วธิ รี ะบบ
จัดทำโดย
นายธชั รตั น์ นาคำแยก
นกั ศกึ ษาชน้ั ปที ่ี 2 หมทู่ ี่ 2 รหสั นกั ศกึ ษา 620113189032
เสนอ
อาจารย์กรนาริน สารยิ า
สาขาวิชาเทคโนโลยีและคอมพวิ เตอร์เพือ่ การศกึ ษา คณะครศุ าสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบุรรี ัมย์
ก
คำนำ
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา “วิธีระบบทางเทคโนโลยีการศึกษา” จัดทำขึ้นเพื่อศึกษา
เกี่ยวกับวิธีระบบ (System Approach) การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) ลักษณะของระบบที่ดี
ระบบปิดระบบเปิด และวิธีระบบท่ีนำมาใช้ในการสอนใหเ้ กิดความรู้และเข้าใจเกีย่ วกบั วธิ รี ะบบ
นายธันชรัตน์ นาคำแยก
ข
สารบญั
เรอ่ื ง หน้า
คำนำ................................................................................................................................................ ก
สารบญั ............................................................................................................................................ ข
วธิ ีระบบ........................................................................................................................................... 1
ลกั ษณะสำคญั ของวธิ รี ะบบ................................................................................................ 2
องคป์ ระกอบของระบบ...................................................................................................... 2
3
การวิเคราะหร์ ะบบ.......................................................................................................................... 3
ข้นั ตอนของการวิเคราะหร์ ะบบ…....................................................................................... 5
5
ลักษณะของระบบที่ดี...................................................................................................................... 5
ปฏสิ มั พันธก์ ับสง่ิ แวดล้อม…............................................................................................... 6
มกี ารรักษาสภาพตนเอง….................................................................................................. 6
มีการแก้ไขตนเอง…............................................................................................................
วิธีระบบทน่ี ำมาใช้ในการสอน........................................................................................................
ระบบการเรียนการสอน…................................................................................................... 7
