The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระบบการให้น้ำพืช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ระบบการให้น้ำพืช

ระบบการให้น้ำพืช

Keywords: ระบบการให้น้ำพืช

50 ปี กรมส่งเสรมิ การเกษตร

(พ.ศ. 2510 - 2560)

ความหมายของตราสัญลกั ษณ์

l ตัวเลข 50 พร้อมข้อความ “50 ปี กรมสง่ เสรมิ การเกษตร” และ
ตราสัญลกั ษณก์ รมส่งเสรมิ การเกษตร แทนวาระครบรอบ 50 ปี
สถาปนากรมสง่ เสรมิ การเกษตร ออกแบบให้ตวั เลข 50 เก่ยี วพันกนั
เหมอื นสญั ลักษณ์ infinity ซึ่งหมายถงึ ความไมม่ ที ส่ี ิน้ สดุ
l ใบไม้ แสดงถึงสญั ลักษณ์ทางการเกษตร มาจากตราสญั ลักษณป์ ระยกุ ต์
ของกรมสง่ เสริมการเกษตร
ความหมายเป็น 50 ปีท่ีมุ่งม่ันปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรมาอย่างต่อเนื่อง
ดว้ ยความสามคั คีและเป็นน�้ำหนง่ึ ใจเดยี วกนั เปน็ ผสู้ ง่ เสริมนำ� ความสำ� เร็จ ความกา้ วหนา้
มาสู่กิจการเกษตรกรรมด้านต่างๆ และมีการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตรเพ่ือประโยชน์
แก่เกษตรกรตลอดไป



เอกสารค�ำแนะน�ำที่ 2/2561

ระบบการให้นำ�้ พชื

พิมพค์ รัง้ ท่ี 1 : จำ� นวน 5,000 เล่ม เมษายน พ.ศ. 2561
จัดพิมพ ์ : กรมส่งเสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พิมพ์ท ี่ : บริษัท นวิ ธรรมดาการพิมพ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

คำ�นำ�

ระบบการให้น�้ำพืช เป็นวิวัฒนาการทาง
เทคโนโลยวี ศิ วกรรมเกษตรประเภทหนงึ่ ทม่ี กี ารพฒั นาขน้ึ
เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้แก่เกษตรกร ทั้งในด้านการลดภาระ
ในการใช้แรงงานรดน้�ำพืช การลดความเส่ียงจากความเสียหายของพืช
อันเน่ืองมาจากการขาดน้�ำ ปัจจุบันการให้น้�ำโดยระบบการให้น�้ำพืช
มไิ ดเ้ ปน็ เพยี งแตก่ ารลดภาระหรอื ลดความเสย่ี งเทา่ นนั้ แตย่ งั เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ
การทำ� งานได้ โดยการคำ� นวณการใหน้ ำ�้ แกพ่ ชื ไดอ้ ยา่ งเพยี งพอเทา่ ทพ่ี ชื ตอ้ งการ
สำ� หรบั ในประเทศไทย เกษตรกรนยิ มใชร้ ะบบใหน้ ำ้� พชื เพอ่ื ลดภาระงานและ
ลดความเสี่ยงจากภัยแล้งกันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในสวนผลไม้
สวนผัก และพืชไร่ นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์ระบบการให้น�้ำพืชจ�ำหน่ายโดยท่ัวไป
ทง้ั ทม่ี คี ณุ ภาพสงู และคณุ ภาพตำ�่ มที ง้ั ทผี่ ลติ ในประเทศและตา่ งประเทศ ซง่ึ เกษตรกร
หรือแม้แต่นักวิชาการด้านการเกษตรส่วนมากยังมีความรู้ในด้านนี้อย่างแท้จริง
ไม่มากนัก
กรมส่งเสริมการเกษตร จึงได้จัดท�ำเอกสารค�ำแนะน�ำเร่ือง “ระบบ
การให้น้�ำพืช” เพ่ือเป็นการเผยแพร่ความรู้เร่ืองระบบการให้น้�ำพืช โดยจะเน้นถึง
การเลอื กใช้ระบบใหน้ ำ้� พชื ให้ถกู ตอ้ งและเหมาะสมกับความต้องการน�้ำของพชื

กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
2561

สารบัญ

15
8 21

ระบบการใหน้ ้ำ� พืช 1 การเลือกระบบการให้น�ำ้ 21
ทเ่ี หมาะสมกบั ชนิดของพชื
การให้นำ้� แบบฉีดฝอย 5 พชื ไร ่ 21
(Sprinkler Irrigation) 6 ● ระบบน้�ำหยด 21
● สปริงเกลอร์ (Sprinkler) ● ระบบสปริงเกลอร์ 23

