ไร แบง พืน้ ท่ีเปน 4 สว น
สว นท่ี 1 ปลกู ขา วหอมมะลิ 105 จํานวน 10 ไร
สวนที่ 2 ปลกู พชื ผกั ผลไม จํานวน 40 ไร
ปลกู มะนาว/ปลูกถ่ัวลิสงระหวางแถว จาํ นวน 20 ไร
ปลกู พริกขีห้ นู จาํ นวน 10 ไร
ปลกู ผกั อนามัย จาํ นวน 3 ไร
ปลกู ไมผ ล (มะมว ง, กลว ย, สม โอ, มะพรา ว) จาํ นวน 5 ไร
ปลูกขาวโพดหวาน จํานวน 2 ไร
ปลูกกลวยนาํ้ วาเปนแนวกนั ลม
สวนท่ี 3 เลย้ี งสัตว
ไกป า 200ตวั (ไมข าย) เพอ่ื อนรุ กั ษแ ละกาํ จดั วชั พชื /แมลงศตั รพู ชื
เลีย้ งเปด
สว นท่ี 4 ขุดสระเกบ็ นํ้า/เล้ยี งปลา จาํ นวน 5 ไร 3 สระ
(ขนาด 1 ไร จาํ นวน 2 สระ, 3 ไร จํานวน 1 สระ)

140 กรมสงเสรมิ การเกษตร

รูปแบบแผนผังฟารม นายทองพูล โฉมสะอาด

กลวยน้าํ วา กนั ลม

ขาวโพดยดื อายุ พรกิ ข้ีหนู มะนาวสรางเครอื ขา ย มะมวง/กลวย/สมโอ/
บอปลา 1 ไร เพื่อเศรษฐกจิ ถว่ั ลิสงพรวนดนิ 10 ไร มะพราว/อื่นๆ 5 ไร

10 ไร

พชื ผกั อนามยั บา นพกั อาศยั หอ งผลติ นาํ้ มะนาว
3 ไร

บอ ปลา 1 ไร นาขา ว 10 ไร บอ ปลารกั นาํ้ 3 ไร

ขาวโพดยืดอายุ มะนาวสรา งเครอื ขา ย
ถั่วลสิ งพรวนดิน 10 ไร
ศาลา ศพก.
กลว ยนํ้าวากันลม
ปศุสัตว/สัตวป ก

จดุ เร่ิมตนสกู ารเปลยี่ นแปลงและการแกไขปญ หา
เริม่ จากทาํ นา 5 ไร ปลกู พืชผกั /พชื สมุนไพร เลีย้ งสัตวทวั่ ไปไวบ ริโภค ตอมา

มีแนวคิดปรับพื้นท่ีมาทําเกษตรทฤษฎีใหม แบงพ้ืนท่ีออกเปน 30:30:30:10
ดวยความขยัน ประหยัด ซื่อสัตย อดทน ใฝหาความรูวิทยาการสมัยใหมมาใช
ปรับปรุงสวนตลอดเวลา นําเทคโนโลยีมาใชไดอยางเหมาะสมไมทําลายส่ิงแวดลอม
เชน ทําน้ําหมักจากชีวภาพดวยเปลือกมะนาวเพื่อกําจัดวัชพืช ทํานํ้าหมักชีวภาพจากพืช
สมุนไพร/ยาสูบ ทําฮอรโมนไข ลดการใชสารเคมี ประดิษฐอุปกรณกรรไกรตอนก่ิงไม
เนนการใชแรงงานในครวั เรอื นเปน หลัก และใชแ รงงานจางตามฤดูกาล วางแผนการผลติ
แผนการตลาด หาตลาดท้ังภายในประเทศ และตางประเทศ มีเทคนิคในการทํางาน
คอื “ตองกําเงินได”

ถอดบทเรยี นเกษตรกราดรปีเดอ นงกสันากขําาจอัดาโชรีพคไแรนลาะแสมวนลผงศสัตมรปูมรันะจสําปะ2ห5ล6ัง1 151

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง

กระบวนการดําเนินงาน / ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ งานสกู ารพัฒนา
แนวคิด / หลักการทํางาน : ยึดหลักการของทฤษฎีใหม
แนวทางการดาํ เนนิ งาน

1. ศกึ ษาหาความรตู ลอดเวลา/ชางสงั เกต
2. วางแผนการผลติ กจิ กรรมตา ง ๆ ของฟารม แบง พน้ื ทอ่ี อกเปน 30:30:30:10
3. สรา งแหลง นา้ํ สาํ รองเพอื่ ใชในฟารมตลอดท้ังป
4. วางแผนดานการตลาด ทั้งตลาดภายใน ไดแก ตลาดไท และตลาด

ภายนอก เชน เวียดนาม ลาว เขมร
5. ผสมพันธุมะนาวระหวางพันธุไตหวันกับพันธุทูลเกลาไดผลมะนาว