องค์ประกอบของระบบการเรยี นการสอน………………………………………………………………… 7
ตวั ปอ้ น............................................................................................................................... 9
กระบวนการ…………………………………………………………………………………………………………. 10
ผลผลิต............................................................................................................................... 11
บรรณานุกรม................................................................................................................................... 12
1
วธิ ีระบบ ( System Approach)
ระบบ คอื ภาพสว่ นรวมของโครงสร้างหรอื ของขบวนการอย่างหนงึ่ ท่มี ีการจดั ระเบยี บความสมั พันธ์
ระหวา่ งองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ทร่ี วมกันอยใู่ นโครงการหรือขบวนการนนั้
ระบบ
เปน็ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทีใช้ในการวางแผนและดำเนินการต่าง ๆ
เพอ่ื ให้บรรลุผลตามจุดมุง่ หมายท่กี ำหนดไว้ วิธีการระบบมอี งคป์ ระกอบท่ีสำคญั 4 ประการ คอื
1. ข้อมูลวัตถดุ บิ ( Input )
2. กระบวนการ ( Process)
3. ผลผลิต ( Output )
4. การตรวจผลย้อนกลบั ( Feedback)
องคป์ ระกอบทง้ั 4 สว่ นน้ี จะมีความสมั พนั ธต์ ่อเน่อื งกนั ดงั ภาพ
วิธีการระบบทดี่ ี จะตอ้ งเปน็ การจดั สรรทรพั ยากรทีม่ ีอยมู่ าใชอ้ ย่างประหยัดและเหมาะสมกับ
สภาพแวดล้อมและสถานการณ์ เพือ่ ใหก้ ารทำงานเปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ บรรลเุ ปา้ หมายท่ีวางไว้
ถา้ ระบบใดมผี ลผลติ ทง้ั ในดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพมากกว่าข้อมูล วัตถดุ ิบทปี่ อ้ นเข้าไป ก็ถือไดว้ า่ เป็นระบบ
ทม่ี ีคุณภาพ ในทางตรงขา้ มถ้าระบบมีผลผลติ ที่ตำ่ กว่าขอ้ มูลวัตถุดบิ ที่ไปใช้ กถ็ อื วา่ ระบบนน้ั มีประสทิ ธิภาพ
ต่ำ
2
ลกั ษณะสำคัญของวิธีระบบ
1. เปน็ การทำงานรว่ มกันเป็นคณะของบคุ คลทเ่ี ก่ียวข้องในระบบนนั้ ๆ
2. เปน็ การแกป้ ัญหาโดยการใชว้ ิธกี ารทางวิทยาศาสตร์
3. เป็นการใช้ทรพั ยากรท่มี ีอยู่อย่างเหมาะสม
4. เปน็ การแก้ปญั หาใหญ่ โดยแบ่งออกเปน็ ปญั หาย่อย ๆ เพือ่ สะดวกในการแกป้ ญั หาอนั จะเปน็ ผลให้
แก้ปญั หาใหญ่ได้สำเรจ็
5. ม่งุ ใช้การทดลองใหเ้ ห็นจรงิ
6. เลอื กแกป้ ัญหาท่พี อจะแก้ไขไดแ้ ละเป็นปญั หาเรง่ ด่วนกอ่ น
องค์ประกอบของระบบ
ไมว่ า่ จะเป็นระบบใดก็ตาม จะประกอบดว้ ย 3 ส่วนคือ
1. ส่งิ ทป่ี ้อนเขา้ ไป ( Input )
หมายถงึ สง่ิ ต่างๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในกระบวนการหรอื โครงการต่างๆ เชน่ ในระบบการเรียนการสอนในช้นั
