ภาษาคอมพวิ เตอร์
มนุษย์ ใชภ้ าษาในการส่ือสารมาต้งั แต่สมยั โบราณ การใชภ้ าษาเป็นเร่ืองทีม่ นุษยพ์ ยายามถา่ ยทอดความคิดและ
ความรู้สึกตา่ ง ๆ เพอ่ื การโตต้ อบและส่ือความหมาย ภาษาท่ีมนุษยใ์ ชต้ ดิ ตอ่ สื่อสารในชีวติ ประจาวนั เชน่ ภาษาไทย
ภาษาองั กฤษ หรือภาษาจีน ตา่ งเรียกว่า “ภาษาธรรมชาติ” (Natural Language) เพราะมีการศกึ ษา ไดย้ นิ ไดฟ้ ัง กนั มาต้งั แต่
เกดิ การใชง้ านคอมพิวเตอร์ ซ่ึงเป็นเครื่องมอื ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ใหท้ างานตามทต่ี อ้ งการ จาเป็นตอ้ งมีการกาหนดภาษา
สาหรับใชต้ ดิ ต่อส่งั งานกบั คอมพวิ เตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์จะเป็น ”ภาษาประดษิ ฐ”์ (Artificial Language) ท่ีมนุษยค์ ดิ สร้าง
มาเอง เป็นภาษาท่ีมจี ุดมงุ่ หมายเฉพาะ มกี ฎเกณฑ์ทีต่ ายตวั และจากดั คืออยใู่ นกรอบใหใ้ ชค้ าและไวยากรณ์ท่กี าหนดและมี
การตีความหมายท่ีชดั เจน จึงจดั ภาษาคอมพิวเตอร์เป็นภาษาท่ีมีรูปแบบเป็นทางการ (Formal Language) ต่างกบั
ภาษาธรรมชาตทิ ่มี ีขอบเขตกวา้ งมาก ไมม่ ีรูปแบบตายตวั ที่แน่นอน กฎเกณฑข์ องภาษาจะข้นึ กบั หลกั ไวยากรณ์และการ
ยอมรับของกลุ่มผูใ้ ชน้ ้นั ๆ
ภาษา คอมพวิ เตอร์อาจแบง่ ไดเ้ ป็น 3 ระดบั คอื ภาษาเครื่อง (Machine Language) ภาษาระดบั ต่า (Low Level Language)
และภาษาระดบั สูง (High Level Language)
1 ภาษาเครื่อง (Machine Language)
การ เขยี นโปรแกรมเพอื่ สงั่ ใหค้ อมพวิ เตอร์ทางานในยคุ แรก ๆ จะตอ้ งเขยี นดว้ ยภาษาซ่ึงเป็นท่ียอมรับของเครื่อง
คอมพวิ เตอร์ทเี่ รียกว่า “ภาษาเครื่อง” ภาษาน้ีประกอบดว้ ยตวั เลขลว้ น ทาใหเ้ ครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางานไดท้ นั ที ผูท้ ่ี
จะเขยี นโปรแกรมภาษาเครื่องได้ ตอ้ งสามารถจารหสั แทนคาสง่ั ต่าง ๆ ได้ และในการคานวณตอ้ งสามารถจาไดว้ า่ จานวน
ต่าง ๆ ทใี่ ชใ้ นการคานวณน้นั ถูกเกบ็ ไวท้ ่ีตาแหน่งใด ดงั น้นั โอกาสทีจ่ ะเกิดความผดิ พลาดในการเขยี นโปรแกรมจึงมมี าก
นอกจากน้ีเครื่องคอมพิวเตอร์แตล่ ะระบบมภี าษาเครื่องท่ีแตกตา่ งกนั ออก ทาใหเ้ กิดความไมส่ ะดวกเมื่อมกี ารเปล่ยี นเคร่ือง
คอมพวิ เตอร์เพราะจะตอ้ งเขียน โปรแกรมใหมท่ ้งั หมด
2 ภาษาระดบั ตา่ (Low Level Language)