แลว นําเมลด็ ไปปลูกไดส ายพนั ธุใ หม ต้งั ชอ่ื วา “มะนาวพนั ธหุ อมแปดรว้ิ ”
มีคุณสมบัติใหผลผลิตสูง ลูกใหญ เปลือกบาง นํ้าเยอะ รสชาติดี
มกี ลน่ิ หอม ใหผ ลผลติ เรว็ เกบ็ ไดน าน
6. นาํ เทคโนโลยีตา ง ๆ มาใชในฟารม และคดิ คนอปุ กรณการตอนกง่ิ มะนาว
เชน การใชวัสดุ (พลาสติกสีดําคลุมแปลงกําจัดวัชพืช) ประดิษฐมีด
ตอนกง่ิ มะนาว
7. แปรรูปผลผลิต เชน ทําน้ํามะนาวพรอมด่ืม ทํามะนาวดอง ขายตลาด
ทอ งถิ่นและตา งจังหวัด
8. ขายกง่ิ พนั ธมุ ะนาวพรอ มกบั รับปลูก และดแู ลใหคําแนะนาํ ทั่วประเทศ
9. จัดทาํ บัญชคี รัวเรือน และบญั ชฟี ารม
ภาพกิจกรรมแปลง นายทองพูล โฉมสะอาด

142 กรมสงเสรมิ การเกษตร

นายสมพร ดาวลอย

เกษตรกรดเี ดน ระดบั เขต
สาขาอาชีพไรน าสวนผสม ประจําป 2561
ท่ีอยู : บานเลขที่ 50 หมทู ี่ 1

ตําบลส่คี ลอง อาํ เภอเมืองลพบรุ ี
จงั หวดั ลพบรุ ี
โทรศัพท : 08 6122 1982

พ้นื ทกี่ ารเกษตร
พ้ืนที่ของตนเองทั้งหมด 105 ไร ดาํ เนินกจิ กรรมการเกษตร ดังนี้
1. ปลูกขา ว จํานวน 91 ไร
2. ปลกู พชื ผสมผสาน จํานวน 11 ไร 1 งาน ไดแก
พริกขี้หนูสวน จํานวน 2 งาน
ไผลมื แลง จํานวน 2 ไร
ชะอม จํานวน 1 ไร
กลวย จํานวน 2 ไร
มะนาว จํานวน 20 ตน
มะละกอ (ฮอลแลนด) /แขกดํา จาํ นวน 2 ไร
พุทรานมสด จาํ นวน 1 ไร 2 งาน
ตะไคร จํานวน 2 ไร
ผักสวนครัว จํานวน 1 งาน
3. ท่ีอยอู าศัย เลย้ี งสตั ว และทําประมง จํานวน 2 ไร 1 งาน
เลย้ี งไกไ ข จํานวน 150 ตัว
เล้ียงเปด จาํ นวน 6 ตัว
เลยี้ งหานขาว จํานวน 6 ตัว
เล้ยี งปลา (ปลานลิ , ปลาตะเพยี น และปลาสวาย) ในพน้ื ท่ี 1 ไร

ถอดบทเรียนเกษตรกราดรปีเดอนงกสนั ากขาํ าจอดั าโชรพี คไแรนลาะแสมวนลผงศสตัมรปูมรนั ะจสําปะ2ห5ล6งั 1 153

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง

รปู แบบแผนผงั ฟารม นายสมพร ดาวลอย

พริกข้ีหนสู วน

กลว ย มะละกอ นาขาว
ชะอม

ผักกางมุง พุทรานมสด

ตะไคร ปยุ อนิ ทรยี  คอกหม/ู เลาไก
มะนาว ผักสวนครัว
นาขาว

กลวย มะเขอื ไผลมื แลง เลา เปด/เลา หาน
บอเล้ยี งปลา

จดุ เริ่มตนสูการเปล่ยี นแปลงและการแกไขปญ หา
มีพ้ืนฐานทางครอบครัวดานอาชีพเกษตรกรรมจึงประกอบอาชีพทําการเกษตร

ตั้งแตรุนบรรพบุรุษ โดยมีพื้นท่ีทํากินเปนของตนเองท้ังหมด 105 ไร (ทํานา)
ตั้งแต ป พ.ศ. 2505 – 2556 และมีการปรับเปล่ียนแนวคิด เน่ืองจากมีปญหาราคา
ขาวตกต่ํา ดานภัยธรรมชาติ (นํ้าทวม) และตองการลดรายจายในครัวเรือน จึงสนใจ
ที่จะปลูกพืชใหมีความหลากหลายมากข้ึน โดยดําเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
มาเปนระยะเวลา 20 ป มีการผลิตที่พึ่งตนเองดวยวิธีงาย ๆ คอยเปนคอยไปตามกําลัง
ใหพอมีพอกินกอนแลวคอยขยายข้ึน ดวยความรอบคอบและระมัดระวัง มีการผลิตขาว
ไวบรโิ ภคพอเพียงตลอดป มีการปลูกพชื ผัก และเล้ยี งสัตวท่จี าํ เปน

144 กรมสงเสรมิ การเกษตร

กระบวนการดาํ เนนิ งาน / ข้นั ตอนการดาํ เนินงานสูการพฒั นา
แนวคิด/หลกั การทํางาน : เหลือกินหรือใช ก็แจกจา ยใหก ับเพอ่ื นบา น

ถามเี ยอะมากจึงเรมิ่ ขาย
แนวทางการดาํ เนนิ งาน

1. วางแผนการผลิตพชื และกิจกรรมตา ง ๆ ของฟารม
2. มีการบรหิ ารจัดการนาํ้ ใหเพยี งพอตอการผลติ
3. ใชวัสดุจากสวนเพ่ือทําน้ําหมักหนอกลวยและหัวปลีสําหรับปรับปรุงดิน