เรยี น อาจไดแ้ ก่ ครู นกั เรียน ช้ันเรยี น หลกั สูตร ตารางสอน วิธีการสอน เป็นต้น ถ้าในเรื่องระบบหายใจ
อาจได้แก่ จมกู ปอด กระบังลม อากาศ เปน็ ต้น
2. กระบวนการหรอื การดำเนินงาน ( Process)
หมายถงึ การนำเอาสง่ิ ทป่ี อ้ นเข้าไป มาจัดกระทำให้เกดิ ผลบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ทีต่ ้องการ เชน่ การสอน
ของครู หรือการให้นกั เรยี นทำกิจกรรม เปน็ ตน้
3. ผลผลิต หรอื การประเมนิ ผล (Output)
หมายถึง ผลทีไ่ ดจ้ ากการกระทำในขน้ั ที่สอง ได้แก่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียน หรือผลงานของ
นกั เรียน เปน็ ต้น
3
ผลท่ไี ด้จากการกระทำในขนั้ ทส่ี อง การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis)
การวเิ คราะหร์ ะบบ เปน็ วิธีการนำเอาผลที่ได้ ซงึ่ เรยี กว่า ข้อมูลย้อนกลับ (Feed Back)
จากผลผลิตหรือการประเมินผลมาพจิ ารณาปรับปรุงระบบให้มปี ระสิทธิภาพย่งิ ขึ้น
การวิเคราะห์ระบบ ( System Analysis )
การกระทำหลงั จากผลที่ได้ออกมาแล้วเป็นการปรับปรุงระบบการทำงานให้มีประสทิ ธภิ าพขึ้น
ข้อมูลท่ไี ด้จากการประเมินผลและมามาใช้แกไ้ ขข้อบกพร่องในส่วนต่าง ๆ
หรือ การดูข้อมูลย้อนกับ ( Feedback ) ดังนน้ั การนำขอ้ มูลยอ้ นกลบั มาใช้ในการวเิ คราะหร์ ะบบ
จงึ เป็นส่วนสำคญั ของวธิ ีระบบ ( System Approach) ซึง่ จะขาดองค์ประกอบนไี้ ม่ได้
มิฉะน้ันจะไม่ก่อใหเ้ กิดการแก้ปัญหาได้ตรงเป้าหมายและการปรับปรุงที่มีประสิทธิภาพ
ขน้ั ตอนของการวิเคราะหร์ ะบบ
1. ปญั หา (Identify Problem)
2.จดุ มุ่งหมาย (Objectives)
3. ศกึ ษาขอ้ จำกดั ตา่ ง ๆ (Constraints)
4. ทางเลือก (Alternatives)
5. การพจิ ารณาทางเลือกทเี่ หมาะสม (Selection)
6. การทดลองปฏบิ ัติ (Implementation)
7. การประเมนิ ผล (Evaluation)
8. การปรับปรุงแก้ไข (Modification)
4
ข้ันตอนของการวิเคราะหร์ ะบบ ( System Analysis )
ประกอบดว้ ย 8 ขนั้ ตอน ดังนี้
ขน้ั ท่ี 1 ขนั้ ตั้งปญั หาหรอื กำหนดปัญหา ในข้นั น้ีตอ้ งศกึ ษาใหถ้ ่องแท้เสยี ก่อนว่าอะไรคือปัญหา
ทีค่ วรแก้ไข
ขั้นท่ี 2 ข้ันกำหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์เพื่อการแก้ไขปัญหานน้ั ๆ ว่าจะให้ไดผ้ ลในทางใด
มีปริมาณและคณุ ภาพเพยี งใดซง่ึ การกำหนดวตั ถปุ ระสงคน์ ้คี วรคำนึงถงึ
ความสามารถในการปฏิบัติและออกมาในรปู การกระทำ
ขั้นท่ี 3 ขั้นสรา้ งเครื่องมืดวัดผล การสรา้ งเครื่องมอื นีจ้ ะสร้างหลังจากกำหนดวตั ถุประสงค์แล้ว
และตอ้ งสรา้ งกอ่ นการทดลองเพ่ือจะไดใ้ ช้เครื่องมอื น้ี วัดผลไดต้ รงตามเวลาและเปน็ ไปทุกระยะ
ขั้นที่ 4 คน้ หาและเลือกวิธกี ารต่างๆ ท่ีจะใช้ดำเนินการไปสู่เปา้ หมายทีว่ างไว้ ควรมองดว้ ยใจกวา้ งขวาง
และเปน็ ธรรม หลาย ๆแง่ หลาย ๆ มมุ พจิ ารณาข้อดขี อ้ เสยี ตอลดจนข้อจำกดั ต่าง ๆ