การให้น้ำ� แบบเฉพาะจุด 8 พชื ผัก 24
(Loaclize Irrigation) ● ระบบนำ้� หยด 24
● มนิ สิ ปริงเกลอร์ (Mini Sprinkler) 9 ● ระบบมนิ ิสปริงเกลอร์ 24
● ไมโครสเปรย์ และเจ็ท 11 ไม้ผล 25
(Micro Spray & Jet) ● ระบบมินิสปริงเกลอร์ 25
● น�้ำหยด (Drip) 14 ● ระบบไมโครสเปรย์และเจท็ 27

ระบบการใหน้ �ำ้ พืช

พืชทุกชนิดมีความต้องการน�้ำ โดยน�้ำเป็นปัจจัยอย่างหนึ่งของขบวนการ
สังเคราะห์แสงของพืชเป็นตัวละลายธาตุอาหารในดินเพื่อให้รากดูดข้ึนไปสร้าง
การเจริญเติบโต และคายน�้ำเพื่อระบายความร้อน นอกจากนี้ ยังเป็นตัวท่ีส�ำคัญ
ในการก�ำหนดปริมาณและผลผลิตของพืชด้วย ซึ่งพืชแต่ละชนิดมีความต้องการน�้ำ
ต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิด พันธุ์ และอายุของพืชน้ันๆ การให้น้�ำน้อยไปท�ำให้พืช
เจริญเติบโตช้า ผลผลิตต�่ำ ฯลฯ แต่ถ้ามากไปก็จะท�ำให้สิ้นเปลืองน้�ำและค่าใช้จ่าย
ดงั นัน้ จึงจ�ำเปน็ ตอ้ งใหน้ ้�ำอยา่ งเหมาะสมกับความตอ้ งการน�้ำของพชื นน้ั ๆ

1ระบบการใหน้ �้ำพืช

ระบบการให้น้�ำพืชเป็นกลไกที่สามารถจัดการควบคุมปริมาณการให้น้�ำพืช
ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม และสะดวก อนั จะเกดิ ผลดี ดงั นี้

1. พืชเจรญิ เติบโตอยา่ งเต็มท่ี
2. พชื ไม่ชะงักการเจรญิ เตบิ โต
3. เพ่ิมปรมิ าณและคุณภาพผลผลติ
4. กำ�หนดเวลาเกบ็ ผลผลติ ได้
5. การใชป้ ยุ๋ มีประสทิ ธิภาพสงู ข้ึน
6. สะดวกและประหยัดเวลาการให้น้ำ�
7. ลดความเสีย่ งในอาชีพเกษตรกรรม

2 กรมสง่ เสริมการเกษตร

ระบบการให้น้�ำท่ีดีจะต้องสนองความต้องการน�้ำของพืชได้อย่างเพียงพอ
อีกทั้งยังต้องเป็นระบบท่ีเหมาะสมกับปัจจัยอ่ืนๆ ท่ีเป็นความสะดวกของ
ผใู้ ชร้ ะบบด้วย เชน่ ชนิดของแหลง่ น้�ำ ขอ้ จำ� กดั ของเครอ่ื ง สบู น�ำ้ เวลาในการใหน้ ำ�้
เป็นต้น ซึ่งในการเลือกระบบท่ีจะมาใช้กับพืชชนิดต่างๆ ผู้เลือกจะต้องรู้จักและ
ท�ำความเข้าใจกับระบบการให้น้�ำน้ันๆ ก่อน ซึ่งระบบให้น�้ำที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
แบ่งไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คือ
● การใหน้ �้ำแบบฉีดฝอย
● การให้นำ้� แบบเฉพาะจุด

3ระบบการใหน้ ำ�้ พชื

อง ์คประกอบของระบบการให้ ้�นำ

4 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

การใหน้ ้�ำแบบฉีดฝอย
(Sprinkler Irrigation)

เป็นการให้น้�ำโดยฉีดน�้ำข้ึนไปบนอากาศเหนือต้นพืชกระจายเป็นฝอย
แล้วให้เม็ดน้�ำตกลงมา บนพ้ืนท่ีเพาะปลูก โดยมีเคร่ืองสูบน้�ำเป็นอุปกรณ์ส่งน�้ำ
ผ่านระบบทอ่ ดว้ ยแรงดนั ท่ีสงู เพอื่ ใหน้ �้ำฉดี เป็นฝอยออกทางหัวปลอ่ ยนำ้�

หัวปล่อยนำ�้
เปน็ อปุ กรณซ์ ง่ึ ทำ� หนา้ ทร่ี บั นำ้� มาจากทอ่ ยอ่ ย และจา่ ยใหก้ บั ตน้ พชื ตามปรมิ าณทก่ี ำ� หนด
หวั จา่ ยนำ้� มีมากมายหลายแบบซงึ่ ผใู้ ช้จะตอ้ งเลอื กใช้ใหเ้ หมาะสมกบั ชนิดของพชื
สิง่ ส�ำคัญทีจ่ ะตอ้ งพจิ ารณา คือ
● อตั ราการจา่ ยนำ้� หมายถึง ปรมิ าณน้ำ� ตอ่ หนว่ ยเวลา
● แรงดนั ทีใ่ ชข้ องหัวปล่อยนำ้�
● รปู แบบการกระจายน�้ำ

5ระบบการให้น�้ำพชื

1. สปรงิ เกลอร์ (Sprinkler)

เป็นระบบที่ใช้แรงดันตั้งแต่ 20 เมตรข้ึนไป และมีอัตราการไหลของ
หัวปล่อยน้�ำต้งั แต่ 250 ลิตรต่อช่วั โมงขึน้ ไป เหมาะสำ� หรับการให้น้�ำในบรเิ วณกวา้ ง
ครอบคลุมพ้นื ทีไ่ ดม้ าก เช่น พชื ไร่ และพชื ผกั
ระบบสปริงเกลอร์ เหมาะกับสภาพแหล่งน�้ำที่มีปริมาณน้�ำมากเพียงพอ
คุณภาพน้�ำปานกลาง การดูแลง่าย ปัญหาการอุดตันน้อย จึงไม่ต้องการระบบ
การกรอง แต่ถ้าคุณภาพน้�ำต�่ำและมีส่ิงเจือปนมาก ก็จ�ำเป็นต้องมีระบบการกรอง
แรงดันที่ต้องใช้ในระบบค่อนข้างสูงท�ำให้การลงทุนด้านเคร่ืองสูบน้�ำและค่าใช้จ่าย
ดา้ นพลังงานสูงท่สี ุด
หัวสปริงเกลอร์ ท�ำหน้าท่ีจ่ายน�้ำโดยฉีดน้�ำจากหัวฉีดไปในอากาศ
แตกใหก้ ระจายเปน็ เมด็ นำ�้ เลก็ ๆ ตกลงมายงั พนื้ ทเ่ี พาะปลกู การกระจายนำ้� มรี ปู แบบ
เป็นวงกลม หรือแบบท่อมีรูเล็กๆ ให้น้�ำฉีดออกมาตลอดความยาวของท่อ
ระบบสปริงเกลอร์ต้องการ 2 สิ่งคือ อัตราการไหลของน้�ำและแรงดัน หากแรงดัน
ไม่พอระบบจะใช้งานไม่ได้ดี แรงดันเหมือนพลังงานในการผลักดันให้สปริงเกลอร์
ทำ� งาน จึงจะไดอ้ ัตราการไหลของน�ำ้ ออกมาอย่างถูกตอ้ ง แตก่ ่อนทน่ี ำ้� จะไหลมาถงึ
บริเวณหัวสปริงเกลอร์จะเสียแรงดันไปในเส้นทางท่ีผ่าน เช่น มิเตอร์วัดน�้ำ
ทอ่ วาลว์ กนั นำ้� กลบั ขอ้ ตอ่ และประตนู ำ้� ตา่ งๆ แลว้ จงึ ผา่ นถงึ หวั สปรงิ เกลอร์ และตอ้ ง
มีแรงดันเหลือพอให้หัวสปริงเกลอร์ท�ำงานได้ แรงดันมีผลต่อการกระจายของน้�ำ
ให้โปรยทั่วพ้ืนที่อย่างสม�่ำเสมอ ส�ำหรับต้นกล้าหรือพืชที่เพ่ิงปลูกควรใช้แรงดัน
ที่สูงกว่าก�ำหนดเพื่อให้การแตกตัวของน�้ำเป็นละอองมากข้ึน จะได้ละอองน้�ำ
ทลี่ ะเอียด ระบบสปรงิ เกลอร์นิยมใชก้ บั พืชไรแ่ ละพืชผัก

6 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

หัวปลอ่ ยน้ำ� แบบสปรงิ เกลอร์

แสดงการใหน้ ้ำ� แบบสปริงเกลอร์

7ระบบการให้น้�ำพชื

การใหน้ ำ�้ แบบเฉพาะจุด
(Localize Irrigation)

