42
การอานอยางมีวิจารณญาณไมใชส ิ่งที่ทําไดงา ย ๆ ผูก ระทําจะตองหม่ันฝก หัด สังเกต จํา และ
ปรับปรุงการอา นอยูเสมอ แรก ๆ อาจรูสึกเปน ภาระหนักและนา เบ่ือหนา ย แตถาไดก ระทําเปน ประจํา
เปน นิสัยแลวจะทาํ ใหค วามลาํ บากดังกลา วหายไป ผลรบั ท่ีเกดิ ข้ึนนนั้ คมุ คายิ่ง
กิจกรรมท่ี 1
ใหผูเ รียนอา นขา ว บทความ หรือขอความ และใชวิจารณญาณในการอา นตามขั้นตอนท้ัง 4
ขัน้ ตอน และประเมินตนเองวา สามารถทาํ ไดครบทุกขั้นตอนหรือไม และเม่ือประเมินแลว รูส ึกสนใจเร่ือง
ของการอานเพ่มิ ขนึ้ หรอื ไม
เรอ่ื งที่ 3 การอานแปลความ ตีความ ขยายความ จับใจความหรือสรุปความ
การอานแปลความ หมายถึง การแปลเรื่องราวเดิมใหออกมาเปนคาํ ใหม ภาษาใหมห รอื แบบใหม
ความมงุ หมายของการแปลความอยูท่ีความแมน ยําของภาษาใหมวา ยังคงรักษาเนื้อหาและความสําคัญ
ของเร่ืองราวเดิมไวครบถวนหรือไม
สําหรับการแปลความบทรอยกรองเปน รอยแกวหรอื การถอดคาํ ประพันธรอยกรองเปนรอ ยแกว นั้น
ควรอา นขอ ความและหาความหมายของศพั ทแลว เรียบเรียงเนื้อเรือ่ งหรือเนอ้ื หาเปนรอ ยแกวใหสละสลวย
โดยทเ่ี น้ือเร่ืองหรอื เนือ้ หานั้นยงั คงเดิมและครบถว น เชน
พฤษภกาสร อกี กุญชรอนั ปลดปลง
โททนตเสนงคง สําคัญหมายในกายมี
นรชาตวิ างวาย มลายสน้ิ ทง้ั อินทรีย
สถติ ทว่ั แตช วั่ ดี ประดับไวใ นโลกา
(สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระปรมานชุ ิตชิโนรส : กฤษณาสอนนองคําฉนั ท)
ความหมายของศัพท
พฤษภ = วัว กาสร = ควาย
กญุ ชร = ชาง ปลดปลง = ตาย
โท = สอง ทนต = ฟน
เสนง = เขา นรชาติ = มนษุ ย
วางวาย = ตาย มลาย = ส้นิ ไป
อินทรีย = รา งกาย สถติ = คงอยู
ประดับ = ตกแตง โลกา = โลก
แปลความเปน รอ ยแกวก็คอื
วัวควายและชาง เมือ่ ตายแลว ยังมฟี นและเขาทั้งสองขางเหลืออยู สว นมนุษยเมื่อตายไปรางกาย
ก็ส้นิ ไป คงเหลือแตค วามชัว่ หรอื ความดีทไี่ ดท ําไวเทา นั้น ทย่ี งั คงอยใู นโลกนี้
43
การอานตีความ
การอานตีความหรือการอานวินิจสารเปนการอานอยางพิจารณาถี่ถว นดว ยความเขาใจ เพื่อใหได
ประโยชน หรอื เปน ไปตามวัตถปุ ระสงคของผเู ขียน จะเปน การอา นออกเสียงหรอื อา นในใจก็ได แตจ ดุ สําคญั
อยทู ก่ี ารใชส ติปญญาตคี วามหมายของคําและขอ ความ ทั้งหมดรวมทั้งสิ่งแวดลอ มทุกอยา งที่เก่ียวของกับ
ขอความที่อาน ดงั นน้ั จึงตอ งอาศยั การใชเหตผุ ลและความรอบคอบในการพิจารณาท้ังถอยคําและสิ่งแวดลอม
ทั้งหมดท่ีผูอา นจะตีความสารใด ๆ ไดกวา งหรือแคบ ลึกหรือตื้นขนาดไหน ยอมขึ้นอยูกับประสบการณ
สว นตวั และความเฉียบแหลมของวจิ ารณญาณ เปน การอานท่ีผูอ า นพยายามเขา ใจความหมายในสิง่ ทผ่ี ูเขยี น
มไิ ดก ลาวไวโดยตรง ผูอานพยายามสรปุ ลงความเห็นจากรายละเอยี ดของเร่ืองทีอ่ าน
การอา นตีความนั้น ผูอานจะตอ งคิดหาเหตุผล เขา ใจผูเขียน รูวัตถุประสงครูภ าษาท่ีผูเ ขียนใช
ทง้ั ความหมายตรงและความหมายแฝง อนงึ่ ขอ ความทงั้ รอ ยแกว และรอ ยกรองบางบท มไิ ดมคี วามหมายตรง
อยางเดยี วแตม คี วามหมายแฝงซอ นเรน อยู ผูอานตอ งแปลความกอ นแลว จึงตคี วามใหเ ขา ใจความหมาย
ที่แฝงอยู
สารทเี่ ราอา นอยูน้ีมี 2 ประเภท คือ ประเภทรอยแกว และประเภทรอ งกรอง ดังนั้น การตคี วามจึงมี
การตคี วามทง้ั สารประเภทรอ ยแกวและประเภทรอ ยกรอง
ตัวอยางการตีความสารประเภทรอ ยกรอง
“นาคีมพี ิษเพยี้ ง สรุ โิ ย
เลือ้ ยบท ําเดโช แชมชา
พษิ นอ ยหยง่ิ ยโส แมงปอ ง
ชแู ตห างเองอา อวดอางฤทธี”
(โคลงโลกนิต)ิ
โคลงบทนกี้ ลา วถงึ สตั ว 2 ชนดิ ที่มลี กั ษณะแตกตางกัน เปรยี บเสมือนคน 2 จําพวก พวกแรก
มีอํานาจหรือมีความสามารถแตไมแ สดงออกเม่ือยังไมถึงเวลาอันสมควร สวนพวกที่ 2 มีอํานาจหรือ
ความสามารถนอ ยแตอ วดดี กวียกยอง จําพวกแรก เหยยี ดหยามคนจําพวกหลัง โดยสังเกตจากการใชถ อยคํา
เชน ชูหางบา ง พิษนอยบาง ฉะน้ัน ควรเอาอยา งคนจําพวกแรก คือ มีอํานาจมีความสามารถ แตไม
แสดงออก เม่อื ยังไมถึงเวลาอนั สมควร
ขอ ปฏบิ ตั ิในการอานตีความ
1. อานเร่ืองใหละเอยี ดแลวพยายามจบั ประเดน็ สาํ คัญของขอ เขียนใหไ ด
2. ขณะอานพยายามคิดหาเหตุผล และใครครวญอยา งรอบคอบ แลวนํามาประมวลเขากับ
ความคิดของตนวา ขอความนนั้ ๆ หมายถึงสิ่งใด
3. พยายามทําความเขา ใจกับถอยคําบางคําท่ีเห็นวามีความสําคัญรวมทั้งสภาพแวดลอ มหรือ
บรบิ ท เพือ่ กาํ หนดความหมายใหชัดเจนยิ่งขน้ึ
4. การเรียบเรียงถอ ยคําทไี่ ดมาจากการตีความ จะตองมีความหมายชัดเจน
44
5. พงึ ระลกึ วาการตีความมิใชก ารถอดคาํ ประพนั ธ ซึ่งตองเก็บความหมายของบทประพันธนั้น ๆ
มาเรียบเรียงเปน รอยแกวใหครบทั้งคํา และขอความ การตีความนั้นเปนการจับเอาแตใ จความสําคัญ
การตีความจะตอ งใชค วามรคู วามคดิ อันมเี หตผุ ลเปน ประการสาํ คัญ
ขอควรคํานงึ ในการตีความ
1. ศึกษาประวัติและพน้ื ฐานความรขู องผูเ ขยี น
2. ศึกษาสภาพสังคมในสมัยท่ีงานเขียนนั้นเกิดขึ้น วาเปน สังคมชนิดใด เปนประชาธิปไตยหรือ
เผดจ็ การเปน สงั คมเกษตร พาณิชยห รอื อตุ สาหกรรม เปนสงั คมท่เี ครงศาสนาหรือไม
3. อา นหลาย ๆ ครง้ั และพิจารณาในรายละเอียด จะทาํ ใหเหน็ แนวทางเพม่ิ ขึน้
4. ไมย ึดถือสงิ่ ทีต่ นตีความนั้นถูกตอง อาจมีผูอ นื่ เหน็ แยง กไ็ ด ไมค วรยึดมัน่ ในกรณที ี่ไมต รงกบั ผูอนื่
วาของเราถกู ตอ งท่สี ดุ
การอานขยายความ
การอานขยายความ คือ การอธิบายเพม่ิ เติมใหละเอียดขึน้ ภายหลงั จากไดตคี วามแลว ซึ่งอาจใชวธิ ี
ยกตัวอยา งประกอบหรอื มีการอางองิ เปรยี บเทียบเนื้อความใหก วางขวางออกไปจนเปนทเี่ ขา ใจชัดเจนย่งิ ขน้ึ
ตวั อยาง
ความโศกเกดิ จากความรกั ความกลวั เกดิ จากความรกั ผทู ่ลี ะความรกั เสียไดก ไ็ มโ ศกไมกลวั
(พทุ ธภาษติ )
ขอ ความนใี้ หข อคดิ วา ความรักเปน ตน เหตุใหเกิดความโศก และความกลัว ถาตัดหรือละความรักได
ท้ังความโศก ความกลวั กไ็ มมี
ขยายความ
เมื่อบุคคลมีความรักในสิ่งใดหรือคนใด เขาก็ตองการใหส่ิงน้ันคนนั้นคงอยูใ หเขารักตลอดไป
มนุษยสวนมากกลัววาคนหรือส่ิงท่ีตนรักจะแตกสลายหรือสูญสิ้นจากไป แตเมื่อถึงคราวทุกอยา ง
ยอมเปล่ียนไปไมอ าจคงอยูได ยอ มมกี ารแตกทาํ ลายสญู สลายไปตามสภาพ ถา รคู วามจรงิ ดังนี้และรูจักละ
ความรกั ความผูกพนั นน้ั เสีย เขาจะไมต องกลวั และไมต องโศกเศรา เสยี ใจอีกตอไป
การขยายความน้ีใชใ นกรณีที่ขอ ความบางขอ ความ อาจมีใจความไมส มบูรณจึงตอ งมีการอธิบาย
หรือขยายความเพื่อใหเ กิดความเขาใจย่ิงขึ้น การขยายความอาจขยายความเก่ียวกับคําศัพทห รือการให
เหตุผลเพิ่มเติม เชน สํานวน สุภาษติ โคลง กลอนตาง ๆ เปน ตน
การอา นจับใจความหรอื สรุปความ
การอา นจับใจความหรอื สรปุ ความ คอื การอา นท่ีมุง คนหาสาระของเร่อื งหรือของหนงั สอื แตละเลม
ท่ีเปน สวนใจความสาํ คญั และสวนขยายใจความสําคญั ของเร่ือง
ใจความสําคัญ คือ ขอความท่ีมีสาระคลุมขอความอื่น ๆ ในยอหนา นั้นหรือเร่ืองนั้นทั้งหมด
ขอ ความอน่ื ๆ เปนเพยี งสว นขยายใจความสําคญั เทา น้ัน ขอ ความหนึ่งหรอื ตอนหนง่ึ จะมีใจความสําคัญท่ีสุด
45
เพยี งหนึง่ เดียว นอกน้นั เปน ใจความรอง คําวาใจความสําคัญน้ี บางทีเรียกเปน หลายอยาง เชน แกน หรือ