ขั้นที่ 5 เลือกเอาวิธที ี่ดที ่ีสดุ จากข้ันที่ 4 เพอ่ื นำไปทดลองในขั้นต่อไป
ขน้ั ที่ 6 ข้นั การทำอง เม่อื เลือกวธิ ีการใดแลว้ ก็ลงมอื ปฏบิ ัตติ ามวิธกี ารน้ัน
การทดลองน้ีควรกระทำกับกลมุ่ เล็กๆ ก่อนถา้ ไดผ้ ลดีจึงคอ่ ยขยายการปฏิบัติงาน
ให้กว้างขวางออกไป จะได้ไมเ่ สยี แรงงาน เวลาและเงนิ ทองมากเกนิ ไป
ขน้ั ที่ 7 ขนั้ การวดั ผลและประเมนิ ผล เม่อื ทำการทดลองแลว้ กน็ ำเอาเครื่องมอื วัดผลท่ีสร้างไว้
ในขัน้ ท่ี 3 มาวดั ผลเพ่อื นำผลไปประเมินดวู ่า ปฏบิ ตั งิ านสำเร็จตามเปา้ หมายเพียงใด
ยังมีสงิ่ ใดขาดตกบกพร่อง จะไดน้ ำไปปรบั ปรงุ แกไ้ ข
ขน้ั ท่ี 8 ข้ันการปรบั ปรุงและขยายการปฏบิ ัตงิ าน จากการวัดผลและประเมนิ ผลในขน้ั ท่ี 7
กจ็ ะทำให้เราทราบว่า การดำเนนิ งานตามวธิ กี ารทแี่ ลว้ มานั้นไดผ้ ลตามวัตถปุ ระสงค์
หรอื ไม่ เพียงใด จะได้นำมาแกไ้ ข ปรบั ปรุงจนกวา่ จะได้ผลดีจึงจะขยายการปฏิบตั ิ
หรอื ยึดถอื เปน็ แบบอย่างต่อไป
5
ลักษณะของระบบทีด่ ี
ระบบทดี่ ีตอ้ งสามารถปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ( efficiency)
และมีความยัง่ ยนื (sustainable) ตอ้ งมลี กั ษณะ 4 ประการคอื
1. มปี ฏิสัมพนั ธ์กับสง่ิ แวดลอ้ ม ( interact with environment )
2. มีจุดหมายหรือเปา้ ประสงค์ ( purpose)
3. มีการรักษาสภาพตนเอง (self-regulation)
4. มีการแก้ไขตนเอง ( self-correction )
ปฏสิ มั พันธ์กบั สิง่ แวดล้อม ( interact with environment )
ระบบทกุ ๆ ระบบจะมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ไม่ทางใดก็ทางหนงึ่ กับโลกรอบ ๆตวั ของระบบ
โลกรอบ ๆตวั น้ี เรียกว่า "สง่ิ แวดล้อม" การทร่ี ะบบมีปฏิสมั พนั ธก์ ับสิง่ แวดล้อมนเ้ี อง
ทำใหร้ ะบบดังกล่าวกลายเปน็ ระบบเปิด ( Open system ) กลา่ วคือ
ระบบจะรับปัจจยั นำเขา้ (inputs ) จากสง่ิ แวดลอ้ ม ซ่ึงอาจจะเป็นพลังงาน อาหาร ขอ้ มูล ฯลฯ
ระบบจะจดั กระทำเปล่ียนแปลงปจั จัยนำเข้านใ้ี ห้เปน็ ผลผลติ ( output )
แลว้ ส่งกลับไปให้สง่ิ แวดลอ้ มอกี ที่หนงึ่ มจี ุดหมายหรอื เป้าประสงค์ ( purpose)
ระบบจะตอ้ งมจี ดุ มุง่ หมายทช่ี ัดเจนแนน่ อนสำหรบั ตัวของมนั เอง ระบบท่ีเกดิ ข้ึนตามธรรมชาติ เชน่
ระบบการดำเนินชีวติ ของมนุษย์นัน้ ก็มีจุดม่งุ หมายสำหรับตวั ของระบบเองอย่างชัดเจนว่า
"เพ่อื รักษาสภาพการมีชวี ิตไว้ให้ไดใ้ ห้ดีทสี่ ุด"
จดุ หมง่ หุ มายนี้ดูออกจะไมเ่ ดน่ ชดั สำหรบั เรานักเพราะเราไมใ่ ช่ผู้คิดสร้างระบบดงั กล่าวข้ึนมาเอง
มกี ารรักษาสภาพตนเอง (self-regulation)
ลกั ษณะทีส่ ามของระบบ คือ การท่รี ะบบสามารถรักษาสภาพของตวั เองให้อยใู่ นลักษณะท่ีคงทอี่ ยู่เสมอ
การรักษาสภาพตนเองทำไดโ้ ดยการแลกเปลีย่ นอินพทุ และเอาท์พดุ กันระหวา่ งองคป์ ระกอบต่าง ๆ
