The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประยุกต์ใช้ โคก หนอง นา โมเดล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 424ed000008, 2021-03-23 03:21:08

การประยุกต์ใช้ โคก หนอง นา โมเดล

การประยุกต์ใช้ โคก หนอง นา โมเดล

1



คำนำ

เน่ืองจากสถานการณ์ปัจจบุ นั รัฐบาลมีนโยบายสง่ เสรมิ การทาการเกษตรเพื่อการ
พงึ่ พาตนเอง พฒั นาเศรษฐกจิ ในท้องถิน่ และชมุ ชนอย่างย่งั ยนื ผา่ นการดาเนินโครงการหรือกิจกรรม
ต่างๆ เพื่อสร้างงาน สรา้ งอาชีพให้เกิดข้นึ ในทอ้ งถิ่น มคี วามมั่นคงทางอาหาร และการประกอบอาชีพ
ดว้ ยการดาเนนิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยน้อมนาศาสตรพ์ ระราชาของ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร สู่การประยุกตใ์ ช้
ท่ีดินตามศาสตร์พระราชา “โคก หนอง นา โมเดล” เพอ่ื ใหเ้ ป็น การจัดการพ้ืนที่ซง่ึ เหมาะกบั พ้นื ท่ี
การเกษตร โดยผสมผสานเกษตรทฤษฎีใหม่ เข้ากับภมู ปิ ัญญาพน้ื บ้านท่อี ยู่อยา่ งสอดคล้องกับ
ธรรมชาตใิ นพื้นที่นน้ั ๆ เปน็ การทีใ่ ห้ธรรมชาติจัดการตวั มนั เองโดยมี มนุษย์เป็นสว่ นส่งเสรมิ ให้สาเรจ็
เร็วขึน้ อย่างเปน็ ระบบ เกิดประโยชน์ในด้านการเกษตรดว้ ยหลักกสิกรรมธรรมชาติ อยา่ งยงั่ ยนื

จากเหตุผลที่กลา่ วมานนั้ ทาให้เห็นความสาคัญของการทาการเกษตร ด้วยการนา
แนวทาง “โคก หนอง นา โมเดล” ไปประยกุ ตใ์ ช้ กับผสู้ นใจเป็นแนวทางปฏบิ ตั อิ นั จะเป็นประโยชน์
ต่อไป



สำรบญั
เรือ่ ง หน้า

คำนำ ......................................................................................................................................... ก
สำรบญั ...................................................................................................................................... ข
บทนำ......................................................................................................................................... ๑
กำรพง่ึ ตนเอง แบง่ ปัน และยง่ั ยืน ร่วมกบั ทฤษฏีบนั ได 9 ขนั ้ สคู่ วำมพอเพยี ง ..............................................๒
“โคก หนอง นำ โมเดล” .................................................................................................................๓
ตวั แปร ท่ีต้องนำมำใช้ในกำรออกแบบ “โคกหนองนำโมเดล...................................................................๙
วธิ ีกำรออกแบบ “โคกหนองนำโมเดล” ............................................................................................๑๑
พนื ้ ท่ีต้นแบบสำหรับกำรดงู ำน .......................................................................................................๑๗
เกษตรทฤษฎีใหม่ (New Theory Agriculture) ..............................................................................๑๘
บรรณำนกุ รม ............................................................................................................................ ๒๕



บทนำ

การประยกุ ตใ์ ชท้ ดี่ นิ ตามศาสตรพ์ ระราชา “โคก หนอง นา โมเดล”
เร่มิ ต้นจาก “อ.ยกั ษ์” นายวิวัฒน์ ศัลยกาธร ประธานสถาบนั เศรษฐกิจพอเพียงและมูลนธิ ิกสกิ รรม
ธรรมชาตมิ าบเออื้ ง และ “อ.โก้” ผศ.พิเชฐ โสวิทยสกลุ คณบดีคณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ สถาบนั
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง ร่วมกันออกแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” เพอ่ื ให้
เปน็ การจดั การพื้นท่ีซ่งึ เหมาะกบั พ้ืนท่ีการเกษตร โดยผสมผสานเกษตรทฤษฎีใหม่เขา้ กบั ภมู ิปญั ญา
พื้นบ้านทีอ่ ยอู่ ย่างสอดคล้องกับธรรมชาติในพ้นื ที่นัน้ ๆ เป็นการทใ่ี หธ้ รรมชาติจดั การตัวมันเองโดยมี

มนุษย์เปน็ สว่ นสง่ เสรมิ ให้มันสาเรจ็ เรว็ ขึ้นอย่างเปน็ ระบบ
การนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้



กำรพ่ึงตนเอง แบง่ ปัน และย่งั ยนื รว่ มกบั ทฤษฏีบนั ได 9 ข้ันสู่ควำมพอเพยี ง

1. เศรษฐกิจพอเพียงขั้นพืน้ ฐาน
ด้วยการขดุ หนอง ทาโคก ปลกู ปา่ 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อยา่ ง ทาการเกษตรแบบ

กสกิ รรมธรรมชาติ
2. เศรษฐกิจพอเพียงขน้ั ก้าวหนา้

ด้วยการสรา้ งสังคม ทาบญุ ทาทานกอ่ นการขาย
3. เศรษฐกจิ พอเพยี งข้นั ยัง่ ยนื

ดว้ ยการมีเครือขา่ ยท่ีมาจากศรทั ธารว่ ม 5 ภาคี ไดแ้ ก่ รฐั , วิชาการ, ประชาชน, เอกชน,
ประชาสังคมและสือ่



“โคก หนอง นำ โมเดล”

ศาสตร์พระราชา ดา้ นการจดั การดิน นา้ ปา่ ตามแนวทางพระราชดารแิ ละปรัชญาเศรษฐกจิ
พอเพียง เป็นหลักคดิ ในการทางาน การจัดการออกแบบพน้ื ที่เพอ่ื ทาการเกษตรอยา่ งย่ังยืน โดยเนน้ ที่
แหลง่ นา้ เพอื่ ใช้ในการเกษตร มีการจัดการเพอ่ื ใหเ้ กดิ สมดุลของระบบนิเวศ ตลอดจนใช้พ้ืนท่ใี หเ้ กิด
ประสิทธภิ าพสงู สดุ

เป็นการออกแบบพ้นื ที่เพ่อื การจัดการนา้ ตามภูมิสังคม : ความแตกต่างของแต่ละพนื้ ที่ ท้งั
ทางดา้ นภมู ศิ าสตร์ สงิ่ แวดล้อม ชีวภาพ วถี ีชวี ติ ประเพณี ขนบธรรมเนยี มและวัฒนธรรม โดยยดึ
หลักการสร้าง micro climate หรือการสร้างระบบนิเวศยอ่ ยๆ ในพน้ื ทีส่ ว่ นบคุ คล พน้ื ทีช่ ุมชน พ้ืนท่ี
สาธารณะ ตามความต้องการของบุคคลและชุมชนในพื้นที่ ดว้ ยการรว่ มมอื ลงแรง ลงแขก ลงขัน
กลายเปน็ ความมัน่ คงของชมุ ชน เป็นสงั คมในอนาคต



“โคกหนองนาโมเดล” เป็น “หลมุ ขนมครกเกบ็ กักนา้ ” เหมาะสาหรบั สภาพพืน้ ท่ีลุ่ม พนื้ ที่ท่ี
จะออกแบบ จะเน้นการเก็บน้าเพือ่ ใช้สอยจากน้าฝนท่ีตกในพนื้ ที่เป็นหลกั และถา้ มนี ้าจากระบบ
ชลประทานหรือแหลง่ นา้ ตามธรรมชาติ (แม่น้า ลาคลอง) เป็นส่วนเสริม จะยงิ่ ทาให้พ้ืนท่ีมี
หลกั ประกันด้านน้าใช้ สว่ นพื้นทีท่ ไี่ ม่มสี ว่ นเสริมดังกล่าวการวางแผนเพื่อบริหารการใชน้ ้าอยา่ งย่งั ยืน
จึงเปน็ สง่ิ ที่ตอ้ งคานึงถึง โดย โคกหนองนาโมเดล จะแบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 สว่ นคอื โคก หนอง และ นา