เป็นการให้น้�ำบริเวณรากพืชโดยตรง น�้ำจะถูกปล่อยจากหัวปล่อยน�้ำสู่ดิน
ใหน้ ำ้� ซมึ ไปในดินบรเิ วณเขตรากพืช ระบบนีเ้ ป็นระบบท่ปี ระหยัดน้ำ� ได้อยา่ งแท้จรงิ
เน่ืองจากจะเกิดการสูญเสียน้�ำจากปัจจัยอ่ืนน้อยมากและแรงดันท่ีใช้กับระบบต่�ำ
ประมาณ 5 - 20 เมตร ท�ำใหป้ ระหยดั คา่ ใช้จา่ ยในดา้ นตน้ ก�ำลงั สูบน�ำ้ จำ� แนกได้ดังน้ี
● มินิสปรงิ เกลอร์
● ไมโครสเปรย์และเจท็
● นำ้� หยด

8 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

1. มินสิ ปรงิ เกลอร์ (Mini Sprinkler)

เป็นระบบที่ใชแ้ รงดัน 10 - 20 เมตร และมีอัตราการไหลของหวั ปลอ่ ยน้�ำ
20 - 300 ลิตร ต่อชั่วโมง เหมาะส�ำหรับไม้ผลที่มีระยะปลูกตั้งแต่ 5 เมตรข้ึนไป
และพชื ผกั
หัวมินิสปริงเกลอร์ จะต่อไว้ยังจุดท่ีเลือกบนท่อย่อย วางไว้เหนือผิวดิน
กระจายน้ำ� ด้วยใบหมุนลงสู่ดนิ ในบริเวณเขตรากพชื รศั มี 3 - 4 เมตร ให้ปรมิ าณน้ำ�
ทีละน้อยเพียงพอแก่การเจริญเติบโต เหมาะส�ำหรับพืชท่ีปลูกท้ังระยะชิดและ
ระยะหา่ งใช้ได้ดกี บั พืชผักได้ด้วย

หัวปล่อยนำ�้ แบบมินสิ ปริงเกลอร์

9ระบบการให้น�ำ้ พืช

หัวมินิสปริงเกลอร์ บังคับทางออกของน�้ำให้มีขนาดเล็ก ข้อแตกต่างจาก
หัวปล่อยน�้ำแบบอื่นๆ ที่ค่อนข้างจะเด่น คือมีส่วนที่หมุนได้ท่ีเรียกว่า ใบหมุน
ซ่ึงเป็นตัวท�ำให้น้�ำกระจายออกเป็นวงกว้างได้ดีกว่าสเปรย์ขนาดเล็กแบบอ่ืน ท�ำให้
มบี รเิ วณพืน้ ทีเ่ ปยี กมาก
ปกติหัวมินิสปริงเกลอร์จะตั้งไว้บนขาตั้งและต่อกับท่อย่อยโดยใช้ท่ออ่อน
ท่ีถอดได้ ท่อน้ีปกติมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 0.5 เมตร
เป็นประโยชน์เมื่อต้องการโค้งงอหรือเคลื่อนย้าย จุดปล่อยน้�ำรอบๆ โคนต้นพืช
อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับหัวที่ให้ปริมาณน�้ำท่ีมากกว่า 100 ลิตรต่อชั่วโมง ควรใช้
ท่ออ่อนทีม่ ีขนาดใหญข่ ึน้ เพอื่ ช่วยลดการสญู เสยี แรงดัน

แสดงการให้นำ้� แบบมนิ ิสปริงเกลอร์

10 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

ไมโครสเปรย์ (Micro Spray) และเจ็ท (Jet)