ของระบบหรือระบบย่อย ตัวอยา่ ง ทีเ่ หน็ ได้ชดั เจนคือ ระบบย่อยอาหารของรา่ งกายมนษุ ย์
ซึ่งประกอบด้วย องคป์ ระกอบย่อย ๆ หรอื ระบบยอ่ ยต่างๆ เชน่ ปาก น้ำยอ่ ย น้ำดี หลอก อาหาร
กระเพาะอาหาร ฯลฯ
6
มีการแกไ้ ขตนเอง ( self-correction )
ลักษณะท่ดี ขี องระบบ คือ มีการแก้ไขและปรบั ตวั เอง
ในการที่ระบบมีปฏิสมั พันธก์ ับสภาพแวดลอ้ มบางครง้ั ปฏสิ ัมพันธ์นัน้
กจ็ ะทำให้ระบบการรักษาสภาพตัวเอง ตอ้ งยำ่ แย่ไป ระบบก็ต้องมกี ารแก้ไขและปรับตวั เองเสยี ใหม่
ตัวอย่างเช่น การปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างรา่ งกายกบั อากาศหนาว (สภาพแวดลอ้ ม)
อาจจะทำให้เกิดอาการหวัดขึ้นได้ ในสถานการณ์นี้ ถ้าระบบรา่ งกายไมส่ ามารถ
ท่ีจะรักษาสภาพตัวเองได้อยา่ งดี ร่างานกจ็ ะต้องสามารถท่ีจะปรบั ตวั เองเพือ่ ที่จะตอ่ สูก้ ับอาการหวัดนัน้
โดยการผลติ ภมู ิคมุ้ กนั ออกมาตา้ นหวดั
ระบบเปิดและระบบปิด
ระบบเปดิ ( Open System )
คอื ระบบทร่ี ับปจั จัยนำเขา้ จากสงิ่ แวดล้อม และขณะเดยี วกันก็ส่งผลผลิตกลับไปให้สง่ิ แวดล้อมอีกคร้ังหนึ่ง
ตวั อย่างระบบเปิดท่วั ๆ ไป เชน่ ระบบสงั คม ระบบการศกึ ษา ระบบหายใจ ฯลฯ
ระบบปดิ ( Close System )
คือ ระบบทม่ี ไิ ด้รบั ปัจจยั นำเข้าจากสงิ่ แวดลอ้ ม หรอื รับปจั จัยนำเข้าจากสิ่งแวดลอ้ มนอ้ ยมาก
แตข่ ณะเดยี วกนั ระบบปดิ จะผลดิ เอาท์พุทใหก้ บั สง่ิ แวดลอ้ มดว้ ย เช่น ระบบของถา่ นไฟฉาย หรือระบบ
แบตเตอร่ตี า่ ง ๆ ตวั ถา่ นไฟฉายหรือแบตเตอรน่ี นั้ ถูกสรา้ งขึน้ มาใหม้ ีไฟฟา้ สะสมอยูใ่ นตวั ภายในก็มีระบบยอ่ ย
อีกหลายระบบ ท่ีทำงานสมั พนั ธ์กันอยา่ งดี นสามารถให้พลังงานไฟฟา้ ออกมาได้โดยท่ีไมไ่ ด้รับปจั จัย
ภายนอกเข้ามาเลย ระบบปดิ จะมอี ายุส้ันกวา่ ระบบเปดิ เนื่องจากระบบปดิ น้นั ทำหนา้ ท่เี พยี งแต่เป็น "ผู้ให้"
เท่านัน้
7
วิธรี ะบบทน่ี ำมาใช้ในการสอน
ประกอบด้วยขนั้ ตอนดังตอ่ ไปน้ี
1. การประเมนิ ความจำเป็น
2. การเลือกทางแกป้ ญั หา
3. การตั้งจดุ ม่งุ หมายทางการสอน
4. การวิเคราะหง์ านและเนื้อหาที่จำเป็นตอ่ ผลสัมฤทธต์ิ ามจุดมุ่งหมาย
5. การเลือกยทุ ธศาสตร์การสอน
6. การลำดับขนั้ ตอนของการสอน
7. การเลอื กส่อื
8. การจัดหรือกำหนดแหลง่ ทรัพยากรที่จำเป็น
9. การทดสอบ และ/หรอื ประเมินคา่ ประสทิ ธภิ าพของแหลง่ ทรัพยากรเหลา่ นนั้
10. การปรับปรุงแกไ้ ขแหล่งทรัพยากรจนกวา่ จะเกิดประสิทธภิ าพ
11. การเดนิ ตามวัฏจกั รของกระบวนการทง้ั หมดซำ้ อกี
ระบบการเรยี นการสอน
ระบบการเรยี นการสอน กค็ ือ การจัดองคป์ ระกอบของการเรยี นการสอนใหม้ คี วามสมั พันธ์กนั
เพือ่ สะดวกตอ่ การนำไปสูจ่ ดุ หมายปลายทางของการเรียนการสอนท่ีได้กำหนดไว้
องคป์ ระกอบของระบบการเรยี นการสอน
ระบบการเรยี นการสอนประกอบด้วยสว่ นยอ่ ยๆ ตา่ ง ๆ ซึ่งมีความเก่ียวพนั กันและกนั ส่วนทีส่ ำคัญ