โคก เกิดจากการนาดินท่ีขุดเพื่อทาบ่อนา้ หรอื หนองนา้ มาทาเป็นเนนิ สงู จนเปน็ โคก บนโคกให้
ปลกู ปา่ 3 อย่างประโยชน์ 4 อยา่ ง โดยรากไม้ที่ปลกู จะสานกนั หลายระดับ
ทาหนา้ ท่เี ก็บกกั นา้ ไว้ในดิน ควรปลกู แฝกรว่ มดว้ ยเพอื่ ชว่ ย
เกบ็ น้าและปอ้ งกนั การพังทลายของดนิ รากไมต้ า่ งๆจะช่วย
ซับน้าไวแ้ บบ “หลมุ ขนมครกใตด้ ิน” เมือ่ ตน้ ไม้เจริญเติบโต
ป่ามคี วามสมบูรณ์ ป่าบนโคกจะช่วยเกบ็ นา้ ไวใ้ ตด้ ิน
มากหรอื น้อยข้นึ อยู่กบั ชนดิ ของดนิ ตาแหน่งของโคกควร
อยทู่ างทิศตะวนั ตกเพอื่ ช่วยบงั แสงอาทติ ยย์ ามบา่ ย บริเวณ
พน้ื ทีข่ องโคกจะใชป้ ระโยชน์เปน็ ทอ่ี ย่อู าศัย ปลูกผัก เลีย้ ง
สตั ว์และกิจกรรมอ่ืนๆ ของเกษตรกร

หนอง เกดิ จากการขุดบ่อกักเกบ็ น้าเพ่ือใชใ้ นการเพาะปลูก
เล้ียงสัตวน์ า้ หรือปลกู พชื นา้ เพ่อื ใชบ้ ริโภค สว่ นดินทขี่ ุดหนองน้านา
ไปใชท้ าโคกได้ ตาแหน่งของหนองน้าควรอย่ทู างทศิ ทลี่ มรอ้ นผา่ น
เพ่อื ให้ลมเย็นลงกอ่ นพดั เขา้ สบู่ า้ น
หนองนา้ ควรขุดให้ขอบและพ้ืนหนองน้ามีความคดโค้ง
เป็นร่องเป็นแนว มีความลึกหลายระดับและใหแ้ ดดส่องถึง
เพื่อใหป้ ลาวางไขไ่ ดด้ ี มีการขุด “คลองไสไ้ ก”่ เพ่อื ช่วย
กระจายนา้ ใหท้ ว่ั พืน้ ที่ เพิม่ ความชุ่มชน้ื ในดนิ สง่ ผลดีตอ่
การปลกู พชื สรา้ ง “ฝายชะลอนา้ ”และ”หลุมขนมครก”
เพอื่ รับนา้ และชะลอนา้ ทีไ่ หลมา ดักตะกอนให้ไหลลง
หนองน้าน้อยลง ชะลอการสญู เสียแร่ธาตุและเปน็ การ
เพ่มิ แหลง่ กกั เกบ็ น้าในพ้นื ท่ี ปริมาณน้าท่ีเก็บในหนองต้อง
คานวณใหเ้ พียงพอตอ่ การใช้งานในพน้ื ทแี่ ละมนี ้าเหลอื ใช้
ในหน้าแลง้ หรอื ฝนทง้ิ ช่วง บริเวณพ้ืนทข่ี องหนองจะใชป้ ระโยชน์เป็น แก้มลงิ เกบ็ นา้ ในหนา้ ฝนและ
แหล่งนา้ สาหรับอปุ โภคบริโภคในหน้าแล้ง



คลองไส้ไก่



นำ ควรยกหัวคนั นาให้สงู อยา่ งน้อย 1 เมตร เพอื่ เพิ่มพืน้ ทเ่ี ก็บน้าไวใ้ นนาใหเ้ ทา่ กับความสูงของคันนา
และปั้นคนั นากว้างๆ เพอื่ ปลกู ไม้ผล ไม้สมุนไพรและพชื ผักสวนครัวที่สามารถเก็บกินและขายสร้าง
รายได้ ในทุกๆ วนั จึงถกู เรียกเปน็ “หวั คันนาทองคา” และควรปลูกแฝกเพอื่ ปอ้ งกันการพงั ทลายของ
คนั นา คันนาถกู ใชเ้ ปน็ เคร่อื งมือปรบั ระดับน้าเข้านาตามความสูงของตน้ ขา้ ว และยงั สามารถใช้นา้ เพอ่ื
ควบคุมวัชพชื และแมลงตามภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ โดยปรมิ าณนา้ ฝนสว่ นหนึง่ จะซมึ ลงดนิ เก็บเป็นน้าใต้
ดินชว่ ยสร้างความช่มุ ช้ืนใหแ้ กร่ ะบบนิเวศในดนิ ต่อไป บรเิ วณพ้ืนทขี่ องนาจะใช้ประโยชนเ์ ป็น ท่ีปลูก
ข้าว เลี้ยงปลาสาหรับกาจัดศัตรขู องขา้ วและเปน็ อาหาร และปลกู พืชหมนุ เวยี นอ่ืนๆ ของเกษตรกร



ปำ่ ๓ อยำ่ ง ประโยชน์ ๔ อย่าง เป็นแนวทางการอนุรกั ษ์และฟน้ื ฟูทรพั ยากรป่าไม้ท่ี
เกือ้ กูลต่อความตอ้ งการดา้ นเศรษฐกิจและสังคม สามารถปลูกไดท้ ุกสว่ นของพื้นท่ี
๑. ประโยชนพ์ ออยู่ -การปลกู ไม้เนอ้ื แข็งอายุยืนเพอื่ ใช้สร้างท่พี ักอาศัยและเครอื่ งเรอื นรวมทั้งยัง
สามารถรกั ษาไว้เปน็ ทรพั ย์สนิ ในอนาคตได้ ไมใ้ นกลุ่มนี้ได้แก่ ตะเคยี นทอง ยางนา แดง สกั พะยงู
ฯลฯ
๒. ประโยชนพ์ อกนิ -การปลกู ต้นไม้ท่ใี ชเ้ ปน็ อาหารหรือใชเ้ ปน็ สมนุ ไพรได้ เชน่ แค มะรมุ สะตอ
ผกั หวาน กล้วย ฯลฯ
๓. ประโยชน์พอใช้ -การปลกู พชื โตเร็วเพอื่ นามาใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจาวนั เชน่ เผาถา่ น ทา
หัตถกรรม ป้องกนั ลม ไม้ในกลุม่ นี้ไดแ้ ก่ ไผ่ กระถินเทพ หวาย มะคาดีควาย ฯลฯ
๔. ประโยชน์พอรม่ เย็น – การปลูกปา่ เพือ่ ประโยชนท์ ั้งสามอยา่ งจะนาไปสู่ความร่มเยน็ และระบบ
นเิ วศนท์ ีอ่ ุดมสมบูรณ์มากขึ้น

การปลูกป่า 7 ระดับ เปน็ แนวทางการปลกู พชื อย่างผสมผสานเพ่อื ให้เกดิ ความ
หลากหลายทางชวี ภาพรวมถึงประโยชน์สูงสดุ จากการใชพ้ ื้นที่และแสงอาทิตย์

๑. ไม้สงู - ไม้ลาต้นสงู ใหญแ่ ละอายยุ นื เช่น ยางนา ตะเคียน พะยงู เป็นต้น
๒. ไม้กลาง - ไม้ลาตน้ ไม่สูงนกั ไมผ้ ล เช่น มะม่วง ขนุน มังคุด กระทอ้ น ไผ่ เป็นตน้
๓. ไม้เตีย้ – ตน้ ไม้ทรงพุ่ม เชน่ มะนาว มะกรดู มะละกอ มะเขือพวง กลว้ ย เปน็ ตน้
๔. ไม้ทรงพมุ่ – พืชผกั สวนครัว เชน่ พริก มะเขือ กระเพรา ผักหวานบ้าน ตะไคร้ เหรยี ง เป็นต้น
๕. ไม้เล้ือยเกาะเกีย่ ว - พืชจาพวก พรกิ ไท ตาลึง มะระ ถว่ั ฝกั ยาว บวบ รางจืด เป็นตน้
6. ไม้หวั ใต้ดนิ - พืชจาพวก ขิง ข่า มนั บกุ เป็นต้น
7. ไม้น้า – พืชจาพวก ผักกะเฉด ผักบุ้งบ้าน บัว กระจบั สาหร่ายนา้ เป็นตน้