เน่ือง จากภาษาเครื่องเป็นภาษาท่ีมคี วามยงุ่ ยากในการเขียนดงั ไดก้ ล่าวมาแลว้ จึงไมม่ ีผูน้ ิยมและมกี ารใชน้ อ้ ย ดงั น้นั ไดม้ กี าร
พฒั นาภาษาคอมพวิ เตอร์ข้นึ อีกระดบั หน่ึง โดยการใชต้ วั อกั ษรภาษาองั กฤษเป็นรหสั แทนการทางาน การใชแ้ ละการต้งั ชือ่
ตวั แปรแทนตาแหน่งท่ใี ชเ้ กบ็ จานวนต่าง ๆ ซ่ึงเป็นคา่ ของตวั แปรน้นั ๆ การใชส้ ัญลกั ษณ์ชว่ ยใหก้ ารเขยี นโปรแกรมน้ี
เรียกว่า “ภาษาระดบั ตา่ ”ภาษาระดบั ต่าเป็นภาษาท่มี ีความหมายใกลเ้ คยี งกบั ภาษาเคร่ือง มากบางคร้ังจึงเรียกภาษาน้ี
วา่ “ภาษาอิงเคร่ือง” (Machine – Oriented Language) ตวั อยา่ งของภาษาระดบั ต่า ไดแ้ ก่ ภาษาแอสเซมบลี เป็นภาษาท่ใี ชค้ า
ในอกั ษรภาษาองั กฤษเป็นคาสง่ั ใหเ้ ครื่องทางาน เชน่ ADD หมายถึง บวก SUB หมายถึง ลบ เป็นตน้ การใชค้ าเหลา่ น้ีช่วยให้
การเขียนโปรแกรมงา่ ยข้นึ กว่าการใชภ้ าษาเคร่ืองซ่ึง เป็นตวั เลขลว้ น ดงั ตารางแสดงตวั อยา่ งของภาษาระดบั ต่าและ
ภาษาเคร่ืองทสี่ ัง่ ใหม้ กี ารบวกจานวน ทีเ่ กบ็ อยใู่ นหน่วยความจา
ตารางท่ี 5.1 แสดงความสมั พนั ธข์ องคาส่ังในภาษาระดบั ต่าและภาษาเคร่ือง
ภาษาระดบั ต่า ภาษาเครื่อง รหสั เลขฐานสิบหก
MOV AL,05 10110000 00000101 B0 05
MOV BL,08 10110011 00001000 B3 08
ADD AL,BL 00000000 11011000 00 D8
MOV CL,AL 10001000 11000001 88 C1
จาก ตารางบรรทดั แรก 10110000 00000101 เป็นคาสงั่ ใหน้ าจานวน 5 (หรือเขียนในรูปของเลขฐานสองเป็น 00000101) ไป
เกบ็ ในรีจิสเตอร์ชื่อ AL โดยส่วนแรก 10110000 คอื รหสั คาสง่ั MOV ซ่ึงเป็นการเคลือ่ นยา้ ยขอ้ มูลจานวนมาเกบ็ ไวใ้ น
รีจิสเตอร์ AL
บรรทดั ที่ สอง 10110011 00001000 เป็นคาสัง่ ใหน้ าจานวน 8 (หรือเขยี นในรูปของเลขฐานสองเป็น 00001000) ไปเกบ็ ใน
รีจิสเตอร์ชือ่ BL โดยส่วนแรก 10110011 คอื รหสั คาสัง่ MOV ซ่ึงเป็นการเคล่ือนยา้ ยขอ้ มูลจานวนมาเกบ็ ไวใ้ นรีจสิ เตอร์ BL
บรรทดั ทีส่ าม เป็นคาสงั่ การบวกระหว่างรีจิสเตอร์ AL กบั BL หรือนา 5 บวก 8 ผลลพั ธเ์ กบ็ ในรีจิสเตอร์ AL
บรรทดั ท่สี ี่ เป็นการนาผลลพั ธ์จากรีจิสเตอร์ชื่อ AL ไปเกบ็ ไวใ้ นรีจิสเตอร์ช่ือ CL
การ ใชโ้ ปรแกรมทเี่ ขยี นดว้ ยภาษาแอสเซมบลนี ้นั เครื่องคอมพวิ เตอร์ไม่สามารถทางานไดท้ นั ที จาเป็นตอ้ งมกี ารแปล
โปรแกรมในการแปลที่มีชือ่ วา่ “แอสเซมเบลอร์” (Assembler) ซ่ึงแตกต่างไปตามเคร่ืองคอมพิวเตอร์แตล่ ะชนิด ดงั น้นั แอ