คือ กระบวนการเรียนการสอน ผูส้ อนและผู้เรยี น ยเู นสโก ( UNESCO ) ไดเ้ สนอรูปแบบขององค์ประกอบ
ของระบบการเรยี นการสอนไว้ โดยมีองคป์ ระกอบ 6 ส่วน คือ
1. องคป์ ระกอบของการสอนจะประกอบดว้ ย ผสู้ อน ผเู้ รียน สือ่ การเรียนการสอน
วธิ ีสอนซง่ึ ทำงานประสานสมั พันธ์กนั อันจะเปน็ พาหะหรือแนวทางผสมกลมกลืนกับเนื้อหาวชิ า
2. กจิ กรรมการเรยี นการสอน จะต้องมีส่อื การเรยี นการสอนและแหลง่ ท่ีมาของสื่อการเรียนการสอน
เหล่านั้น
3. ผสู้ อนต้องหาแนวทาง แนะนำช่วยเหลอื ผู้เรยี นให้เกดิ การเรยี นรู้ท่ดี ที ่ีสดุ
8
4. การเสริมกำลงั ใจ การจงู ใจแก่ผ้เู รยี น นับวา่ มีอิทธพิ ลตอ่ การที่จะเสรมิ สร้างความสนใจ
ใหก้ ารเรยี นการสอนมคี ณุ ภาพ
5. การประเมินผล ผลที่ออกมาอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพโดยการประเมนิ ทง้ั ระบบ
เพอ่ื ดูวา่ ผลทีไ่ ดน้ ัน้ เป็นอยา่ งไร
เปน็ การนำข้อมลู ขอ้ เทจ็ จรงิ มาเปรยี บเทยี บกับประสิทธผิ ลของระบบ เพื่อการแกไ้ ขปรับปรุงตอ่ ไป
6. ผลท่ไี ดร้ ับทง้ั ประเมนิ เพอื่ ประเมนิ ผลในการปรับปรงุ และเปรยี บเทยี บกับการลงทุนในทางการศึกษาว่า
เปน็ อยา่ งไร นอกจากน้ี บญุ ชม ศรีสะอาด ไดก้ ล่าวถงึ องคป์ ระกอบของระบบการเรยี นการสอน
ไดแ้ ก่ ตัวป้อน กระบวนการ และผลิต ดังภาพ
ตวั ป้อน ( Input ) หรือ ปัจจยั นำเขา้ ระบบ
คอื สว่ นประกอบต่างๆ ทีน่ ำเข้าส่รู ะบบไดแ้ ก่ ผู้สอน ผ้สู อน ผ้เู รียน หลกั สตู ร สง่ิ อำนวยความสะดวก
9
ผู้สอน หรือครู
เป็นองค์ประกอบสำคญั ทจ่ี ะทำให้การเรยี นการสอนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์
ซึ่งข้นึ อยู่กับคุณลักษณะหลายประการได้แก่คุณลักษณะดา้ นพุทธิพสิ ยั เชน่ ความรู้ ความสามารถ
ความรู้จำแนกเปน็ ความรูใ้ นเนื้อหาสาระทสี่ อน ความรู้ในเทคนคิ การสอนตา่ ง ความตั้งใจในการสอน ฯลฯ
ผู้เรียน
ผู้เรยี นเป็นองคป์ ระกอบทีส่ ำคัญที่สุดในระบบการเรียนการสอน
ซ่ึงจะบรรลผุ ลสำเร็จได้ย่อมขน้ึ อยกู่ บั คณุ ลกั ษณะของผ้เู รยี นหลายประการ เช่น
ความถนัด ความรพู้ ้นื ฐานเดิม ความพรอ้ มความสนใจและความพากเพียรในการเรยี น
ทกั ษะในการเรียนรู้ ฯลฯ
หลักสตู ร
หลักสตู รเป็นองคป์ ระกอบหลักทจี ะทำให้ผูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้
หลกั สูตรประกอบด้วยองคป์ ระกอบพ้ืนฐาน 4 ประการคือ
- วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้
- เนือ้ หาสาระทีเ่ รียน
- กจิ กรรมการเรียนการสอน (รวมวธิ ีสอนและสื่อการเรยี นการสอน) และ
- การประเมินผล
สิง่ อำนวยความสะดวก อาจเรยี กอีกอยา่ งว่า "ส่งิ แวดลอ้ มการเรียน" เช่น
ห้องเรียน สถานท่ีเรียน ซง่ึ ประกอบดว้ ยโต๊ะ เก้าอ้ี แสดงสว่าง ฯลฯ
10
กระบวนการ ( Process )
ในระบบการเรยี นการสอนกค็ อื การดำเนนิ การสอนซง่ึ เป็นการนำเอาตัวป้อน
