The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โรค-แมลงศัตรูไม้ผลและการป้องกันกำจัด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

โรค-แมลงศัตรูไม้ผลและการป้องกันกำจัด

โรค-แมลงศัตรูไม้ผลและการป้องกันกำจัด

Keywords: ไม้ผล,ศัตรู,ป้องกันกำจัด

สารบัญ

หน้า หน้า หนา้
41
กล้วย ปาล์มน�้ำมนั มงั คดุ 43
โรคตายพรายกลว้ ย 1 โรคทะลายเน่าปาลม์ น�ำ้ มัน 23 โรคใบจุดมงั คุด 45
กาแฟ เพลี้ยไฟมังคุด 49
มอดเจาะผลกาแฟ 3 มะพรา้ ว 25 ยางพารา 51
เงาะ 5 ด้วงแรดมะพร้าว 53
7 แมลงด�ำหนามมะพร้าว 27 โรครากขาว 55
โรคใบจดุ สาหรา่ ยเงาะ 9 หนอนรา่ นพาราซ่า 29 ลำ� ไย
โรคราแปง้ เงาะ 11 หนอนหัวด�ำมะพร้าว 31
หนอนเจาะขวั้ ผลเงาะ 13 โรคพมุ่ ไมก้ วาด
15 มะละกอ ลนิ้ จี่
ชา 17 โรคใบด่างจดุ วงแหวน 33 หนอนเจาะขัว้ ผลลนิ้ จี่
หนอนมว้ นใบชา สม้
มะม่วง 35 หนอนชอนใบส้ม
ทุเรยี น โรคแอนแทรกโนส 37 ส้มโอ
โรคใบจุดสาหรา่ ยทเุ รยี น เพลีย้ จกั จน่ั มะมว่ ง 39 โรคแคงเกอร์ส้มโอ
ดว้ งหนวดยาวเจาะล�ำต้นทุเรียน แมลงวันผลไม้
เพลีย้ ไก่แจท้ เุ รียน
หนอนเจาะผลทุเรยี น 19
หนอนเจาะเมลด็ ทเุ รียน 21

โรคตายพรายกลว้ ย

เชอ้ื สาเหตุ โรคตายพรายกลว้ ย
1โรค-แมลงศตั รูไมผ้ ล และการปอ้ งกันกำ� จัด
เชอ้ื รา Fusarium oxysporum f. sp. cubense
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
ลักษณะอาการ

ใบมีอาการขาดน�้ำ ใบอ่อนจะมีอาการเหลืองไหม้
หรือตายนึ่งและบิดเป็นคลื่น โคนใบแก่ด้านนอกมี
สีเหลืองซีด และผืนใบเปล่ียนเป็นสีน้�ำตาลโดยเร่ิมจาก
ขอบใบเข้าสูก่ ลางใบ และใบหกั พับภายใน 1 - 2 สัปดาห์
และยืนต้นตายในที่สุด เมื่อผ่าล�ำต้นจะพบเน้ือในเป็น
สีน�้ำตาลแดง กล้วยท่ีตกเครือแล้วจะเห่ียว ผลเล็กลีบ
หรือแก่ก่อนก�ำหนด ซึ่งท�ำให้ได้ผลผลิตท่ีไม่มีคุณภาพ

ส่วนใหญ่โรคนี้จะแสดงอาการหลังจากกล้วยตกปลีหรือติดผลแล้ว บางคร้ังอาจลามไปยัง
หน่อเลก็ ๆ ทเี่ กดิ ใหม่ด้วย

การปอ้ งกันและกำ� จดั

1. เลือกแหล่งปลูกที่ดินไม่เป็นกรดจัด มีการระบายน้�ำดี หรือปรับสภาพดินไม่ให้เป็น
กรดจัดโดยการใช้ปูนขาวใสด่ นิ

2. คัดเลอื กใช้หนอ่ พนั ธุก์ ล้วยจากแหลง่ ทปี่ ลอดโรค
3. เมื่อเกิดการระบาดของโรค ควรขุดต้นที่เป็นโรคท้ิงท้ังกอ และโรยปูนขาว

1 - 2 กโิ ลกรัมต่อหลมุ

2โรค-แมลงศตั รูไม้ผล และการป้องกันกำ� จัด
กรมส่งเสริมการเกษตร

มอดเจาะผลกาแฟ มอดเจาะผลกาแฟ
3โรค-แมลงศัตรูไมผ้ ล และการปอ้ งกนั กำ� จดั
ช่อื วทิ ยาศาสตร์
กรมส่งเสรมิ การเกษตร
Hypothenemus hampei (Ferris)

รปู ร่างลกั ษณะ

เป็นแมลงปีกแข็งสีด�ำขนาดเล็ก กว้าง 1 มิลลิเมตร
และยาว 2 มิลลิเมตร ท�ำความเสียหายให้กับผลกาแฟ
โดยการเจาะผลกาแฟเข้าไปกัดกินเนื้อผลกาแฟ และวางไข่
ขยายพันธุ์อยู่ภายในไดต้ ั้งแตผ่ ลกาแฟมขี นาด 0.5 เซนติเมตร
จนถงึ ระยะสกุ แก่ เมือ่ มีการเก็บเกย่ี วกาแฟ มอดท่ีอาศัยอยู่
ภายในผลจะตามไปท�ำลายได้ท่ีลานตาก นอกจากนี้มอด
ยังใช้ผลกาแฟที่หลงเหลือจากการเก็บเก่ียวเป็นแหล่งอาศัย
ข้ามฤดูด้วย

ลักษณะการทำ� ลาย

เมล็ดกาแฟมีรูจากการเข้าท�ำลายของมอดเจาะผลกาแฟมากกว่าหนึ่งรูขึ้นไป
ท�ำใหค้ ุณภาพและน�้ำหนักของเมลด็ กาแฟลดลง

การป้องกนั และก�ำจัด

1. เก็บผลกาแฟสุกหรือแห้งติดค้างบนก่ิง หรือร่วงหล่นใต้ทรงพุ่ม น�ำไปเผาท�ำลาย
นอกแปลง

2. ตดั แตง่ กงิ่ ตามค�ำแนะน�ำขา้ งต้น
3. หลีกเลย่ี งการตากผลกาแฟสุกบนพืน้ ดิน บรเิ วณสวนกาแฟและบริเวณใกล้เคียง
4. พน่ สารกำ� จัดแมลง เช่น ไตรอะโซฟอส อัตรา 40 มิลลลิ ิตร ตอ่ นำ�้ 20 ลติ ร
คารโ์ บซัลแฟน อตั รา 80 มลิ ลิลิตร ตอ่ น�ำ้ 20 ลิตร

4โรค-แมลงศตั รูไมผ้ ล และการป้องกนั กำ� จัด
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

โรคใบจุดสาหรา่ ยเงาะ

เชือ้ สาเหตุ โรคใบจุดสาหรา่ ยเงาะ
ลกั ษณะอาการ
เช้อื สาหร่ายสเี ขยี ว Cephaleuros virescens 5โรค-แมลงศัตรไู ม้ผล และการป้องกนั กำ� จัด

ลกั ษณะอาการ กรมสง่ เสริมการเกษตร

โรคนี้เกดิ ขึน้ ได้ท่ีใบและกง่ิ แต่ความเสยี หายเกิดข้ึนมาก
เมื่อเป็นท่ีกิ่ง อาการบนใบจะเห็นเป็นจุดหรือดวงสีเทาอ่อน
ปนเขียว ต่อมาจะเปลี่ยนเป็นสีแดงสนิมเหล็ก ลักษณะคล้าย
ก�ำมะหย่ี ท�ำให้ลดพื้นท่ีสังเคราะห์แสงของใบ อาการบนก่ิง
หรือล�ำต้น จะคล้ายกับอาการท่ีเกิดบนใบท�ำให้ผิวเปลือกเสีย
และอาจแตกร่อน เช้ือสามารถแพร่ระบาดโดยสปอร์ปลิวไป
ตามลม จะระบาดในฤดูฝน หรือในแหล่งท่ีมคี วามชุ่มชื้น