เป็นระบบที่ใช้แรงดัน 10 - 15 เมตร และอัตราการไหลของหัวปล่อยน้�ำ

10 - 200 ลติ รตอ่ ชว่ั โมง เหมาะส�ำหรับไม้ผลทมี่ รี ะยะปลูกไมเ่ กนิ 4 เมตร
ระบบมินิสปริงเกลอร์ ไมโครสเปรย์และเจ็ท เหมาะกับสภาพแหล่งน�้ำ
ที่มีปริมาณน�้ำจ�ำกัด คุณภาพน�้ำค่อนข้างดี รูปล่อยน�้ำมีขนาดเล็ก ต้องการระบบ
การกรองที่ดีเพ่ือไม่ให้เกิดการอุดตัน ผู้ใช้ต้องมีความละเอียด ในการตรวจสอบ
และล้างไส้กรองน�้ำอย่างสม่�ำเสมอทุกวัน แรงดันท่ีต้องใช้ในระบบปานกลาง
การลงทุนดา้ นเครอ่ื งสบู นำ้� และค่าใช้จา่ ยด้านพลังงานน้อยกว่าระบบสปริงเกลอร์
การใหน้ ำ�้ แบบไมโครสเปรย์และเจ็ท เปน็ รปู แบบการใหน้ ้�ำโดยหัวปล่อยน�้ำ
กระจายนำ�้ เปน็ ฝอยหรอื เปน็ สาย หวั ปลอ่ ยนำ�้ จะไมม่ ใี บหมนุ หรอื ชนิ้ สว่ นทเ่ี คลอื่ นไหว
ให้ปริมาณน�้ำทีละน้อยเพียงพอแก่การเจริญเติบโตของพืช หัวปล่อยน้�ำถูกวางไว้
ยังจุดท่ีเลือกบนท่อน้�ำ ส่วนใหญ่จะวางไว้เหนือผิวดินกระจายน้�ำลงสู่ดินในบริเวณ
เขตรากพชื รศั มี 1-3 เมตร ทำ� ใหเ้ กดิ เขตเปยี กซงึ่ จะมากหรอื นอ้ ยขนึ้ อยกู่ บั คณุ ลกั ษณะ
ของดนิ และเวลา ใหน้ ำ้�
โดยทั่วไปไมโครสเปรย์และเจ็ทนั้น เหมาะส�ำหรับพืชท่ีปลูกระยะชิด
และต้องการความชื้นสูง ไม้ผลระยะต้นเล็กๆ และในเรือนเพาะช�ำ แบบท่ีฉีดเป็น
ฝอยละเอยี ดจะตอ้ งหลกี เลยี่ งการใชใ้ นทแ่ี จง้ ทม่ี ลี มแรงปกตมิ กั จะถกู นำ� มาตดิ โดยตรง
บนท่อย่อย หรือติดบนปลายท่อส้ันๆ หรือบนขาตั้ง หัวปล่อยน�้ำเหล่านี้มักใช้ใน
สวนผลไม้ สวนกลว้ ย ฯลฯ

11ระบบการให้นำ�้ พืช

หวั ปลอ่ ยน้ำ� แบบไมโครสเปรย์

แสดงการใหน้ ำ้� แบบไมโครสเปรย์

12 กรมส่งเสริมการเกษตร

หวั ปล่อยน�้ำแบบเจท็

แสดงการให้น�้ำแบบเจ็ท

13ระบบการให้นำ�้ พชื

นำ�้ หยด (Drip)

เป็นระบบท่ีใช้แรงดัน 5 - 10 เมตร และอัตราการไหลของหัวปล่อยน�้ำ
1 - 8 ลิตรต่อชั่วโมง ปล่อยน้�ำจากหัวปล่อยน้�ำสู่ดินโดยตรง แล้วซึมผ่านดินไปใน
บริเวณเขตรากพืชด้วยแรงดูดซับของดิน เหมาะส�ำหรับ พืชไร่ พืชผัก ท่ีปลูกเป็น
แถวชิดหรือไม้ผลบางชนิด
ระบบน�้ำหยด เหมาะกับสภาพแหล่งน�้ำท่ีมีปริมาณน้�ำจ�ำกัด คุณภาพน้�ำดี
รูปล่อยน้�ำมีขนาดเล็กมากต้องการระบบการกรองท่ีดีเพ่ือไม่ให้เกิดการอุดตัน
ผู้ใช้มีความละเอียดในการตรวจสอบและล้างไส้กรองน�้ำอย่างสม่�ำเสมอทุกวัน
แรงดันที่ต้องใช้ในระบบค่อนข้างต่�ำท�ำให้การลงทุนด้านเคร่ืองสูบน�้ำและ
ค่าใชจ้ ่ายด้านพลังงานน้อยท่ีสุด

14 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

หัวน�้ำหยด จะถูกติดต้ังไว้ยังจุดท่ีเลือกบนท่อย่อย ส่วนใหญ่หัวน้�ำหยด
จะวางไว้บนผิวดินก็ได้หรือสารมารถฝังไว้ในดินระดับตื้นๆ เพ่ือป้องกันการเสียหาย
ก็ได้ หัวน�้ำหยดจะปล่อยนำ�้ สู่ดินใหน้ ำ�้ ซมึ ไปในดิน ระหวา่ งหัวนำ้� หยดดว้ ยแรงดูดซบั
ซ่ึงแรงดูดซับก็คือ การเคลื่อนที่ของน�้ำผ่านดินโดยแรงดึงของดิน ส่วนอัตรา
การเคลอื่ นทข่ี นึ้ อยกู่ บั ขนาดของชอ่ งวา่ งในดนิ และความชนื้ ของดนิ ชอ่ งวา่ งขนาดเลก็
จะมีแรงดูดซับสูง แต่การเคลื่อนที่ของน้�ำจะช้า ส่วนเขตเปียกของดินจะมากน้อย
ข้ึนอยู่กับคุณลกั ษณะของดนิ เวลาใหน้ �ำ้ และจำ� นวนของหัวปลอ่ ยนำ�้ ที่ใช้
หวั นำ้� หยดแบบต่างๆ ทีพ่ บทัว่ ไป แบง่ ได้เป็นกลุม่ ใหญ่ๆ ดงั นี้