ควรปลกู แฝกเพือ่ ป้องกนั การพังทลายของดนิ ชว่ ยดักตะกอนและชว่ ยเก็บความชุ่มชื้นของใต้ดิน และ
ควรปลกู พชื ตระกลู ถว่ั ท่ีใบรว่ งมาก เชน่ จามจุรีและทองหลาง เปน็ ต้น รอบหนองนา้ เพื่อตรึง
ไนโตรเจนลงดิน ใบไม้ท่ีร่วงลงพน้ื จะชว่ ยควบคุมวัชพืชและคลุมหน้าดนิ ให้มีความชมุ่ ชืน้ สว่ นใบไม้ท่ี
รว่ งลงน้าจะช่วยเพม่ิ ปรมิ าณอนิ ทรียวัตถแุ ละจุลินทรียใ์ หก้ ับนา้ ทจ่ี ะนามาใชเ้ ลย้ี งพืช

การดักตะกอนของแฝก : ภาพจาก http://www.sudyord.com/
“หม่ ดิน” เปน็ การนาวัสดุเหลอื ใชท้ างการเกษตรต่างๆ เชน่ ฟางขา้ ว ใบไม้ เปน็ ตน้ มาปดิ
ทผี่ วิ หน้าของดนิ เพือ่ ให้ดินไมถ่ กู แสงแดดและรงั สคี วามร้อนในเวลากลางวนั ลดความสญู เสยี นา้ ใหแ้ ก่
พชื ดนิ จะสามารถเก็บความช้ืนจากน้า น้าฝนหรอื นา้ คา้ งไว้ในดินไดน้ านขน้ึ ดินจะมีความนมุ่ ไมแ่ ข็ง
กระดา้ ง รากพืชสามารถแตกแขนงหาอาหารได้ดี พชื และสตั ว์ขนาดเล็กทม่ี ีประโยชน์ตอ่ พชื เชน่
ไสเ้ ดือน จลุ ินทรีย์ต่างๆ เปน็ ต้น สามารถเจรญิ เติบโตในดินได้ นอกจากนี้วสั ดทุ นี่ ามา “ห่มดิน” จะ
ป้องกนั วชั พืชไมใ่ ห้เตบิ โตมารบกวนพืชท่ปี ลกู
“แหง้ ชำม นำ้ ชำม” เปน็ การใสป่ ุ๋ย ที่เรยี กวา่ ใส่ “แหง้ ชาม” ใชป้ ุ๋ยอนิ ทรยี ์ มาโรยบริเวณ
โคนต้นพืช เพื่อให้พชื ไดร้ บั สารอาหารเพมิ่ ส่วนท่เี รยี กว่าใส่ “นา้ ชาม” เปน็ การใส่ปยุ๋ น้าหมัก ผสมน้า
ตามอตั ราส่วน 1:500 ใชร้ าดบริเวณโคนตน้ พชื หลงั จากใส่ปุย๋ แลว้ ก็ตามมาด้วยการห่มดินเพ่อื ลดการ
สูญเสยี ของป๋ยุ จากแรงลม แรงน้า จากการชะล้าง



ตวั แปร ทตี่ ้องนำมำใชใ้ นกำรออกแบบ “โคกหนองนำโมเดล”

มี 5 ประการคือ

1. ทิศ ควรสารวจทิศเหนอื ใต้ ตะวนั ออก ตะวันตกและทิศทางการข้นึ ของพระอาทติ ย์ในฤดู
ตา่ งๆ ในพ้นื ทนี่ ั้นๆ

2. ลม ควรพิจารณาลมตามฤดูและลมประจาถิ่น อย่างฤดฝู นและฤดรู ้อนลมจะพัดมาจากทิศ
ตะวันตกเฉียงใต้ ฤดหู นาว(ลมหนาวหรือลมข้าวเบา) ลมจะพัดมาจากทิศตะวันออกเฉียงเหนอื ควร
วางตาแหนง่ บา้ นเรอื นและลานตากขา้ วไมใ่ ห้ขวางทศิ ทางลม และออกแบบบา้ นใหม้ ีช่องรับลมตามทิศ
ในแต่ฤดกู าล เพ่ือให้บ้านเยน็ อยสู่ บายและลดการใช้พลงั งานในบ้าน

3. ดิน พจิ ารณาลักษณะของดนิ การอมุ้ นา้ ของดนิ เพ่อื วางแผนการขดุ หนองน้าและการ
ปรบั ปรงุ ดินที่เหมาะสม ใชก้ ารฟ้ืนฟดู ินดว้ ยการหม่ ด้วยฟาง ใบไม้หรอื หญ้า ทเี่ รยี กวา่ “ไมป่ อกเปลือก
เปลอื ยดิน” แล้วเตมิ ปุ๋ยให้เหมาะสมกับคณุ ลักษณะของดิน เนน้ การใช้ปุ๋ยอนิ ทรียท์ ้งั ชนิดแหง้ และชนดิ
น้าแบบทเ่ี รียกว่า “แหง้ ชามนา้ ชาม” โดยนาฟางวางบนดินสลับดว้ ยปยุ๋ หมักแลว้ ตามดว้ ยการราดปุ๋ย
นา้ จุลนิ ทรีย์ ดว้ ยวิธีการ “หม่ ดนิ ” จะช่วยลดการระเหยของนา้ บนผิวดนิ ช่วยให้ส่งิ มชี ีวิตผวิ ดินและใน
ดนิ เพิ่มจานวนไดม้ ากขนึ้ ทาให้จุลนิ ทรยี ์ย่อยสลายอนิ ทรยี วตั ถุได้ดีขน้ึ ปิดก้ันไมใ่ หว้ ชั พืชได้รบั แสงแดด
ด้วยวธิ กี ารห่มดนิ จะชว่ ยแก้ปญั หาของดินได้

4. น้า การขดุ หนองนา้ ตอ้ งดทู างไหลเข้าและออกของนา้ ในพืน้ ท่ี ควรวางตาแหน่งหนองนา้ ใน
ด้านทล่ี มรอ้ นพัดผา่ นกอ่ นเข้าสู่บ้าน จะชว่ ยให้บ้านเยน็ ขึน้ ควรขุดหนองใหม้ ีความคดเค้ียวเพือ่ เพิ่ม
พ้ืนท่เี พาะปลูกพืชริมขอบหนองและทา “ตะพัก” หรอิ ความลดหลั่นของระดบั ความสงู ในหนองให้ไม่
เทา่ กนั โดยช้นั แรกมคี วามลกึ เท่าระดับที่แสงแดดสอ่ งลงไปถึง เพอื่ เปน็ ชน้ั ใหป้ ลาสามารถวางไข่และ
อนุบาลสัตวน์ า้ ได้ ควรปลกู พืชนา้ หรือไม้นา้ เพ่ือให้ปลาใช้เปน็ แหล่งวางไข่ ท่อี ยู่อาศัยและเปน็ อาหาร
ใหก้ ับสัตว์น้า รวมทั้งทา “แซนวิชปลา” นาหญ้าและฟางกองสลับกบั ปยุ๋ หมกั ไว้ทต่ี ้นน้าเพื่อสร้างแพลง
ตอนและไรแดง เป็นการเพิ่มอาหารให้กบั สตั ว์น้า

5. คน หัวใจสาคัญของการออกแบบพ้นื ทใ่ี หเ้ หมาะสม ขึน้ อยกู่ บั ความตอ้ งการของผทู้ เ่ี ปน็
เจ้าของเป็นหลกั ซึ่งจะเปน็ ผู้ท่ใี ช้ประโยชนจ์ ากพน้ื ท่ีนนั้ มากท่สี ุด

๑๐

ขอ้ มลู เบอ้ื งต้น ของพ้ืนทีท่ ค่ี วรรวบรวมก่อนกำรออกแบบ “โคกหนองนำ” มีดังต่อไปนี้
1. แผนท่อี อร์โธสเี ชิงเลขที่มีเสน้ ช้นั ความสงู 1 เมตร ของพน้ื ท่เี ป้าหมายและพ้นื ท่ี