การป้องกันและก�ำจดั

1. ตัดกิ่งหรือใบที่มีอาการเผาท�ำลาย ถ้าพบอาการเป็นกับก่ิงใหญ่ อาจใช้สีทาทับ
บริเวณที่เปน็ โรค หรอื ใชป้ นู แดงทา

2. ถา้ ระบาดมาก พน่ สารป้องกนั กำ� จัดโรคพืช เชน่ คอปเปอร์ออกซีคลอไรด์

6โรค-แมลงศัตรไู ม้ผล และการป้องกันก�ำจัด
กรมส่งเสรมิ การเกษตร

โรคราแป้งเงาะ โรคราแปง้ เงาะ
ลกั ษณะอาการ
เชอ้ื สาเหตุ 7โรค-แมลงศัตรไู ม้ผล และการป้องกันกำ� จัด

เชอื้ รา Oidium nephelii กรมสง่ เสริมการเกษตร

ลักษณะอาการ

ราแป้งท�ำลายเงาะได้ทุกระยะการเจริญเติบโต
แต่อาการรุนแรงและความเสียหายเกิดท่ีผลอ่อน อาการ
ท่ีสงั เกตเห็นได้ คอื ใบอ่อน ชอ่ ดอก ผลอ่อน จะมผี งฝุน่ แป้ง
ปกคลุมอยู่ ท�ำให้ผลอ่อนร่วง ในระยะผลโต ถ้าเป็นโรคนี้
จะท�ำให้แลดูสกปรกและเกิดอาการเงาะขนเกรียนหรือ
กุดสั้น ขายไม่ได้ราคา มักระบาดในช่วงอากาศเย็นและชื้น
ราจะข้ึนปกคลุมผิวของพืชและสร้างอวัยวะคล้ายราก
แทงเข้าไปดูดกนิ นำ�้ เล้ียงภายในพืช

การป้องกันและกำ� จัด

1. ในช่วงแตกใบอ่อนและเริ่มติดผลหมั่นตรวจดูว่าพบราแป้งเข้าท�ำลายใบอ่อน
หรือไม่ หากพบพ่นก�ำจัดด้วยก�ำมะถันผงละลายน�้ำ 40 กรัมต่อน�้ำ 20 ลิตร เป็น
การกำ� จัดปริมาณเช้อื โรค ท�ำใหก้ ารระบาดในช่วงติดผลนัน้ ลดความรุนแรงลงได้

2. ในช่วงระยะผลอ่อน หากพบอาการ เลือกใช้สารป้องกันก�ำจัดโรคพืช ดังต่อไปน้ี
กำ� มะถันผงละลายน�ำ้ บโี นมิล คารเ์ บนดาซิม ไตรดมี อรฟ์ ไตรฟ์ อร์รนี ไพราโซฟอส
และไดโนแคป อตั ราตามค�ำแนะนำ� ในฉลาก

3. เก็บผลเงาะท่ีเป็นโรค ใบแห้ง ก่ิงแห้งท่ีร่วงหล่นมาเผาท�ำลาย เพ่ือป้องกันการ
แพร่กระจายของเชือ้

8โรค-แมลงศตั รูไม้ผล และการป้องกนั ก�ำจัด
กรมส่งเสริมการเกษตร

หนอนเจาะขั้วผลเงาะ

ชื่อวิทยาศาสตร์ ตัวหนอนและลักษณะการท�ำลาย
ลกั ษณะการท�ำลาย
Conopomorpha cramerella 9โรค-แมลงศตั รไู มผ้ ล และการปอ้ งกนั ก�ำจัด

รูปร่างลักษณะ กรมสง่ เสริมการเกษตร

ตัวเต็มวัยเป็นผีเส้ือกลางคืนขนาดเล็ก ตอนกลางวัน
อาศัยอยู่ตามต้นพืชอาหาร เพศเมียวางไข่ท่ีผลเงาะ
ไข่มีลักษณะกลมรี เม่ือหนอนฟักออกมาจากไข่จะเจาะ
และเข้าไปในผล ตัวหนอนมีสีขาว หัวสีน้�ำตาลอ่อน
ระยะหนอนประมาณ 14 - 18 วัน ก็จะเข้าดักแด้โดย
ไต่ออกมาจากผลและหาท่ีเหมาะสมเข้าดักแด้ ระยะ
ดักแด้ 6 - 8 วัน

ลักษณะการทำ� ลาย

เม่ือฟักออกจากไข่จะเจาะเข้าไปในผลเงาะบริเวณขั้วผล หรือต�่ำกว่าขั้วลงมาเล็กน้อย
บางคร้ังอาจท�ำลายถึงเนื้อและเมล็ด การท�ำลายของหนอนไม่สามารถสังเกตได้จากลักษณะ
ภายนอก เมื่อรับประทานผลเงาะจึงจะพบหนอน

ศตั รูธรรมชาติ

มีแมลงเบียนพวกแตน (Hymenoptera) คอยท�ำลายในระยะที่เป็นตัวหนอน นอกจากนั้น
ยงั มโี รคคอยท�ำลายอยดู่ ว้ ย

การปอ้ งกนั และก�ำจดั

1. เมื่อพบการระบาดเก็บผลเงาะที่ถูกท�ำลายและร่วงหล่นน�ำไปฝังดิน หรือเผาเพื่อป้องกัน
การระบาดในฤดูตอ่ ไป

2. ใชส้ ารก�ำจดั แมลงคารบ์ ารลิ (เซฟวิน 85% ดบั บลวิ พ)ี อัตรา 60 กรัมต่อน้ำ� 20 ลติ ร ในแหล่ง
ท่ีมีการระบาด พ่นเม่ือส�ำรวจพบหนอนเจาะข้ัวในระยะผลเร่ิมเปลี่ยนสี พ่นซ้�ำตามความ
จำ� เป็น พบท�ำลายมากในเงาะสีชมพู งดพน่ สารก�ำจัดแมลงกอ่ นเกบ็ เกย่ี วอยา่ งนอ้ ย 7 วนั
10โรค-แมลงศัตรไู มผ้ ล และการปอ้ งกนั ก�ำจัด

กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

หนอนมว้ นใบชา ตัวหนอน
ตวั เตม็ วยั
ช่ือวทิ ยาศาสตร์ 11โรค-แมลงศัตรไู มผ้ ล และการปอ้ งกันก�ำจัด

Homona coffearia (Niether) กรมสง่ เสริมการเกษตร

รูปร่างลกั ษณะ

ตัวเต็มวัยเป็นผีเส้ือกลางคืน วางไข่บนใบชา
เป็นกลุ่ม กลุ่มละ 100 ฟองหรือมากกว่านั้น ไข่จะฟัก
เป็นตัวหนอนโตเต็มที่ยาว 12 - 20 มิลลิเมตร เมื่อ
เข้าดักแดจ้ ะใช้ใบชาสร้างรัง

ลักษณะการทำ� ลาย

ลักษณะการทำ� ลาย

ท�ำความเสียหายต่อใบและยอดอ่อนของชา โดยหนอนจะน�ำใบมาติดกันแล้ว
กัดกนิ ใบ

การปอ้ งกันและกำ� จดั

ตัดแต่งกิ่งชา ร่วมกับการควบคุมทางชีววิธีโดยใช้ศัตรูธรรมชาติ เช่น แมลงประเภทต่อ
(wasp)

12โรค-แมลงศัตรไู ม้ผล และการปอ้ งกันกำ� จดั
กรมส่งเสรมิ การเกษตร

โรคใบจดุ สาหรา่ ยทเุ รียน

เชือ้ สาเหตุ โรคใบจดุ สาหรา่ ยทเุ รียน
ลักษณะอาการ
เชอ้ื สาหร่ายสเี ขียว Cephaleuros virescens 13โรค-แมลงศตั รูไมผ้ ล และการปอ้ งกนั กำ� จัด

