The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เศรษฐกิจพอเพียงกับงานอาชีพ ม.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wanida, 2021-06-07 09:49:54

เศรษฐกิจพอเพียงกับงานอาชีพ ม.3

เศรษฐกิจพอเพียงกับงานอาชีพ ม.3

การนาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในงานอาชีพ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

เศรษฐกจิ พอเพยี ง ความพอเพยี ง
เป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดารง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมี
เหตุผล การมรี ะบบภูมคิ ุ้มกนั ในตัวทดี่ ี
อยู่และปฏบิ ตั ติ นขอประชาชน พอสมควรต่อการมผี ลกระทบใด ๆ
ทุกระดบั ต้ังแต่ระดบั ครอบครัว อนั เกดิ จากการเปลย่ี นแปลงท้งั ภายนอก
และภายในท้งั นีจ้ ะต้องอาศัยความรอบรู้
ระดบั ชุมชน จนถึงระดบั รัฐ ท้งั ใน ความรอบคอบและความระมดั ระวงั
การพฒั นาและบริหารประเทศ ในการนาวชิ าการต่าง ๆ มาใช้ใน
ให้ดาเนินไปในทางสายกลาง การวางแผนและการดาเนินการ
โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ ทุกข้นั ตอน
เพ่ือให้ก้าวทนั ต่อโลกยุคโลกาภิวตั น

หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

การพฒั นาตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑. กรอบแนวคดิ
คือ การพฒั นาทตี่ ้งั อยู่บนพืน้ ฐานของทางสายกลาง ๒. คุณลกั ษณะ
และความไม่ประมาท โดยคานึงถึงความพอประมาณ ๓. คานิยาม
ความมเี หตุผล การสร้างภูมคิ ุ้มกนั ทดี่ ใี นตัว ตลอดจน ๔. เง่ือนไข
ใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการ ๕. แนวทางปฏิบัต/ิ ผลที่คาดว่าจะได้รับ
วางแผน การตดั สินใจ และการกระทา ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งมหี ลกั พจิ ารณาอยู่ ๕ ส่วน ดงั นี้

๑.กรอบแนวคดิ

เป็ นปรัชญาทชี่ ี้แนะแนวทางการดารงอยู่
และปฏิบตั ิตนในทางทคี่ วรจะเป็ น โดยมพี ืน้ ฐานมาจาก
วถิ ชี ีวติ ด้งั เดมิ ของสังคมไทย สามารถนามาประยุกตใช้
ได้ตลอดเวลาและเป็ นการมองโลกเชิงระบบทมี่ กี าร
เปลย่ี นแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย
และวกิ ฤต เพื่อความมนั่ คง และความยงั่ ยืนของการ
พฒั นา

๒. คุณลกั ษณะ

เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต
ใช้ กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้น
การปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนา
อย่างเป็ นข้นั ตอน

๓. คานิยาม

๓.๑ ความพอประมาณ ความพอดที ไี่ ม่น้อยเกนิ ไป และไม่มากเกนิ ไป
๓.๒ ความมเี หตุผล โดยไม่เบียดเบยี นตนเองและผู้อ่ืน

๓.๓ การมภี ูมิคุ้มกนั ท่ีดใี นตัว การตัดสินใจเกย่ี วกบั ระดบั ความพอเพยี งน้ันต้องเป็ นไป
อย่างมเี หตุผล ตลอดจนคานึงถงึ ผลทคี่ าดว่าจะเกดิ ขนึ้

การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและ
การเปลย่ี นแปลงด้านต่าง ๆ ทจ่ี ะเกดิ ขนึ้

๔.เง่ือนไข

การตัดสินใจและการดาเนินกจิ กรรมต่าง ๆ
ให้อยู่ในระดบั พอเพยี งน้ันต้องอาศัยท้งั ความรู้และ
คุณธรรมเป็ นพืน้ ฐาน ประกอบด้วย

๑. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้
เกย่ี วกบั วิชาการต่าง ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง อย่างรอบด้าน ความ
รอบคอบทจ่ี ะนาความรู้เหล่าน้ันมาพจิ ารณาให้
เช่ือมโยงกนั เพ่ือประกอบ
การวางแผน และความระมดั ระวงั ในข้นั ปฏบิ ตั ิ