หัวใจของเรอื่ ง แกน ของเรื่องหรอื ความคิดหลักของเรอ่ื ง แตจ ะอยางไรก็ตามใจความสาํ คัญคือ สิ่งที่เปน สาระ
ที่สําคัญที่สุดของเรื่อง น่ันเอง
ใจความสําคัญสว นมากจะมีลักษณะเปนประโยค ซึ่งอาจจะปรากฏอยูใ นสว นใดสวนหนึ่งของ
ยอ หนา ก็ได จุดที่พบใจความสําคัญของเรื่องแตล ะยอหนามากท่ีสุดคือ ประโยคท่ีอยูตอนตนยอหนา
เพราะผเู ขียนมักจะบอกประเดน็ สาํ คัญไวกอน แลวจึงขยายรายละเอียดใหช ัดเจน รองลงมาคือ ประโยค
ตอนทายยอ หนา โดยผูเขียนจะบอกรายละเอียดหรือประเด็นยอ ๆ กอ น แลวจึงสรุปดว ยประโยคที่เปน
ประเดน็ ไวภายหลัง สําหรับจดุ ท่พี บใจความสาํ คญั ยากข้ึนก็คอื ประโยคตอนกลางยอหนา ซ่ึงผูอ า นจะตอง
ใชความพยายามสังเกตใหดี สว นจุดทห่ี าใจความสําคัญยากท่ีสุด คือ ยอ หนา ที่ไมม ีประโยคสําคัญปรากฏ
ชัดเจน อาจมีหลายประโยคหรืออาจจะอยูรวม ๆ กนั ในยอหนาก็ได ซง่ึ ผูอ านตองสรปุ ออกมาเอง
การอานและพิจารณานวนิยาย
คําวา “นวนยิ าย” (Novel) จดั เปน วรรณกรรมประเภทหนง่ึ หมายถึง หนงั สอื ที่เขียนเปน รอ ยแกว
เลาถึงชีวิตในดานตา ง ๆ ของมนุษย เชน ดานความคิด ความประพฤติ และเหตุการณต า ง ๆ ที่เกิดข้ึน
ในชีวิตจริงของมนุษย ช่ือคน หรือพฤติกรรมท่ีแสดงออกเปนเร่ืองสมมุติท้ังส้ิน นวนิยายแบง เปน 6
ประเภท ดงั นี้
1. นวนยิ ายอิงประวัติศาสตร เชน ผชู นะสบิ ทิศ (องิ ประวัตศิ าสตรมอญ) ชูซไี ทเฮา (อิงประวัต-ิ
ศาสตรจ นี ) สแ่ี ผนดิน (องิ ประวัตศิ าสตรไ ทยสมัยรตั นโกสนิ ทร แผน ดนิ รชั กาลท่ี 5 - 8) กระทอมนอ ยของ
ลุงทอม (อิงประวตั ิศาสตรอเมริกา)
2. นวนยิ ายวิทยาศาสตร คือ นวนิยายท่ีนําความมหศั จรรยทางวทิ ยาศาสตรแ ขนงตา ง ๆ มาเขียน
เปนเรื่องราวทนี่ า ต่นื เตน เชน กาเหวาทบ่ี างเพลง สตารว อร (Star war) มนุษยพ ระจนั ทร มนษุ ยล องหน
เปนตน
3. นวนยิ ายลึกลับ ฆาตกรรม นักสบื สายลับ เชน เรอ่ื งเชอรลอกโฮม มฤตยูยอดรัก
4. นวนิยายเก่ียวกับภตู ผีปศ าจ เชน แมน าคพระโขนง กระสอื ศรีษะมาร เปนตน
5. นวนิยายการเมือง คอื นวนยิ ายทนี่ ําความรูทางการเมอื งการปกครองมาเขยี นเปนเน้อื เรอื่ ง
เชน ไผแดง ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เปาบนุ จน้ิ สามกก สารวัตรใหญ เปนตน
6. นวนิยายดา นสังคมศาสตร คือ นวนิยายท่ีสะทอ นสภาพสังคม เชน เรื่องเมียนอ ย เสียดาย
เพลิงบญุ เกมเกียรติยศ นางทาส เปนตน
องคป ระกอบของนวนยิ าย
นวนยิ ายแตล ะเรือ่ งมีองคป ระกอบทส่ี าํ คัญ ดังน้ี
1. โครงเรื่อง (Plot) หมายถึง ขอบขา ยหรือโครงเรอ่ื งราวหรอื เหตกุ ารณตา ง ๆ ทตี่ อเนอ่ื งเปนเหตุ
เปนผลตอกัน
46
2. เนือ้ เรอื่ ง (Story) หมายถงึ เรือ่ งราวตาง ๆ ท่ีผูเ ขียนถา ยทอดยกมาทาํ ใหผอู า นทราบวา เรื่องที่
อา นนั้นเปนเร่ืองราวของใคร เกิดข้ึนท่ีไหน อยางไร เมื่อใด มีเหตุการณหรือความเกี่ยวขอ งกันระหวา ง
ตวั ละครอยา งไร
3. ฉาก (Setting) คือ สถานท่ีเกิดเหตุการณใ นเร่ืองอาจเปน ประเทศ เมือง หมูบ า น ทุง นา
ในโรงภาพยนตร ฯลฯ
4. แนวคดิ (Theme) ผแู ตงจะสอดแทรกแนวคิดไวอ ยา งชัดเจนในคําพูด นิสัย พฤติกรรม หรือ
บทบาทของตัวละคร หรอื พบไดในการบรรยายเร่ือง
5. ตวั ละคร (Characters) ผแู ตง เปน ผสู รางตวั ละครข้ึนมา โดยตัง้ ช่ือให แลวกําหนดรูปรา ง
หนาตา เพศ วัย นสิ ัยใจคอ บคุ ลกิ ภาพ ตลอดจนกําหนดบทบาทและโชคชะตาของตวั ละครเหลาน้นั ดวย
หลักการอา นและพิจารณานวนิยาย มดี ังน้ี
1. โครงเร่ืองและเนื้อเรื่อง การแสดงเนื้อเร่ือง คือ การเลาเร่ืองน่ันเอง ทําใหผ ูอ า นทราบวา
เปนเรื่องราวของใคร เกิดขึ้นทไ่ี หน อยางไร เมอื่ ใด มเี หตุการณอ ะไร สว นโครงเรอ่ื งนั้นคือสวนทเี่ นน ความ
เกยี่ วของระหวางตัวละครในชวงเวลาหนึ่งซ่งึ เปน เหตผุ ลตอ เนือ่ งกัน
โครงเรอื่ งทด่ี ี มลี กั ษณะดังน้ี
1.1 มีความสัมพันธกันระหวางเหตุการณตาง ๆ ในเร่ืองและระหวางบุคคลในเร่ือง
อยางเก่ียวเนื่องกนั ไปโดยตลอด
1.2 มขี ดั แยง หรอื ปมของเรอ่ื งที่นาสนใจ เชน ความขดั แยงของมนุษย กับสิง่ แวดลอ ม การตอ สู
ระหวางอํานาจอยางสูงกบั อํานาจอยางตํา่ ภายในจิตใจ การชิงรักหักสวาท ฯลฯ ขัดแยงเหลา นี้เปนสิ่งสําคัญ
ทท่ี ําใหตวั ละครแสดงพฤติกรรมตาง ๆ ออกมาอยา งนาสนใจ
1.3 มีการสรางความสนใจใครรูตลอดไป (Suspense) คือ การสรางเรื่องใหผูอา นสนใจใครร ู
อยา งตอ เน่ืองโดยตลอด อาจทําไดห ลายวิธี เชน การปด เรื่องท่ีผูอ า นตองการทราบไวกอ น การบอกให
ผูอ า นทราบวาจะมีเหตกุ ารณสาํ คญั เกิดขนึ้ ในตอนตอไป การจบเร่ืองแตละตอนทิ้งปญหาไวใหผูอา นอยากรู
อยากเหน็ เรอื่ งราวตอ ไป
1.4 มีความสมจรงิ (Realistic) คอื เรอื่ งราวทเ่ี กิดขนึ้ เปน ไปอยา งสมเหตุสมผล มิใชเ หตุประจวบ
หรือเหตุบังเอญิ ทม่ี นี ้ําหนักเบาเกนิ ไป เชน คนกาํ ลงั เดือดรอนเรอ่ื งเงิน หาทางออกหลายอยางแตไมส ําเร็จ
บงั เอญิ ถกู สลากกินแบงรฐั บาลจึงพนความเดอื ดรอ นไปได
2. กลวิธีในการดําเนินเร่ือง จะชว ยใหเ ร่ืองนา สนใจและเกิดความประทับใจ ซึ่งอาจทําได
หลายวิธี เชน
2.1 ดําเนินเรอ่ื งตามลาํ ดบั ปฏิทนิ คือเริม่ ตัง้ แตละครเกิด เติบโตเปน เด็ก เปน หนมุ สาว แก
แลว ถึงแกก รรม
2.2 ดําเนินเร่ืองยอนตน เปน การเลา แบบกลาวถึงเหตกุ ารณในตอนทายกอนแลว ไปเลาต้ังแต
ตอนตน จนกระท่ังจบ
47
2.3 ดําเนินเรื่องสลับไปมา คือ การเร่ิมเร่ืองในตอนใดตอนหนึ่งกอ นก็ได เชน อาจกลา วถึง
อดีตแลว กลบั มาปจจบุ ันอีก หรอื การเลา เหตกุ ารณท่เี กดิ ตางสถานท่สี ลับไปมา
ผูอานควรพิจารณาวากลวิธีในการดําเนินเร่ืองของผูเขียนแตล ะแบบมีผลตอ เร่ืองน้ัน
อยา งไร ทําใหเรือ่ งนาสนใจชวนตดิ ตามและกอใหเกดิ ความประทบั ใจหรือไม หรอื วา กอใหเ กดิ ความสบั สน
ยากตอการติดตามอาน
3. ตวั ละคร ผูอานสามารถพิจารณาตัวละครในนวนิยาย ในดา นตอไปนี้
3.1 ลกั ษณะนิสัยของตัวละคร
3.1.1 มคี วามสมจริงเหมอื นคนธรรมดาท่วั ไป คือ มที ั้งดีและไมด ีอยูในตัวเอง ไมใ ชวา ดี
จนเปนท่หี น่ึง หรอื เลวจนหาท่ีชมไมพ บ
3.1.2 มีการกระทําหรือพฤติกรรมท่ีสอดคลอ งกับลักษณะนิสัยตนเอง ไมประพฤติ
ปฏบิ ตั ิในที่หนึ่งอยางหนง่ึ และอกี ที่หนงึ่ อยางหนงึ่
3.1.3 การเปลีย่ นลกั ษณะนิสัยของตวั ละครตอ งเปนไปอยางสมเหตุสมผล
3.2 บทสนทนาของตัวละคร บทสนทนาทด่ี ี ควรพจิ ารณา ดังนี้
3.2.1 มีความสมจริง คอื สรางบทสนทนาใหสอดคลอ งกับฐานะและลักษณะนิสัยของตัว
ละครในเรือ่ ง
3.2.2 มสี วนชว ยใหเ รอ่ื งดําเนินตอ ไปได
3.2.3 มสี ว นชว ยใหร ูจกั ตัวละครในดานรูปรางและนิสยั ใจคอ
4. ฉาก หมายถงึ สถานทแ่ี ละเวลาทเ่ี ร่ืองนั้น ๆ เกิดขนึ้ มีหลักการพิจารณา ดังน้ี
4.1 สอดคลอ งกบั เนือ้ เร่อื ง และชวยสรางบรรยากาศ เชน บา นรา งมีใยแมงมุมจับอยูต ามหอ ง
ฯลฯ นาจะเปนบานทม่ี ีผสี ิง คืนทีม่ พี ายุฝนตกหนักจะเปนฉากสําหรับฆาตกรรม
4.2 ถกู ตอ งตามสภาพความเปน จรงิ ฉากท่มี คี วามถูกตองตามสภาพภูมศิ าสตรแ ละเหตุการณ
ในประวัตศิ าสตร จะชว ยเสรมิ ใหน วนยิ ายเรอื่ งน้นั มคี ณุ คา เพ่ิมขน้ึ
5. สารตั ถะ หรือสารของเรอื่ ง หมายถงึ แนวคดิ จดุ มงุ หมายหรือทศั นะของผแู ตงทต่ี อ งการสื่อมา