สเซมเบลอร์ของเคร่ืองชนิดหน่ึงจะไมส่ ามารถใชแ้ ปลโปรแกรมภาษาแอสเซ มบลีของเครื่องชนิดอ่นื ๆ ไดภ้ าษาแอสเซมบลี
น้ียงั คงใชย้ าก เพราะผูเ้ ขยี นโปรแกรมจะตอ้ งเขา้ ใจในการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์อยา่ ง ละเอยี ด ตอ้ งรู้ว่าจานวนที่จะ
นามาคานวณน้นั อยู่ ณ ตาแหน่งใดในหน่วยความจาในทานองเดยี วกบั การเขียนโปรแกรมเป็นภาษาเคร่ือง ภาษาแอสเซมบลี
จึงมีผใู้ ชน้ อ้ ย และมกั จะใชใ้ นกรณีทตี่ อ้ งการควบคุมการทางานภายในของตวั เครื่องคอมพวิ เตอร์
3 ภาษาระดบั สูง (High Level Language)
ภาษา ระดบั สูงเป็นภาษาทีส่ ร้างข้ึนเพอ่ื ช่วยอานวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรม กล่าวคือลกั ษณะของคาสง่ั จะ
ประกอบดว้ ยคาต่าง ๆ ในภาษาองั กฤษ ซ่ึงผอู้ ่านสามารถเขา้ ใจความหมายไดท้ นั ที ผเู้ ขยี นโปรแกรมจึงเขียนโปรแกรมดว้ ย
ภาษาระดบั สูงไดง้ า่ ยกวา่ เขียนดว้ ยภาษาแอ สเซมบลหี รือภาษาเครื่อง ภาษาระดบั สูงมมี ากมายหลายภาษา อาทเิ ช่น ภาษา
ฟอร์แทรน (FORTRAN) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาปาสคาล (Pascal) ภาษาเบสิก(BASIC) ภาษาวชิ วลเบสิก (Visual
Basic) ภาษาซี (C) และภาษาจาวา (Java) เป็นตน้ โปรแกรมที่เขยี นดว้ ยภาษาระดบั สูงแต่ละภาษาจะตอ้ งมโี ปรแกรมทท่ี า
หนา้ ทีแ่ ปล ภาษาระดบั สูงใหเ้ ป็นภาษาเครื่อง เช่น โปรแกรมแปลภาษาฟอร์แทรนเป็นภาษาเคร่ือง โปรแกรมแปลภาษา
ปาสคาลเป็นภาษาเคร่ือง คาสง่ั หน่ึงคาส่งั ในภาษาระดบั สูงจะถูกแปลเป็นภาษาเครื่องหลายคาสง่ั
ภาษาระดบั สูงท่จี ะกล่าวถึงในที่น้ี ไดแ้ ก่
1) ภาษาฟอร์แทรน (FORmula TRANstation : FORTRAN)
จดั เป็นภาษาระดบั สูงท่ีเก่าแกท่ ีส่ ุด ไดร้ ับการคิดคน้ ข้นึ เป็นคร้ังแรก ราว พ.ศ. 2497 โดยบริษทั ไอบีเอม็ เป็นภาษาที่เหมาะ
สาหรับงานท่ตี อ้ งการการคานวณ เชน่ งานทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ และงานวิจยั ตา่ ง ๆ เนื่องจากแนวคดิ ใน
การเขยี นโปรแกรมในระยะหลงั น้ีเปลยี่ นมานิยมการเขยี น โปรแกรมแบบโครงสร้างมากข้นึ ลกั ษณะของคาสง่ั ภาษาฟอร์
แทรนแบบเดมิ ไมเ่ อ้อื อานวยทีจ่ ะใหเ้ ขยี นได้ จึงมกี ารปรับปรุงโครงสร้างของภาษาฟอร์แทรนใหส้ ามารถเขียนโปรแกรม
แบบโครง สร้างข้ึนมาไดใ้ นปี พ.ศ. 2509 เรียกวา่ FORTRAN 66 และในปี พ.ศ. 2520 สถาบนั มาตรฐานแห่งชาตขิ อง