เป็นวตั ถดุ ิบในระบบมาดำเนนิ การเพอื่ ใหเ้ กดิ ผลผลิตตามทตี่ อ้ งการ ในการดำเนนิ การสอน
อาจมกี ิจกรรมต่างๆ หลายกิจกรรม ไดแ้ ก่ การตรวจสอบและเสริมพ้ืนฐาน
การสรา้ งความพรอ้ มในการเรยี น การใชเ้ ทคนิคการสอนต่าง ๆและอาจใชก้ ิจกรรมเสรมิ
การตรวจสอบและเสรมิ พ้นื ฐาน เปน็ กิจกรรมทท่ี ำใหผ้ สู้ อนรจู้ กั ผู้เรยี นและได้ข้อสนเทศทน่ี ำมาใช้
ชว่ ยเหลือผ้เู รยี นท่ยี ังขาดพน้ื ฐานที่จำเปน็ ก่อนเรียน
ใหไ้ ด้มีพ้นื ฐานทีพ่ ร้อมท่ีจะเรียนโดยไม่มปี ัญหาใด ๆ
การสรา้ งความพร้อมในการเรยี น เม่ือเรม่ิ ช่วั โมงเรยี น โดยทวั่ ไปแลว้
จะมีผ้เู รียนทย่ี งั ไม่พร้อมท่ีจะเรยี น เช่น พดู คยุ กัน คดิ ถงึ เรื่องอน่ื ๆ ฯลฯ
ถา้ ผ้สู อนเริ่มบรรยายไปเรอ่ื ยๆ อาจไมไ่ ด้ผลตามที่ตอ้ งการโดยเฉพาะในชว่ งตน้ ช่ัวโมงนนั้
จึงควรดงึ ความสนใจของผู้เรยี นให้เขา้ สู่การเรียนโดยเรว็ ซง่ึ ทำไดห้ ลายวธิ ี เชน่ ใช้คำถาม
ใช้สื่อโสตทัศนปู กรณ์ชว่ ยเรา้ ความสนใจ หรือยกเร่ืองท่ีเก่ยี วขอ้ งมาเล่าให้
นักเรยี นฟงั ในการสร้างความพร้อมไม่ควรใชเ้ วลามากเกินไป น่าจะใช้เวลาไม่เกิน 5 นาที
และทำทกุ คร้ังทสี่ อน เม่ือพบวา่ ผู้เรียนยงั ไม่พร้อม
การใชเ้ ทคนคิ การสอนตา่ งๆ ควรทำการสอนโดยใช้เทคนิค วิธีการ และกจิ กรรมตา่ ง ๆ หลาย ๆวิธี
การใช้กจิ กรรมเสรมิ วธิ ีสอนแต่ละวธิ ีหรอื รปู แบบการสอนแตล่ ะรปู แบบจะมกี ิจกรรมแตกต่างกนั ไป
ผสู้ อนควรพิจารณากิจกรรมต่าง ๆ ท่จี ะเสรมิ กบั วิธีสอน เช่น การใหท้ ำแบบฝึกหดั
การใหก้ ารเสริมแรง การใช้คำถามชนดิ ต่าง ๆ การทบทวนสรปุ เปน็ ต้น
11
ผลผลติ ( Output )
ผลผลิต คือ ผลทีเ่ กดิ ขน้ึ ในระบบซึง่ เปน็ เป้าหมายปลายทางของระบบ
สำหรบั ระบบการเรยี นการสอนผลผลติ ที่ต้องการกค็ อื การเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมของผเู้ รยี น
ไปในทางทพี่ งึ ประสงค์ เป็นการพฒั นาทดี่ ใี นด้าน
-พทุ ธิพิสยั ( Cognitive )
-จติ พสิ ยั ( Affective ) และ
-ทักษะพิสยั ( Psychomotor )
การตดิ ตามผล ประเมินผล และปรบั ปรุง เพอ่ื ใหก้ ารเรียนการสอนบรรลผุ ลอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
ผสู้ อนจะต้องพิจารณาองคป์ ระกอบตา่ ง ๆท้งั หมดในระบบ โดยพิจารณาผลผลติ ว่าได้ผล
เปน็ ไปดังที่มุ่งหวงั ไวห้ รอื ไม่มีจดุ บกพร่องในส่วนใดทจี่ ะต้องแกไ้ ข ปรบั ปรุงบา้ ง
12
บรรณนานกุ รม
กิดานันท์ มลิทอง. (2540). เทคโนโลยกี ารศึกษาและนวตั กรรม. กรุงเทพฯ:ชวนพมิ พ์.
ฉลอง ทับศรี. (2542). การออกแบบการเรียนการสอนวชิ า การออกแบบการเรียนการสอน (423511).
มหาวิทยาลัยบูรพา. เอกสารการสอน
บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2543). นวตั กรรมการศกึ ษา.(พมิ พค์ รั้งท่ี 5). กรุงเทพฯ:SR Printing.