โดยรอบรศั มี 1 กโิ ลเมตร มาตราสว่ น 1:4000 เป็นข้อมลู ในรปู แบบ Digital และ PDF
2. ค่าพกิ ดั ทต่ี งั้ ของพนื้ ทเี่ ป้าหมาย
3. ข้อมลู อุตนุ ยิ มวิทยา เชน่ ปริมาณนา้ ฝนรายวันและรายปี 25 ปี, ปริมาณนา้ ฝนสูงสุด

ตดิ ต่อ 3 วนั , จานวนวันที่ฝนตก, ปรมิ าณการระเหยของนา้ เป็นตน้
4. แผนที่กายภาพปัจจบุ นั บริเวณพ้ืนท่ีเปา้ หมาย เช่น แผนที่การใชป้ ระโยชน์ที่ดิน, แผนท่ี

กลุ่มชดุ ดิน, แผนท่ีภมู ิประเทศทม่ี เี สน้ ชนั้ ความสูง 0.25 เมตร เป็นตน้
5. ขอ้ มลู สารวจทีใ่ ชใ้ นการทาแผนทีภ่ มู ปิ ระเทศในขอ้ 4
6. ความต้องการในการใช้ประโยชน์ท่ีดินของเจ้าของพื้นที่ เช่น ชนดิ และจานวนพชื ท่ใี ช้

ปลกู ปา่ , พืชไร่, พชื สวน, พชื สวนครัว และของสตั วเ์ ลี้ยง เป็นต้น
7. ข้อมลู ความตอ้ งการใช้นา้ ของพืชและของสัตวเ์ ลย้ี งตามความต้องการของเกษตรกร ที่

จะมีในพ้ืนท่เี ปา้ หมาย
8. จานวนคนของครอบครัวเกษตรกรในพ้ืนทีเ่ ปา้ หมาย

๑๑

วธิ กี ำรออกแบบ “โคกหนองนำโมเดล”

(1) นาทด่ี นิ ของเกษตรกรมาแปลงหน่วยจากตารางวามาเปน็ ตารางเมตร ( 1 ตารางวาเท่ากับ 4
ตารางเมตร)

(พน้ื ท่ี 1 ไร่ หรอื 400 ตารางวา เท่ากบั 1,600 ตารางเมตร)
เชน่ มีทีด่ นิ 5 ไร่ เท่ากบั 5 x 1,600 = 8,000 ตารางเมตร

(2) คานวณปริมาณนา้ ฝนท่ีตกในพื้นท่ี (ตอ้ งเก็บน้าใหไ้ ด้ 100%)
ปรมิ าณน้าฝนเฉลย่ี ตอ่ ปีของพน้ื ท่ีนน้ั ๆ (ม.ม.) x พ้ืนท่ีดนิ (ตร.ม.)
เช่น พนื้ ท่นี ้ันมีปริมาณน้าฝนเฉลี่ยตอ่ ปี = 1,200 ม.ม.
ปริมาณนา้ ฝนตอ่ ปีเท่ากับ 1.20 x 8,000 = 9,600 ลบ.ม.

(3) คานวณขนาดของหนองน้าเพื่อเก็บนา้ ฝน
ใน 1 ปมี ีวนั ทฝ่ี นไมต่ ก 300 วัน โดยน้าจะระเหยอยา่ งน้อยวนั ละ 1.25 ซ.ม.(เดิมใช้ 1.0
ซ.ม.)น้าจะระเหยไปตอ่ ปีเท่ากบั 1.25 x 300 = 3.75 ม. ต้องขดุ หนองลกึ กว่า 3 +
3.75 = 6.75 ม.หนองน้าเกบ็ นา้ 9,600 ลบ.ม. จะมขี นาดเท่ากบั 40(กว้าง) x 35.6(
ยาว) x 6.75(ลกึ ) = 9,612 ลบ.ม.(คดิ แบบความลาดชันของขอบหนองน้าสูง)
พ้ืนที่ใชเ้ ป็นหนองนา้ เทา่ กบั 40 x 35.6 = 1,424 ตร.ม. หรอื 0.89 ไร่ หรอื 3 งาน
56 ตร.วา

(4) คานวณปริมาณดนิ สาหรับใช้ทาโคก
ไดจ้ ากการขดุ หนอง ดนิ จะฟูขน้ึ 30% เทา่ กบั ได้ดินทาโคก 9,612 x 1.30 =
12,495.6 ลบ.ม.

(5) คานวณขนาดน้า (ครอบครัวเกษตรกรมสี มาชิก 5 คน)
คน 1 คนใช้ขา้ วสารหุงข้าว 0.3 ก.ก./วนั ดงั นน้ั คน 5 คนใช้ขา้ วสารเท่ากบั 5 x 0.3 =
1.5 ก.ก./วันในหนึ่งปีใชข้ า้ วสารเท่ากับ 1.5 x 365 = 547.5 ก.ก.
ข้าวสาร 1 ก.ก. ได้จากการสขี ้าวเปลือก 2 ก.ก. ดังนนั้ ข้าวเปลอื กท่ีใชต้ อ่ ปีคอื 1,095
ก.ก.โดยเฉลย่ี นา 1 ไร่จะไดข้ ้าวเปลือกประมาณ 1,000 ก.ก. ดังนัน้ ใชพ้ ื้นทท่ี านาเพียง
1.1 ไร่ก็พอเพียงแต่ตามหลักเศรษฐกจิ พอเพียงขั้นกา้ วหนา้ ควรทาทานแจกจ่าย ดังน้นั
พน้ื ท่ีทานาควรทา 2.0 ไรแ่ ละจะมีขา้ วเปลือกสว่ นเหลือประมาณ 905 ก.ก. เพือ่ แบ่งปนั
สรุป พื้นท่ีเหลอื เป็นโคกเท่ากับ 5 - 0.89 - 2 = 2.11 ไร่

๑๒

(6) ปรมิ าณนา้ ฝนที่เกบ็ ไวใ้ นนา
พน้ื ท่ีนา 2.0 ไร่ 3,200 ตร.ม. ยกขอบคนั นาสูง 1.0 ม. เก็บนา้ ได้ 3,200 x 1 =

3,200 ลบ.ม.(ไมไ่ ดน้ าการระเหยของน้าในนามาคิด)

(7) ปรมิ าณน้าฝนทเ่ี กบ็ ไว้ในโคก(ป่า)
โคก(ปา่ ) จะเก็บน้าไวใ้ ตด้ นิ ได้ครง่ึ หนงึ่ ของความจุหนองนา้ 9,612/2 = 4,806 ลบ.ม.

(8) ปรมิ าณน้าทเี่ ก็บไวใ้ นคลองไส้ไกแ่ ละหลมุ ชะลอนา้ (ยงั ไม่นามารวมจนกวา่ จะออกแบบพ้นื ทแี่ ล้ว
เสรจ็ )
สรุป ปริมาณน้าท่ีเกบ็ ได้ 9,612 + 3,200 + 4,806 = 17,618 ลบ.ม.

คิดเปน็ 184% ของปรมิ าณน้าฝนทตี่ กในพื้นท่ี

(9) คานวณปรมิ าณน้าใชส้ าหรบั กิจกรรมต่างๆ
นา 1 ไรใ่ ชน้ า้ 1,000 ลบ.ม./ปี นา 2 ไร่จะใช้นา้ 2 x 1,000 = 2,000 ลบ.ม./ปี
ป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อยา่ ง 1 ไรใ่ ช้น้า 1,000 ลบ.ม./ปี
ปา่ 1 ไร่จะใชน้ า้ 1 x 1,000 = 1,000 ลบ.ม./ปี
พชื ไร่หรือไม้ผล 1 ไรใ่ ชน้ ้า 1,000 ลบ.ม./ปี
พชื ไรห่ รือไมผ้ ล 1 ไรจ่ ะใชน้ ้า 1 x 1,000 = 1,000 ลบ.ม./ปี
พืชสวนครัวและกจิ กรรมอ่ืนๆ 1 ไรใ่ ช้น้า 1,000 ลบ.ม./ปี
พชื สวนครวั และกิจกรรมอื่นๆ 0.11 ไรจ่ ะใชน้ ้า 0.11 x 1,000 = 110 ลบ.ม./ปี
นา้ ใช้อุปโภคบรโิ ภคครัวเรือน 1 คนใช้น้า 200 ลิตร/วนั 5 คนใชน้ า้ 1,000 ลติ ร/วนั (1

ลบ.ม.)
ใช้นา้ รวม 1 x 365 = 365 ลบ.ม./ปี

หนองนา้ 0.89 ไร่ นา้ ระเหยวันละ 1.25 ซ.ม.วันท่ีฝนไม่ตก 300 วัน น้าระเหยไปต่อปี
3.75 ม.