สหรัฐอเมริกา (American National Standard Institute หรือ ANSI) ไดป้ รับปรุง FORTRAN 66 และยอมรับใหเ้ ป็นภาษา
ฟอร์แทรนที่เป็นมาตรฐาน เรียกวา่ FORTRAN 77 ใชไ้ ดก้ บั เครื่องคอมพิวเตอร์ทีม่ ีตวั แปลภาษาน้ี
2) ภาษาโคบอล (Common Business Oriented Language : COBOL)
เป็น ภาษาท่พี ฒั นาข้ึนในราว พ.ศ. 2502 ตอ่ มาไดร้ ับการปรับปรุงจากคณะกรรมการซ่ึงเป็นตวั แทนของหน่วยงานธุรกิจและ
รัฐบาลของสหรัฐอเมริกา เป็นภาษาโคบอลมาตรฐานในปี พ.ศ. 2517 เป็นภาษาที่เหมาะสมสาหรับงานดา้ นธุรกจิ เคร่ือง
คอมพิวเตอร์ขนาดใหญส่ ่วนมากมีโปรแกรมแปลภาษาโคบอล
3) ภาษาเบสิก (Beginner’s All – purpose Symbolic Instruction Code : BASIC)
เป็น ภาษาท่ีไดร้ ับการคิดข้ึนเป็นคร้ังแรกทีว่ ทิ ยาลยั ดาร์ทมธั (Dartmouth College) และเผยแพร่เป็นทางการในปี พ.ศ. 2508
ภาษาเบสิกเป็นภาษาที่สรา้ งข้นึ โดยมีจุดประสงคเ์ พอื่ ใชส้ อนเพอื่ ใชส้ อน เขยี นโปรแกรมแทนภาษาคอมพวิ เตอร์ภาษาอ่ืน
เชน่ ภาษาฟอร์แทรน ซ่ึงมีขนาดใหญแ่ ละตอ้ งใชห้ น่วยความจาสูงในการทางาน ซ่ึงไม่เหมาะกบั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ในสมยั
น้นั ภาษาเบสิกเป็นภาษาทมี่ ขี นาดเลก็ เป็นตวั แปลภาษาชนิดท่ีเรียกวา่ อินเทอร์พรีเตอร์
นอก จากน้ี ภาษาเบสิกเป็นภาษาที่ง่ายต่อการเขียน ซ่ึงผเู้ ขยี นจะสามารถนาไปประยกุ ตก์ บั การแกป้ ัญหาต่าง ๆ ไดท้ ุก
สาขาวชิ า ผูท้ เี่ พงิ่ ฝึ กเขยี นโปรแกรมใหม่ ๆ หรือผทู้ ี่ไมใ่ ชน่ กั เขยี นโปรแกรมมอื อาชีพ แตเ่ ป็นเพียงวิศวกรหรือนกั วจิ ยั จะ
สามารถหดั เขยี นโปรแกรมภาษาเบสิกไดใ้ นเวลาไม่นานนกั ปกตภิ าษาเบสิกส่วนใหญใ่ ชก้ บั ไมโครคอมพวิ เตอร์
4) ภาษาปาสคาล (Pascal)
ต้งั ช่อื ตามนกั คณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ช่ือ เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal) ซ่ึงเป็นผผู้ ลิตเคร่ืองคดิ เลขโดยใชเ้ ฟื องหมุน ภาษา
ปาสคาลคิดข้นึ ในปี พ.ศ. 2514 โดยนิคลอส เวียซ (Niklaus Wirth) ศาสตราจารยว์ ชิ าคอมพวิ เตอร์ชาวสวติ ภาษาปาสคาล
ไดร้ ับการออกแบบใหใ้ ชง้ ่ายและมโี ครงสร้างทดี่ ี จึงเหมาะกบั การใชส้ อนหลกั การเขียนโปรแกรม ปัจจุบนั ภาษาปาสคาล
ยงั คงไดร้ ับความนิยมใชใ้ นการเรียนเขยี นโปรแกรม คอมพวิ เตอร์
5) ภาษาซีและซีพลสั พลสั (C และ C++)