๒. เง่ือนไขคุณธรรม ประกอบด้วย มีความ
ตระหนักในคุณธรรม มคี วามซื่อสัตยสุจริตและมคี วาม
อดทน มคี วามเพยี ร ใช้สตปิ ัญญาในการดาเนินชีวติ

๕.แนวทางปฏบิ ตั ิ/ผลทีค่ าดว่าจะได้รับ

จากการนาปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
มาประยุกตใช้ คือ การพฒั นาทส่ี มดุลและยง่ั ยืน พร้อมรับ
ต่อการเปลยี่ นแปลงในทุกด้าน ท้งั ด้าน เศรษฐกจิ สังคม
สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี

ดร.สุเมธ ตนั ตเิ วชกลุ เลขาธิการมูลนธิ ิ
ชัยพฒั นา ได้บรรยายไว้ว่า หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง หมายถึง การเดนิ ทางสายกลางของ ๓
หลกั คือ ความพอประมาณ ความมเี หตุผลและ
การมรี ะบบภูมคิ ุ้มกนั ในตวั ทดี่ ี ซึ่งจะบรรลุผลได้
น้ันต้องอาศัย ๒ เงื่อนไข คือ เง่ือนไขความรู้
ประกอบด้วย รอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั ส่วน
เง่ือนไขคุณธรรม ประกอบด้วย ความซื่อสัตย
สุจริตขยนั อดทน สตปิ ัญญา และแบ่งปัน ดงั นี้

๑.ความพอประมาณในงานอาชีพ

ทางสายกลางของความพอประมาณในการทางาน ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
หมายถึง การทางานพอประมาณ ตามหนา้ ที่ ตามเวลางาน
หรือตามเงินเดือนที่ไดร้ ับรวมท้งั การคิดและทางานเตม็ มเี หตุผล มภี ูมิคุ้มกนั
ความสามารถที่มี ไม่นอ้ ยเกินไป และไม่ทางานเกินตวั
ตวั อยา่ งของการทางานนอ้ ยเกินไป คือ การไม่พฒั นาหยดุ นิ่ง ทางสายกลาง ในตวั ทด่ี ี
อยกู่ บั ที่ ไม่กลา้ ตดั สินใจหรือปรับเปล่ียนใด ๆซ่ึงต่อไปจะ
ไม่สามารถยนื หยดั อยใู่ นสังคมที่มีการเปล่ียนแปลงได้ ส่วน พอประมาณ
การทางานเกินตวั เช่น ผทู้ ่ีทางานมากเกินไปจนเสียความ
สมดุลในดา้ นอื่น ๆ ของชีวิต

๒.ความมเี หตุผลในงานอาชีพ

ความมีเหตุผล หมายถึง การคิด การทางาน
ตลอดจนการดาเนินชีวิตด้วยความมีเหตุผล มีตรรกะ
สามารถเขา้ ใจและอธิบายเรื่องราวหรือปัญหาต่าง ๆ
อย่างเป็ นระบบเป็ นวิทยาศาสตร์ รู้จักใช้ดุลยพินิจ
ในการพิจารณาไตร่ตรอง และสามารถตดั สินใจได้ดี
จากข้อมูลที่สนับสนุน ถ้าเห็นว่าข้อมูลไม่เพียงพอ
กต็ อ้ งรู้จกั การเสาะแสวงหาขอ้ มูลเพ่มิ เติม

๓.การมีระบบภูมิคุ้มกนั ในงานอาชีพ

การมรี ะบบภูมคิ ุ้มกนั ในตัวดี สามารถครองตนอยู่
ไดท้ ่ามกลางปัจจยั ต่าง ๆท่ีมากระทบท้งั จากภายในและ
ภายนอก หากมองในแง่ของงานหรือธุรกิจ คือ การรู้จกั
วิเคราะห์และบริหารความเสี่ยง