ถึงผูอาน ผแู ตง อาจจะบอกผอู านตรง ๆ หรอื ใหต ัวละครเปนผบู อกหรอื อาจปรากฏทช่ี ่อื เรอ่ื ง แตโดยมากแลว
ผูแ ตง จะไมบ อกตรง ๆ ผูอ า นตอ งคนหาสาระของเรื่อง เชน เรื่องผูด ีของดอกไมส ด ตอ งการจะแสดงวา
ผูด ีนั้นมีความหมายอยา งไร เร่ืองจดหมายจากเมืองไทยของโบตั๋นตอ งการแสดงใหเ ห็นขอดีขอเสียของ
คนไทย โดยเฉพาะน้ําใจซึ่งคนชาติอืน่ ไมม เี หมือน
นวนิยายที่ดีจะตองมีสารัตถะของเรื่องและมีคุณคา ตอผูอ า นไมทางใดก็ทางหน่ึง หลักสําคัญ
ในการเลอื กวรรณกรรมในการอา นตองเลือกใหตรงกับความสนใจ มีเนื้อหาสาระตรงตามความตองการ
เปนวรรณกรรมที่ดีใหค ณุ คา แกชีวติ ดงั นี้
1. เนื้อหาความคดิ เหน็ มจี ุดมุงหมายท่ีดี มีความคิดสรา งสรรค
48
2. กลวธิ ีในการแตงดี ไดแกภาษาที่ใช และองคประกอบอ่นื ๆ ส่ือความหมายไดต รงตาม
ความตองการ อานเขา ใจงายและสละสลวย
3. มคี ุณประโยชน
เรอ่ื งที่ 4 วรรณคดี
วรรณคดี คือ หนังสือท่ีไดร ับการยกยองวา แตงดีมีลักษณะเดนในเชิงประพันธ มีคุณคาสูงในดา น
ความคิด อารมณและความเพลิดเพลิน ทําใหผ ูอ า นเห็นความงาม ความไพเราะ เกิดความซาบซ้ึงกินใจ
วรรณคดีจึงมคี วามงดงามดานวรรณศิลป ชวยยกระดบั จติ ใจ ความรสู ึก และภูมิปญญาของผูอา นใหสูงข้ึน
วรรณคดีจงึ เปน มรดกทางวัฒนธรรมอยา งหน่งึ
ความสําคัญของวรรณคดี
วรรณคดีเปน สิ่งสรางสรรคอันล้ําคา ของมนุษย มนุษยส รางและส่ือสารเร่ืองราวของชีวิตวัฒนธรรม
และอารมณความรูส ึกที่เกี่ยวของหรือสะทอนความเปนมนุษยด วยกลวิธีการใชถอยคําสํานวนภาษา ซึ่งมี
ความเหมือนหรอื แตกตางกนั ไปในแตละยุคสมยั
พระยาอนมุ านราชธน (ยง เสฐยี รโกเศศ) ไดก ลาวถงึ ความสําคัญของวรรณคดีไวในหนังสือแงคิด
จากวรรณคดวี า
โลกจะเจริญกาวหนา มาไดไ กลก็เพราะวิทยาศาสตร แตล ําพังวิทยาศาสตรเ ทานั้นไมครอบคลุม
ไปถงึ ความเปนไปในชีวิตที่มีอารยธรรมและวฒั นธรรมสูง เราตอ งมีศาสนา เราตอ งมีปรัชญา เราตองมศี ลิ ปะ
และเราตองมีวรรณคดดี วย สิ่งเหลานยี้ อ มนาํ มาแตค วามดีงาม นําความบันเทิงมาใหแกจ ิตใจ ใหเ ราคิดงาม
เห็นงาม ประพฤติงาม มีความงามเปน เจาเรือน แนบสนิทอยูในสันดาน ศิลปะและวรรณคดีนี้แหละคือ
แดนแหงความเพลดิ เพลินใจ ทาํ ใหมีใจสูงเหนอื ใจแข็งกระดา ง เปน แดนท่ีทําใหความแข็งกระดา งตอ งละลาย
สูญหาย กลายเปนมีใจงาม ละมนุ ละมอม เพยี บพรอมไปดว ยคุณงามความดี
วรรณคดีมีความสําคัญทางดานการใชภาษาสะทอนใหเห็นวิถีชีวิตของคน การสืบทอดและ
อนุรักษว ฒั นธรรม กฎระเบยี บคาํ สอน และเปน เครอ่ื งมือสรางความสามัคคีใหเ กดิ ในกลมุ ชน และใหค วาม
จรรโลงใจ นอกจากจะใหคุณคา ในดา นอรรถรสของถอยคําใหผูอ า นเห็นความงดงามของภาษาแลว ยังมี
คุณคาทางสตปิ ญญาและศีลธรรมอีกดว ย วรรณคดีจงึ มคี ุณคาแกผอู า น 2 ประการคอื
1. คุณคา ทางสุนทรียภาพหรือความงาม สุนทรียภาพหรือความงามทางภาษาเปนหัวใจของ
วรรณคดี เชน ศิลปะของการแตง ทั้งการบรรยาย การเปรียบเทียบ การเลือกสรรถอ ยคําใหม ีความหมาย
เหมาะสม กระทบอารมณผอู า น มสี มั ผสั ใหเกดิ เสยี งไพเราะ เปน ตน
2. คุณคาทางสารประโยชน เปน คุณคาทางสติปญญาและสังคมตามปกติวรรณคดีจะเขียนตาม
ความเปนจริงของชีวิต ใหคติสอนใจแกผ ูอ าน สอดแทรกสภาพของสังคม วัฒนธรรมประเพณี ทําใหผูอ า น
มโี ลกทศั นเ ขา ใจโลกไดกวางข้นึ
49
ลักษณะของหนังสอื ทเี่ ปน วรรณคดี
1. มโี ครงเร่อื งดี ชวนอาน มีคณุ คา สาระและมีประโยชน
2. ใชส าํ นวนภาษาท่ปี ระณตี มคี วามไพเราะ
3. แตง ไดถ กู ตอ งตามลกั ษณะคาํ ประพันธ
4. มีรสแหง วรรณคดีทีผ่ อู า นคลอ ยตาม
“วรรณคดมี รดก” หมายถงึ วรรณคดีทีบ่ รรพบุรุษหรือกวีสมัยกอนแตง เอาไวและเปน ที่นิยมอา น
กนั อยางแพรห ลาย ความนิยมนั้นตกทอดเรื่อยมาจนถึงปจ จุบัน ซ่ึงเปรียบเสมือนมรดกอันล้ําคาของชาติ
ทบี่ รรพบุรษุ มอบไวแ กอ นชุ นรนุ หลังใหเ หน็ ความสาํ คญั ของวรรณคดมี รดก
วรรณคดีมรดกมกั จะแสดงภาพชีวติ ของคนในสมัยกอ นทีม่ กี ารประพันธว รรณคดีเรอ่ื งนนั้ ๆ โดยไม
ปด บงั สว นทบี่ กพรอง ทั้งยังแทรกแนวคิด ปรชั ญาชีวิตของกวไี วด ว ย
วรรณคดีมรดกมีคุณคาในดานประวัติศาสตร สังคม อารมณ วรรณศิลป ตลอดจนใหคติสอนใจ
นบั เปนมรดกทางปญ ญาของคนในชาติ ขนบของการแตง วรรณคดีมรดก
ขนบการแตงวรรณคดมี รดก
ขนบ หมายถึง ธรรมเนียมนิยม “ขนบวรรณคดี” หมายถึง ธรรมเนียมนิยมในการแตงวรรณคดี
ทน่ี ิยมปฏิบัตกิ นั ไดแก
1. รูปแบบและเนื้อหา รูปแบบท่ีนิยมไดแก ลิลิต นิราศ เพลงยาว บทละคร โคลง ฉันท กาพย
กลอน และราย รูปแบบและเน้ือหาจะตอ งเหมาะสมกันเชน ถาเปนการสดุดี วีรกรรมของกษัตริย หรือ
วีรบุรษุ จะแตงเปนนริ าศหรอื เพลงยาว เปนตน
2. เนือ้ เร่อื งจะเกยี่ วกบั ศาสนาเพือ่ สั่งสอน สดุดวี ีรกรรมของวีรบรุ ษุ หรอื เพ่ือระบายอารมณ
3. ลักษณะการเขียนจะเริ่มดว ยบทไหวค รู สดุดีกษัตริย กลา วชมบา นเมือง แลว ดําเนินเรื่อง
หากเปน วรรณคดีทีม่ กี ารทาํ สงครามจะมีบทจดั ทพั ดวย
4. การใชถอ ยคํา จะเลือกใชถอยคําที่สละสลวยมีความหมายท่ีทําใหผ ูอานเกิดความซาบซึ้งและ
ประทับใจ
หลกั การพนิ จิ และวจิ ารณว รรณคดี
การวิจารณ หมายถงึ การพจิ ารณาเพอ่ื เปนแนวในการตัดสินวา ส่ิงใดดีหรือสิ่งใดไมด ี การวิจารณ
วรรณคดีจะตอ งพิจารณาทุกข้ันตอน ทุกองคป ระกอบของงานเขียนมีการแยกแยะต้ังแตก ารใชถ อยคํา
สาํ นวน ภาษา รูปประโยค เนอ้ื เรื่อง แนวคิด การนําเสนอเน้ือหา และคุณคา ท้ังดานวรรณศิลปแ ละคุณคา
ทางดา นสงั คม
คณุ คาทางวรรณศลิ ป ไดแก การพิจารณาศิลปะและรปู แบบงานประพันธ โ ดยพิจารณาจากศิลปะ
ในการแตงทั้งบทรอ ยแกว และบทรอยกรอง มีกลวธิ ีในการแตงมีรปู แบบการนําเสนอทีเ่ หมาะสมกบั เน้ือหา
มีความนา สนใจและมีความคดิ อยางสรางสรรค ใชส ํานวนในการแตงมีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสมกับ
เนอ้ื หา มคี วามนา สนใจและมคี วามคดิ อยางสรางสรรค ใชส าํ นวนภาษาสละสลวย สื่อความหมายไดชัดเจน
50
คณุ คาดา นสังคม เปน การพิจารณาจากการที่ผูป ระพันธม ักแสดงภูมิปญ ญาของตน คานิยม และ
จรยิ ธรรมท่ีสะทอ นใหเหน็ สภาพสังคมไดมากนอยเพียงใด หรอื เก่ยี วขอ งสัมพนั ธกับสังคมอยา งไร มสี ว นชว ย
พฒั นาสงั คมหรอื ประเทืองปญ ญาของตนในสังคมชว ยอนุรักษส ิ่งทีม่ คี ุณคา ของชาติบา นเมอื ง และมีสวนชวย
สนับสนนุ คา นยิ มอนั ดีงาม เปน ตน
การพิจารณาวรรณคดี คือ การแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับวรรณคดีเลม ใดเลมหนึ่งอยา งส้ัน ๆ
โดยมเี จตนานาํ วรรณคดนี ้ันใหผ ูอ า นรูจักวา มเี นือ้ เรือ่ ง มีประโยชนแ ละมคี ณุ คาอยางไร ผพู นิ ิจมีความคิดเหน็
อยางไรตอวรรณคดเี รือ่ งนัน้ ๆ ชอบหรอื ไมช อบ เพราะเหตุใด ในการพินจิ หรือวิจารณว รรณคดีมีหลกั การ ดังน้ี
1. แยกองคประกอบของหนงั สอื หรือวรรณคดีทวี่ ิจารณใ หไ ด
2. ทําความเขา ใจกบั องคประกอบท่ีแยกออกมาใหแจมแจง ชัดเจน
3. พิจารณาหรือวิจารณว รรณคดใี นหวั ขอ ตอไปนี้
3.1 ประวัตคิ วามเปน มา
3.2 ลกั ษณะของการประพันธ
3.3 เรื่องยอ
3.4 การวิเคราะหเร่อื ง
3.5 แนวคดิ และจุดมงุ หมายในการแตง ฉาก ตัวละคร และการใชภาษา
3.6 คณุ คาดานตา ง ๆ
การอานวรรณคดีเพือ่ การวิเคราะหวจิ ารณ