ใช้นา้ ไป 0.89 x 1,600 x 3.75 = 5,340 ลบ.ม./ปี
เหลอื น้าใช้ 0.89 x 1,600 x 3.00 = 4,272 ลบ.ม./ปี
สรุป ปริมาณนา้ ใช้ 2,000 + 1,000 + 1,000 + 110 + 365 + 4,272 = 8,747
ลบ.ม.
หนองนา้ ที่เก็บได้-น้าใช้ เทา่ กบั 9,612 - 8,747 = 865 ลบ.ม. (นา้ ทีเ่ ก็บในหนอง
น้ามีเพยี งพอ)

๑๓

๑๔

ตัวอย่ำงกำรออกแบบพนื้ ที่ทำกิน 10 ไร่

๑๕

1. พน้ื ทีส่ งู กรณที ีเ่ ปน็ พืน้ รำบ

2. พนื้ ท่ีสงู กรณที เ่ี ขำมหี บุ เขำ สำมำรถก้ันฝำยเกบ็ นำ้ ได้

๑๖

3. พืน้ ท่ีสงู กรณที ่เี ป็นสันเขำ ลำดเอียงทำงเดียว ไมม่ ีหุบเขำ

4. พืน้ ทีส่ ูง กรณที ่ีเปน็ สนั เขำ ลำดเอียงสองทำง ไมม่ หี ุบเขำ

๑๗

พื้นท่ตี ้นแบบสำหรบั กำรดงู ำน

1. ศูนย์การเรียนรู้ "ปา่ สักโมเดล" ในพื้นที่หว้ ยกระแทก 600 ไร่ ของหน่วยบัญชาการสงครามพเิ ศษ
ศูนยส์ งครามพเิ ศษ คา่ ยเอราวัณ จ.ลพบุรี
2. โรงเรยี นสงครามพเิ ศษ ศนู ยส์ งครามพิเศษ คา่ ยเอราวณั จ.ลพบรุ ี
3. การจัดการนา้ บนพ้นื ที่สูง บ้านห้วยกระทงิ แม่ระมาด จงั หวัดตาก
4. ศูนย์กสกิ รรมธรรมชาติชมุ ชนตน้ น้าน่าน ต.ศรีภมู ิ อ.ทา่ วงั ผา จ.นา่ น
5. ศนู ย์กสกิ รรมธรรมชาตติ ลาดน้าส่ีภาค พัทยา จ.ชลบรุ ี
6. ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอ้อื ง เลขที่ 114/1 หมู่ 1 ต.หนองบอนแดง อ.บา้ นบงึ จ.ชลบุรี
20170.
7. โคกหนองนาดาราโมเดล บ้านด่แู ละบ้านหนองบอน ต.หนองบัวบาน อ.รัตนบุรี จ.สุรนิ ทร์
8. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหว้ ยลกึ ตาบลปิงโคง้ อาเภอเชียงดาว จังหวดั เชียงใหม่
9. ศูนย์ภูมริ ักษธ์ รรมชาติ บา้ นทา่ ดา่ น ตาบลหนิ ต้ัง อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก
10. ศูนย์เรียนร้กู ารพฒั นาทด่ี นิ ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง ตาบลหนองโน อาเภอเมือง จังหวัดสระบรุ ี
11. ศนู ย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี งสวนล้อมศรรี ินทร์ จังหวัดสระบุรี
12. โคกหนองนาโมเดล บ้านสวยสายใยกอ้ นแก้ว ต.ก้อนแกว้ อ.คลองเขือ่ น จ.ฉะเชิงเทรา

๑๘

เกษตรทฤษฎใี หม่ (New Theory Agriculture)

ทฤษฎใี หม่ คอื ตัวอย่างที่เป็นรปู ธรรมของ การประยุกตใ์ ช้เศรษฐกิจพอเพียงทเ่ี ดน่ ชดั ท่ีสดุ ซึ่ง
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวได้พระราชทานพระราชดารนิ ้ี เพอ่ื เป็นการช่วยเหลอื เกษตรกรท่มี กั
ประสบปัญหาท้ังภัยธรรมชาตแิ ละปัจจยั ภาย นอกทีม่ ีผลกระทบต่อการทาการเกษตร ใหส้ ามารถผ่าน
พ้นช่วงเวลาวิกฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนนา้ ได้โดยไม่เดือดรอ้ นและยากลาบากนัก
ความเสี่ยงที่เกษตรกร มักพบเป็นประจา ประกอบด้วย

1. ความเส่ยี งด้านราคาสนิ ค้าเกษตร
2. ความเสีย่ งในราคาและการพึง่ พาปัจจยั การผลิตสมัยใหม่จากต่างประเทศ
3. ความเสย่ี งด้านน้า ฝนทิง้ ช่วง ฝนแล้ง
4. ภัยธรรมชาตอิ นื่ ๆ และโรคระบาด
5. ความเสย่ี งดา้ นแบบแผนการผลิต
6. ความเสี่ยงด้านโรคและศัตรูพืช
7. ความเสย่ี งดา้ นการขาดแคลนแรงงาน
8. ความเสย่ี งด้านหน้ีสินและการสูญเสยี ทีด่ นิ
ทฤษฎใี หม่ จึงเป็นแนวทางหรือหลักการในการบรหิ ารการจัดการท่ดี นิ และนา้ เพอื่ การเกษตรในทด่ี ิน
ขนาดเล็กให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด
ความสาคัญของทฤษฎใี หม่
1. มกี ารบรหิ ารและจัดแบง่ ทด่ี นิ แปลงเล็กออกเป็นสดั ส่วนท่ีชดั เจน เพอ่ื ประโยชนส์ ูงสุดของ
เกษตรกร ซงึ่ ไม่เคยมีใครคิดมากอ่ น
2. มีการคานวณโดยใชห้ ลกั วชิ าการเกยี่ วกับปริมาณน้าทจ่ี ะกักเก็บใหพ้ อเพยี งต่อการ
เพาะปลกู ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตลอดปี
3. มกี ารวางแผนท่ีสมบรู ณแ์ บบสาหรับเกษตรกรรายยอ่ ย โดยมถี ึง 3 ขั้นตอน
ทฤษฎใี หมข่ ัน้ ต้น
ให้แบ่งพื้นท่ีออกเปน็ 4 ส่วน ตามอัตราสว่ น 30:30:30:10 ซึ่งหมายถึง
พื้นท่ีสว่ นที่หนึง่ ประมาณ 30% ให้ขุดสระเกบ็ กกั น้าเพอ่ื ใชเ้ กบ็ กกั น้าฝนในฤดูฝน และใช้
เสรมิ การปลกู พชื ในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสตั ว์และพชื น้าตา่ งๆ
พื้นท่สี ว่ นทสี่ อง ประมาณ 30% ให้ปลูกขา้ วในฤดูฝนเพ่อื ใช้เป็นอาหารประจาวันสาหรบั
ครอบครวั ให้เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จา่ ยและสามารถพึ่งตนเองได้
พื้นทสี่ ว่ นทสี่ าม ประมาณ 30% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยนื ตน้ พืชผกั พชื ไร่ พชื สมนุ ไพร ฯลฯ เพ่อื
ใชเ้ ป็นอาหารประจาวนั หากเหลอื บรโิ ภคกน็ าไปจาหนา่ ย
พ้ืนทส่ี ่วนที่สี่ ประมาณ 10% เปน็ ทอี่ ยู่อาศัย เลย้ี งสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรือนอื่นๆ

๑๙

ทฤษฎใี หมข่ ้นั ที่สอง
เม่อื เกษตรกรเขา้ ใจในหลกั การและได้ปฏบิ ตั ใิ นท่ีดินของตนจนไดผ้ ลแลว้ ก็ตอ้ งเร่ิมขั้นที่สอง คอื ให้
เกษตรกรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงรว่ มใจกนั ดาเนินการในดา้ น