ระบบภูมคิ ุ้มกนั คือ สามารถครองตนใหอ้ ยใู่ น
ความซ่ือสตั ยส์ ุจริต สามารถยนื หยดั อยใู่ นศีลธรรม แมจ้ ะถูก
ยวั่ ยดุ ว้ ยผลประโยชน์ และเม่ือพบกบั ความไม่ชอบธรรม
ต่างๆกส็ ามารถใชส้ ติและปัญญาในการแกไ้ ขปัญหา

เง่ือนไขสร้างความพอเพยี ง

เง่ือนไขและปัจจยั ทจี่ ะทาให้การวางแผน
การตดั สินใจ การดาเนินการแต่ละข้นั ตอนนาไปสู่
ความพอเพยี งหรือไม่พอเพยี ง ในคานิยามซ่ึงได้
พระราชทานมาน้ันระบุชัดเจนว่าต้องอาศัยความรู้
คู่กบั คุณธรรม
๑.เง่ือนไขความรู้ คือ ความรอบรู้ ความรอบคอบ และ
ระมัดระวงั ในการนาเอาหลกั วชิ าการมาใช้ ต้องรู้จริง
รอบรู้ เพราะจะมโี อกาสพลาดสูง ถ้ารู้จริงแต่ไม่
รอบคอบ เช่น เรื่อง OTOP การวางแผนการผลติ ถ้า
ไม่รอบคอบต้งั แต่การนาวตั ถุดบิ จนถงึ การทา
การตลาด และจดั ส่งสินค้า มโี อกาสทจ่ี ะนาไปสู่ความ
ไม่พอเพยี งได้มาก

เงื่อนไขสร้างความพอเพยี ง

๒. เง่ือนไขคุณธรรม
๑. เร่ิมจากการเสริมสร้างพืน้ ฐานจติ ใจให้มคี ุณธรรม

แต่ละบุคคลจะต้องมสี านึกในคุณธรรม คดิ ละช่ัว ประพฤติดี
ซ่ือสัตยสุจริต

๒. การมคี ุณธรรมเป็ นหลกั ปฏิบตั แิ ละการดาเนินชีวติ
คือ ต้องมคี วามอดทนมคี วามเพยี ร มสี ติปัญญาและ
ความรอบคอบ

เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั ทฤษฎใี หม่

ทฤษฎใี หม่ตามแนวพระราชดาริ อาจเปรียบเทยี บกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ซ่ึงมอี ยู่ ๒ แบบ คือ แบบพืน้ ฐานกบั แบบก้าวหน้า ทฤษฎใี หม่มี ๓ ข้ัน คือ

ทฤษฎใี หม่ข้ันที่ ๑ เทยี บได้กบั เศรษฐกจิ พอเพยี งแบบพืน้ ฐาน
เป็ นการใช้ในภาคเกษตรชนบท เพราะมีทรัพยากรที่เหมาะสม
ทาให้การจัดการเกดิ ความสมดุล และนามาซ่ึงความสุข

ทฤษฎใี หม่ข้ันที่ ๒ เทยี บได้กบั เศรษฐกจิ พอเพยี งแบบก้าวหน้าฃ
เป็ นการร่วมมือของกล่มุ คนทเี่ ข้มแข็งและสามารถพงึ่ ตนเองได้
เช่น ธนาคารโคกระบือ กลุ่มสัจจะออมทรัพย กลุ่มแม่บ้าน

ทฤษฎใี หม่ข้ันที่ ๓ เป็ นความร่วมมือกนั ในระดบั เครือข่าย
เช่น เครือข่ายสานึกรักบ้านเกดิ ของดแี ทค เครือข่ายข้าว
หรือการร่วมมือกนั ของภาครัฐ-เอกชน เป็ นต้น

ปัจจยั ในการทางานให้เหมาะสมกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

การจะสร้างคนทุกคนให้ขบั เคลื่อนองคกรไปสู่ความสาเร็จได้ภายใต้หลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ต้องสร้างแรงกระตุ้นอยู่ตลอดเวลาอย่างค่อยเป็ นค่อยไป ซึ่งมปี ัจจยั สาคญั
ทจ่ี ะช่วยส่งเสริมการทางานมี ๕ ประการ

ปัจจัยในการทางานให้เหมาะสมกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ต่อ)