ลักษณะอาการ กรมส่งเสริมการเกษตร

พบโรคนีท้ ั้งท่ีใบและกิง่ อาการบนใบจะเป็นจุดเล็กๆ
นูนข้นึ จากผิวใบเล็กนอ้ ย ขอบของจุดมีลักษณะเปน็ แฉกๆ
ไม่เรียบ สีค่อนข้างเขียวปนเทา จุดเล็กๆ นี้จะขยายใหญ่
ข้ึนในสภาพความชื้นสูงและได้รับแสงแดดเพียงพอ เมื่อ
สาหร่ายแก่ข้ึนจะเปล่ียนเป็นสีน�้ำตาลแดง ซึ่งเป็นระยะที่
สรา้ งอวยั วะสบื พนั ธเ์ุ พอ่ื แพรไ่ ปยงั สว่ นอน่ื ๆ ของตน้ ทเุ รยี น
ได้อีก อาการจดุ บนใบน้ไี ม่คอ่ ยท�ำความเสยี หายให้มากนกั

นอกจากบดบังการสังเคราะห์แสงและท�ำให้ใบสกปรก ส่วนอาการท่ีก่ิงจะมีลักษณะ
คล้ายขนนกก�ำมะหยี่สีแดงหรือสีน้�ำตาลแดงขึ้นเป็นหย่อมๆ ต่อมาจะท�ำให้เปลือกก่ิงแห้ง
และทรุดโทรม โดยเฉพาะต้นทุเรียนเล็กที่มีอายุ 1 - 2 ปี ท่ีมีทรงพุ่มทึบและได้รับแสงแดด
ไม่ทว่ั ถึงจะเกดิ ความเสยี หายได้

การปอ้ งกันและกำ� จัด

1. ติดตามสถานการณโ์ รคจุดสาหร่าย โดยสำ� รวจทกุ ตน้ 7 วนั ต่อคร้งั
ในช่วงสงิ หาคม - กนั ยายน
2. เก็บรวบรวมใบที่เปน็ โรคและรว่ งหลน่ อยู่ในบรเิ วณสวนไปเผาทำ� ลาย
3. พบอาการของโรคเพียงเล็กนอ้ ย ตัดสว่ นทเี่ ปน็ โรคไปเผาท�ำลาย
4. ใช้สารป้องกันก�ำจัดโรคพืช เม่ือพบใบแก่ถูกท�ำลายมากกว่าร้อยละ 30 ต่อต้น

ได้แก่ คอปเปอร์ออกซีคลอไรด์ 85% ดับบลิวพี อัตรา 50 กรัมต่อน้�ำ 20 ลิตร
พ่นทใ่ี บใหท้ ่ัวทงั้ ต้น

14โรค-แมลงศัตรไู ม้ผล และการปอ้ งกันก�ำจัด
กรมส่งเสริมการเกษตร

ดว้ งหนวดยาวเจาะล�ำต้นทุเรยี น

ชอื่ วิทยาศาสตร์ ตัวหนอน

Batocera rufomaculata

รปู ร่างลักษณะ

หนอนมีล�ำตัวเป็นปล้องๆ สีขาวขุ่น ส่วนหัว
ค่อนข้างโตกว่าส่วนท้อง ตัวเต็มวัยมีหนวดยาวมีหนาม
มีเขี้ยวขนาดใหญ่ อกปลอ้ งแรกมีหนามแหลมท้ัง 2 ขา้ ง
มีจุดสีส้มข้างละจุด ตรงบ่ามีหนามแหลมขนาดเล็ก
มจี ดุ สสี ้มกระจายอยู่ทั่วทงั้ ปกี

ตัวเตม็ วัย
15โรค-แมลงศตั รไู มผ้ ล และการป้องกันกำ� จัด

กรมสง่ เสริมการเกษตร

ลักษณะการทำ� ลาย

ตัวเมียวางไข่ในเวลากลางคืนตามล�ำต้นและก่ิงขนาดใหญ่ตัวหนอนจะกัดกินชอนไชไปตาม
เปลือกไม้ด้านใน หรืออาจกัดคว่ันเปลือกรอบต้น ท�ำให้ท่อน�้ำท่ออาหาร ถูกตัดท�ำลายเป็นเหตุให้
ต้นทรดุ โทรม ใบรว่ ง และยืนต้นตายได้

การป้องกันและกำ� จดั

1. ส�ำรวจหารอยแผลการวางไข่ หรือขุยไมล้ ะเอยี ดบริเวณส่วนตา่ งๆ ของตน้ ทุเรียน เม่อื พบใหใ้ ชม้ ดี
แคะดหู ากมไี ขห่ รอื หนอนให้เก็บทำ� ลาย

2. ตัดและเผาท�ำลายต้นทุเรียนท่ีตายหรือต้นท่ีมีหนอนเข้าท�ำลายมากจนไม่สามารถให้ผลผลิตได้
เพือ่ ลดประชากรและแหล่งแพรพ่ นั ธ์ุ

3. ใชต้ าขา่ ยพนั รอบต้นดักตวั เตม็ วัย
4. ใช้สารกำ� จดั แมลง เชน่ ไทอะมโี ทแซม แลมป์ดาไซฮาโลทรนิ 14.1% 10.6% อมิ ิดาโคลพรดิ 10%

เอสแอล อะเซททามิพริด 20% เอสพี พ่นให้ชุ่มเฉพาะบริเวณล�ำต้นตั้งแต่โคนต้นจนถึงยอด
และกิ่งขนาดใหญ่ ซง่ึ เปน็ ตำ� แหน่งที่ดว้ งชอบวางไข่ พน่ 2 คร้ัง หา่ งกัน 2 สปั ดาห์

16โรค-แมลงศตั รไู ม้ผล และการป้องกันกำ� จัด
กรมส่งเสริมการเกษตร

เพลยี้ ไกแ่ จท้ ุเรยี น ตัวเตม็ วยั เพศเมีย
ตวั เต็มวัยเพศผู้
ช่ือวิทยาศาสตร์ 17โรค-แมลงศัตรูไม้ผล และการป้องกนั ก�ำจัด

Allocaridara malayensis กรมส่งเสรมิ การเกษตร

รูปรา่ งลกั ษณะ

ตวั ออ่ นขนาดยาวประมาณ 3 มลิ ลิเมตร และมปี ุยสีขาว
ติดตามตัว โดยเฉพาะด้านท้ายของล�ำตัวมีปุยสีขาวคล้ายๆ
กับหางไก่ เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยมีสีน�้ำตาลปนเขียว
ขนาดยาวประมาณ 5 มิลลเิ มตร

ลักษณะการท�ำลาย

แมลงชนิดนี้ท้ังตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้�ำเลี้ยง
จากใบอ่อนของทุเรียนที่ยังไม่โตเต็มที่ ท�ำให้ใบอ่อนเป็น

จุดสีเหลือง ไม่เจริญเติบโตและเล็กผิดปกติ เม่ือระบาดมากๆ ใบจะหงิกงอ แห้งและร่วงหมด
นอกจากนี้ยังท�ำให้ยอดอ่อนแห้งและตายได้ ตัวอ่อนของเพลี้ยชนิดนี้จะขับสารสีขาวออกมา
เป็นสาเหตุท�ำให้เกิดเช้ือราตามบริเวณที่สารสีขาวขับออกมา ระยะที่ท�ำลายมากท่ีสุดคือ ในระยะ
ตวั อ่อน แมลงชนิดน้ีทำ� ความเสียหายให้กับทุเรยี นพนั ธ์ุชะนมี ากที่สุด

การป้องกันและกำ� จัด

1. ติดตามสถานการณเ์ พล้ียไก่แจ้และศัตรูธรรมชาติ
2. อนรุ ักษ์ศัตรธู รรมชาติไว้ควบคุมเพลยี้ ไกแ่ จ้ตามธรรมชาติ
3. กระตุ้นการแตกใบอ่อนให้พร้อมกันทุกต้นเพื่อลดช่วงเวลาการเข้าท�ำลายของเพลี้ยไก่แจ้

ใหส้ ้ันลง
4. ใช้กับดกั กาวเหนียวล่อตวั เตม็ วยั มาทำ� ลาย
5. ใช้นำ้� พ่นใบออ่ นท่ีคลี่แลว้ เพ่ือลดปรมิ าณเพล้ียไก่แจ้
6. พน่ สารก�ำจดั แมลงเมอื่ สำ� รวจพบเพลย้ี ไก่แจ้ในช่วงแตกยอดอ่อน เช่น แลมบด์ าไซฮาโลทรนิ