ภาษา ซีเป็นภาษาท่พี ฒั นาจากหอ้ งปฏบิ ตั ิการเบลลข์ องบริษทั เอทีแอนดท์ ใี นปี พ.ศ. 2515 หลงั จากทพ่ี ฒั นาข้นึ ไดไ้ ม่นาน
ภาษาซีกก็ ลายเป็นภาษาทนี่ ิยมในหมนู่ กั เขียนโปรแกรมมาก และมีใชง้ านในเครื่องทุกระดบั ท้งั น้ีเน่ืองจากภาษาซีไดร้ วมเอา
ขอ้ มูลของภาษาระดบั สูงและภาษาระดบั ตา่ เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั กลา่ วคอื เป็นภาษาทีม่ ไี วยากรณ์ทเี่ ขา้ ใจง่าย ทาใหเ้ ขยี นโปรแกรม
ไดง้ า่ ยเช่นเดยี วกบั ภาษาระดบั สูงทว่ั ไป แต่ประสิทธิภาพและความเร็วในการทางานดีกวา่ มาก เนื่องจากมกี ารทางานเหมอื น
ภาษาระดบั ตา่ สามารถทางานไดใ้ นระดบั ทเ่ี ป็นการควบคมุ ฮาร์ดแวร์ไดม้ ากกว่าภาษาระดบั สูงอื่น ๆ ดงั จะเหน็ วา่ ภาษาซีเป็น
ภาษาทส่ี ามารถพฒั นาระบบปฏิบตั กิ ารได้ เชน่ ระบบปฏบิ ตั ิการยนู ิกซ์
นอก จากน้ีเม่อื แนวคิดของการเขยี นโปรแกรมแบบเชงิ วตั ถุ (Object Oriented Programming : OOP) ไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทใน
วงการคอมพิวเตอร์มากข้ึน ภาษาซีกย็ งั ไดร้ ับการพฒั นาโดยประยกุ ตใ์ ชก้ บั การเขยี นโปรแกรมดงั กลา่ ว เกดิ เป็นภาษาใหม่ช่ือ
วา่ “ภาษาซีพลสั พลสั ” (C++)
6) ภาษาวชิ วลเบสิก (Visual Basic)
เป็น ภาษาทีพ่ ฒั นาตอ่ มาจากภาษาเบสิก ใชไ้ วยากรณ์บางส่วนของภาษาเบสิกในการเขียนโปรแกรม แตม่ ีแนวคดิ และ
วิธีการพฒั นาโปรแกรมที่แตกตา่ งจากภาษาเบสิกโดยสิ้นเชงิ รวมท้งั การใชเ้ น้ือท่ีในหน่วยความจากแ็ ตกตา่ งกนั มาก ท้งั น้ี
เน่ืองจากภาษาวิชวลเบสิกใชแ้ นวคดิ ท่ตี ่างออกไป
7) การเขยี นโปรแกรมแบบจินตภาพ (Visual Programming)
ภาษา น้ีพฒั นาข้ึนโดยบริษทั ไมโครซอฟตอ์ อกแบบเพ่ือเขยี นโปรแกรมทีส่ ามารถใชง้ านได้ บนระบบปฏิบตั ิการแบบจียไู อ
เช่น ระบบปฏบิ ตั กิ ารไมโครซอฟตว์ ินโดวส์ มกี ารติดตอ่ กบั ผใู้ ชโ้ ดยใชร้ ูปภาพ การเขียนโปรแกรมทาไดง้ า่ ยกว่าการเขียน
โปรแกรมแบบเกา่ มาก
8) ภาษาจาวา (Java)
พฒั นา ข้นึ ในปี พ.ศ. 2534 โดยบริษทั ซันไมโครซิสเตมส์ เป็นภาษาท่ีไดร้ ับความนิยมสูงมาโดยตลอด เน่ืองจากเป็นภาษาทมี่ ี
ความยดื หยนุ่ สูง สามารถเขยี นโปรแกรมและใชง้ านไดบ้ นเครื่องคอมพวิ เตอร์ทุกประเภทและระบบ ปฏบิ ตั ิการทุกรู ปแบบ
ในชว่ งแรกทีเ่ ริ่มมีการนาภาษาจาวามาใชง้ านจะเป็นการใชง้ านบนเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ เป็นภาษาที่เนน้ การทางานบนเวบ็