๑.บุคลิกภาพ ที่ต้ องรู้ จักวางตนแสดงออก
อย่างเหมาะสม มีความเกรงใจ ไม่เบียดเบียน
ตนเองหรือผู้อื่น และไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อน
แก่ส่ วนรวม ซึ่งต้องอยู่บนพื้นฐานการเข้าใจ
ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง เ ค า ร พ ใ น ค ว า ม คิ ด ท่ีห ล า ก ห ล า ย
ตลอดจนคิดทบทวนอย่างถ่ีถ้วนก่อนแสดงออก
ทางกายหรือวาจา

ปัจจัยในการทางานให้เหมาะสมกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ต่อ)

๒.การส่ือสาร การส่ือสารต้องเป็ นไป
อย่างพอดีไม่มากหรือไม่น้อยเกนิ ไป และ
ให้ความสาคัญกับการสื่อสารโดยการพูด
แ ล ะ ก า ร แ ส ด ง ท่ า ท า ง อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม
พร้อมกับวิเคราะหก่อนจะส่ือสารใด ๆ
ออกไป ขณะเดียวกันในบางสถานการณ
ทเี่ คร่งเครียดจะต้องหลกี เลย่ี งการสื่อสาร
โดยใช้อารมณ

ปัจจัยในการทางานให้เหมาะสมกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ต่อ)

๓. การตัดสินใจ
ต้องใช้หลกั ประสานความร่วมมือ ถนอนนา้ ใจ

ไม่ เบียดเบียนผู้อ่ืน คานึงถึงผลประโยชน
ส่วนรวม พร้อมท้ังควรวางแผนอนาคต เพื่อให้
เท่าทนั การเปลยี่ นแปลง

ปัจจยั ในการทางานให้เหมาะสมกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ต่อ)

๔.การทางานเป็ นทีม ควรเริ่มต้นทาความเข้าใจ
เป้าหมายของทีม แสดงบทบาทของตนอย่าง
เหมาะสม พร้ อมช่ วยเหลือผู้อ่ืนอย่างเต็ม
ความสามารถ และประเมินความสามารถ
เพ่ือใช้ ประโยชนจากจุดแข็งของแต่ละคน
วางแผน จัดสรร ติดตามอานวยการแลกเปล่ียน
ข้อมูลเรียนรู้ร่วมกนั ให้เกดิ ความไว้ใจ

ปัจจยั ในการทางานให้เหมาะสมกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ต่อ)

๕. ภาวะผู้นา
ต้องมีความยุติธรรมในการดูแลลูกน้อง ปฏิบัติ

ด้วยความเมตตา ประสานความแตกต่าง เพื่อทาให้
ส่วนรวมพัฒนาตนเองสม่าเสมอ ให้เป็ นต้นแบบ
ในการจดั การความรู้อย่างเป็ นระบบในองคกร

การปฏิบัติตนตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง

การนาแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในการดาเนิน
ชีวติ ประจาวนั สามารถทาได้ ดงั นี้
๑. เศรษฐกจิ พอเพยี งสาหรับบุคคลทั่วไป

เศรษฐกิจพอเพียงมีประโยชนต่อประชาชนทุกคนไม่ว่า
จะเป็ นนิสิต นักศึกษา นักเรียน ข้าราชการ พนักงานบริษัท
สามารถนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยุกตใช้
ในการเรียนการทางาน ตลอดจนการดาเนินชีวติ ประจาวันได้
ซ่ึงสามารถกระทาได้ดงั นี้

๑.๑ ยดึ ความประหยดั ตัดทอนค่าใช้จ่ายใน
ทุกด้าน ลดละความฟ่ ุมเฟื อยในการดารงชีพอย่างจริงจัง
ดงั พระราชดารัสว่า “ความเป็ นอยู่ทต่ี ้องไม่ฟ้งุ เฟ้อ
ต้องประหยดั ไปในทางทถี่ ูกต้อง”

การปฏิบตั ิตนตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ต่อ)

๑.๒ ยดึ ถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องสุจริต
แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดารงชีพกต็ ามดงั พระราชดารัสทว่ี ่า
“ความเจริญของคนท้งั หลายย่อมเกดิ มาจากการประพฤตชิ อบและการหาเลยี้ งชีพ
ของตนเป็ นหลกั สาคญั ”