คาร์โบซลั แฟน คาร์บาริล หรือไซเพอรเ์ มทรนิ โฟซาโลน อัตราตามคำ� แนะน�ำในฉลาก

18โรค-แมลงศัตรูไม้ผล และการป้องกันก�ำจดั
กรมสง่ เสริมการเกษตร

หนอนเจาะผลทเุ รยี น

ช่อื วิทยาศาสตร์ ตวั หนอน
ลกั ษณะการทำ� ลาย
Dichocrosis punctiferalis
19โรค-แมลงศตั รูไม้ผล และการปอ้ งกนั กำ� จัด
รูปรา่ งลกั ษณะ กรมสง่ เสริมการเกษตร

หนอนเจาะผลมีล�ำตัวสีขาว หัวสีน้�ำตาล หนอนท่ีโต
เต็มท่ีมีตัวสีน�้ำตาล และมีจุดสีด�ำทั่วล�ำตัว ปีกของผีเส้ือ
ตัวเต็มวัยทั้ง 2 คู่ มีสีเหลืองและมีจุดสีด�ำกระจายทั่วปีก
หนอนท่ีน�ำมาเล้ียงด้วยผลละหุ่ง มีอายุตามระยะการเจริญ
เติบโต คือ ระยะไข่ 4 วัน หนอน 12 - 13 วนั ดักแด้ 7 - 9 วนั
ผเี สอื้ เพศผู้ 10 - 18 วนั ผเี สอ้ื เพศเมยี 14 - 18 วัน 

ลกั ษณะการท�ำลาย
ผีเสื้อตัวเมียจะวางไข่ไว้ที่ผิวผลทุเรียน ตัวหนอนท่ีฟักออกจากไข่ จะแทะกินผิวเปลือกผลทุเรียน
ต้ังแต่ผลขนาดเล็กที่อายุประมาณ 2 เดือน จนถึงผลใหญ่ จนกระทั่งตัวโตขึ้นจึงเจาะเข้าไปกินอยู่ภายในผล
แล้วจะออกมาเข้าดักแด้อยู่ระหว่างหนามของผล โดยมีใยและมูลของหนอนหุ้มตัว แล้วจึงฟักออกมา
เป็นผีเสอ้ื ตวั เตม็ วยั ผลทุเรยี นทีถ่ ูกหนอนท�ำลายจะเนา่ และร่วง เน่อื งจากมีเชือ้ ราเข้าทำ� ลายซ้ำ�

การปอ้ งกันและก�ำจดั
1. ตดิ ตามสถานการณห์ นอนเจาะผลและศัตรธู รรมชาติ
2. อนุรักษศ์ ตั รูธรรมชาตไิ ว้ควบคมุ หนอนเจาะผลตามธรรมชาติ
3. ตัดแต่งผลที่ติดกันเป็นคู่และไม่สมบูรณ์ออก เพ่ือป้องกันการวางไข่ของผีเสื้อ และตัดผล
ทถ่ี กู หนอนทำ� ลายไปเผา
4. ใช้กระดาษแข็งหรือกิ่งไม้ค่ันผลท่ีสมบูรณ์ติดกันเป็นคู่ เพื่อป้องกันการวางไข่ของผีเสื้อ และ
จับตวั หนอนมาท�ำลาย ใช้กับดักแสงไฟสีน�ำ้ เงิน-ดำ� (black-blue light trap) ลอ่ ตวั เตม็ วยั
มาท�ำลาย
5. ใช้สารกำ� จดั แมลง เชน่ ฟลเู ฟนนอกซรู อน 5% อซี ี อตั รา 20 - 40 มลิ ลลิ ิตรต่อน้�ำ 20 ลิตร
เมอื่ พบผลถูกท�ำลายร้อยละ 10 ต่อต้น
20โรค-แมลงศัตรูไม้ผล และการป้องกนั กำ� จัด
กรมส่งเสริมการเกษตร

หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน

ช่ือวิทยาศาสตร์ ตวั หนอน
ตัวเต็มวัย
Mudaria luteileprosa 21โรค-แมลงศัตรูไมผ้ ล และการปอ้ งกันก�ำจดั

รูปรา่ งลกั ษณะ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

หนอนโตเต็มที่ยาวประมาณ 4 เซนติเมตร ก็จะ
ออกมา เขา้ ดักแดใ้ นดนิ นาน 1 - 9 เดือน จึงฟักออกมา
เปน็ ตวั เต็มวัย

ลกั ษณะการท�ำลาย

ตัวเต็มวัยวางไข่เป็นฟองเด่ียวๆ บริเวณหนาม
ทุเรียนใกล้ข้ัวผล ตัวหนอนที่ฟักออกจากไข่จะเจาะไช

เข้าไปภายในผล เจาะไชเข้าไปกัดกินเมล็ด และถ่ายมูล
ออกมา ท�ำให้เนื้อทุเรียนเปรอะเปื้อนเสียหาย หนอน
อาศัยในผลทุเรียนจนกระทั่งผลแก่ เมื่อหนอนโตเต็มที่
หรอื ถา้ ผลร่วงกอ่ น จะเจาะรูออกมาเข้าดกั แดใ้ นดนิ

การป้องกนั และกำ� จดั

1. ใช้กับดักแสงไฟสีน�้ำเงิน ล่อผีเส้ือมาท�ำลายซ่ึงจะ ลักษณะการทำ� ลาย
ทำ� ใหล้ ดปรมิ าณการระบาดลงได้
2. ใชส้ ารกำ� จดั แมลง เชน่ คารโ์ บซลั แฟน พน่ หลงั จากพบผเี สอื้ ในกบั ดกั แสงไฟครง้ั แรก
3. แช่เมล็ดทุเรียนที่น�ำไปเพาะเป็นต้นตอในการขยายพันธุ์ด้วยสารก�ำจัดแมลง เช่น
คาร์บารลิ เพื่อช่วยก�ำจัดหนอนทต่ี ิดมากับเมล็ดได้
4. เกบ็ ผลทีถ่ ูกทำ� ลายไปเผาทำ� ลายท้ิงทุกวัน

22โรค-แมลงศตั รูไม้ผล และการป้องกนั กำ� จัด
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

โรคทะลายเน่าปาลม์ น้ำ� มนั

เชอ้ื สาเหตุ โรคทะลายเนา่ ปาลม์ น้ำ� มนั
23โรค-แมลงศตั รูไม้ผล และการป้องกนั กำ� จัด
เชือ้ รา Marasmius palmivorus
กรมส่งเสริมการเกษตร
ลกั ษณะอาการ

ท�ำลายผลปาล์มน�้ำมันก่อนที่จะสุก ระบาดมาก
ในฤดูฝน ท่ีมีความช้ืนสูง ในระยะแรกพบเส้นใยสีขาว
ของเช้ือราบนทะลายปาล์มน้�ำมัน บริเวณช่องระหว่างผล
และโคนทะลายส่วนที่ติดทางใบ ต่อมาเส้นใยข้ึนปกคลุม
ท้ังทะลาย เกิดอาการผลเน่าเป็นสีน้�ำตาล หากทะลาย
ยังคงติดอยู่บนต้นผลจะแสดงอาการเน่าแห้งและ
มีเช้ือราชนิดอ่ืนๆ เข้าท�ำลายภายหลังได้ ในแปลงที่

ไม่มีการก�ำจัดทะลายท่ีแสดงอาการเน่าออกจากต้น เช้ือราสาเหตุจะกระจายไปยังทะลาย
ท่ีอยู่ใกล้เคียงตลอดจนส่วนอื่นๆ ของต้นปาล์มน้�ำมันได้ โรคน้ีท�ำให้เปอร์เซ็นต์กรดไขมันอิสระ
เพิม่ ขึ้น ประสิทธิภาพในการให้นำ้� มันนอ้ ยลง