แตป่ ัจจุบนั สามารถสามารถนามาประยกุ ตส์ ร้างโปรแกรมใชง้ านทวั่ ไปได้
นอก จากน้ี เมอื่ เทคโนโลยขี องการส่ือสารกา้ วหนา้ ข้นึ จนกระทง่ั เครื่องคอมพวิ เตอร์ปาลม์ ทอ็ ป หรือ แมแ้ ต่
โทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ีสามารถเชือ่ มตอ่ เขา้ สู่ระบบอินเทอร์เนต็ และใชง้ าน ระบบเวิลดไ์ วดเ์ วบ็ ได้ ภาษาจาวากส็ ามารถสรา้ งส่วน
ทีเ่ รียกวา่ “แอปเพลต็ ” (Applet) ใหอ้ ุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีกลา่ วขา้ งตน้ เรียกใชง้ านจากเครื่องท่ีเป็นแมข่ า่ ย (Server) ได้
9) ภาษาเดลฟาย (Delphi)
เป็น ภาษาทไี่ ดร้ ับความนิยมภาษาหน่ึง แนวคิดในการเขียนโปรแกรมภาษาเดลฟายเหมือนกบั แนวคดิ ในการเขียนโปรแกรม
ภาษาวิ ชวลเบสิก คือเป็นการเขียนโปรแกรมเชิงจินตภาพ แตภ่ าษาพ้ืนฐานท่ีใชใ้ นการเขยี นโปรแกรมจะเป็นภาษา
ปาสคาล ในการเขยี นโปรแกรมเชงิ จินตภาพน้ีมคี อมโพเนนต์ (Component) ท่ีสามารถใชเ้ ป็นส่วนประกอบเพ่อื สร้างส่วน
ตดิ ต่อผูใ้ ชท้ เี่ ป็นแบบกราฟิ ก ทาใหซ้ อฟตแ์ วร์ท่ีพฒั นามีความน่าสนใจและใชง้ านง่ายข้ึน การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษาเดล
ฟายจึงเป็นท่ีนิยมในการนาไปพฒั นาเป็นโปรแกรมใช้ งานมาก รวมท้งั ภาษาปาสคาลเป็นภาษาทีเ่ ขา้ ใจงา่ ย เหมาะแก่การ
นามาใชส้ อนเขยี นโปรแกรม
4. ภาษาระดบั สูงมาก
เป็น ภาษาโปรแกรมยคุ ที่ 4 ซ่ึงเป็นภาษาระดบั สูงมาก จดั เป็นภาษาไร้กระบวนคาสง่ั หมายความวา่ ผใู้ ช้ เพยี งบอกแต่วา่ ให้
คอมพวิ เตอร์ทาอะไร โดยไมต่ อ้ งบอกคอมพิวเตอร์ว่าสิ่งน้นั ทาอยา่ งไร เรียกว่าเป็นภาษาเชงิ ผลลพั ธ์ คือเนน้ วา่ ทาอะไร
ไมใ่ ชท่ าอยา่ งไร ดงั น้นั จึงเป็นภาษาโปรแกรมท่ีเขียนงา่ ย
5. ภาษาธรรมชาติ
เป็น ภาษาโปรแกรมยคุ ท่ี 5 ซ่ึงคลา้ ยกบั ภาษาพูดตามธรรมชาตขิ องคน การเขยี นโปรแกรมงา่ ยทีส่ ุด คือการเขียนคาพูดของ
เราเองว่าเราตอ้ งการอะไร ไมต่ อ้ งใชค้ าส่ังงานใดๆ เลย
ตวั อยา่ งภาษาในยคุ ตา่ งๆ ดงั น้ี
Fortran : ภาษาระดบั สูงภาษาแรก เป็นภาษาโปรแกรมทีใ่ ชง้ านดา้ นวทิ ยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และดา้ นคณิตศาสตร์
ภาษาฟอร์เทนจะประกอบดว้ ยขอ้ ความ คาสง่ั ทลี ะบรรทดั