และทาํ น้ําหมัก พด. 7 รวมกับสมนุ ไพรในสวนเพ่ือหมกั สารกําจัดแมลง
4. ใชเปลือกถั่วและฟางขาวท่ีเหลือจากแปลงนาสําหรับเปนวัสดุในการ

ทาํ ปุย หมกั
5. นําผลผลติ เกษตรท่ีไดม าทําสินคาแปรรูป เชน กลว ยอบเนย หนอไมดอง

เคก กลว ยหอม เปนตน
6. เทคนิคพิเศษสําหรับการปลูกตะไคร ใชวิธีปลูกแบบดํานา เมื่อตะไคร

ครบ 6 เดอื น จะเรม่ิ ตดั รอบแรกได เทคนคิ นจ้ี ะแตกตา งจากคนอน่ื ทาํ ให
สามารถเกบ็ ผลผลติ ไดถ งึ 3 ครง้ั วธิ กี ารตดั ตน ตะไคร คอื ตอ งตดั ตน ตะไคร
ใหเ สมอกับดิน เพ่อื ใหต น แตกกอไดอ กี ครงั้ จึงทําใหเกบ็ ไดห ลายรอบ
7. มอี าหารที่ปลอดภยั ไวบ ริโภคในครวั เรือน สุขภาพดีขน้ึ
8. จดั ทาํ บญั ชคี รัวเรือน และบัญชฟี ารม
ภาพกจิ กรรมแปลง นายสมพร ดาวลอย

155

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง

นายอาํ นวย ศรสี ขุ

เกษตรกรดเี ดนระดบั เขต
สาขาอาชีพไรนาสวนผสม ประจําป 2561
ทอ่ี ยู : บานเลขท่ี 13 หมูที่ 6

ตาํ บลหนองบอ อาํ เภอสองพนี่ อ ง
จังหวดั สพุ รรณบุรี
โทรศพั ท : 06 5640 2079
พ้ืนที่การเกษตร
พื้นทข่ี องตนเอง 23 ไร พืน้ ท่เี ชา 23 ไร แบงพน้ื ทเี่ ปน 4 สว น
สวนที่ 1 ปลูกขา ว จํานวน 3 ไร
สวนท่ี 2 ปลูกพชื ผสมผสาน จาํ นวน 9 ไร ไดแก ไมผล (กลว ยน้ําวา
กลว ยหอม มะมวง มะพรา ว), ผกั สวนครัวผักพนื้ บา น สมุนไพร, ไมใชสอย (ยคู าลปิ ตัส)
พชื อาหารสัตว (หญา แฝก หญาเปยร มันสําปะหลัง)
สวนที่ 3 ขุดสระเก็บน้ํา/เลี้ยงปลา จํานวน 4 ไร 5 สระ ขนาดกวาง
15 เมตร ยาว 30 เมตร และสงู 1.5 เมตร เล้ยี งปลา (ปลานลิ ปลาบึก ปลาตะเพยี น
ปลาสลิด ปลาแรด ปลาทับทิม), ปลาสวยงาม (ปลาคารฟ ปลากัด), กบ, กุงฝอย
กงุ กามกราม
สว นที่ 4 พ้ืนทีพ่ กั อาศยั อาคาร และเลย้ี งสตั ว จาํ นวน 7 ไร เลย้ี งหมูขุน,
ไกไ ข, หาน และไกแ จ

146 กรมสง เสริมการเกษตร

รปู แบบแผนผงั ฟารม นายอํานวย ศรสี ขุ แปลงพชื ผสมผสาน 4.2 ไร
ปลบาสอลิด
มะมวง/กลวย/ผัก

บอกุงฝอย-กามกราม บอปลากดเหลือง

แปลงพืชผสมผสาน 4 ไร บอปลานิล-ปลาตะเพียน นาขา ว 3 ไร
บอ ปลาคารฟ แปลงผัก

อาคาร 4 ไร บอปลาแรด-ปลาทับทิม
แปลงผัก
บอน้ําหมัก

อาคารไบโอดเี ซล
ทอ่ี ยอู าศยั 3 ไร

จุดเรมิ่ ตน สกู ารเปลยี่ นแปลงและการแกไ ขปญหา

เร่ิมตนอาชีพดานการเกษตรจากการปลูกพืชเชิงเดี่ยว โดยทํานาสลับกับ
ทําไรออย ซ่ึงในแตละปจะดูจากราคาของผลผลิตนั้น ๆ ถาปไหนราคาขาวดีก็จะทํานา
ปไหนราคาออยดีก็จะทําออย ตอเน่ืองเร่ือยมาจนถึงระยะหนึ่งประสบกับปญหาราคา
ผลผลิตตกตํ่า ตนทุนการผลิตสูงข้ึน และดินเสื่อมสภาพ ประกอบกับเมื่อป 2542
ไดรับการเลือกต้ังใหเปนผูใหญบาน และไดรับการอบรมจากหนวยงานตาง ๆ เก่ียวกับ
หลักเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม และไดเห็นผลสําเร็จของการนอมนํา
แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช ซงึ่ เปนสิ่งทจี่ ุดประกายใหต นเองเกิดความคิด
ในการปรับเปล่ียนการทําการเกษตร และเปนจุดเริ่มใหตนเองหันมาทําการเกษตร
แบบผสมผสานจนถึงปจจบุ นั