● หวั น�ำ้ หยดแบบติดบนท่อ

สามารถยึดติดกับท่อย่อยโดยอาศัยเงี่ยงเกาะ ใช้ในโรงเรือน
โรงอนุบาลพืช พืชตระกูลส้ม มะนาว ไม้ผลัดใบ ไม้ผลต่างๆ และไม้เถา เช่น
องนุ่ บางแบบอาจใชแ้ ยกเปน็ 4 ทางกบั หวั ปลอ่ ยนำ�้ ดงั นนั้ นำ�้ สามารถกระจายออกได้
4 จุด ท�ำให้เป็นประโยชน์เมื่อใช้กับดินร่วนหรือดินทรายซ่ึงไม่ค่อยมีการแผ่ขยาย
ของเขตเปยี ก หวั น�้ำหยดนใ้ี ชก้ นั มากในสวนองุน่ และสวนดอกไม้ การติดหวั นำ้� หยด
บนทอ่ ทำ� ให้ยากตอ่ การม้วนเกบ็ จึงนยิ มใช้ตดิ ต้ังถาวร

หวั นำ้� หยดแบบติดบนทอ่

15ระบบการให้นำ�้ พืช

แสดงการใหน้ �้ำหยดแบบติดบนทอ่

16 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

● หวั น�้ำหยดแบบฝังท่อ

มหี วั นำ�้ หยดเปน็ สว่ นเดยี วกบั ทอ่ ไมย่ น่ื ออกมาภายนอกทอ่ และสามารถ
ม้วนเก็บหลงั การใชไ้ ด้ดว้ ย ทที ง้ั ชนดิ ไมป่ รับแรงดนั และชนิดปรบั แรงดันในตัวได้

หวั นำ้� หยดแบบฝังท่อ

แสดงการใหน้ �้ำหยดแบบฝังท่อ

17ระบบการให้นำ้� พชื

● หัวน�้ำหยดแบบเทปน้�ำหยด

ประกอบดว้ ยทอ่ ใหญผ่ นงั บาง นำ� นำ�้ ไหลผา่ นตอ่ อยกู่ บั ทอ่ เลก็ เพอ่ื จา่ ยนำ้�
มีลกั ษณะเปน็ รอ่ ง หรอื บางแบบอาจเปน็ รูเลก็ ๆ และมีหวั น�้ำหยดฝงั อยภู่ ายใน

หัวน�ำ้ หยดแบบเทปนำ�้ หยด

แสดงการให้น�ำ้ หยดแบบเทปน้ำ� หยด

18 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

เทปน้�ำหยด ปกติใช้กับพืชผลต่างๆ ที่ปลูกเป็นแถว เช่น สับปะรด อ้อย
มนั สำ� ปะหลงั ผกั ตา่ งๆ และกลว้ ย ยง่ิ ขนาดของทอ่ ออกเลก็ มากเทา่ ไหรก่ ารซมึ ลงดนิ
ก็ยิ่งดีมากข้ึน ในการให้น�้ำผักท่อน้�ำหยดจะถูกวางใต้พลาสติกท่ีคลุมอยู่ เพ่ือลด
การระเหยและป้องกันผลผลิตสัมผัสกับดิน นอกจากน้ียังสามารถใช้ท่อท่ีไม่มี
ความต้านทานต่อแสงอาทิตย์และมีราคาถูกกว่าได้ การฝังท่อระดับตื้นๆ จะท�ำให้
การค้นหาทอ่ ภายหลงั ฤดเู กบ็ เก่ยี วงา่ ยข้ึน

การกำ� หนดขนาดท่อเมนย่อยเทียบกบั อัตราการหยดของความยาวของเทปน้ำ� หยด

ขนาดท่อเมนย่อย 1.0 อตั ราการหยดของเทปน�ำ้ หยด 2.5
(นิ้ว) ลติ ร/ช่วั โมง 1.5 2.0 ลติ ร/ชั่วโมง
3,900 เมตร 1,600 เมตร
2 6,000 เมตร ลติ ร/ชั่วโมง ลติ ร/ชั่วโมง 2,400 เมตร
2 1/2 9,000 เมตร 2,600 เมตร 2,000 เมตร 3,600 เมตร
4,000 เมตร 3,000 เมตร
3 6,000 เมตร 4,500 เมตร

ข้อมลู จากตารางใชก้ บั เทปที่มรี ะยะหยด 30 เซนติเมตร

หมายเหตุ :