การป้องกันและกำ� จดั

1. ปอ้ งกนั ไม่ให้มแี หลง่ ของโรคอยู่ในสวนปาลม์ น้�ำมัน
2. ทำ� ลายทะลายในชว่ งแรก โดยตัดช่อดอกท้ิงในช่วง 30 เดอื นแรก หลงั จากปลกู
3. ตัดแต่งก้านทางใบให้ส้ัน เพ่ือลดความชื้นบริเวณโคนทางใบ แล้วพ่นสารป้องกัน

ก�ำจัดโรคพืช

24โรค-แมลงศัตรไู ม้ผล และการปอ้ งกันกำ� จดั
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

ด้วงแรดมะพร้าว ตวั เต็มวัย
ลกั ษณะการทำ� ลาย
ชื่อวิทยาศาสตร์
25โรค-แมลงศัตรูไมผ้ ล และการป้องกนั กำ� จัด
Oryctes rhinoceros กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

รูปรา่ งลกั ษณะ

ตัวเต็มวัยล�ำตัวมีสีน�้ำตาลแดงเกือบด�ำ มีขนสี
น�้ำตาลอ่อนที่ด้านข้างของส่วนหัว อก ขา และด้านล่าง
ของล�ำตัว ตัวผู้มีเขาคล้ายนอแรดท่ีส่วนหัวค่อนข้างยาว
ตัวเมียมีลักษณะคล้ายตัวผู้แต่มีเขาสั้นกว่า และที่ส่วน
ปลายของท้องด้านล่างมีขนเยอะกว่าตัวผู้ และมีขนาด
ใหญก่ วา่ ตัวผูไ้ มม่ าก ตวั เมยี วางไข่ในกองเศษซากใบมะพรา้ ว
และฟักเป็นตัวหนอนก็จะเจริญเติบโตอยู่ในดิน หนอนมีสี
ขาวนวล ส่วนหัวเปน็ สีเหลืองปนนำ้� ตาล

ลักษณะการทำ� ลาย

ตัวเต็มวัยจะบินข้ึนไปกัดเจาะโคนทางใบมะพร้าวหรือปาล์มน�้ำมัน รวมท้ังเจาะ
ท�ำลายยอดอ่อนที่ยงั ไมค่ ลี่ ท�ำใหท้ างใบท่ีเกดิ ใหม่ไมส่ มบูรณ์ มรี อยขาดแหวง่ เปน็ ริ้วๆ คลา้ ย
หางปลาหรือรปู พัด

การปอ้ งกนั และกำ� จัด

1. ฝงั เผาหรอื เกลย่ี กองซากพืช เพ่อื เกบ็ หนอนหรอื ดักแด้มาท�ำลาย ไม่ปล่อยกองซาก
พชื ทงิ้ นานเกิน 2 - 3 เดือน เพราะจะเป็นท่ขี ยายพนั ธ์ุดว้ งแรด

2. ท�ำความสะอาดบริเวณคอมะพรา้ ว
3. ใช้เชื้อราเมตาไรเซียม คลุกผสมลงในกองล่อขนาด 2 x 2 x 0.5 เมตร

อัตรา 200 – 400 กรัมต่อกอง หรือในกองซากพืชท่ีมีหนอนด้วงแรดมะพร้าว
อาศยั อยู่เพือ่ ทำ� ลายตวั หนอนท่อี ยใู่ นดิน
4. การใช้กับดักฟีโรโมนลอ่ ตวั เตม็ วยั มาทำ� ลาย

26โรค-แมลงศตั รูไมผ้ ล และการป้องกนั ก�ำจดั
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

แมลงดำ� หนามมะพรา้ ว

ชอื่ วิทยาศาสตร์ ตวั เตม็ วัย
ลกั ษณะการท�ำลาย
Brontispa longissima
27โรค-แมลงศตั รไู ม้ผล และการปอ้ งกันกำ� จัด
รปู รา่ งลักษณะ กรมส่งเสริมการเกษตร

ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่ในเวลากลางคืน โดย
วางเป็นฟองเด่ียวหรือเป็นกลุ่มภายในใบมะพร้าวท่ี
ยังไม่คล่ีออก ตัวหนอนของแมลงด�ำหนามมะพร้าวมี
4 วัย จึงเข้าดกั แด้ ตัวเต็มวัยของแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว
ล�ำตัวมีสีด�ำ หัวและอกมีสีส้ม อาศัยกัดกินใบมะพร้าว
อยูร่ ะหวา่ งใบหรอื ภายในใบมะพร้าวทีย่ ังไมค่ ลีอ่ อก

ลักษณะการท�ำลาย

ตัวหนอนและตัวเต็มวัยจะกัดกินยอดอ่อนที่สุดของมะพร้าวท่ียังไม่คลี่ โดยจะย้ายไป
กินอีกใบหลังจากท่ีใบเดิมคลี่ออก ท�ำให้ยอดอ่อนของมะพร้าวชะงักการเจริญเติบโต
เม่ือมีการท�ำลายรุนแรงหลายๆ ใบในแต่ละต้นจะมองเห็นเป็นสีขาวโพลนชัดเจน ซึ่ง
ชาวสวนมะพรา้ ว เรียกว่า “โรคหัวหงอก”

การปอ้ งกันและกำ� จัด

1. ตัดยอดที่ถูกแมลงกัดกนิ มาเก็บไข่ หนอนและตวั เตม็ วัยไปท�ำลาย
2. ปล่อยแมลงหางหนีบ ท�ำลายไข่ หนอน และดักแด้ของแมลงดำ� หนาม โดยควบคุม
อตั รา 300 ตัวต่อไร่
3. ปล่อยแตนเบียนหนอนอะซีโคเดส ท�ำลายหนอน อัตรา 5 มัมม่ีต่อไร่ 3 คร้ัง
หา่ งกนั 2 สปั ดาหต์ ่อครัง้
4. ใช้เชื้อราเมตาไรเซียม พ่นก�ำจัดหนอน ดักแด้ และตัวเต็มวัยของแมลงด�ำหนาม
อตั รา 1 กิโลกรมั ต่อนำ�้ 20 ลิตร
28โรค-แมลงศตั รูไม้ผล และการปอ้ งกนั กำ� จัด
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

หนอนร่านพาราซ่า ตวั หนอน
ตัวเต็มวยั
ช่ือวทิ ยาศาสตร์ 29โรค-แมลงศัตรไู มผ้ ล และการปอ้ งกันก�ำจัด

Parasa lepida กรมสง่ เสริมการเกษตร

รปู ร่างลักษณะ

ตัวเต็มวัยเป็นผีเส้ือขนาดกลาง ล�ำตัวอ้วนส้ัน
มีขนปกคลุม เพศเมียวางไข่เป็นกลุ่มๆ บริเวณใต้ใบ
ไข่มีสีเหลืองอ่อนกลมแบนวางซ้อนกันมองคล้าย
เกล็ดปลา หนอนมีล�ำตัวสีเขียวมีขนแข็งขึ้นเป็นกระจุก
เรียงเป็นแถวตลอดล�ำตัว ขนแข็งนี้เม่ือไปถูกเข้า
จะท�ำให้รู้สึกปวดแสบปวดร้อนและเป็นผื่นแดง
หนอนเม่ือฟักออกจากไข่จะอยู่รวมกันเป็นกระจุก

เมื่อโตขึ้นจะกระจายไปตามใบต่างๆ หนอนจะสร้างรังมีใย
ปกคลุม และเข้าดักแด้ตามใบและก่ิง ลักษณะดักแด้เป็น
ก้อนแขง็ กลมสีน้ำ� ตาลเข้ม แลว้ จงึ เจริญเป็นตัวเต็มวัย

ลักษณะการทำ� ลาย

ตัวหนอนจะกัดกินใบแก่มะพร้าวจนเหลือแต่ก้านใบ ลกั ษณะการทำ� ลาย
ถ้าระบาดรนุ แรงจะท�ำใหผ้ ลผลิตลดลงอยา่ งมาก

การปอ้ งกนั และก�ำจดั

1. สำ� รวจตดิ ตามสถานการณก์ ารระบาด
2. ใช้กับดักแสงไฟล่อตัวเต็มวัยมาท�ำลาย โดยใช้หลอดไฟแสงสีม่วง (black light)