ถอดบทเรยี นเกษตรกราดรปีเดอนงกสนั ากขําาจอดั าโชรพี คไแรนลาะแสมวนลผงศสัตมรปมู รันะจสาํ ปะ2ห5ล6งั 1 157

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง

กระบวนการดาํ เนินงาน / ขนั้ ตอนการดาํ เนนิ งานสูก ารพัฒนา
แนวคิด / หลกั การทาํ งาน : ยึดหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง
แนวทางการดําเนนิ งาน

1. บรหิ ารจดั การทรพั ยากรดนิ และนา้ํ ทม่ี อี ยอู ยา งจาํ กดั ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ
2. มีการขุดคสู งนํ้าไปยังพน้ื ทีท่ ่ีทําการเกษตรอยา งทั่วถงึ
3. ลดการใชสารเคมีโดยการใชปุยนาํ หมกั
4. ใชเครื่องปมน้ําดูดปุยนํ้าหมักจากบอน้ําหมักเขามาไวในถังพัก และ

กระจายออกตามแนวทอ นํา้ ท่ีวางไว
5. มกี ารวางแผนการผลิตเพ่อื ใหสอดคลอ งกบั ความตองการของตลาด
6. มกี ารจดั การฟารม มกี ารวางตาํ แหนง ของแตล ะกจิ กรรมใหม คี วามตอ เนอื่ ง

และสอดคลองกัน มีประโยชนเกื้อกูลกนั
ภาพกิจกรรมแปลง นายอาํ นวย ศรีสุข

148 กรมสงเสรมิ การเกษตร

นายวิริยะ แสนอนุ

เกษตรกรดีเดน ระดบั เขต
สาขาอาชีพไรนาสวนผสม ประจําป 2561
ท่อี ยู : บานเลขที่ 98 หมูท่ี 12

ตาํ บลบา นเวยี ง อาํ เภอรอ งกวาง
จังหวดั แพร
โทรศพั ท : 08 6132 1460
พ้ืนทกี่ ารเกษตร
พน้ื ท่กี ารเกษตร พ้นื ทขี่ องตนเอง 9 ไร พนื้ ทเี่ ชา 23 ไร แบงพ้ืนท่เี ปน 4 สวน
สว นท่ี 1 ปลกู ขาว จํานวน 4 ไร
สวนที่ 2 ปลูกพืชผสมผสาน จํานวน 3.5 ไร ไดแก ไมผล ไมยืนตน
พืชไรและพืชผัก เชน มะนาว มะมวง ลําไย หนอไม พืชผัก ฯลฯ ไมใชสอย
เชน สัก เปน ตน
สว นที่ 3 ขุดสระนํ้า ทําเปนแหลงกักเก็บนํ้า และเล้ียงปลา กุงฝอย
จาํ นวน 1.5 ไร
สวนที่ 4 พืน้ ทพี่ ักอาศัย และเล้ียงสัตว เชน ไก จาํ นวน 1 ไร

ถอดบทเรียนเกษตรกราดรปีเดอนงกสนั ากขําาจอัดาโชรีพคไแรนลาะแสมวนลผงศสัตมรปูมรนั ะจสาํ ปะ2ห5ล6งั 1 159

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง

รูปแบบแผนผังฟารม นายวริ ิยะ แสนอนุ

แปลงปลูกพืชผัก

สระน้ํา/เลี้ยงปลา มะนาว นาขาว
หองน้ํา โรงเลี้ยงไก

สระน้ํา/เลี้ยงปลา

ไมผลตางๆ นาขาว

จุดเรมิ่ ตน สูก ารเปลย่ี นแปลงและการแกไ ขปญ หา
เริ่มสนใจในอาชีพการเกษตรต้ังแตเด็ก ๆ ศึกษาหาความรูเร่ืองเศรษฐกิจ

พอเพียงกับหนวยงานตาง ๆ และศึกษาดูงานโครงการชั่งหัวมันตามแนวพระราชดําริ
เริม่ ดาํ เนนิ การปรับพืน้ ท่วี างระบบการปลกู พชื ไดแก ปลูกมะมว ง ลาํ ไย สะเดา มะขาม
พืชผัก ปลูกมะนาวแบบแกลงดิน ทํามะนาวนอกฤดูกาลพันธุตาฮิติ จนสามารถทําให
มีรายไดเปนรายวัน รายสัปดาห รายเดือน และรายป ในป 2559 สมัครเขารวม
โครงการ young smart farmer เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต การบริหารจัดการ
และการตลาดสินคาเกษตรไดอยางมืออาชีพ การเช่ือมโยงเครือขายเกษตรกรรุนใหม
เพอ่ื พัฒนาสูการเปนผปู ระกอบการมอื อาชีพ

240 กรมสง เสริมการเกษตร

กระบวนการดาํ เนินงาน / ขนั้ ตอนการดําเนนิ งานสกู ารพฒั นา
แนวคดิ / หลักการทาํ งาน : ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง
แนวทางการดาํ เนนิ งาน

1. นําเทคโนโลยีมาปรับใชในพื้นที่การเกษตร ปรับสภาพดิน เพ่ือใหดิน
มีความอดุ มสมบรู ณ

2. ดาํ เนินกิจกรรมที่ไมท ําลายสิ่งแวดลอม เชน การนาํ เศษวชั พืช เศษใบไมแ หง
มาทาํ เปน ปยุ หมกั และนาํ้ หมักชวี ภาพ