การอา นวรรณคดี ผูอานควรมีจุดประสงคในการอา น เชน การอานเพื่อฆา เวลาเปน การอา นที่
ไมตอ งวเิ คราะหวาหนังสือน้ันดีเลวอยางไร การอานเพ่ือความเจริญทางจิตใจ เปนการอาน เพื่อใหร ูเ น้ือเร่ือง
ไดรับรสแหง วรรณคดี การอา นเพือ่ หาความรูเ ปนการอา นเพือ่ เพง เลง็ เนือ้ เรอ่ื ง คน หาความหมายและหัวขอ
ความรูจากหนงั สอื ท่ีอาน การอานเพอื่ พินิจวรรณคดี จะตองอาน เพอ่ื หาความรแู ละเพือ่ ความเจรญิ ทางจติ ใจ
จะตอ งอา นดว ยความรอบคอบ สังเกตและพิจารณาตัวอักษรท่ีอาน และตองสามารถทราบวา วรรณคดี
ทอี่ านเปน วรรณคดีประเภทใด เชน คาํ สอน สรรเสริญวีรบรุ ุษของชาติ การแสดงอารมณ บทละคร นิทาน
และยังตองพิจารณาเนื้อเร่ืองและตัวละครวาเน้ือเรื่องนั้นเปน เนื้อเร่ืองเกี่ยวกับอะไร มีแนวคิดอยางไร
ตัวละครมีลักษณะนิสัยอยางไร สุนทรียภาพแหง บทรอยกรองเปน อยา งไร เชน การใชถอยคําเหมาะสม
มคี วามไพเราะ และสรา งมโนภาพแจม ชัดมากนอยเพียงใด เปนตน ในการอา นวรรณคดีประเภทรอ ยกรอง
จะไดร ับรสเตม็ ท่ี บางครง้ั ผอู า นจะตองอานออกเสียงอยา งชา ๆ หากเปนบทรอ ยกรองและอา นเปนทาํ นอง
เสนาะดวยแลว จะทําใหผอู า นไดรับรสแหง ถอ ยคาํ ทําใหเกิดจินตภาพไดร ับความไพเราะแหงเสียงไปดว ย
ในการวิเคราะหว ิจารณวรรณคดีนั้น ตองฝกตีความหมายของบทรอ ยกรอง ในชั้นแรกจะตองศึกษา
ตวั อยางการวเิ คราะหว จิ ารณจากการตีความหรอื อา นจากหนงั สือที่วเิ คราะหวิจารณแ ละตีความวรรณคดี
จากนน้ั จงึ ตองฝก วเิ คราะหวิจารณ ฝกพิจารณาอยา งรอบคอบ การตีความแนวคิดในเรื่องวรรณคดนี ั้น
ไมจาํ เปนตองเหมือนกนั ขนึ้ อยกู ับการมองและประสบการณข องผตู ีความ
51
ตัวอยา งการวิเคราะหวรรณคดี
รายยาวมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกเปน ชาตหิ นงึ่ ของพระโพธิสตั วก อนท่ีจะเสวยพระชาติเปนพทุ ธองค เนือ้ ความ
โดยยอ มีดังน้ี
คร้ังหน่ึงกษัตริยแ หง กรุงสีวีราษฎรท รงพระนามวา พระเจา สญชัย มีพระมเหสี ทรงพระนาม
พระนางผสุ ดแี ละพระราชโอรสองคห น่ึงทรงพระนามวา เวสสันดร
พระเวสสันดรมีพระทัยฝกใฝการทําทานมาแตยังทรงพระเยาว เม่ือมีพระชนมายุพอสมควรที่จะ
อภิเษกสมรสไดก็ทรงอภเิ ษกสมรสกับพระนางมทั รี พระเวสสันดรทรงบําเพ็ญทานบารมีทุกวันมีพราหมณ
จากเมอื งกลิงคราษฎรแปดคนไดมาขอชางปจจัยนาคซึง่ เปน ชา งคบู า นคเู มอื ง พระเวสสันดรไดป ระทานชา ง
แกพราหมณ เ พราะทรงทราบวา เมอื งกลิงคราษฎรเกดิ ทุพภกิ ขภยั ทาํ ใหบรรดาชาวเมอื งสวี รี าษฎรโกรธแคน
ขบั ไลพ ระองคออกจากเมอื ง
พระเวสสันดรไดเ สด็จออกจากเมืองพรอมดว ยพระนางมัทรีพระโอรสและธิดา ตลอดทางที่เสด็จ
ผา น ไดบ รจิ าคของตา งๆ แกผทู ี่มาขอจนหมดส้นิ แลวทรงพระดาํ เนินโดยพระบาทจนถึงเขาวงกต ประทับอยู
ณ ท่ีน้ัน ทรงผนวชเปน ฤาษี พระนางมัทรีกท็ รงรักษาศีล
กลาวถึงพราหมณชูชกไดภริยาสาวสวยคนหนึ่งมีช่ืออมิตตาดา นางไดยุใหชูชกไปขอสองกุมาร
จากพระเวสสันดร ชูชกก็เดินทางไปยังเขาวงกตไดพบพระเวสสันดรพระองคไดป ระทานสองกุมารใหแ ก
ชูชก ชูชกฉุดกระชากลากสองกุมารไปจนพน ประตูปา สว นนางมัทรีเสด็จออกไปหาอาหารไปประสบ
ลางรายตา ง ๆ ทําใหท รงเปนหว งพระโอรสและพระธิดาจึงเสด็จกลับอาศรม พอทราบความจริงเร่ือง
พระโอรสและธดิ าก็ทรงอนโุ มทนาดว ย
ฝายชูชกพาสองกุมารหลงเขา ไปในเมืองสีวีราษฎร พระเจา สญชัยทอดพระเนตรแลว ทรงทราบวา
พระกมุ ารนั้นคือ พระนดั ดากท็ รงไถตวั สองกุมาร สวนชูชกน้ันกินอาหารมากจนทองแตกตาย พระเจาสญชัย
และพระนางผสุ ดีใหส องกุมารพาไปยงั อาศรม เพอ่ื รบั พระเวสสันดรและพระนางมัทรีกลับเมือง เม่ือท้ังหก
กษัตริยพ บกันก็ถึงแกวิสัญญีภาพ (สลบ) ไปทุกองค เทวดาจึงบันดาลใหเกิดฝนโบกขรพรรษตกลงมาให
ชุมชืน่ ทง้ั หกองคจ งึ ฟน คนื ชวี ติ และเสด็จกลบั พระนคร
ตัวอยางการพจิ ารณาคณุ คา วรรณคดี
การวิจารณวรรณคดที กี่ ลา วมาแลว จะพจิ ารณาตง้ั แตประวัติความเปน มา ประวัติผแู ตง ลักษณะ
คําประพันธ เร่ืองยอ ในการวิเคราะหคุณคา วรรณคดีน้ันจะตองพิจารณาการเขียน ลักษณะการเขียน
สาํ นวนภาษาท่ใี ช แมกระทัง่ คตเิ ตอื นใจ คาํ คม พฤตกิ รรมและนิสยั ของตัวละครในวรรณคดีเรอ่ื งนั้น ๆ ก็เปน
องคป ระกอบสําคญั ท่ีสงผลใหว รรณคดีเรื่องนั้นมคี ุณคา ซึ่งจะนาํ เสนอตวั อยา งวรรณคดี รายยาวมหาเวสสนั ดร-
ชาดกกณั ฑ ทานกัณฑและวรรณคดีสามคั คเี ภทคําฉนั ท ดงั นี้
52
1. ทานกณั ฑ ผแู ตง “สาํ นกั วัดถนน เน้ือเร่ืองกลาวถึงกอ นท่ีพระเวสสันดรจะเสด็จออกไปอยูป า
ไดทรงทําทานคร้ังย่ิงใหญเรียกวา สัตตสดกมหาทาน แลวทูลลาพระเจาสญชัยและพระนางผุสดี รุงข้ึน
พระเวสสนั ดรใหเจา หนา ท่เี บกิ เงนิ ทองบรรทุกรถทรง เสด็จออกจากเมอื งพรอมพระนางมัทรแี ละสองกมุ าร
ขณะเสด็จทรงโปรยเงินทองเหลาน้นั เปน ทาน กอ นจะถงึ ปามีพราหมณมาทูลขอรถทรงบริจาคให พระเวสสนั ดร
ทรงอมุ พระชาลี พระนางมัทรีทรงอมุ พระกณั หา เสดจ็ มุงสปู า ดว ยพระบาท”
พินิจตัวละครในกัณฑท านกัณฑ ซึ่งจะพินิจเปน ตัวอยา งเพียง 1 ตัว เทาน้ัน คือ พระเวสสันดร
เพราะถอื วาเปนตัวเอกของเรื่อง พระเวสสันดรคือ พระโพธิสัตวช าติสุดทา ยกอนจะมาเปนพระพุทธเจา
พฤตกิ รรมของพระองคจ งึ เปน แนวท่ีเหนือบุคคลธรรมดา ซ่ึงบุคคลธรรมดายากท่ีจะปฏิบัติไดด ังพระองค
อาทิ
1.1 ใฝใจที่จะทําทาน ซงึ่ เปน ลักษณะนิสัยที่มมี าแตย ังทรงพระเยาว ครั้งเสด็จขึ้นครองราชย
ก็ทรงบรจิ าคทานทกุ วันเปนประจํา แมช างปจ จยั นาค ซ่ึงเปน ชางคบู านคเู มืองกป็ ระทานใหแกผทู เ่ี ดอื นรอ น
จนเปน เหตุใหถ ูกเนรเทศ กอ นออกจากเมืองยังไดบ ริจาคทานอันย่ิงใหญที่เรียกวา สัตตสดกมหาทาน
ดงั ขอความ “พระพักตรเธอผองแผว เพอ่ื จะบาํ เพ็ญพระโพธญิ าณเสด็จออกยังโรงทานทอ งสนาม...เธอก็ให
พระราชทานสน้ิ ทกุ ประการ ประจงจัดสัตตสดกมหาทาน เปนตนวา คชสารเจ็ดรอ ย...ใหจ ัดโคนมนับรอย
มิไดขาด ท้ังทาสทาสีก็ส้ินเสร็จ...เธอหยิบยกสัตตสดกมหาทานแลว พระทัยทา วเธอผองแผวชื่นบานตอ
ทานบารมี...” นอกจากน้ีพระเวสสันดรไดท รงบําเพ็ญทานอันยิ่งใหญ คือ บุตรทานและประทานพระชายา
ใหแ กพ ราหมณ (พระอินทร ปลอมมา) การใหท านท้ังสองครั้งนี้เปน ยอดแหง ทานหามีผูใดกระทําได เชน
พระองค
1.2 ทรงมั่นในอุเบกขา ทรงมีพระทัยท่ีเด็ดเด่ียวม่ันคงไมห ว่ันไหวตอ การกระทําใด ๆ ที่จะ
ทาํ ใหพ ระองคทรงเกิดกิเลส
1.3 ทรงเปนผรู อบคอบ เห็นไดจากการทาํ กําหนดคา ตวั สองกมุ าร ซ่งึ เปนพระโอรสและ
พระธดิ าทพี่ ระองคประทานแกช ชู ก เพื่อมิใหส องกุมารตอ งไรร ับความลําบากและไดร บั ความเสื่อมเสีย
คณุ คา ของกัณฑทานกัณฑ
1. คุณคา ดา นวรรณศิลป (ความงามทางภาษา)
ทานกณั ฑน ดี้ เี ดนในเชิงพรรณนาโวหาร มกี ารใชโ วหารทีไ่ พเราะและทาํ ใหเ กดิ จนิ ตภาพ
แกผูอ าน เชน ตอนท่ีพระนางผุสดีพูดกับพระเวสสันดรใชถ อ ยคําท่ีอานแลว ซาบซ้ึงกินใจ “วา โอพอฉัตร-
พชิ ยั เชตเวสสันดรของแมเอย ตง้ั แตน ้พี ระชนนจี ะเสวยพระอัสสุชนธารา แมไ ปทูลพระบิดาเธอก็ไมโปรด
แมวอนขอโทษเธอก็ไมให. ..พระลกู เอย ...แตนี้จะชมุ ชน่ื ไปดว ยนา้ํ คางในกลางปา พอ จะเสวยแตมูลผลาตา ง
เครอ่ื งสาธุโภชนท ุกเชา ค่ํา ถงึ ขมข่ืนกจ็ ะกลืนกลา้ํ จาํ ใจเสวย...”