ในชว่ งเวลา 03.00 น. ถึงสวา่ ง
3. พ่นด้วยสารก�ำจัดแมลงคาร์บาริล 85% ดับบลิวพี อัตรา 20 กรัมต่อน�้ำ 20 ลิตร

ในระยะตัวหนอน

30โรค-แมลงศัตรูไมผ้ ล และการปอ้ งกันก�ำจัด
กรมส่งเสริมการเกษตร

หนอนหัวด�ำมะพรา้ ว

ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ตัวหนอน
ลักษณะการท�ำลาย
Opisina arenosella
31โรค-แมลงศัตรไู มผ้ ล และการป้องกนั กำ� จัด
รปู ร่างลกั ษณะ กรมส่งเสรมิ การเกษตร

ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืน ขนาดล�ำตัวแบนยาวประมาณ
1 - 1.2 เซนติเมตร ปีกสีเทาอ่อน มีจุดสีเทาเข้มท่ีปลายปีก
ชอบเกาะน่ิงแนบตัวติดผิวพ้ืนท่ีเกาะ เวลากลางวันจะเกาะนิ่ง
หลบอยู่ใต้ใบมะพร้าวหรือในท่ีร่ม ผีเส้ือเพศเมียมีขนาดใหญ่กว่า
เพศผู้เล็กน้อย ระยะหนอน 32 - 48 วัน ตัวหนอนเม่ือฟัก
ออกมาใหม่ๆ จะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีหัวสีด�ำ ล�ำตัวสีเหลือง
เมอ่ื มอี ายมุ ากขน้ึ หวั จะเปลย่ี นเปน็ สนี �้ำตาลเขม้ ลำ� ตวั สนี ำ�้ ตาลออ่ น
มลี ายพาดยาวตามล�ำตวั ดักแดม้ ีสนี �ำ้ ตาลเข้ม

ลักษณะการท�ำลาย
การท�ำลายจะเกิดในระยะตัวหนอนเท่าน้ัน ท�ำลายใบแก่ของมะพร้าว หนอนจะถักใย ดึงใบมะพร้าว มาเรียง
ติดกันเป็นแพ สร้างอุโมงค์เป็นทางยาวอาศัยกัดกินอยู่ภายในอุโมงค์ เข้าดักแด้อยู่ภายใยอุโมงค์ ใบท่ีถูกท�ำลาย
มลี ักษณะแห้งเป็นสนี ้�ำตาล
การป้องกนั และกำ� จัด
1. ตัดทางใบมะพรา้ วท่ถี ูกหนอนทำ� ลายนำ� ไปเผา เพ่อื กำ� จัดหนอนและดกั แด้
2. ใช้เชื้อแบคทีเรีย (Bt) พ่นใบมะพร้าวที่ยังไม่ถูกท�ำลาย เพื่อควบคุมหนอนท่ีเพิ่งฟักออกจากไข่ ควรพ่น
ตดิ ต่อกนั 3 ครง้ั หา่ งกนั ครัง้ ละ 7 - 10 วนั
3. ปลอ่ ยแตนเบยี นไขท่ รโิ คแกรมมา่ ท�ำลายไขห่ นอนหวั ดำ� อตั รา 10 แผน่ ตอ่ ไร่ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง หา่ งกนั 2 สปั ดาห์
จนส�ำรวจไม่พบตวั หนอน
4. ปล่อยแตนเบียนหนอนบราคอนท�ำลายหนอนหัวด�ำ อตั รา 200 ตวั ต่อไร่ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ห่างกนั 2 สัปดาห์
จนสำ� รวจไม่พบตัวหนอน
5. ฉดี สารก�ำจดั แมลง อีมาเม็กตนิ เบนโซเอต 92% อซี ี อัตรา 30 มลิ ลลิ ติ รต่อตน้ เจาะล�ำต้นมะพรา้ วสูงจาก
พ้ืนดินประมาณ 1 เมตร จ�ำนวน 2 รู ให้รูอยู่ตรงกันข้ามกัน ใส่สารรูละ 15 มิลลิลิตรแล้วใช้ดินน�้ำมัน
อุดรูทันที โดยแนะน�ำให้ฉีดเข้าล�ำต้น เฉพาะมะพร้าวท่ีมีความสูงมากกว่า 12 เมตร ข้ึนไป ห้ามใช้กับ
มะพร้าวนำ�้ หอมและมะพร้าวกะทิ
32โรค-แมลงศตั รไู ม้ผล และการปอ้ งกันก�ำจดั
กรมสง่ เสริมการเกษตร

โรคใบด่างจุดวงแหวน

เชอ้ื สาเหตุ โรคใบดา่ งจดุ วงแหวน
33โรค-แมลงศัตรูไมผ้ ล และการปอ้ งกนั กำ� จัด
เชอื้ ไวรัส Papaya ringspot virus (PRV)
กรมสง่ เสริมการเกษตร
ลักษณะอาการ

ระยะต้นกล้า ต้นแคระแกร็น ใบด่างเหลือง หงิกงอ
บิดเบ้ียวเสียรูป เรียวเล็กเหมือนหางหนู ถ้าเป็นรุนแรง
ใบจะเหลือแค่เส้นใบดเู หมอื นเส้นดา้ ย และต้นกล้าอาจตายได้
หรือไม่เจรญิ เตบิ โต ในต้นท่โี ตแลว้ ใบมีอาการด่าง บิดเบยี้ ว
หงิกงอ ยอดและใบมีสีเหลืองกว่าต้นท่ีไม่เป็นโรค และ
จะสังเกตเห็นลักษณะจุดหรือทางยาวสีเขียวเข้ม ดูช�้ำ
ตามกา้ นใบ ล�ำตน้ การตดิ ผลจะไม่ดีหรือไม่ติดเลย

ผลบิดเบ้ียว มีจุดลักษณะเป็นวงแหวนทั่วท้ังผล เนื้อบริเวณที่เป็นจุดวงแหวนมักจะเป็นไตแข็ง
มีรสขม ถ้าเป็นรุนแรงแผลเหล่านี้จะมีลักษณะคล้ายสะเก็ด หรือหูดนูนขึ้นมา บนผิวของผลจะขรุขระ
ต้นที่เป็นโรคในระยะออกดอก จะท�ำให้ติดผลไม่ดี และผลท่ีได้จะมีจุดวงแหวนเห็นได้ชัด นอกจากนี้
ดอกในรนุ่ ตอ่ ไปก็จะรว่ ง ไมต่ ดิ ผล

การปอ้ งกนั และกำ� จัด

เปน็ การยากมากท่จี ะหาวธิ ปี ้องกัน หรอื กำ� จัดโรคนโี้ ดยตรง สง่ิ ทตี่ อ้ งปฏิบัติ คอื
1. ต้องทำ� ลายต้นที่เปน็ โรคน้ี ทแ่ี สดงอาการอย่างแนช่ ดั ก่อน โดยการเผาหรอื ฝังในดนิ ใหล้ ึก
2. ปลูกมะละกอพันธ์ทุ ่ีทนทานตอ่ โรคน้ี เช่น ปากชอ่ ง 1 แขกด�ำ ท่าพระ
3. บริเวณปลูกมะละกอควรก�ำจัดวัชพืชให้หมด เพ่ือป้องกันไม่ให้เป็นท่ีอยู่อาศัยของพวกเพลี้ยอ่อน

และควรปลูกหา่ งจากพชื ตระกูลแตง
4. การปลูกพืชอาหารเพลี้ยอ่อน เช่น ข้าวโพด ถ่ัว กล้วย รอบแปลงปลูกมะละกอ โดยเฉพาะด้าน

เหนอื ลม เพ่ือเป็นกบั ดักใหเ้ พล้ียอ่อนเข้าดดู กิน และสญู เสียการถา่ ยเช้อื ไวรสั เข้าสมู่ ะละกอ

34โรค-แมลงศตั รูไม้ผล และการปอ้ งกนั กำ� จัด
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

โรคแอนแทรกโนส ลักษณะอาการทใ่ี บ
ลักษณะอาการทีก่ ่งิ
เชอื้ สาเหตุ
35โรค-แมลงศตั รูไมผ้ ล และการป้องกันก�ำจัด
เชื้อรา Colletotrichum gloesporioides Penz. กรมสง่ เสริมการเกษตร