3. ไถกลบตอซังแทนการเผา เปน การไมท ําลายจุลินทรยี ในดนิ ธาตุอาหารในดนิ
4. การนําเศษวัชพืช ฟางขาว เปลือกขาวโพด มาคลุมดิน โคนตนไมผล

คลมุ แปลงผัก เพ่ือรกั ษาความชมุ ชืน้ และทาํ ใหเกิดสิ่งมชี ีวติ ในดนิ
5. การสนับสนุนใหเยาวชนในชุมชนเขามาทํากิจกรรมการเกษตรในพ้ืนที่

ของตนเอง
6. มีการวางแผนการผลิตของตนเองใหผลผลิตออกสูตลาดไดตลอดท้ังป

โดยเฉพาะชว งนอกฤดกู าลเพ่อื ใหผ ลผลติ มรี าคาดี
7. ลดการผกู ขาดดา นราคาจากพอ คา คนกลางโดยการนาํ สนิ คา ทผ่ี ลติ ไดภ ายในสวน

นําไปจําหนายเองในตลาดทั้งในตลาดภายในชุมชนและนอกชมุ ชน
8. กระจายความเส่ียง โดยการปลูกพืชท่ีสามารถใหผลผลิตทั้งในระยะส้ัน

และระยะยาว
9. มกี ารจดบันทึกบัญชคี รัวเรือน และบญั ชีฟารม
10. เปนจุดสาธิตใหความรูเก่ียวกับการทําการเกษตรแบบผสมผสานและยังเปน

แหลงสาธติ ประจาํ อําเภอ
ภาพกจิ กรรมแปลง นายวริ ยิ ะ แสนอนุ

251

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง

นางสมพาน ผวิ ละออง

เกษตรกรดเี ดน ระดบั เขต
สาขาอาชีพไรน าสวนผสม ประจําป 2561
ทอี่ ยู : บานเลขที่ 298 หมูท่ี 20

ตาํ บลโสน อําเภอขุขนั ธ
จงั หวัดศรสี ะเกษ
โทรศัพท : 08 6878 5189

พื้นที่การเกษตร
พน้ื ท่ีของตนเอง 11 ไร ดาํ เนนิ กจิ กรรมการเกษตร ดังน้ี
1. การทํานา จํานวน 3 ไร ไดผ ลผลติ เฉล่ียปละ 400 กก./ไร
2. ทอี่ ยอู าศัย ทําประมง และปศสุ ัตว ในพนื้ ที่ จํานวน 3 ไร
มีบอ ปลานลิ ปลาตะเพยี น และปลาสวาย จํานวน 1 บอ
มปี ลาธรรมชาติ เชน ปลาดุกอยุ ปลาชอ น ฯลฯ จํานวน 2 บอ
มปี ลาหมอเทศ และปลาดุก จาํ นวน 1 บอ
มีววั พนั ธุพ น้ื เมืองและพนั ธผุ สม จาํ นวน 9 ตวั
เล้ียงเปดและไกพืน้ เมอื ง
เลี้ยงกบ จํานวน 1 บอ
3. การปลกู ไมยนื ตน หรือไมผล
ตน ยางนา จํานวน 200 ตน
ตนสักทอง จํานวน 30 ตน
ตน ตะกู จํานวน 50 ตน
หมาก จํานวน 600 ตน
มะมวง จํานวน 50 ตน
สม โอ จํานวน 20 ตน
ฝรั่ง จาํ นวน 30 ตน
กลวยหอมทองและกลว ยนํา้ วา จาํ นวน 200 ตน
ไผต ง และไผเลีย้ งหวาน จํานวน 20 กอ

242 กรมสงเสริมการเกษตร

รปู แบบแผนผังฟารม นางสมพาน ผิวละออง

หมาก/ยางนา/ตะกู มะพราว นาขาว นาขาว
เพาะเห็ด/ยางนา/ตะกู/มะมวง ยางนา/หวาย/ตะกู

ขาวโพด/ถั่วเขียว บอปลา

โรงเพาะเหด็

กลวย/นาขาว

กลว ย ชะอม

ไผ/ กระทอ น

คอกวัว/คอกหมู มะมว ง/สมุนไพร
เลาเปด/เลาไก
มะมวง เรือนเพาะชํา
หมาก แกนตะวัน
สม โอ/มะกอกน้าํ ฝรง่ั /มะมวง
พรกิ /มะเขือ
ผักสลัด ผกั สลัด มะนาว ชะอม
สมโอ ผักสลัด
มะนาว/มะดัน ฝรงั่ /มะมวง

หมาก ฝรง่ั /มะนาว/มะมว ง

จุดเรมิ่ ตนสูการเปลย่ี นแปลงและการแกไขปญ หา

เปนผูที่มีความขยันและอดทนสูงในการประกอบอาชีพ มีความพยายาม
ที่จะสรางความมั่นคงใหครอบครัวเปนพ้ืนฐานที่ดีไวใหลูก ๆ สืบทอดตอไป ป 2531
เร่ิมทําอาชีพการเกษตรปลูกพืชเชิงเดี่ยว ทําแบบลองผิดลองถูกประสบปญหาตาง ๆ
มากมาย เชน รายจายมากกวารายรับ ปญหาภัยธรรมชาติ ปญหาสารเคมีตกคาง
ในไรนาสงผลใหเกิดความเจ็บปวย ป พ.ศ. 2542 ตัดสินใจทําไรนาสวนผสม พ้ืนท่ี
จํานวน 11 ไร มาทําเกษตรแบบผสมผสาน มีการจัดสรรที่ดินท่ีมีอยูเพ่ือปลูกพืช
เล้ียงสัตว โดยไดนอมนําเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่ทรงมีพระราชดํารัสชี้แนะแนวทาง
การดาํ เนินชีวติ มาเปนแนวทางปฏิบัติ