2. คณุ คา ดานสังคม
2.1 ดานการปกครอง ในเร่ืองพระเวสสันดรจะเห็นวา กษัตริยท รงฟงเสียงประชาชน
เมื่อประชาชนลงมติใหเ นรเทศพระเวสสันดร เพราะเจาสญชัยก็ยอมเนรเทศแสดงใหเ ห็นถึงความเปน
ประชาธปิ ไตย
53
2.2 สภาพสังคมท่ีไมย อมรับหญิงมาย หญิงใดเปน มา ยก็จะถูกดูหม่ินเหยียดหยามจากสังคม
และไมมีใครอยากไดเ ปนคคู รอง
3. ดานคานยิ ม
3.1 คา นิยมเก่ียวกับการทํางาน โดยการทําทานเปนการเสียสละ เพ่ือเพื่อนมนุษยแ ละ
หวงั ในผลบุญน้ันจะสงใหต นสบายในชาติตอ ไป ความคิดน้ียังฝงอยูในใจคนไทยมาทุกสมัย จึงนิยมทําบุญ
บรจิ าคทาน
3.2 ความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องชางเผือก ชางเผือกถือวา เปน ชางคูบ ารมีพระมหากษัตริย
และความเชื่อนน้ั ยงั ปรากฏมาจนถึงปจ จุบนั นี้
4. ดานความรู
ใหความรูเกี่ยวกับการสัตตสดกมหาทาน ซ่ึงในสมัยอยุธยาก็ปรากฏการทําทานลักษณะน้ี
ในสมัยพระเจา ปราสาททองและประเทศทเ่ี ปนเมืองข้นึ ประเทศอืน่ ตอ งสง เคร่ืองบรรณาการมาถวาย
เรอ่ื งท่ี 5 หลกั การวิจารณว รรณกรรม
เม่ือกลา วถึงวรรณกรรมยอมเปน ท่ีเขาใจกันท่ัวไปวา หมายถึง งานเขียนดานตาง ๆ ในรูปของ
บทละคร สารคดี เร่ืองส้ัน นวนิยาย และกวีนิพนธซ ึ่งมีมาตั้งแตโบราณแลว ทั้งที่เปน รอ ยแกว และ
รอ ยกรอง
ลักษณะของวรรณกรรม
1. วรรณกรรมเปน งานประพันธท แี่ สดงความรูสกึ นกึ คิด โดยทว่ั ไปมนษุ ยจ ะพูดหรือเขยี นแลวจะสง
ความรูสึกนึกคิด อยา งใดอยางหนึ่ง เชน ฝนตก ตน ไมส ีเขียว ความรูส ึก จะสัมผัสไดท างกายและใจ เชน
รูสึกหนาว รูส ึกรอน เปน ตน สวนความคิดคอื ส่งิ ทีเ่ กดิ จากการใชสติปญญาใครครวญเกี่ยวกับสิ่งใดส่ิงหน่ึง
มากระทบอารมณ
2. วรรณกรรมเปน งานประพันธทเ่ี กดิ จากจินตนาการ เปน การสรางภาพข้ึนในจติ ใจ จากส่ิงที่เคยพบ
เคยเห็นในชวี ิต สิง่ ท่สี รา งสรรคขึน้ มาจากจินตนาการออกจะมเี คา ความจรงิ อยูบาง
3. วรรณกรรมเปนงานประพนั ธใชภาษาวรรณศลิ ป เชน คาํ วา ใจกวางเหมือนแมน้ํา หรือหิมะขาว
เหมือนสําลี เปน ตน
ประเภทของวรรณกรรม
ในปจ จุบันวรรณกรรมแบง ประเภท โดยดูจากรูปแบบการแตงและการแบงตามเน้ือหาออก
เปน 4 ประเภท คือ
1. ประเภทรอ ยแกว คือ วรรณกรรมทไ่ี มม ลี กั ษณะบงั คับ ไมบ งั คับจํานวนคาํ สัมผัส หรอื เสยี งหนกั
เบาวรรณกรรมทแ่ี ตงดวยรอยแกว ไดแ ก นทิ าน นิยาย นวนยิ าย เรอื่ งสนั้ สารคดี บทความ ขาว
54
2. ประเภทรอยกรอง คือ วรรณกรรมทม่ี ีลักษณะบังคับในการแตง ซ่ึงเรียกวา ฉันทลักษณ เชน
โคลง ฉันท กาพย กลอน ราย ลิลิต วรรณกรรมท่ีแตงดวยคําประเภทรอ ยกรอง ไดแ ก บทละคร นิยาย
บทพรรณนา บทสดดุ ี บทอาเศียรวาท
3. ประเภทสารคดี คือ วรรณกรรมท่ีมีเนื้อหาสาระใหความรู ความคิดและอาจใหค วามบันเทิง
ดวย เชน สารคดีทองเที่ยว ชีวประวตั ิ บันทกึ จดหมายเหตุ หนังสือคตธิ รรม บทความ เปนตน
4. ประเภทบันเทงิ คดี คือ วรรณกรรมท่แี ตง ขน้ึ โดยอาศยั เคา ความจรงิ ของชีวติ หรือจินตนาการ
โดยมุง ใหค วามบนั เทงิ แกผ อู า นเปน ลําดบั ไดแก เรอื่ งสัน้ นทิ าน นวนยิ าย บทละครพดู เปน ตน
วรรณกรรมทีไ่ ดร ับการยกยอ ง
ในการอานหนังสอื แตละเลม โดยเฉพาะหนังสือประเภทวรรณคดี ผูอา นยอมไดร ับประสบการณ
ทางอารมณบ า ง ไดร ับคุณคา ทางปญญาบาง หรืออาจไดร ับทั้งสองประการบาง สวนวรรณกรรมบางเร่ือง
แมม ไิ ดเปน วรรณคดกี อ็ าจใหท้งั ประสบการณท างอารมณแ ละใหคุณคา ทางปญ ญา ทั้งนี้ข้ึนอยูก ับผูอา นวาจะ
สามารถเขาถงึ วรรณกรรมนัน้ ไดเ พยี งไร วรรณกรรมบางเรือ่ งแตง ไดดจี นไดรับการยกยอง ซึง่ มลี กั ษณะ ดังน้ี
งานประพนั ธท ้งั ปวงยอ มแฝงไวซ่ึงแนวคิดและคา นิยมบางประการ อันจะกอ ใหเ กิดความงอกงาม
ทางสติปญญาและพัฒนาการสมรรถภาพการพิจารณาความประณีตความละเอียดออนทางภาษาไดอ ยา งดี
ย่งิ แนวคิดท่ปี รากฏในวรรณกรรมน้ัน อาจหมายถึง ความคิดสําคัญของเรื่องหรืออาจเปน ความคิดอ่ืน ๆ
สอดแทรกอยูใ นเรอื่ งกไ็ ด
ยกตัวอยา งนทิ านเร่อื ง ปลาบูท องใหแ นวคดิ วา ความอิจฉารษิ ยา ของแมเลี้ยงเปนสาเหตใุ หล ูกเลยี้ ง
ถูกทาํ ทารุณกรรมอยา งแสนสาหสั
บทรอ ยกรองเรอ่ื ง น้าํ ตา ใหแ นวคดิ สําคัญวา นา้ํ ตาเปน เพื่อนของมนุษยทง้ั ในยามทุกขและยามสุข
สว นคานิยมจากวรรณกรรมน้ัน หมายถึง ความรูส ึก ความคิด หรือความเช่ือของมนุษย รวมถึง
ความเช่ือม่ัน การยึดถือปฏิบัติในเรื่องตา ง ๆ ในการดําเนินชีวิต คานิยมจึงเปน ตัวกําหนดพฤติกรรมของ
มนษุ ยใ นการเลือกกระทาํ หรอื เวนกระทําสงิ่ ใดสิ่งหน่ึง ซงึ่ ถือวา ทาํ หรอื คดิ เห็นตามกาลเวลา ยกตวั อยา ง เชน
คา นิยมเรื่องการมีคูค รอง ดังคํากลอนตอนหน่ึงจากเรื่องเสภาขุนชางขุนแผน ตอนที่นางพิมพิลาไลยยัง
เปนสาวไดพดู กบั นางสานทองผเู ปนพีเ่ ล้ียงวา
ธรรมดาเกดิ เปน สตรี ช่วั ดคี งไดคูม าสสู อง
มารดายอ มอุตสา หป ระคบั ประคอง หมายปองวาจะปลูกใหเ ปนเรือน
55
อันหนึ่งเราเขาก็วาเปนผูดี มง่ั มแี มม ิใหล ูกอายเพอ่ื น
จากคําประพันธน้ี สะทอ นใหเห็นคา นิยมของสตรีสมัยกอนวา เปน ผูหญิงตอ งรักนวลสงวนตัว
อยูในโอวาทของมารดา เม่ือจะมีคูค วรใหมารดาตกแตงใหไ มช ิงสุกกอ นหาม สรุปวรรณกรรมท้ังปวงยอ ม
แฝงไวซ ่ึงแนวคิดและคา นิยมบางประการ อันจะกอ ใหเกิดความงอกงามทางสติปญ ญา และพัฒนา
สมรรถภาพการพิจารณาความละเอยี ดออ นทางภาษาลักษณะการใชถ อ ยคาํ ภาษาที่ดใี นวรรณกรรม
วรรณกรรมท่ีดียอ มมีความประณีตในการใชภาษา อันจะทําใหผูอา นพัฒนาสมรรถภาพ ในการ
พจิ ารณาความประณีต ละเอียดออ นของภาษาไดด ขี ึน้
วรรณกรรมที่ดีเปนศิลปะแขนงที่อาศัยภาษาเปนสื่อถายทอดความไพเราะความประทับใจหรือ
อารมณความรูส กึ ซง่ึ มหี ลักพิจารณา 3 ประการใหญ ๆ ดงั นี้
1. การใชถ อ ยคํา เสียง ความหมาย การเลอื กใชถ อยคําชดั เจน ตรงตามความหมายมเี สยี งไพเราะ
2. การเรยี บเรียงถอยคํา การเรยี บเรียงถอยคําใหอ ยูตําแหนงทถี่ กู ตองถกู แบบแผนของภาษา
ยอมทาํ ใหภ าษามีความไพเราะมีความชดั เจน ทาํ ใหผูรับสารเขาใจความคิดของผูส ื่อสารไดถ กู ตอง
3. ศิลปะการประพนั ธ การมีศลิ ปะในการประพันธ หมายความวา ผูแ ตง ตองรูจักเลือกใชถ อ ยคํา