๑.๓ ละเลกิ การแก่งแย่งผลประโยชนและแข่งขนั กันในทางการค้าขาย
ประกอบอาชีพแบบต่อสู้กันอย่างรุนแรงดังอดีต ซ่ึงมีพระราชดารัสเร่ืองนี้ว่า
“ความสุขความเจริญอนั แท้จริงน้ันหมายถงึ ความสุขความเจริญทบี่ ุคคลแสวงหา
มาได้ด้วยความเป็ นธรรมท้งั ในเจตนาและการกระทา ไม่ใช่ได้มาด้วยความบังเอิญ
หรือด้วยการแก่งแย่งเบยี ดบงั มาจากผู้อ่ืน”

การปฏิบตั ติ นตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ต่อ)

๑.๔ ควรแสวงหาความรู้ให้มรี ายได้เพมิ่ พนู
ขนึ้ จนถึงข้นั พอเพยี งในการดารงชีวติ เป็ นเป้าหมาย
สาคญั โดยต้องขวนขวายใฝ่ หาความรู้ให้เกดิ มรี ายได้
เพม่ิ พูนขนึ้ จนถึงข้นั พอเพยี งดงั พระราชดารัสทใ่ี ห้ความ
ชัดเจนว่า “การทตี่ ้องการให้ทุกคนพยายามทจ่ี ะหา
ความรู้และสร้างตนเองให้มนั่ คงนีเ้ พ่ือตนเอง เพ่ือทจ่ี ะให้
ตวั เองมคี วามเป็ นอยู่ทก่ี ้าวหน้า มคี วามสุข พอมพี อกนิ
เป็ นข้นั หน่ึง และข้นั ต่อไปกค็ ือให้มเี กยี รติว่ายืนได้ด้วย
ตวั เอง”

การปฏิบตั ิตนตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ต่อ)

๑.๕ ปฏิบตั ิตนในแนวทางท่ีดี ลดละเลิกอบายมุข
ให้หมดสิ้ นไป พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไดพ้ ระราชทาน
พระราโชวาทว่า “พยายามไม่ก่อความชว่ั ใหเ้ ป็นเครื่องทาลาย
ตวั ทาลายผูอ้ ื่น พยายามลด พยายามละความชว่ั ที่ตวั เองมีอยู่
พยายามก่อความดีให้แก่ตัวอยู่เสมอ พยายามรักษา และ
เพ่ิมพนู ความดีท่ีมีอยนู่ ้นั ใหง้ อกงามสมบูรณ์ข้ึน ทรงย้าเนน้ ว่า
คาสาคัญที่ สุ ดคื อ คาว่า “พอ” ต้องสร้ างความพอท่ี
สมเหตุสมผลใหก้ บั ตวั เองใหไ้ ดแ้ ละเรากจ็ ะพบกบั ความสุข”

การปฏบิ ัติตนตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ต่อ)

๒. เศรษฐกจิ พอเพยี งสาหรับเกษตรกร ข้ันทหี่ นึ่ง
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร ได้พระราชทานแนวคดิ “การเกษตรทฤษฎใี หม่” มีความพอเพยี ง เล้ียงตวั เองได้ บนพ้ืนฐาน
เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรกรให้มคี วามรู้ ความเข้าใจสามารถ ของความประหยดั และลดการใชจ้ ่าย
นาไปประยุกตใช้ในการประกอบอาชีพ
โดยจะต้องต้งั อย่บู นพืน้ ฐานหลกั การทฤษฎใี หม่ ๓ ข้ัน คือ ข้นั ที่สอง

ข้ันทสี่ าม รวมกนั ในรูปกลุ่ม เพ่อื ทาการผลิต
การตลาด การจดั การ สวสั ดิการ การศึกษาและการ
สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพและขยายกิจกรรมทาง พฒั นาสงั คม
เศรษฐกิจใหห้ ลากหลายโดยประสานความร่วมมือกนั ภาค
เอกชนและภาครัฐ


Click to View FlipBook Version