ถอดบทเรยี นเกษตรกกราดรปีเดอนงกสนั ากขําาจอดั าโชรพี คไแรนลาะแสมวนลผงศสัตมรปมู รนั ะจสําําปปะ2ห5ล6งั 1 253

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง

กระบวนการดาํ เนนิ งาน / ขั้นตอนการดาํ เนินงานสกู ารพฒั นา
แนวคิด / หลักการทาํ งาน : ยึดหลกั เศรษฐกิจพอเพียง
แนวทางการดําเนนิ งาน

1. ขายผลผลิตในสวนเพ่ือใหมีรายได รายวัน รายเดือน และรายป
สามารถสรา งความม่นั คงและย่ังยนื ในอาชพี

2. สามารถผลติ อาหารท่ปี ลอดภยั ไวบรโิ ภคในครวั เรือนอยา งพอเพียง
3. ใชประโยชนจากทรัพยากรท่ีมีอยูอยางคุมคา เชน ปุยคอก ปุยอินทรีย

และน้าํ หมกั ชีวภาพทที่ าํ เอง เปนตน
4. ปลูกถัว่ เขียว ถวั่ พรา และปอเทือง พืชคลุมดนิ หลังฤดเู ก็บเกีย่ วขา วเสรจ็

เพ่ือรกั ษาความอดุ มสมบรู ณในดนิ
5. เลี้ยงไกพื้นเมืองในสวนผลไม เพื่อใหไกกินหญาเปนอาหารและชวยกําจัด

วชั พืชและแมลงศัตรพู ืชในสวน รวมทั้งมลู ไกย งั เปนปยุ ใหก ับไมผ ล
5. ลด เลิกการใชสารเคมีตา ง ๆ
6. จัดทําบัญชีครัวเรอื น และบญั ชฟี ารม
7. ปลกู ไมย นื ตนเพอื่ อนุรกั ษแ ละเปน ไมใชส อย
ภาพกิจกรรมแปลง นางสมพาน ผิวละออง

244 กรมสงเสริมการเกษตร

นายพิชิต ชมู ณี

เกษตรกรดเี ดนระดบั เขต
สาขาอาชพี ไรน าสวนผสม ประจาํ ป 2561
ทอี่ ยู : บานเลขที่ 223 หมทู ี่ 9

ตําบลปกาสยั อําเภอเหนอื คลอง
จังหวัดกระบ่ี
โทรศัพท : 08 1958 9566

พ้นื ทีก่ ารเกษตร

พื้นทข่ี องตนเอง 12 ไร ดาํ เนินกจิ กรรมตาง ๆ ดงั นี้
1. นาขาว จํานวน 3 ไร
2. แหลง นา้ํ สระกักเกบ็ นาํ้ จํานวน 2 ไร
บอ นาํ้ ตืน้ (กวาง 1 เมตร ลกึ 7 เมตร) จาํ นวน 3 บอ
3. พืชผัก จํานวน 1 ไร
4. ไมผล พืชสมนุ ไพรและเล้ยี งสตั ว จาํ นวน 3 ไร
5. ทอ่ี ยอู าศัย จาํ นวน 1 ไร

รูปแบบแผนผังฟารม นายพชิ ติ ชมู ณี สระนํา้ /เลยี้ งปลา

โรงผกั กางมุง พลังงานบา นทุง/โรงปยุ โรงผักกางมุง
โรงสีขาว
บา นดนิ

บานดนิ

รานคา พอเพียง โรงผกั กางมุง
ผกั สวนครัว/สมุนไพร

บา นดิน

ไมผ ล

ศนู ยการเรยี นรู

บอปลาดกุ

ศนู ยเ รียนรูเ ศรษฐกจิ พอเพียง บานดนิ สระน้ํา/เลยี้ งปลา
ชมุ ชนบานเกาะไทร
สระน้าํ /เลย้ี งปลา 255

ถอดบทเรียนเกษตรกราดรปเี ดอ นงกสันากขําาจอดั าโชรีพคไแรนลาะแสมวนลผงศสัตมรปมู รนั ะจสาํ ปะ2ห5ล6งั 1

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง

จดุ เริม่ ตน สกู ารเปล่ยี นแปลงและการแกไขปญหา
จบการศึกษาระดับประโยควิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาชางไฟฟากําลัง

ประกอบอาชีพเปดบริษัทรับเหมาติดต้ังระบบไฟฟาภายในอาคารและนอกอาคาร
ท่ีจังหวัดภูเก็ต ป 2540 เศรษฐกิจตกต่ําเกิดภาวะฟองสบูแตกกลับมาพัฒนาทําการ
เกษตรในพ้ืนที่ของตนเอง จํานวน 12 ไร แตเนื่องจากพื้นที่เปนนารางสภาพดินเปน
ดินเหนียวปนลูกรัง ไมเหมาะสําหรับการทําการเกษตร ตองอาศัยน้ําฝนเพียงอยางเดียว
ศึกษาหาความรูดวยตนเอง จากเอกสารวิชาการและจากเจาหนาท่ีหนวยงานราชการ
จึงไดใชหลักคิดนอมนําพระราชดําริพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช
บรมนาถบพิตร ในการทําไรนาสวนผสม เกษตรทฤษฎีใหม ตามหลักของปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง มาทําไรนาสวนผสมอยางจริงจัง เร่ิมวางแผนการผลิต พ้ืนท่ี
จํานวน 12 ไร แบงพื้นท่ีออกเปนสัดสวนตามเกษตรทฤษฏีใหม คือ 30:30:30:10
โดยแบงพ้ืนท่ี ทํานาขาวคุณธรรม ผักคุณธรรม และพืชสมุนไพร สวนผลไม
เชน มะนาว ไผหวาน มะละกอ และเลี้ยงปลา เล้ียงเตาเพื่อการอนุรักษ เล้ียงไก
เพ่ือบริโภคในครัวเรือน ผลิตสารไลแมลงใชเองในสวน มีการจัดระบบการปลูกขาว
การปลกู พชื การเลีย้ งสัตว การทําประมง แบบครบวงจรในไรนาสวนผสม
กระบวนการดาํ เนนิ งาน / ขัน้ ตอนการดําเนินงานสูการพฒั นา
แนวคดิ / หลกั การทาํ งาน : คิด ทํา สําเรจ็ บอกตอ และ เกดิ มาทงั้ ที เอาดใี หได

ตายไปท้งั ที ขอฝากความดเี อาไวใ หแผน ดนิ
แนวทางการดาํ เนินงาน

1. ศึกษาหาความรู
2. คิดคนรูปแบบและขนาดของโรงเรือนปลูกผักกางมุง สามารถควบคุม

ตนทุนในการสรางโรงเรอื นผกั กางมงุ ใหต ่าํ กวา โรงเรอื นแบบไฮโดรโปนกิ ส
3. การทาํ ปลาสม (ปลานิล, ปลาตะเพยี น) ปลาดุกรา ขายในชมุ ชน
4. ขยายพนั ธุด วยการตอนกิ่งมะนาว
5. ปลูกไมในกระถางไวแ จกและจําหนาย
6. ขายผกั คณุ ธรรม โดยไมผานพอคา คนกลาง
7. ปลูกขา ว สีขา วไวก ินเอง

246 กรมสงเสริมการเกษตร

8. นําเศษอาหารที่เหลือใชในครัวเรือน มาทําแกสหุงตม เปนพลังงาน
ในครัวเรอื น

9. นาํ เศษผักและผลไม มาทําปุยหมักนํา้ ใชแจกแกช ุมชนและไวใชเอง
10. นํามลู สัตวและแกลบมาทาํ เปนปุยหมักชีวภาพ เพอ่ื ใชเ องและจําหนา ย
11. นาํ เศษหญามาทําปยุ
12. นําสับปะรดมาหมักเพ่ือทําผลิตภัณฑทําความสะอาดอเนกประสงค

เชน ลางจาน ซกั ผา
ภาพกจิ กรรมแปลงของ นายพิชิต ชูมณี

ถอดบทเรยี นเกษตรกราดรปีเดอนงกสนั ากขําาจอดั าโชรีพคไแรนลาะแสมวนลผงศสตัมรปูมรันะจสําปะ2ห5ล6ัง1 257

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง

นายชาญ ม่นั ฤทธ์ิ

เกษตรกรดีเดน ระดบั เขต
สาขาอาชีพไรนาสวนผสม ประจาํ ป 2561
ทีอ่ ยู : บา นเลขท่ี 100 หมูท่ี 5

ตาํ บลหนองแขม อาํ เภอพรหมพริ าม
จังหวดั พิษณโุ ลก
โทรศัพท : 08 9708 3633

พน้ื ท่กี ารเกษตร

พน้ื ท่ีของตนเอง จํานวน 15 ไร แบงทํากิจกรรมการเกษตร ดงั น้ี
1. ทํานาปลกู ขาว จํานวน 9 ไร
2. ทําไรน าสวนผสม จํานวน 6 ไร ประกอบดว ย
ปลูกพชื ผักสวนครวั ไดแ ก ชะอม ตะไคร มะเขือ ถั่วฝก ยาว
- ชะอม จํานวน 2,000 ตน จาํ นวน 2 ไร
- ตะไคร จาํ นวน 2,000 ตน จาํ นวน 2 งาน
เลย้ี งปลา จํานวน 3 บอ ไดแก ปลานลิ ปลาดกุ ปลาหมอ
เล้ยี งกบ จํานวน 2 กระชงั

รูปแบบแผนผงั ฟารม นายชาญ มน่ั ฤทธ์ิ

บอปลา สวนชะอม

บอปลา

กอไผ บอกบ
มะพราว/มะขาม กลวยหอมมะทเขอือง/ตะไคร/

ถั่วฝกยาว บอ ปลา ตะไคร

โรงเรือน มะนาว/ตะไคร

248 กรมสงเสรมิ การเกษตร

จุดเรม่ิ ตน สกู ารเปลย่ี นแปลงและการแกไขปญ หา
เดิมประกอบอาชีพทํานาเพียงอยางเดียวเปนหนี้สินตลอดเวลา คาปุยเคมี