ที่เหมาะสม เพือ่ จะทําใหเกดิ ความไพเราะทางภาษา การใชก วโี วหาร หรอื สํานวนโวหารจะชว ยใหผ อู า นมอง
เห็นภาพชดั เจน และเกิดความไพเราะทางภาษามากข้ึน ตอ ไปน้ีจะกลาวถึงศิลปะการประพนั ธพ อสังเขป
3.1 ไวพจน หมายถึง การใชค ําที่มีความหมายอยา งเดียวกัน ซ่ึงตอ งพิถีพิถันเลือกใชใ ห
เหมาะสมกบั เนือ้ หา เชน
พอสบเนตรวนิดามารศรี แรงฤดีดาลเลห เสนห า
ดงั ตอ งศรซา นพษิ ดว ยฤทธ์ิยา เขา ตรึงตราตรอมตรมระทมทรวง
ตะลึงเลง็ เพง แลชะแงพ กั ตร จนนงลกั ษณห ลกี ไปควรโลลวง
ใหเสยี วปลาบวาบไหวใจระลวง ปะหนึง่ ดวงจติ ดบั เพราะลบั นาง
(จากคาํ ประพนั ธบ างเร่ือง ของพระยาอปุ กติ ศิลปสาร)
คําท่ีมีความหมายวา ผูห ญิง ในที่นี้มี 4 คํา คือ วนิดา มารศรี นงลักษณ บางกวีสามารถเลือกใชไ ด
เหมาะสมกบั เน้ือความในเรอื่ ง
3.2 การใชคาํ เลียนเสียงธรรมชาติและเสียงตาง ๆ การนําเสียงที่ไดยินจากธรรมชาติ
มารอยกรองพรรณนาใหเกดิ ความรสู ึกเหมือนไดยนิ ทาํ ใหเ กดิ ความไพเราะนา ฟงและสะเทอื นอารมณ เชน
ครนื ครืนใชฟ า รอ ง เรยี มครวญ
ห่ึงหึ่งใชลมหวน พ่ใี ห
ฝนตกใชฝ นนวล พีท่ อด ใจนา
รอนใชรอนไฟไหม ทีร่ อ นกลกาม
(ตาํ นานศรีปราชญ ของพระยาปริยตั ิธรรมธาดา)
คาํ วา “ครนื ครนื ” เปนการเลยี นเสียงฟารอง
คําวา “หง่ึ หงึ่ ” เปน การเลยี นเสยี งลมพัด
56
3.3 การเลนคาํ หมายถงึ การนาํ คําพองรูปพอ งเสียงมาเรียบเรียงหรือรอยกรองเขาดวยกัน
จะทําใหเ กดิ เสยี งไพเราะและเพ่ิมความงดงามทางภาษา เชน
ปลาสรอยลอยลอ งชล วา ยเวียนวนปนกันไป
เหมือนสรอยทรงทรามวยั ไมเ ห็นเจา เศราบว าย
คาํ วา “สรอย” คําแรกเปนชีอ่ ปลา
คาํ วา “สรอย” คาํ หลังหมายถงึ สรอ ยคอ
3.4 การใชคําอัพภาส หมายถึง คําซ้ําชนิดหนึ่ง โดยใชพยัญชนะซ้ําเขา ไปขา งหนา คํา เชน
ริก เปน ระรกิ ยิม้ เปน ยะยิ้ม แยม เปน ยะแยม
การใชคําอัพภาสหลาย ๆ คําในที่ใกลก ัน ทําใหแลเห็นภาพและเกิดความรูสึกสะเทือนอารมณ
ตามไปดวย เชน สาดเปน ไฟยะแยง แผลงเปนพษิ ยะยุง พุงหอกใหญ คะควางขวา งหอกซดั คะไขว
(ลลิ ิตตะเลงพาย)
3.5 การใชโ วหารภาพพจน โวหารภาพพจน หมายถงึ ถอ ยคําที่เรียบเรียงโดยไมก ลาวอยาง
ตรงไปตรงมา ผูป ระพันธมีเจตนาจะใหผ ูอา นเขา ใจ และประทับใจยิ่งขึ้นกวาการใชคําบอกเลา ธรรมดา
การใชโ วหารภาพพจนอาจทาํ ไดหลายวิธี เชน
3.5.1 เปรยี บสิง่ หนงึ่ วา เหมอื นอกี สงิ่ หนง่ึ ในการเปรยี บเทยี บน้จี ะมีคาํ แสดงความหมาย
อยา งเดยี วกับคําวาเหมอื น ปรากฏอยูด ว ย ไดแกคําวา เปรยี บเหมือน เสมือน ดุจ ประดจุ ดุจดงั ราวเพียง เชน
คุณแมหนาหนกั เพ้ยี ง พสุธา (เพย้ี ง-โทโทษ มาจากคาํ วาเพยี ง)
คณุ บิดรดจุ อา กาศกวา ง
3.5.2 เปรยี บส่ิงหน่ึงเปน อีกส่งิ หนึ่ง บางตาํ ราเรียกวา อปุ ลกั ษณ เชน พอแม คือ รม โพธ์ิ
รมไทรของลกู
ราชาธิราชนอม ใจสตั ย
อาํ มาตยเปน บรรทัด ถอ งแท
3.5.3 สมมุติส่ิงตาง ๆ ใหมีกิริยาอาการเหมือนมนุษย หรือท่ีเรียกวา บุคลาธิษฐาน เชน
นํ้าเซาะหินรนิ รนิ หลากไหล ไมห ลบั เลยชว่ั ฟาดนิ สลาย
3.5.4 การใชคําสญั ลักษณหรือสง่ิ แทนสัญลักษณ หมายถึง สงิ่ หนึ่งใชแทนอีกส่ิงหนึ่ง เชน
แมนเปน บวั ตวั พเี่ ปนภมุ รา เชยผกาโกสุมประทุมทอง
3.6 การกลา วเกินจรงิ หรือที่เรยี กวา อติพจน (อธพิ จน) การกลาวเกนิ จริงนป้ี รากฏอยใู นชีวติ
ตามปกติ เชน เม่ือเราตองการจะเนนความรูส ึกบางอยาง เชนกลา ว “เหนื่อยสายตัวจะขาด” หรือ “รอน
แทบสุก” การกลาวเกนิ จริง ทําใหเ กิดความแปลกและเรยี กรอ งความสนใจไดดี
3.7 การเลนเสียงวรรณยุกต กวีใชค ําท่ีประกบดวยสระ พยัญชนะและตัวสะกด
อยางเดียวกนั ตา งกนั แตวรรณยุกต โดยนาํ มาเรียงไวใ นท่ใี กลก ันทาํ ใหเกิดเสียงไพเราะดจุ เสยี งดนตรี เชน
57
“สละสละสมร เสมอช่อื ไมน า
นกึ ระกาํ นามไม แมนแมนทรวงเรยี ม”
หรือ ดสู าํ คญั คน่ั ค้นั อยางงนั ฉงน
“จะจบั จองจอ งส่งิ ใดน้นั คอ ยแคะคนขน คน ใหควรการ”
อยา ลามลวงลว งดแู ลศกล
3.8 สัมผสั อกั ษร กวีจะใชคําทมี่ เี สยี งพยัญชนะเดยี วกัน เชน โคลงกลบอักษรลวน
ชายชาญชยั ชาติเชอื้ เชงิ ชาญ
สเู ศิกสดุ เศกิ สาร สงสรอง
ราวรามรทุ รแรงราญ รอนราพณ
เกริกเกยี รตไิ กรกึกกอง กอ กูกรุงไกร
(พระราชนพิ นธพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยหู ัว)
3.9 สัมผสั สระ กวจี ะใชค าํ ท่ีมีเสยี งสระคลองจองกนั เชน
เขาทางตรอกออกทางประตู
คางคกขนึ้ วอแมงปอใสต งุ ตงิ้
นา้ํ รอ นปลาเปนน้ําเย็นปลาตาย
เพ่ือนกินหางายเพ่อื นตายหายาก
3.10 การใชคําปฎิพฤกษ หมายถึง ความขัดแยงที่กวีนํามากลา วคูก ัน เพื่อแสดงคุณสมบัติ
2 อยา งทแ่ี ยง กัน อนั อยูใ นสิง่ เดยี วกนั เชน ความหวานช่นื ในความขมขื่น ความเงยี บเหงาในความวนุ วาย
กจิ กรรมที่ 1 ใหผูเรียนตอบคาํ ถาม และรวมกจิ กรรมตอไปน้ี
1. วรรณคดี คืออะไร
2. วรรณคดีกับวรรณกรรมแตกตา งกันอยา งไร
3. ใหผ ูเ รยี นรวบรวมรายชอ่ื หนงั สอื ทีเ่ ปนวรรณคดีและวรรณกรรมประเภทละ 3 เลม
4. ใหสรปุ คุณคาของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่รี วบรวมมาไดจ ากขอ 3
เรอื่ งท่ี 6 ภาษาถน่ิ
ความหมายของภาษาถนิ่
ภาษาถิ่น หมายถึง ภาษาท่ีใชส่ือความหมายตามทองถิ่นตา ง ๆ ซึ่งจะแตกตา งกันในถอ ยคํา
สาํ เนียง แตก็สามารถจะติดตอส่อื สารกนั ได และถือวา เปนภาษาเดียวกัน เพียงแตแตกตางกันตามทอ งถิ่น
เทาน้นั
ภาษาถิ่น บางท่ีมักจะเรียกกันวา ภาษาพื้นเมืองทั้งนี้เพราะไมไดใ ชเปน ภาษามาตรฐานหรือ
ภาษากลางของประเทศ
58
สาเหตทุ ท่ี ําใหเกดิ ภาษาถ่ิน
ภาษาถ่นิ เกดิ จากสาเหตุการยา ยถิ่นฐาน เมอื่ กลุมชนที่ใชภาษาเดยี วกันยา ยถ่ินฐานไปต้ังแหลง ใหม
เน่ืองจากเกิดภัยธรรมชาติ มีการรุกรานของศัตรู เม่ือแยกยายไปอยูคนละถ่ินนาน ๆ ภาษาท่ีใชจะคอย
เปลยี่ นแปลงไปเชน เสียงเปลี่ยนไป คาํ และความหมายเปลยี่ นไป ทาํ ใหเ กดิ ภาษาถ่ินข้ึน
คุณคาและความสําคัญของภาษาถ่นิ
1. ภาษาถิ่นเปนวัฒนธรรมทางภาษาและเปนเอกลักษณข องแตละทองถน่ิ
2. ภาษาถ่ินเปนสญั ลกั ษณท ่ีใชส อื่ สารทําความเขา ใจและแสดงความเปน ญาติ เปน พวกเดียวกัน