(1) การผลติ (พันธพุ์ ชื เตรียมดนิ ชลประทาน ฯลฯ)
- เกษตรกรจะตอ้ งร่วมมือในการผลิต โดยเริ่ม ต้ังแตข่ ัน้ เตรียมดิน การหาพนั ธพ์ุ ืช ปุย๋ การจัดหาน้า
และอ่นื ๆ เพือ่ การเพาะปลกู

(2) การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจาหน่ายผลผลติ )
- เมอ่ื มีผลผลติ แลว้ จะตอ้ งเตรียมการต่างๆ เพ่อื การขายผลผลิตให้ไดป้ ระโยชน์สงู สุด เช่น การเตรยี ม
ลานตากขา้ วร่วมกัน การจัดหายงุ้ รวบรวมขา้ ว เตรยี มหาเครือ่ งสีข้าว ตลอดจนการรวมกนั ขายผลผลติ
ใหไ้ ดร้ าคาดีและลดคา่ ใชจ้ ่ายลงด้วย

(3) การเปน็ อยู่ (กะปิ น้าปลา อาหาร เครือ่ งนุง่ หม่ ฯลฯ)
- ในขณะเดยี วกนั เกษตรกรตอ้ งมีความเป็นอยทู่ ี่ดีพอสมควร โดยมปี จั จัยพน้ื ฐานในการดารงชีวติ เช่น
อาหารการกินต่างๆ กะปิ น้าปลา เสือ้ ผ้า ที่พอเพียง

(4) สวัสดกิ าร (สาธารณสุข เงนิ ก)ู้
- แตล่ ะชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบรกิ ารทจ่ี าเปน็ เชน่ มีสถานีอนามัยเม่ือยามป่วยไข้ หรอื มกี องทนุ
ไว้ก้ยู ืมเพอื่ ประโยชนใ์ นกจิ กรรมตา่ งๆ ของชมุ ชน

(5) การศึกษา (โรงเรยี น ทุนการศกึ ษา)
- ชมุ ชนควรมีบทบาทในการสง่ เสริมการศกึ ษา เช่น มกี องทนุ เพ่ือการศึกษาเลา่ เรยี นให้แก่เยาวชนของ
ชมชนเอง

(6) สังคมและศาสนา
- ชมุ ชนควรเป็นท่ีรวมในการพัฒนาสงั คมและจติ ใจ โดยมีศาสนาเปน็ ท่ยี ึดเหนย่ี วโดยกจิ กรรมทัง้ หมด
ดงั กล่าวข้างต้น จะตอ้ งได้รับความรว่ มมือจากทุกฝ่ายทีเ่ กี่ยวข้อง ไม่ว่าสว่ นราชการ องคก์ รเอกชน
ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนัน้ เป็นสาคญั

ทฤษฎีใหมข่ น้ั ที่สาม
เมอื่ ดาเนนิ การผ่านพน้ ข้ันท่สี องแล้ว เกษตรกร หรือกลุม่ เกษตรกรกค็ วรพัฒนากา้ วหน้าไปสู่ขน้ั ท่สี าม
ต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพ่ือจัดหาทุน หรือแหล่งเงนิ เช่น ธนาคาร หรือบรษิ ทั ห้างรา้ นเอกชน
มาช่วยในการลงทนุ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ ทง้ั นี้ ท้งั ฝา่ ยเกษตรกรและฝา่ ยธนาคาร หรอื บรษิ ทั เอกชน
จะไดร้ บั ประโยชนร์ ่วมกนั กล่าวคือ

- เกษตรกรขายขา้ วได้ราคาสงู (ไม่ถกู กดราคา)
- ธนาคารหรอื บรษิ ทั เอกชนสามารถซ้ือขา้ วบริโภคในราคาตา่ (ซือ้ ข้าวเปลือกตรงจาก
เกษตรกรและมาสเี อง)
- เกษตรกรซือ้ เครื่องอปุ โภคบริโภคได้ในราคาต่า เพราะรวมกนั ซื้อเปน็ จานวนมาก (เป็นรา้ น
สหกรณ์ราคาขายสง่ )
- ธนาคารหรอื บรษิ ัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพ่ือไปดาเนินการในกจิ กรรมตา่ งๆ
ใหเ้ กดิ ผลดยี ิ่งขึ้น

๒๐

หลกั การและแนวทางสาคัญ
1. เป็นระบบการผลิตแบบเศรษฐกจิ พอเพยี งท่เี กษตรกรสามารถเลยี้ งตวั เองได้ในระดับที่

ประหยดั กอ่ น ทง้ั น้ี ชมุ ชนตอ้ งมีความสามคั คี รว่ มมอื ร่วมใจในการชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกันทานอง
เดียวกับการ ลงแขก แบบดั้งเดิมเพื่อลดค่าใช้จา่ ยในการจา้ งแรงงานด้วย

2. เนื่องจากขา้ วเป็นปจั จยั หลักท่ีทุกครวั เรอื นจะต้องบรโิ ภค ดงั นน้ั จงึ ประมาณวา่ ครอบครัว
หน่ึงทานาประมาณ 5 ไร่ จะทาให้มีข้าวพอกนิ ตลอดปี โดยไมต่ ้องซอ้ื หาในราคาแพง เพอื่ ยดึ หลัก
พึ่งตนเองไดอ้ ย่างมีอสิ รภาพ

3. ต้องมีนา้ เพ่อื การเพาะปลูกสารองไว้ใช้ในฤดแู ล้ง หรอื ระยะฝนทง้ิ ช่วงไดอ้ ยา่ งพอเพียง
ดังน้ัน จงึ จาเป็นตอ้ งกันท่ีดนิ สว่ นหนึง่ ไวข้ ุดสระนา้ โดยมหี ลกั วา่ ตอ้ งมนี า้ เพียงพอทจ่ี ะเพาะปลูกได้
ตลอดปี ท้งั น้ี ได้พระราชทานพระราชดารเิ ปน็ แนวทางวา่ ต้องมีน้า 1,000 ลูกบาศก์เมตร ตอ่ การ
เพาะปลูก 1 ไร่ โดยประมาณ ฉะนน้ั เมื่อทานา 5 ไร่ ทาพืชไร่ หรอื ไม้ผลอกี 5 ไร่ (รวมเป็น 10 ไร่)
จะตอ้ งมีนา้ 10,000 ลูกบาศกเ์ มตรต่อปี

ดงั น้นั หากตง้ั สมมติฐานว่า มพี ืน้ ท่ี 5 ไร่ ก็จะสามารถกาหนดสตู รคร่าวๆ ว่า แต่ละแปลง
ประกอบด้วย

- นาข้าว 5 ไร่
- พชื ไร่ พชื สวน 5 ไร่
- สระน้า 3 ไร่ ขดุ ลึก 4 เมตร จนุ ้าไดป้ ระมาณ 19,000 ลกู บาศก์เมตร ซง่ึ เป็นปรมิ าณนา้ ท่ี
เพียงพอทจี่ ะสารองไวใ้ ชย้ ามฤดแู ลง้
ท่อี ย่อู าศัยและอนื่ ๆ 2 ไร่
รวมทง้ั หมด 15 ไร่ แต่ทง้ั น้ี ขนาดของสระเก็บน้าขึ้นอยู่กบั สภาพภูมปิ ระเทศและสภาพแวดล้อม ดังนี้
- ถ้าเป็นพื้นท่ีทาการเกษตรอาศัยน้าฝน สระนา้ ควรมีลกั ษณะลกึ เพอ่ื ป้องกนั ไมใ่ หน้ า้ ระเหย
ได้มากเกนิ ไป ซ่งึ จะทาใหม้ นี ้าใชต้ ลอดทงั้ ปี
- ถา้ เปน็ พน้ื ท่ที าการเกษตรในเขตชลประทาน สระน้าอาจมีลักษณะลกึ หรือตืน้ และแคบ
หรอื กว้างก็ได้ โดยพจิ ารณาตามความเหมาะสม เพราะสามารถมนี ้ามาเติมอยเู่ รอ่ื ยๆ
การมีสระเก็บน้าก็เพ่อื ใหเ้ กษตรกรมนี ้าใช้อย่างสม่าเสมอท้ังปี (ทรงเรยี กว่า Regulator
หมายถึงการควบคุมให้ดี มีระบบนา้ หมนุ เวยี นใช้เพอ่ื การเกษตรได้โดยตลอดเวลาอยา่ งต่อเนื่อง)
โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในหน้าแล้งและระยะฝนทง้ิ ช่วง แตม่ ิได้หมายความว่า เกษตรกรจะสามารถปลูก
ข้าวนาปรังได้ เพราะหากน้าในสระเก็บน้าไม่พอ ในกรณมี เี ข่ือนอย่บู ริเวณใกลเ้ คียงก็อาจจะต้องสบู น้า
มาจากเข่ือน ซ่ึงจะทาให้น้าในเข่อื นหมดได้ แต่เกษตรกรควรทานาในหนา้ ฝน และเมื่อถงึ ฤดแู ล้ง หรอื
ฝนท้งิ ช่วงให้เกษตรกรใช้นา้ ที่เกบ็ ตนุ นั้น ให้เกิดประโยชน์ทางการเกษตรอยา่ งสงู สุด โดยพิจารณาปลูก
พชื ให้เหมาะสมกับฤดกู าล เพอ่ื จะได้มีผลผลติ อ่นื ๆ ไวบ้ ริโภคและสามารถนาไปขายไดต้ ลอดท้งั ปี
4. การจดั แบ่งแปลงทด่ี นิ เพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุดน้ี พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรง
คานวณและคานงึ จากอตั ราการถอื ครองท่ีดนิ ถวั เฉล่ียครัวเรือนละ 15 ไร่ อย่างไรกต็ าม หาก
เกษตรกรมพี ืน้ ทถี่ อื ครองนอ้ ยกวา่ น้ี หรือมากกว่าน้ี กส็ ามารถใชอ้ ตั ราสว่ น 30:30:30:10 เปน็ เกณฑ์
ปรบั ใช้ได้ กล่าวคอื