1. เทปน้ำ� หยดทม่ี ีอตั ราการหยด 2.5 ลิตร/ช่วั โมง ความยาวทอ่ ทวี่ างไดไ้ ม่เกนิ 120 เมตร
2. เทปน้ำ� หยดทม่ี ีอัตราการหยด 1.5 ลิตร/ช่ัวโมง ความยาวท่อท่ีวางได้ไมเ่ กิน 150 เมตร

19ระบบการใหน้ ้�ำพืช

ตารางเปรยี บเทียบระบบการให้น�ำ้ แบบตา่ งๆ

ระบบ แรงดัน อัตราการไหล เวลาให้นำ�้
สปรงิ เกลอร์ สูง มาก นอ้ ย

(20 เมตรขึน้ ไป) (250 ลิตรต่อช่วั โมงขน้ึ ไป)

มินสิ ปริงเกลอร์ ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
(10 - 20 เมตร) (20 - 300 ลิตรต่อช่วั โมง)

ไมโครสเปรย์ ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
และเจ็ท (10 - 15 เมตร) (10 - 200 ลติ รตอ่ ช่วั โมง)

น�้ำหยด ตำ่� ตำ่� ตำ่�
(5 - 10 เมตร) (1 - 8 ลิตรต่อชั่วโมง)

20 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

การเลอื กระบบการให้น�้ำท่เี หมาะสม
กบั ชนดิ ของพืช

พืชไร่

● ระบบน�ำ้ หยด

เหมาะส�ำหรับการให้น�้ำกับพืชไร่ท่ีมีการปลูกเป็นแถวชิด เช่น
มันสำ� ปะหลงั อ้อย ข้าวโพด สบั ปะรด ทมี่ รี ะยะการปลูกระหวา่ งแถว 1 - 2 เมตร
สามารถใช้เทปน�้ำหยดวางตามแถวปลูกทุกแถว โดยใช้เทปน้�ำหยดท่ีมีอัตรา
2 - 4 ลติ รต่อชวั่ โมง ทกุ ช่องทางออกระยะ 30 - 50 เซนติเมตร ลักษณะการติดตง้ั
สำ� หรับขนาดพน้ื ที่กวา้ ง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ดังภาพ

21ระบบการให้นำ้� พชื

22 กรมสง่ เสริมการเกษตร

แสดงลักษณะการตดิ ตั้งระบบการใหน้ �้ำแบบน�้ำหยด

● ระบบสปรงิ เกลอร์

เหมาะสำ� หรบั พชื ไร่ ทม่ี รี ะยะปลกู ทง้ั แถวชดิ และหา่ ง เชน่ มนั สำ� ปะหลงั
อ้อย ข้าวโพด สบั ปะรด ทีม่ รี ะยะการปลกู ระหวา่ งแถว 1 - 2 เมตร การตดิ ตัง้ ไมต่ ้อง
วางท่อย่อยทุกแถวพืช แต่ใช้ระยะห่างระหว่างแนว ท่อย่อยและระหว่างหัวตั้งแต่
10 เมตรขน้ึ ไป เช่น ตดิ ตั้งหวั สปรงิ เกลอร์ อัตราการไหล 1 ลกู บาศกเ์ มตรต่อชั่วโมง
รัศมกี ารกระจายนำ้� 10 - 12 เมตร ทุกระยะ 10 x 10 เมตร สามารถติดตั้งระบบ
สปริงเกลอร์ในการให้น้�ำ ลักษณะการติดต้ังส�ำหรับขนาดพื้นท่ีกว้าง 40 เมตร
ยาว 80 เมตร ดงั ภาพ

แสดงลักษณะการติดตัง้ ระบบการให้น�้ำแบบสปริงเกลอร์

23ระบบการใหน้ �ำ้ พชื

พืชผกั

● ระบบนำ้� หยด

เหมาะส�ำหรบั พชื ผักท่ปี ลูกเป็นแถวเป็นแนว เชน่ ถั่วฝกั ยาว กะหล�่ำปลี
ทมี่ รี ะยะการปลกู ระหวา่ งแถว 0.5 - 1 เมตร สามารถใชเ้ ทปนำ้� หยดวางตามแถวปลกู
ทุกแถว โดยใช้เทปน้�ำหยดท่ีมีอัตรา 2 - 4 ลิตรต่อช่ัวโมง ทุกช่องทางออกระยะ
30 - 50 เซนติเมตร

● ระบบมินสิ ปริงเกลอร์

เหมาะส�ำหรับพืชผักที่ปลูกเป็นแปลงแบบหว่าน หรือแบบต้นกล้า
เช่น ผักกินใบ ผักหวาน การติดต้ังสามารถวางระยะห่างระหว่างแนวท่อย่อย
และระหวา่ งหัวประมาณ 3 - 4 เมตร เชน่ ตดิ ต้งั หัวมนิ ิสปรงิ เกลอร์ อตั ราการไหล
60 - 120 ลติ รต่อช่ัวโมง รศั มีกระจายน�ำ้ 4 เมตร ทุกระยะ 4 x 4 เมตร