ของเจา ของภาษา
3. ภาษาถิ่นตนกําเนิดและเปนสวนหน่ึงของภาษาไทยและวรรณคดีไทย การศึกษาภาษาถิ่น
จะชวยใหการส่อื สารและการศกึ ษาวรรณคดีไดเ ขาใจลึกซง่ึ ยิ่งขน้ึ
4. การศึกษาและการใชภ าษาถ่ิน จะชว ยใหการส่ือสารไดม ีประสิทธภิ าพและสรา งความเปน หนึ่ง
ของคนในชาติ
ลักษณะของภาษาถ่นิ
1. มีการออกเสียงตา ง ๆ ถน่ิ เพราะสภาพทางภมู ิศาสตร ความหางไกลขาดการตดิ ตอ สื่อสารกัน
เปนเวลานานมาก ๆ ยอ มทาํ ใหออกเสยี งตางกันไป
2. การผสมกันทางเช้ือชาติ เพราะอยูใ กลเ คียงกันทําใหม ีภาษาอ่ืนมาปน เชน ภาษาอีสาน
มีภาษากลางและเขมรมาปน เพราะมเี ขตแดนใกลก นั ทําใหภ าษาเปลยี่ นไปจากภาษากลาง
3. การถายทอดทางวฒั นธรรมและเทคโนโลยีซง่ึ กันและกนั ทําใหภาษาเปลย่ี นจากภาษากลาง
4. หนวยเสยี งของภาษาถน่ิ มสี วนคลา ยกนั และแตกตา งกนั หนว ยเสียงของภาษากลางมี 21 เสียง
ภาษาถิ่นมีหนว ยเสียงตรงกันเพียง 17 เสียง นอกน้ันแตกตางกัน เชน ภาษาถิ่นเหนือและอีสานไมม ี
หนวยเสียง ช และ ร ภาษาถน่ิ ใตไ มม ีหนว ยเสียง ง และ ร เปน ตน
5. หนว ยเสยี งวรรณยกุ ตใ นภาษาถิ่น แตกตางกันไป ภาคใตมีเสียงวรรณยุกต 7 เสียง ภาคเหนือ
และอสี านมเี สียงวรรณยกุ ต 6 เสียง ตัวอยา งการกลายเสียงวรรณยุกต
มา (กลาง) ภาคใตออกเสยี งเปน หมา
ขา ว (กลาง) ภาคอสี านออกเสยี งเปน ขา ว
ชาง (กลาง) ภาคเหนือออกเสยี งเปน จา ง
6. การกลายเสียงพยญั ชนะในภาษาถน่ิ เหนอื ใต อีสาน น้ันมีสวนแตกตางกนั หลายลกั ษณะ เชน
6.1 ภาษาไทยเหนือ จะมีคาที่กลายเสียงพยัญชนะจากภาษาไทยกลางอยูหลายตัว
ภาษาไทยกลางเปน ช ไทยเหนือจะเปน จ เชน ชางเปน จาง ฉะนั้นเปนจะอั้น ใชเปน ไจ ภาษาไทยกลาง
ใช ร ไทยเหนือจะเปน ฮ เปน รัก เปนฮัก รอ งเปน ฮอ ง โรงเรียนเปน โฮงเฮียน ภาษาไทยกลางเปน คิดเปน
กดึ้ คว้ิ เปนกิ๊ว ภาษากลางใช ท ภาษาไทยเหนอื ใช ต เชน ทานเปน ตาน ทานเปน ตาน และภาษาไทยเหนือ
นอกจากจะใชพยัญชนะตา งกันแลว ยังไมค อ ยมีตัวควบกล้ําเชน ขี้กลาก เปน ขี้ขาด โกรธ เปน โขด
นอกจากน้จี ะมีคาํ วา โปรด ไทยเหนอื โปด ใคร เปน ไผ เปนตน
59
6.2 ภาษาไทยอีสานก็มกี ลายเสียงหรอื มีหนวยเสยี งตา งกับภาษาไทยกลางหลายตัว ตัวอยาง
ช ใช ซ แทนเสียง ร ใช ฮ แทนเสียง ญ และ ย จะออกเสียงนาสิก แทนภาษาไทยกลาง ชา ง ไทยอีสาน
เปน ซา ง เรา เปน เฮา เลือด เปน เฮือด หญิง เปน ญิง (นาสิก) ใหญ เปน ใญ ภาษาไทยอีสานจะไมมี
คาํ ควบกลาํ้ คลายเหนอื เชน กลวย เปน กวย ปลา เปน ปา ของ เปน ขอ เปรต เปน เผด และภาษาไทย
อสี านมีการสลับรับเสยี งดวย เชน ตะกรอ เปน กะตอ ตะกรา เปน กะตา ตะกรดุ เปน กะตดุ เปนตน
6.3 ภาษาไทยใตก ม็ ีการกลายเสยี งพยญั ชนะจากภาษาไทยกลางเหมือนกัน ภาษาไทยกลาง
เปน ง ภาษาไทยใตจ ะเปน ฮ เสยี ง ฐ จะเปน ล (บางจงั หวัด) และญ จะออกเสียงนาสิก ตัวอยาง ภาษาไทย
กลาง คําวา เงิน ภาษาไทยใต เปน เฮิง งาน เปน ฮาน รัก เปน หลกั เปน ตน
7. ภาษาถ่ินเหนอื ใตและอีสานมีการกลายเปนเสยี งจากภาษาไทยกลางหนวยเสียง
7.1 ภาษาไทยเหนือจะกลายเสียงสระ อิ เปน อึ เชน คิด เปน กด้ึ สระ อึ เปน สระเออ เชน ถึง
เปน เถิง สระอะ เปน สระอา เชน มะปราง เปน หมา ผาง มะละกอ เปน หมากกวยเต็ด สระ เอ เปน สระ
แอ เชน เอว เปน สระแอว เปนตน
7.2 ภาษาไทยอีสานมกี ารกลายเสียงสระเชน สระ เออื เปน เอีย เชน เนื้อ เปน เนี้ย สระ อัว
เปน สระโอ เชน วัว เปน โง ตัว เปน โต สระ อึ เปน สระ เออ เชน คร่ึง เปน เค่ิง สระ อา เปน สระ อัว
เชน ขวา เปน ขัว เปนตน
7.3 ภาษาไทยอีสานมีการกลายเสียสระ เชน ภาษาไทยกลางใช สระ อิ อี ภาษาถิ่นใต
ใช สระ เอะ เอ เชน ส่ี เปน เส ซกี เปน แซก สระ เอะ เอ ใชเ ปนสระ แอะ แอ เชน เด็ก เปน แดก็ เปนตน
8. ความหมายของคําในภาษาถ่ินแตกตางไปจากภาษากลาง เชน คําวา รักษา ภาษาถ่ินใต
มีความหมายวา เล้ียง เชน นําลิงไปรักษา หมายถึงนําลิงไปเล้ียง บัวลอย ภาษาถ่ินเหนือหมายถึง
ผักตบชวา แพรนม ภาษาถ่นิ อสี านหมายถงึ ผาเช็ดหนา ภาษาถนิ่ ใตเ รยี กผาเชด็ หนา วา ผานยุ เปน ตน
กิจกรรมท่ี 2 ใหผ เู รียนเขยี นเครอื่ งหมาย วงกลม ลอ มรอบขอทถี่ ูกที่สดุ เพยี งขอ เดียว
1. ขอใดใหความหมายภาษาถน่ิ ไดถ ูกตอ ง
ก. ภาษาตระกลู ตาง ๆ ข. ภาษาทพ่ี ดู กนั ในทองถ่ินนน้ั ๆ
ค. ภาษาท่ีใชพดู กนั ทวั่ ประเทศ ง. ภาษาของชนกลมุ ใหญท ั่วโลก
2. ขอ ใดเปน สาเหตุสาํ คัญที่ทําใหเ กดิ ภาษาถน่ิ
ก. สภาพภูมปิ ระเทศ ข. การยา ยถ่นิ ฐาน
ค. การแลกเปลย่ี นวัฒนธรรม ง. ถกู ทุกขอ
3. คําในขอ ใดที่เปน คาํ เฉพาะของภาษาถ่ินภาคเหนอื
ก. งอ ข. งอน
ค. งืด ง. งีบ
60
4. “ฝนตกฟารอง พอ แมเขาอยูห นกุ ” คําวา หนกุ เปนคาํ ในภาษาถน่ิ ภาคใด
ก. เหนอื ข. ใต
ค. อีสาน ง. กลาง
5. ภาษาถ่นิ ใด ที่มีหนว ยเสียงวรรณยกุ ตมากท่สี ุด
ก. ภาษาถ่นิ เหนือ ข. ภาษาถนิ่ อีสาน
ค. ภาษาถิ่นใต ง. ภาษากลาง
เรื่องที่ 7 สาํ นวน สภุ าษิต
สํานวน หมายถงึ คํากลา วหรอื กลมุ คําทีม่ ีความหมายเชิงเปรียบเทียบเปนเชิงใหใ ชค วามคิดและ
ตีความบางสํานวนจะบอกหรือสอนตรง ๆ บางสํานวนสะทอนความคิด ความรูสึกของกลุมชนในทอ งถิ่น
ในอดีตดวย
สภุ าษิต หมายถึง คาํ กลา วทด่ี งี ามเปนความจรงิ ทุกสมยั เปนคําสอนใหประพฤติ ปฏบิ ตั ิ ดังตวั อยา ง
“หลํารอ งชกั งาย หลําใจชักยาก”
ความหมาย คิดจะทําอะไรตอ งคิดใครค รวญใหร อบคอบกอนตัดสินใจ
“นอนจนหวนั แยงวาน”
ความหมาย นอนตืน่ สายมากจนตะวันสองสวา งไปทั่วบาน
“พดู ไป สองไพเบ้ีย นิ่งเสียตําลงึ ทอง”
ความหมายพดู ไปไมมปี ระโยชนอะไร นง่ิ ไวดีกวา
“เกลือจ้มิ เกลือ”
ความหมาย ไมย อมเสียเปรยี บกนั แกเผด็ กนั ใหส าสม
“ขายผา เอาหนา รอด”
ความหมาย ยอมเสยี สละของทีจ่ าํ เปน ทมี่ อี ยูเพื่อจะรกั ษาชือ่ เสียงของตนไว
“ฝนท่ังใหเ ปน เข็ม”
ความหมายเพียรพยายามสดุ ความสามารถจนกวา จะสําเร็จผล
“นาํ้ มาปลากินมด นํา้ ลดมดกนิ ปลา”
ความหมาย ทีใครทีมนั
เรอื่ งท่ี 8 วรรณกรรมทอ งถิน่
วรรณกรรมทอ งถิน่ หมายถงึ เรื่องราวของชาวบา นที่เลา สืบตอกันมาหลายชั่วอายุคนท้ังการพูด