๒๑

รอ้ ยละ 30 สว่ นแรก ขดุ สระนา้ (สามารถเล้ยี งปลา ปลกู พืชน้า เชน่ ผกั บุ้ง ผักกะเฉด ฯลฯ
ไดด้ ว้ ย) บนสระอาจสร้างเล้าไกแ่ ละบนขอบสระนา้ อาจปลูกไม้ยืนต้นท่ไี มใ่ ช้นา้ มากโดยรอบได้

ร้อยละ 30 ส่วนที่สอง ทานา
ร้อยละ 30 ส่วนทีส่ าม ปลูกพืชไร่ พืชสวน (ไม้ผล ไมย้ ืนต้น ไม้ใช้สอย ไมเ้ พอ่ื เปน็ เชื้อฟนื ไม้
สรา้ งบา้ น พชื ไร่ พชื ผกั สมนุ ไพร เป็นต้น)
ร้อยละ 10 สดุ ท้าย เป็นท่ีอยูอ่ าศัยและอ่ืนๆ (ทางเดนิ คันดนิ กองฟาง ลานตาก กองปุ๋ยหมัก
โรงเรือน โรงเพาะเห็ด คอกสัตว์ ไมด้ อกไมป้ ระดบั พชื สวนครัวหลงั บา้ น เปน็ ต้น)

อยา่ งไรกต็ าม อตั ราสว่ นดังกลา่ วเปน็ สูตร หรอื หลักการโดยประมาณเทา่ นัน้ สามารถ
ปรบั ปรุงเปล่ียนแปลงไดต้ ามความเหมาะสม โดยข้ึนอยกู่ ับสภาพของพ้ืนทีด่ นิ ปริมาณนา้ ฝน และ
สภาพแวดลอ้ ม เชน่ ในกรณภี าคใต้ที่มฝี นตกชุก หรือพื้นท่ีท่ีมีแหล่งนา้ มาเติมสระไดต้ อ่ เนอ่ื ง ก็อาจลด
ขนาดของบอ่ หรอื สระเก็บนา้ ใหเ้ ลก็ ลง เพื่อเกบ็ พื้นทไ่ี ว้ใชป้ ระโยชนอ์ ่นื ต่อไปได้

๒๒

5. การดาเนนิ การตามทฤษฎีใหม่ มีปัจจยั ประกอบหลายประการ ขึ้นอยูก่ ับสภาพภูมปิ ระเทศ
สภาพแวดล้อมของแต่ละท้องถนิ่ ดงั นัน้ เกษตรกรควรขอรบั คาแนะนาจากเจ้าหน้าท่ีดว้ ย และทส่ี าคัญ
คอื ราคาการลงทนุ ค่อนขา้ งสงู โดยเฉพาะอย่างยิง่ การขุดสระนา้ เกษตรกรจะตอ้ งได้รบั ความ
ชว่ ยเหลอื จากส่วนราชการ มูลนธิ ิ และเอกชน

6. ในระหวา่ งการขดุ สระน้า จะมีดนิ ทถ่ี ูกขุดขึน้ มาจานวนมาก หนา้ ดินซ่งึ เปน็ ดนิ ดี ควรนาไป
กองไวต้ า่ งหากเพื่อนามาใชป้ ระโยชน์ในการปลกู พชื ต่างๆ ในภายหลัง โดยนามาเกลีย่ คลมุ ดินช้นั ล่างที่
เป็นดินไมด่ ี หรอื อาจนามาถมทาขอบสระนา้ หรอื ยกร่องสาหรับปลกู ไมผ้ ลก็จะไดป้ ระโยชน์อีกทาง
หนงึ่

ตัวอย่างพชื ทีค่ วรปลกู และสัตวท์ ่ีควรเล้ยี ง
ไมผ้ ลและผักยืนตน้ : มะม่วง มะพร้าว มะขาม ขนนุ ละมดุ สม้ กลว้ ย น้อยหนา่ มะละกอ
กระท้อน แคบา้ น มะรุม สะเดา ขี้เหล็ก กระถิน ฯลฯ
ผักล้มลุกและดอกไม้ : มันเทศ เผอื ก ถ่วั ฝกั ยาว มะเขอื มะลิ ดาวเรอื ง บานไมร่ ู้โรย กหุ ลาบ
รกั และซอ่ นกล่ิน เป็นต้น
เหด็ : เห็ดนางฟา้ เห็ดฟาง เหด็ เป๋าฮื้อ เป็นต้น
สมนุ ไพรและเครื่องเทศ : หมาก พลู พรกิ ไท บุก บวั บก มะเกลือ ชมุ เห็ด หญา้ แฝก และ
พืชผักบางชนิด เชน่ กะเพรา โหระพา สะระแหน่ แมงลัก และตะไคร้ เปน็ ตน้
ไมใ้ ช้สอยและเชอ้ื เพลงิ : ไผ่ มะพรา้ ว ตาล กระถนิ ณรงค์ มะขามเทศ สะแก ทองหลาง
จามจุรี กระถิน สะเดา ขเี้ หลก็ ประดู่ ชงิ ชัน และยางนา เป็นตน้
พืชไร่ : ข้าวโพด ถว่ั เหลอื ง ถวั่ ลสิ ง ถ่ัวพมุ่ ถั่วมะแฮะ ออ้ ย มันสาปะหลัง ละหุง่ นุ่น เปน็ ต้น
พชื ไร่หลายชนดิ อาจเก็บเกี่ยวเมอื่ ผลผลิตยังสดอยู่ และจาหนา่ ยเป็นพืชประเภทผกั ได้ และมีราคา
ดกี วา่ เก็บเมอื่ แก่ ได้แก่ ข้าวโพด ถัวเหลือง ถวั่ ลิสง ถว่ั พุ่ม ถัว่ มะแฮะ ออ้ ย และมนั สาปะหลงั
พชื บารุงดนิ และพืชคลมุ ดนิ : ถ่ัวมะแฮะ ถว่ั ฮามาตา้ โสนแอฟรกิ นั โสนพ้ืนเมือง ปอเทือง ถัว่
พร้า ขี้เหลก็ กระถนิ รวมทงั้ ถวั่ เขยี วและถั่วพุ่ม เป็นต้น และเม่ือเกบ็ เกีย่ วแล้วไถกลบลงไปเพื่อบารุง
ดนิ ได้
หมายเหตุ : พชื หลายชนดิ ใชท้ าประโยชนไ์ ด้มากกว่าหนง่ึ ชนดิ และการเลือกปลกู พชื ควรเน้น
พชื ยืนตน้ ด้วย เพราะการดแู ลรกั ษาในระยะหลังจะลดน้อยลง มีผลผลิตทยอยออกตลอดปี ควรเลอื ก
พชื ยนื ต้นชนดิ ต่างๆ กัน ให้ความรม่ เย็นและชุ่มชน้ื กบั ทีอ่ ยอู่ าศยั และสง่ิ แวดลอ้ ม และควรเลอื กต้นไม้
ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพของพนื้ ที่ เช่น ไม่ควรปลูกยูคาลปิ ตัสบรเิ วณขอบสระ ควรเป็นไมผ้ ลแทน เปน็
ต้น
สตั วเ์ ลี้ยงอน่ื ๆ ได้แก่ สัตว์นา้ : ปลาไน ปลานิล ปลาตะเพียนขาว ปลาดกุ เพอื่ เป็นอาหาร
เสริมประเภทโปรตนี และยังสามารถนาไปจาหน่ายเป็นรายได้เสริมไดอ้ ีกด้วย ในบางพน้ื ทสี่ ามารถ
เล้ียงกบได้
สกุ ร หรือ ไก่ เล้ียงบนขอบสระนา้ ท้ังนี้ มูลสุกรและไกส่ ามารถนามาเป็นอาหารปลา บางแห่ง
อาจเล้ียงเป็ดได้