24 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

ไมผ้ ล

● ระบบมนิ สิ ปรงิ เกลอร์

เหมาะส�ำหรับไมผ้ ลทีม่ ีระยะปลูกตง้ั แต่ 5 เมตรข้ึนไป เช่น ระยะปลูก
5 x 5, 6 x 6, 8 x 8 เมตร สามารถวางท่อย่อยตามแถวของไม้ผลทุกแถว
และติดต้ังหัวมินสิ ปริงเกลอรต์ ้นละ 1-2 หัว

25ระบบการใหน้ ำ�้ พืช

ตวั อย่างเชน่ ไมผ้ ล ระยะปลกู 5 x 5 เมตร จำ� นวน 80 ต้น ติดตั้งระบบ
มนิ ิสปริงเกลอร์ อตั ราการไหล 120 ลิตรต่อชวั่ โมง รศั มกี ระจายน�ำ้ 2-4 ตน้ ละ 1 หวั
ลกั ษณะการตดิ ต้ัง ดังภาพ

แสดงลักษณะการตดิ ต้งั ระบบการให้น�้ำ
แบบมินสิ ปรงิ เกลอร์

26 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

● ระบบไมโครสเปรย์และเจ็ท

เหมาะส�ำหรับไม้ผลท่ีมีระยะปลูกไม่เกิน 4 เมตร เช่น ไม้ผล
ระยะปลูก 4 x 4 เมตร สามารถวางท่อย่อยตามแถวของไม้ผลทุกแถวและติดต้ัง
หัวไมโครสเปรยห์ รอื เจ็ท ต้นละ 1-2 หวั

27ระบบการให้น้ำ� พืช

ตัวอย่างเช่น ไม้ผล ระยะปลูก 4 x 4 เมตร จ�ำนวน 80 ต้น ติดตั้ง
ระบบไมโครสเปรย์และเจ็ท อัตราการไหล 120 ลิตรต่อช่ัวโมง รัศมีกระจายน้�ำ
1 - 3 เมตร ต้นละ 1 หวั ลกั ษณะการติดตัง้ ดังภาพ

แสดงลกั ษณะการติดตง้ั ระบบการใหน้ �้ำ
แบบไมโครสเปรย์และเจท็

28 กรมส่งเสรมิ การเกษตร

เอกสารคำ�แนะนำ�ท่ี 2/2561

ระบบการใหน้ ้ำ� พืช

ทปี่ รกึ ษา อธบิ ดีกรมสง่ เสรมิ การเกษตร
นายสมชาย ชาญณรงค์กลุ
นายประสงค์ ประไพตระกูล รองอธิบดกี รมสง่ เสริมการเกษตร
นายส�ำราญ สาราบรรณ์ รองอธิบดีกรมสง่ เสรมิ การเกษตร
ว่าทีร่ อ้ ยตรี ดร.สมสวย ปัญญาสิทธ ์ิ รองอธบิ ดสี ง่ เสริมการเกษตร
นางดาเรศร์ กติ ตโิ ยภาส รองอธบิ ดีกรมสง่ เสริมการเกษตร
นางอญั ชลี สุวจิตตานนท์ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั พฒั นาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี
นายวฒุ ิชยั ชิณวงศ์ ผ้อู �ำนวยการกองสง่ เสริมโครงการพระราชดำ� ริ
การจัดการพ้นื ทแ่ี ละวศิ วกรรมเกษตร

เรยี บเรียง หวั หน้าฝา่ ยบริการงานชา่ งเกษตร
นายพรี ะ ช้างเยาว์
นายสุพจน์ แกว้ ปันตา นายชา่ งเครอื่ งกลปฏิบัตงิ าน
ฝา่ ยบริการงานช่างเกษตร
กองสง่ เสริมโครงการพระราชดำ� ริ การจดั การพื้นที่และวิศวกรรมเกษตร
กรมส่งเสรมิ การเกษตร

จดั ทำ�
นางรจุ ิพร จารพุ งศ์ ผูอ้ ำ� นวยการกลมุ่ พัฒนาส่ือส่งเสรมิ การเกษตร
นางสาวอ�ำไพพงษ์ เกาะเทียน นักวชิ าการเผยแพร่ชำ� นาญการ
กลมุ่ พฒั นาสอ่ื ส่งเสริมการเกษตร
สำ� นักพัฒนาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี
กรมสง่ เสริมการเกษตร

www.doae.go.th


Click to View FlipBook Version