ลกั ษณะอาการ

เชื้อราสามารถเข้าท�ำลายได้เกือบทุกส่วนของมะม่วง
ไมว่ ่าจะเปน็ ต้นกล้า ยอดอ่อน ใบออ่ น ชอ่ ดอก ดอก ผลอ่อน
ผลแก่ และผลแก่หลังการเกบ็ เกย่ี ว เร่มิ แรกจะเป็นจดุ เลก็ ๆ
และขยายออกเป็นวงขนาดต่างๆ กัน บริเวณกลางแผล
จะเหน็ เมด็ สดี �ำๆ หรอื สสี ม้ ปนบา้ งเรยี งเปน็ วงอยภู่ ายในแผล
หากการเข้าท�ำลายรุนแรงก็จะเกิดอาการใบแห้ง บิดเบ้ียว
และร่วงหล่น ช่อดอกแห้งไม่ติดผล ผลเน่าร่วง ตลอดจน
ผลเน่าหลังการเกบ็ เก่ยี ว

ลักษณะอาการทผี่ ล

การปอ้ งกันและกำ� จดั

พ่นด้วยสารป้องกันก�ำจัดโรคพืชในช่วงที่มะม่วงผลิตใบอ่อน ช่วงการออกดอก
และติดผล ซึ่งเป็นช่วงที่มะม่วงมีความอ่อนแอต่อการท�ำลายของเช้ือ สารป้องกัน
กำ� จัดโรคพืชทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ ไดแ้ ก่ เบโนมิล แมนโคเซบ แคพแทน คอปเปอรอ์ อกซีคลอไรด์
เปน็ ต้น

36โรค-แมลงศตั รูไม้ผล และการปอ้ งกันก�ำจัด
กรมส่งเสรมิ การเกษตร

เพลยี้ จกั จั่นมะม่วง ตัวเต็มวัย
ลักษณะการท�ำลาย
ช่อื วิทยาศาสตร์
37โรค-แมลงศตั รูไมผ้ ล และการปอ้ งกันกำ� จัด
Idioscopus clypealis (Lethierry) กรมสง่ เสริมการเกษตร
Idioscopus niveosparsus (Lethierry)

รูปรา่ งลกั ษณะ

เพล้ียจักจ่ันที่พบระบาดมี 2 ชนิด ล�ำตัวมีสีเทา
ปนด�ำ หรือน�ำ้ ตาลปนเทา ลำ� ตัวยาว 5.5 - 6.5 มลิ ลเิ มตร
เพศเมียวางไข่ตามแกนกลางใบอ่อนหรือก้านช่อดอก
ระยะไข่ 7 - 10 วนั ตัวออ่ นลอกคราบ 4 ครั้ง จึงเปน็
ตัวเต็มวยั ระยะตัวอ่อน 17 - 19 วัน

ลักษณะการทำ� ลาย

ตัวอ่อน และตัวเต็มวัยดูดกินน�้ำเล้ียงจากใบอ่อน ช่อดอก ก้านดอก และยอดอ่อน
ท�ำให้ใบบิดงอโค้งลงด้านใต้ใบ ขอบใบมีอาการปลายใบแห้ง การท�ำลายระยะติดดอก
ทำ� ใหด้ อกร่วง ตดิ ผลน้อยหรอื ไม่ตดิ เลย

การปอ้ งกันและก�ำจดั

ในสวนที่มีการระบาดรุนแรง เม่ือส�ำรวจพบเพลี้ยจักจ่ันมากกว่า 5 ตัวต่อช่อ
พ่นสารก�ำจัดแมลงในระยะก่อนดอกบาน และพ่นซ�้ำ 1 - 2 คร้ัง ตามความเหมาะสม
สารก�ำจัดแมลงแนะน�ำ คือ แลมบ์ดาไซฮาโลทริน อิมิดาคลอพริด ไดโนทีฟูแรน
ไทอะมีโทแซม อัตราตามคำ� แนะนำ� ในฉลาก

38โรค-แมลงศัตรูไม้ผล และการปอ้ งกนั กำ� จัด
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

แมลงวนั ผลไม้ ตวั เตม็ วัย
ลักษณะการท�ำลาย
ช่อื วิทยาศาสตร์
39โรค-แมลงศัตรูไม้ผล และการปอ้ งกันกำ� จัด
Bactrocera dorsalis Hendel. กรมส่งเสรมิ การเกษตร
Bactrocera correcta Bezzi.

รปู รา่ งลกั ษณะ

เป็นแมลงขนาดเล็ก ส่วนหัว อก และท้องมีสี
น้�ำตาลอ่อน ท่ีสันหลังอกมีแถบสีเหลืองทองเป็นแห่งๆ
ตวั เมีย 1 ตัว วางไขป่ ระมาณ 1,300 ตัว

ลักษณะการทำ� ลาย

แมลงวันผลไม้วางไข่ในผลไม้ท่ีใกล้สุกและมี
เปลือกบาง เพศเมียใช้อวัยวะวางไข่แทงเข้าไปในผลไม้

ตัวหนอนที่ฝักออกจากไข่จะอาศัยและกินอาหารภายในผล
ท�ำให้ผลเน่าเสียและร่วงหล่น หนอนจะเข้าดักแด้ในดินแล้ว
จงึ ออกเป็นตวั เตม็ วัย

การปอ้ งกันและก�ำจัด

1. เก็บท�ำลายผลไม้ที่เน่าเสียจากการท�ำลายของ
แมลงวันผลไม้

2. หอ่ ผลด้วยกระดาษ หรือถงุ พลาสติกใส
3. ใช้สารล่อแมลงวันผลไม้ เช่น เมธิลยูจินอล

คิว-ลัวร์ เมด-ลวั ร์
4. ใช้เหยื่อพิษโปรตีนไฮโดรไลเสทผสมสารก�ำจัดแมลง

เปน็ เหยื่อล่อแมลงวนั ผลไม้
5. ท�ำหมันแมลงวันผลไม้ แล้วน�ำไปปล่อยควบคุม เพื่อลดปริมาณแมลงวันผลไม้

ในธรรมชาติ

40โรค-แมลงศตั รไู ม้ผล และการป้องกนั กำ� จดั
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

โรคใบจุดมังคุด โรคใบจดุ มังคดุ
ลักษณะอาการ
เช้อื สาเหตุ 41โรค-แมลงศตั รไู มผ้ ล และการป้องกนั กำ� จัด

เชอื้ รา Pestalotia flagisetula Guba กรมส่งเสริมการเกษตร

ลกั ษณะอาการ

ใบเกิดเป็นรอยแผลไหม้สีน�้ำตาล มีขอบแผล
สีเหลือง รูปร่างของแผลไม่แน่นอน ท�ำให้ใบเสียพ้ืนท่ี
ในการสังเคราะห์แสง ความสมบูรณ์ของต้นลดลง
หากระบาดรุนแรงใบจะแห้งท้ังใบและร่วงหล่น ท�ำให้
ผลมังคุดไม่มีใบปกคลุม ผิวของผลมังคุดจะกร้านแดด
ไม่สวย มักพบโรคใบจุดในช่วงฝนตกชุก ระยะใบอ่อน
ถึงเพสลาด

การป้องกนั และก�ำจัด

ถ้าพบการระบาดเข้าท�ำลายท่ีใบจ�ำนวนมาก ให้ป้องกันและก�ำจัดด้วยสารป้องกัน
ก�ำจัดโรคพชื เช่น คาร์เบนดาซมิ 50% ดบั บลิวพี อตั รา 10 - 15 กรัมตอ่ นำ�้ 20 ลิตร

42โรค-แมลงศตั รูไมผ้ ล และการป้องกันกำ� จัด
กรมสง่ เสริมการเกษตร

เพล้ียไฟมงั คดุ เพลย้ี ไฟ
ลักษณะการทำ� ลายท่ีผล
ช่ือวิทยาศาสตร์
43โรค-แมลงศัตรูไม้ผล และการป้องกันก�ำจัด
Scirtothrips dorsalis และ Scirtothrips oligochaetus กรมส่งเสรมิ การเกษตร