Colbol : ภาษาโปรแกรมสาหรับธุรกจิ ท่ีมลี กั ษณะคลา้ ยกบั ภาษาองั กฤษ และทส่ี าคญั คือ เป็นภาษาโปรแกรมทีอ่ ิสระจาก
เคร่ือง หมายความวา่ โปรแกรมที่เขียนข้ึนใชง้ านบนคอมพิวเตอร์ชนิดหน่ึงเพียงแค่ปรับปรุงเลก็ นอ้ ย กส็ ามารถรันไดบ้ น
คอมพิวเตอร์อีกชนิดหน่ึง
Basic : ภาษาโปรแกรมสาหรับผเู้ ร่ิมตน้ เป็นภาษาโปรแกรมท่เี รียนรู้ง่าย ไมซ่ บั ซ้อน เหมาะสาหรับใชใ้ นวงการศึกษา
Pascal : เป็นภาษาสาหรับการเรียนการสอนโดยเฉพาะ เป็นภาษาทีเ่ ขียนงา่ ย ใชถ้ อ้ ยคานอ้ ย
Ada : ภาษามาตรฐาน ซ่ึงพฒั นาข้นึ โดย โปรแกรมเมอร์คนแรก คือ เคาต์ Add Lovelace เป็นภาษาทป่ี ระสบความเร็จกบั งาน
ดา้ นธุรกจิ
C : ภาษาสมบั ใหม่ เป็นภาษาทีใ่ ชส้ าหรับเขยี นโปรแกรมระบบปฎิบตั กิ าร เหมาะสาหรับโปรแกรมเมอร์ที่มคี วามสามารถสูง
ALGOL : เป็นภาษาท่ใี ชเ้ ขียนโปรแกรมดา้ นวิทยาศาสตร์
LISP : เป็นภาษาทีใ่ ชเ้ ม่อื ประมวลผลดา้ นสญั ลกั ษณ์, อกั ขระ,หรือคาตา่ งๆ ซ่ึงเป็นการไดต้ อบระหว่างคนกบั คอมพิวเตอร์
ภาษาน้ีนิยมใชเ้ ขียนโปรแกรมดา้ นปัญญาประดษิ ฐ์
Prolog : เป็นภาษาโปรแกรมสาหรับงานดา้ นปัญญาประดษิ ฐ์ ซ่ึงแทนการใชภ้ าษาLISP
PL/1 : เป็นภาษาทเี่ รียนรู้งา่ ย ใชง้ านท้งั ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และดา้ นธรุ กจิ ดงั น้นั ภาษาน้ีจะมีขนาดใหญ่ มี option มาก
ALP : เป็นภาษที่เหมาะสมกบั การทาตาราง มสี ัญลกั ษณ์ต่างๆ มาก
Logo : เป็นภาษายอ่ ยของ lisp เป็นโปรแกรมสาหรับเดก็ มีการสนทนาโตต้ อบกบั คอมพิวเตอร์ โดยใช้ "เต่า" เป็นสัญลกั ษณ์
โตต้ อบกบั คาสัง่ งา่ ยเชน่ forward, left
Pilot : เป็นภาษาโปรแกรมท่นี ิยมใชม้ ากทีส่ ุดในการเขียนโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน(CAI) เช่น งานเกย่ี วกบั
คาสัง่ ฝึ กหดั การทดสอบ เป็นตน้
Smalltalk : เป็นภาษาเชงิ โตต้ อบกบั เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบดว้ ยการจา และการพิมพ์ เป็นภาษาท่ีสนบั สนุนระบบ
คอมพวิ เตอร์ภาพ เป็นภาษาเชงิ วตั ถไุ มใ่ ชเ่ ชิงกระบวนการ
Forth : เป็นภาษาสาหรับงานควบคุมแบบทนั ที เชน่ การแนะนากลอ้ งดาราศาสตร์ และเป็นภาษาโปรแกรมที่มีความเร็วสูง
Modula-2 : คลา้ ยคลงึ กบั ภาษาปาสคาล ออกแบบมาเพือ่ ใหเ้ ขยี นซอฟตแ์ วร์ระบบ
RPG : เป็นภาษาเชงิ ปัญหา ออกแบบมาเพ่อื ใชแ้ กป้ ัญหาการทารายงานเชงิ ธุรกจิ เช่น การปรับปรุงแฟ้ มขอ้ มลู