๒๓

ประโยชน์ของทฤษฎใี หม่
1. ใหป้ ระชาชนพออยูพ่ อกินสมควรแกอ่ ตั ภาพในระดบั ท่ปี ระหยัด ไมอ่ ดอยาก และเล้ยี ง
ตนเองไดต้ ามหลกั ปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพียง
2. ในหน้าแลง้ มีน้านอ้ ย กส็ ามารถเอานา้ ที่เก็บไวใ้ นสระมาปลกู พชื ผกั ตา่ งๆ ที่ใช้น้าน้อยได้
โดยไม่ต้องเบยี ดเบียนชลประทาน
3. ในปีที่ฝนตกตามฤดกู าลโดยมีนา้ ดีตลอดปี ทฤษฎีใหม่นีส้ ามารถสร้างรายได้ใหแ้ ก่
เกษตรกรได้โดยไมเ่ ดอื ดรอ้ นในเรอ่ื งคา่ ใชจ้ า่ ยต่างๆ
4. ในกรณีท่ีเกิดอุทกภัย เกษตรกรสามารถท่ีจะฟืน้ ตวั และชว่ ยตวั เองได้ในระดับหนึง่ โดยทาง
ราชการไม่ต้องช่วยเหลือมากนกั ซง่ึ เปน็ การประหยดั งบประมาณด้วย
ทฤษฎีใหมท่ ่ีสมบรู ณ์
ทฤษฎใี หม่ท่ีดาเนินการโดยอาศัยแหลง่ นา้ ธรรมชาติ น้าฝน จะอยใู่ นลักษณะ หม่ินเหม่ เพราะ
หากปใี ดฝนนอ้ ย นา้ อาจจะไมเ่ พียงพอ ฉะนน้ั การท่ีจะทาให้ทฤษฎีใหมส่ มบูรณ์ไดน้ ้ัน จาเป็นต้องมี
สระเกบ็ กกั นา้ ทมี่ ีประสทิ ธภิ าพและเต็มความสามารถ โดยการมแี หล่งน้าขนาดใหญ่ทสี่ ามารถเพ่มิ เติม
น้าในสระเกบ็ กกั นา้ ให้เต็มอยเู่ สมอ ดังเช่น กรณีของการทดลองท่ีโครงการพฒั นาพนื้ ท่บี รเิ วณวัดมงคล
ชัยพัฒนาอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ จังหวัดสระบุรี ซ่งึ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัวทรงเสนอ
วธิ กี าร ดงั นี้

ระบบทฤษฎใี หมท่ ี่สมบูรณ์
อ่างใหญ่ เติมอา่ งเลก็ อ่างเล็ก เตมิ สระน้า

จากภาพ วงกลมเล็ก คอื สระนา้ ทเี่ กษตรกรขุดข้ึนตามทฤษฎีใหม่ เมอ่ื เกิดช่วงขาดแคลนน้าใน
ฤดแู ลง้ เกษตรกรสามารถสูบน้ามาใช้ประโยชนไ์ ด้ และหากนา้ ในสระน้าไม่เพยี งพอกข็ อรับน้าจากอา่ ง
หว้ ยหนิ ขาว (อ่างเล็ก) ซึ่งได้ทาระบบสง่ นา้ เชือ่ มต่อทางทอ่ ลงมายงั สระนา้ ท่ีได้ขดุ ไวใ้ นแต่ละแปลง ซึ่ง
จะช่วยใหส้ ามารถมีนา้ ใช้ตลอดปี

๒๔

กรณที ีเ่ กษตรกรใชน้ า้ กันมาก อา่ งหว้ ยหนิ ขาว (อา่ งเลก็ ) ก็อาจมปี ริมาณน้าไม่เพยี งพอ ก็
สามารถใชว้ ิธกี ารผันน้าจากเขอ่ื นป่าสักชลสทิ ธิ์ (อ่างใหญ)่ ต่อลงมายงั อา่ งเก็บนา้ ห้วยหินขาว (อา่ ง
เล็ก) กจ็ ะชว่ ยให้มปี ริมาณน้ามาเตมิ ในสระของเกษตรกรพอตลอดท้ังปีโดยไม่ตอ้ งเสีย่ ง

ระบบการจัดการทรพั ยากรนา้ ตามแนวพระราชดาริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั สามารถ
ทาใหก้ ารใชน้ า้ มีประสทิ ธิภาพอย่างสูงสุด จากระบบส่งทอ่ เปิดผา่ นไปตามแปลงไร่นาต่างๆ ถึง 3 - 5
เท่า เพราะยามหน้าฝน นอกจากจะมีนา้ ในอ่างเกบ็ นา้ แล้ว ยงั มนี า้ ในสระของราษฎรเกบ็ ไว้พร้อมกัน
ด้วย ทาใหม้ ปี ริมาณนา้ เพิ่มอย่างมหาศาล นา้ ในอ่างท่ตี อ่ มาสู่สระจะทาหน้าทเี่ ป็นแหลง่ น้าสารอง คอย
เติมเทา่ นน้ั เอง

๒๕

บรรณำนกุ รม

ท่มี าของข้อมลู
นายไชยยุทธ ลยี ะวณิช และนายดนุ เนยี มฤทธิ์ . (๒๕๖๑). การประยุกต์ใชท้ ี่ดนิ ตามศาสตร์พระราชา.

กรงุ เทพฯ : กลุ่มสถาปัตยกรรมและภมู ิสถาปัตยกรรม สานกั วศิ วกรรมเพื่อการพฒั นาทด่ี นิ
กรมพัฒนาท่ีดิน.
เอกสารประกอบการบรรยายโครงการฝึกอบรม “ผ้นู าการขบั เคลื่อนปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์” วนั ท่ี 11-15 พ.ค. 2559 ณ ศนู ยก์ สกิ รรมธรรมชาติชุมชนตน้
น้านา่ น ต.ศรีภมู ิ อ.ท่าวังผา จ.น่าน.
กลุ่มภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ และนวตั กรรมดา้ นการเกษตร กองวิจยั และพฒั นางานส่งเสรมิ การเกษตร กรม
สง่ เสริมการเกษตร (http://new.research.doae.go.th/?page_id=502) online
วถิ ีพอเพยี ง (https://sites.google.com/site/vetherporpeanglife/thvsti-bandi-9-khan-su-
khwam-phx-pheiyng)
เศรษฐกิจพอเพียง คนรุ่นใหม่หวั ใจพอเพียง
http://lugesan25042017.blogspot.com/2015/04/blog-post_6.html online
งานออกแบบ โคก หนอง นา โมเดล โดย นกั ศกึ ษาคณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีพระ
จอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหาร ลาดกระบงั
โคก หนอง นา โมเดล : การออกแบบ Landscape ท่ีเหมาะสมกับภมู สิ งั คม
https://www.facebook.com/.../โคก-หนอง-นา-โมเดล-การออกแบบ-landscape-ท่ี
เหมาะสมกับภูมสิ ังคม
มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ https://th-
th.facebook.com/agrinature.or.th/posts/735535473170712 online

๒๖


Click to View FlipBook Version