รูปร่างลกั ษณะ

เพลี้ยไฟเปน็ แมลงขนาดเล็ก มีสเี หลืองหรือน้ำ� ตาลอ่อน
ยาวประมาณ 0.7 – 0.8 มิลลิเมตร เคล่ือนไหวได้รวดเร็ว
ไข่มีขนาดเล็กมากฝังอยู่ในเน้ือเยื่อของพืช ระยะเวลาจาก
ไข่ถึงตัวเต็มวัยใช้เวลาประมาณ 11 – 18 วัน ตัวเต็มวัย
มชี ีวติ อยูไ่ ด้ 22 วนั

ลักษณะการทำ� ลาย

ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน�้ำเล้ียงท่ียอดอ่อน
ดอกอ่อน และผลอ่อน ท�ำให้ยอดแห้ง ผิวผลเป็นข้ีกลาก

หรือผิวลาย มยี างไหลและอาจทำ� ใหผ้ ลร่วงได้ การท�ำลายรุนแรงในระยะทมี่ งั คุดถูกเพลีย้ ไฟเข้ามา
ท�ำลายมากท่ีสุด คือ ระยะแตกใบอ่อน โดยเฉพาะเม่ือมังคุดมีการทยอยแตกใบอ่อน การระบาด
ของเพล้ียไฟยังขน้ึ อยกู่ ับอุณหภูมทิ สี่ ูงข้ึนจะส่งผลให้เกิดการเพ่ิมประชากรของเพลยี้ ไฟ

การป้องกันและกำ� จัด

1. พ่นนำ้� ในระยะออกดอกจนกระทงั่ ถึงติดผลอ่อนทุก 2 - 3 วัน
2. ใชก้ ับดักกาวเหนยี วขนาดใหญต่ ดิ ต้ังในสวนมงั คุดตง้ั แตม่ งั คุดเริม่ แตกใบออ่ น
(กบั ดักกาวเหนียวสีเหลอื งขนาดกวา้ ง 24 น้วิ ยาว 26 น้ิว จำ� นวน 4 กบั ดกั ตอ่ ตน้ )
3. ใช้ศตั รธู รรมชาติ เพลี้ยไฟตัวหำ�้ และดว้ งเตา่ ตัวห้ำ�
4. การใช้สารกำ� จัดแมลง พ่นด้วยสารก�ำจดั แมลงชนิดใดชนดิ หนงึ่ เช่น
✤ คาร์โบซัลแฟน 20 % อีซี อตั รา 20 มิลลลิ ติ รตอ่ น้ำ� 20 ลิตร
✤ อมิ ิดาโคลพรดิ 10 % เอสแอล อตั รา 10 มลิ ลิลติ รตอ่ น�้ำ 20 ลิตร
✤ ฟโิ ปรนลิ 5 % เอสซี อัตรา 10 มลิ ลลิ ิตรต่อนำ�้ 20 ลติ ร
✤ ไซเพอร์เมทริน 6.25 % โฟซาโลน 22.5 % อีซี อตั รา 40 มิลลิลติ รต่อนำ�้ 20 ลิตร

44โรค-แมลงศตั รูไมผ้ ล และการปอ้ งกนั กำ� จัด
กรมส่งเสริมการเกษตร

โรครากขาว โรครากขาว
ลักษณะอาการ
เชอ้ื สาเหตุ 45โรค-แมลงศตั รไู มผ้ ล และการปอ้ งกันกำ� จัด

เชื้อรา Rigidoporus lignosus (Klotzsch) lmazeki กรมสง่ เสริมการเกษตร

ลกั ษณะอาการ

เช้ือโรคสามารถเข้าท�ำลายต้นยางได้ทุกระยะ
การเจริญเติบโต ต้ังแต่อายุ 1 ปีข้ึนไป เมื่อระบบราก
ถูกท�ำลายจะแสดงอาการให้เห็นท่ีทรงพุ่ม ซ่ึงเป็นระยะ
ที่รุนแรงและไม่สามารถรักษาได้ บริเวณรากที่ถูกเชื้อ
เข้าท�ำลายจะปรากฏเส้นใยราสีขาวเจริญแตกสาขา
ปกคลุม เกาะติดแน่นกับผิวราก เมื่อเส้นใยอายุมากข้ึน

จะกลายเป็นเส้นกลมนูนสีเหลืองซีด เน้ือไม้
ของรากท่ีเป็นโรคในระยะแรกจะแข็งกระด้าง
เปน็ สนี ำ้� ตาลซดี ในระยะรนุ แรงจะกลายเปน็ สคี รมี
ถ้าอยู่ในท่ีชื้นแฉะจะอ่อนนิ่ม ดอกเห็ดมีลักษณะ
เป็นแผ่นครึ่งวงกลมแผ่นเดียวหรือซ้อนกัน
เป็นช้ันๆ ผิวด้านบนเป็นสีเหลืองส้ม โดยมี
สีเข้มอ่อนเรียงสลับกันเป็นวง ผิวด้านล่างเป็น
สสี ้มแดงหรอื สนี ้�ำตาล ขอบดอกเหด็ เป็นสีขาว

46โรค-แมลงศัตรไู มผ้ ล และการปอ้ งกันก�ำจดั
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

การป้องกันและกำ� จัด

1. เตรียมพ้ืนที่ปลูกให้ปลอดโรค ในแหล่งท่ีมีโรคระบาด หลังการเตรียมดินควรปลูก
พืชคลุมดินตระกูลถ่ัวเพื่อปรับสภาพดินให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืช
และจุลนิ ทรีย์ในดินบางชนดิ ท่เี ปน็ พษิ ต่อเชอื้ ราสาเหตุ

2. หลังจากปลูกยางพาราไปแล้ว 1 ปี ควรส�ำรวจต้นยางพาราเป็นประจ�ำ เมื่อพบ
ต้นเป็นโรค  ควรขุดท�ำลายและรักษาต้นข้างเคียงโดยการใช้สารป้องกันก�ำจัด
โรคพืช

3. ต้นยางพาราที่มีอายุมากกว่า 3 ปีขึ้นไป ควรขุดคูล้อมบริเวณต้นเป็นโรค (ขนาด
คูกว้าง 30 เซนติเมตร ลึก 60 เซนติเมตร) เพื่อกั้นระหว่างต้นท่ีเป็นโรคและ
ต้นปกติ ไมใ่ ห้รากสมั ผัสกนั

47โรค-แมลงศัตรูไมผ้ ล และการป้องกันกำ� จัด
กรมส่งเสรมิ การเกษตร

4. ใช้สารป้องกันก�ำจัดโรคพืชกับต้นท่ีเป็นโรคเพียงเล็กน้อย และใช้กับต้นยางพารา
ข้างเคียงเพ่ือป้องกันโรค โดยขุดร่องเล็กๆ รอบโคนต้นกว้าง 15 - 20 เซนติเมตร
เทสารป้องกันก�ำจัดโรคพืชลงในร่องรอบโคนต้น ทุก 6 เดือน เป็นเวลา 2 ปี
สารปอ้ งกนั กำ� จดั โรคพชื ที่แนะน�ำ มดี ังนี้

✤ คาลกิ ซิน 75% อซี ี อัตรา 10 - 20 ซีซีต่อนำ้� 1 - 2 ลติ รต่อตน้
✤ อัลโด 10% เอสแอล อัตรา 10 - 20 ซีซตี อ่ นำ้� 1 - 2 ลติ รต่อตน้
✤ ทิลท์ 25% อีซี อัตรา 30 ซซี ตี อ่ น�้ำ 3 ลติ รต่อตน้
✤ เอนวลิ 5% อซี ี อัตรา 10 - 20 ซซี ตี อ่ น�ำ้ 2 ลติ รตอ่ ต้น
✤ เบเรต์ 40% เอฟเอส โดยใชใ้ นอตั รา 4 - 8 กรมั ต่อนำ�้ 3 ลติ รตอ่ ตน้

48โรค-แมลงศตั รไู มผ้ ล และการป้องกนั กำ� จดั
กรมส่งเสริมการเกษตร


Click to View FlipBook Version