คายาเคมี คาปจจัยการทํานา ตอมาไดรับความรูจากเจาหนาท่ีการสงเสริมการเกษตร
เรอ่ื งเกษตรทฤษฎใี หมแ ละหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร
มหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร จึงเริม่ นาํ มาปรับใชแ ละพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
กระบวนการดําเนนิ งาน / ข้นั ตอนการดาํ เนนิ งานสูก ารพัฒนา
แนวคิด / หลักการทํางาน : อยูดีกินดีดวยวิถีพ่ึงตนเองตามรอยพระราชดําริ

เกษตรทฤษฎใี หม เศรษฐกจิ พอเพยี ง ดว ยการพง่ึ ตนเอง
ปลูกทุกอยางท่ีกินและกินทุกอยางท่ีปลูก ลดรายจาย
และเพม่ิ รายไดใ หค รอบครวั
แนวทางการดําเนนิ งาน
1. ตอ งการลดความเสีย่ งจากการประกอบอาชีพ
2. ศึกษาหาความรูจากอินเตอรเน็ต อานหนังสือ และศึกษาดูงาน
เพื่อพัฒนาอาชพี
3. วางแผนจดั ระบบการปลกู พชื เพอ่ื ใหม รี ายไดร ายวนั รายสปั ดาห รายเดอื น
รายป โดยกําหนดปฏทิ ินในการปลกู พชื เล้ยี งปลา เล้ยี งสัตว (หาน)
4. นําเทคโนโลยีมาประยุกตใช เชน การทําจุลินทรียสังเคราะหแสง,
ฮอรโ มนเรง ดอก
5. วางแผนการตลาดจาํ หนา ยผลผลติ ใหก ลมุ ผลติ นา้ํ พรกิ ในอาํ เภอพรหมพริ าม
ชุมชนใกลเ คยี ง แมคาตลาดนัด และประชาชนทั่วไป
6. จดั ทําแผนผงั ฟารม เพ่ือความสะดวกในการปฏิบตั ิงาน
7. จดบันทึกบญั ชีครัวเรอื น และบญั ชีฟารม
ภาพกจิ กรรมแปลงของ นายชาญ มน่ั ฤทธ์ิ

ถอดบทเรียนเกษตรกราดรปเี ดอ นงกสนั ากขาํ าจอัดาโชรีพคไแรนลาะแสมวนลผงศสตัมรปมู รันะจสาํ ปะ2ห5ล6ัง1 259

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง

เอกสารคาํ แนะนําท่ี 5/2562

ถอดบทเรียนเกษตรกรดเี ดน สาขาอาชีพไรนาสวนผสม ประจําป 2561

ท่ีปรึกษา อธบิ ดีกรมสง เสริมการเกษตร
รองอธิบดกี รมสงเสริมการเกษตร
นายสาํ ราญ สาราบรรณ รองอธิบดกี รมสงเสริมการเกษตร
วาทรี่ อยตรี ดร.สมสวย ปญ ญาสิทธิ์ ผูอํานวยการสํานกั พฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี
นางดาเรศร กติ ตโิ ยภาส ผูอ าํ นวยการกองวิจยั และพัฒนางานสงเสริมการเกษตร
นางอญั ชลี สุวจติ ตานนท
นางวฒุ ินัย ยุวนานนท

เรียบเรียง ผอู ํานวยการกลุมจัดการฟารมและเกษตรกรรมยง่ั ยนื
นกั วิชาการสง เสรมิ การเกษตรชํานาญการพิเศษ
นางสมคิด นุมปราณี นกั วชิ าการสง เสริมการเกษตรชาํ นาญการ
นางเนตรนรศิ ผดงุ ศลิ ป นักวิชาการสง เสริมการเกษตรชํานาญการ
นางสาวพิมประภา สินค้ําคณู นกั วิชาการสงเสรมิ การเกษตรปฏิบัติการ
นางสาวเสาวณิต เทพมงคล นกั วิชาการสงเสรมิ การเกษตรปฏิบัตกิ าร
นางสาวพีรชา มณชี าติ นักวิชาการสงเสริมการเกษตร
นางสาวรตั นาภรณ นพพูน
นางสาวอารียว รรณ เหลอื งทอง
กลุมจดั การฟารม และเกษตรกรรมยง่ั ยนื
กองวจิ ัยและพัฒนางานสง เสริมการเกษตร
กรมสง เสรมิ การเกษตร

บรรณาธิการ ผูอ าํ นวยการกลมุ พัฒนาส่อื สงเสริมการเกษตร
นกั วชิ าการเผยแพรชาํ นาญการ
นางรุจพิ ร จารพุ งศ
นางสาวอําไพพงษ เกาะเทยี น
กลมุ พัฒนาสื่อสงเสริมการเกษตร
สํานกั พัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี
กรมสงเสรมิ การเกษตร

ออกแบบ

กลมุ โรงพิมพ สํานักพฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

www.doae.go.th

การปองกนั กําจดั โรคและแมลงศัตรมู ันสําปะหลงั 5

เอกสารคาํ แนะนําที่ 5/2562

ถอดบทเรยี นเกษตรกรดเี ดน สาขาอาชพี ไรน าสวนผสม ประจาํ ป 2561

พมิ พค ร้ังที่ 1 : จาํ นวน 5,000 เลม มนี าคม พ.ศ. 2562
พิมพท่ี : กลมุ โรงพมิ พ สํานักพฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี
จดั พิมพ : กรมสง เสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ




Click to View FlipBook Version