และการเขียนในรูปของ คติ ความเชือ่ และประเพณี การแสดงออกในการใชถอยคําท่มี ีหลากหลายรูปแบบ
เชน นทิ านพน้ื บา น เพลงกลอ มเด็ก ปริศนา คําทาย ภาษติ คําคม บทเทศน และคํากลา วในพธิ กี รรมตาง ๆ
61
ลักษณะของวรรณกรรมทอ งถน่ิ
1. วรรณกรรมทอ งถน่ิ โดยทั่วไปมวี ดั เปน ศนู ยก ลางเผยแพร กวีผปู ระพันธสว นมาก คือ พระภิกษุ
และชาวบา น
2. ภาษาท่ีใชเปน ภาษาถ่ิน ใชถ อ ยคําสํานวนทองถิ่นท่ีเรียบงา ย ชาวบา นทั่วไปรูเ ร่ืองและ
ใชฉันทลักษณท ี่นยิ มในทองถนิ่ น้ัน เปน สําคญั
3. เนื้อเรื่องสว นใหญเปน เร่ืองจักร ๆ วงศ ๆ มุง ใหความบันเทิง และสอดแทรกคติธรรมทาง
พุทธศาสนา
4. ยดึ คานิยมแนวปรัชญาพุทธศาสนา เชน กฎแหงกรรม หรอื ธรรมะยอ มชนะอธรรม เปนตน
ประเภทของวรรณกรรมทองถ่นิ
วรรณกรรมทอ งถน่ิ แบง ไดเปน 2 ประเภท คอื
1. ประเภทมขุ ปาฐะ เปน วรรณกรรมทไ่ี มไ ดเ ขยี นเปน ลายลักษณ เปนวรรณกรรมปากเปลา
จะถา ยทอดโดยการบอก หรอื การเลา หรือการรอ ง ไดแ ก บทกลอมเดก็ นิทานพน้ื บา น เพลงพนื้ บาน ปรศิ นา
คําทาย ภาษติ สาํ นวนโวหาร คาํ กลาวในพธิ ีกรรมตา ง ๆ
2. ประเภทเขียนเปนลายลักษณ ไดแ ก นทิ าน คาํ กลอน บันทึกทางประวตั ศิ าสตรใ นทองถ่นิ และ
ตําราความรตู าง ๆ
คุณคาของวรรณกรรมทองถ่นิ
1. คุณคา ตอการอธิบายความเปนมาของชุมชนและเผา พนั ธุ
2. สะทอ นใหเ ห็นโลกทัศนและคานยิ มตา ง ๆ ของแตล ะทองถิน่ โดยผานทางวรรณกรรม
3. เปน เครอ่ื งมืออบรมสัง่ สอนจรยิ ธรรมของคนในสังคมสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ ชในสังคมปจจบุ นั ได
4. เปน แหลง บนั ทึกขอ มลู เก่ียวกบั วฒั นธรรม ประเพณี และการดาํ เนินชีวติ ของคนในทองถิ่น
5. ใหค วามบนั เทงิ ใจแกช ุมชนทั้งประเภทที่เปน วรรณกรรมและศิลปะการแสดงพ้นื บาน เชน
หมอลําของภาคอีสาน การเลนเพลงเรอื เพลงเกี่ยวขาว ของภาคกลาง การซอ การเลาคาวของภาคเหนือ
การเลน เพลงบอก รองมโนราหของภาคใต เปนตน
6. กอใหความสามัคคใี นทองถิ่น เกดิ ความรักถ่นิ และหวงแหนมาตุภูมิ
รปู แบบของวรรณกรรมทองถิน่
1. รปู แบบของวรรณกรรมทอ งถน่ิ ภาคกลาง
1.1 กลอนสวด หรือเรียกวา คําพากย ไดแ ก กาพยย านี ฉบงั สุรางคนางค
1.2 กลอนบทละคร (นอก) ใชฉ ันทลักษณเ หมือนกลอนบทละครทั่วไป แตไ มเ ครงครัด
จาํ นวนคําและแบบแผนมากนกั
1.3 กลอนนทิ าน บทประพนั ธเ ปนกลอนสภุ าพ (กลอนแปด) เปนรูปแบบทไี่ ดรับความนิยมมาก
1.4 กลอนแหล นิยมจดจําสืบตอ กันมาหรอื ดน กลอนสด ไมน ยิ มบันทึกเปนลายลักษณ
62
2. รปู แบบของวรรณกรรมทองถิ่นภาคอสี าน
2.1 โคลงสาร เปน ฉันทลักษณที่บังคบั เสยี งเอกโท สว นมากใชป ระพันธวรรณกรรมประเภท
นิทาน นยิ าย หรอื นทิ านคติธรรม
2.2 กาพยห รือกาพยเซ้งิ ประพันเปนบทสั้น ๆ สําหรับขับลําในพิธี เชน เซ้ิงบั้งไฟ เซ้ิงนางแมว
ฯลฯ
2.3 ราย (ฮาย) ลักษณะเหมือนรายยาว ใชป ระพันธวรรณกรรมชาดก หรือนิทานคติธรรม
ที่ใชเ ทศน เชน มหาชาติ (ฉบับอสี านเรียกวาลาํ มหาชาติ)
3. รปู แบบของวรรณกรรมทอ งถิ่นภาคเหนือ
3.1 คาํ วธรรม ฉันทลกั ษณเ หมือนรา ยยาวชาํ สาํ หรบั เทศน นยิ มประพันธว รรณกรรมประเภท
นทิ านชาดกหรือนิทานคตธิ รรม
3.2 คาํ วซอ คําประพนั ธที่บงั คับสมั ผัสระหวา งวรรคและบังคบั เสยี งเอกโท นิยมแตน ิทาน
เปน คําวซอ แลวนาํ มาขบั ลําในที่ประชุมชน ตามลีลาทาํ นองเสนาะของภาคเหนือ
3.3 โคลง ภาษาถนิ่ เหนือออกเสียงเปน “กะลง” เปนฉันทลักษณทเ่ี จรญิ รงุ เรอื ง ควบคูกบั
“คาวธรรม” มที ั้งกะลงสหี่ อ ง สามหอง และสองหอ ง (โคลงสี่ โคลงสาม และโคลงสอง)
4. รปู แบบของวรรณกรรมทองถน่ิ ภาคใต
วรรณกรรมพ้ืนบา นภาคใตฉ ันทลกั ษณร วมกับวรรณกรรมทองถ่ินภาคกลาง แตจากการศึกษา
ความนิยมเรื่องฉันทลักษณของวรรณกรรมภาคใต พบวานิยม “กลอนสวด” (คํากาพย) มากท่ีสุด
วรรณกรรมลายลักษณภาคใตเ กินรอยละ 80 ประพันธเ ปน กลอนสวด โดยเฉพาะนิทานประโลมโลก
(เร่ืองจกั ร ๆ วงศ ๆ)
การวิเคราะหคณุ คา ของวรรณกรรมทอ งถิ่น
การวิเคราะหว รรณกรรมทอ งถ่ินนั้นจะวิเคราะหตามคุณคา ของวรรณกรรมดา นตาง ๆ เม่ือศึกษา
วรรณกรรมทอ งถิ่นเร่อื งใด เราจะตองวนิ จิ วิเคราะหห รือพิจารณาดวู า วรรณกรรมเร่ืองนั้นมีคุณคาในดานใด
ดงั ตอไปนี้
1. คุณคาดานจริยศาสตรห รือคุณคาดานจริยธรรม วิเคราะหว าวรรณกรรมที่อา นและศึกษา
เปนตัวอยา งความประพฤติ การดําเนินชีวิตวาอะไรผิด อะไรถูก อยางไรดี อยา งไรเหมาะสม วรรณกรรม
ทองถ่ินจะทําหนา ท่ตี วั อยางแบบแผนและความประพฤติของชาวบา นใหถูกตอ งสอดคลองกับขอตกลงของ
สังคม ชมุ ชน ตามกฎหมายระเบียบประเพณีอันดีงาม
2. คุณคาดานสุนทรียศาสตรหรือความงามความไพเราะ วรรณกรรมทองถ่ินจะใหคุณคา
ดา นความงามความไพเราะของถอยคํา ใชค าํ สมั ผัสคลองจอง ความไพเราะของทว งทํานองของเพลง บทกวี
เมื่อฟงหรืออานจะทาํ ใหเกิดจินตนาการ เกิดความซาบซ้งึ ในอารมณความรูสกึ
3. คณุ คา ภาษา วรรณกรรมทองถ่นิ จะเปน ส่ือทท่ี ําใหภ าษาถิน่ ดาํ รงอยูและชวยใหภ าษาถ่ินพัฒนา
อยูเ สมอมีการคิดคนสรางสรรค ถอ ยคําภาษา เพื่อสื่อความในวรรณกรรมทองถิ่น ท้ังเพลงพ้ืนบา น บทกวี
63
ซอภาษิต จะมีกลวิธีการแตงท่ีนาสนใจ มีการเลนคําซ้ําคําทอ งถิ่น ถอยคําที่นํามาใชม ีเสียงสูงต่ํา
มีเสียงไพเราะ ฟงแลว ร่นื หู
4. คุณคา ดา นการศึกษา วรรณกรรมทอ งถ่ินประเภทตําราคําสอน นิทานนอกจากจะให
ความบนั เทงิ แลว ยงั จะใหความรูทกุ แขนง ทง้ั ศลิ ปวัฒนธรรม อาชพี และเสริมสรางปญ ญา โดยเฉพาะปรศิ นา
คําทายจะใหท งั้ ความรู ความบนั เทิงเสริมสรา งสติปญญา
5. คุณคาดา นศาสนา วรรณกรรมทองถิ่นจะเปนสื่อถายทอดคําสอนและปรัชญาทางศาสนา
เผยแพรส คู นในชุมชนทอ งถิน่ ใหคนชมุ ชนใชเ ปน เครอ่ื งยดึ เหนี่ยวทางจิตใจ ใหแนวคิดในการดํารงชีวิต เชน
นิทานชาดกตาง ๆ เปน ตน
6. คณุ คา ดา นเศรษฐศาสตร วรรณกรรมประเภทตาํ รายา ตําราพยากรณ การทําพิธบี ายศรสี ขู วัญ
หรือบทสวดในพธิ กี รรมตาง ๆ สามารถนาํ มายึดเปน อาชีพได วรรณกรรมเกยี่ วกับคาํ ภาษาสามารถชวยให
ประหยดั อดออมได
7. คุณคาทางสังคมไดร ับความบันเทิงสนุกสนาน วรรณกรรมทองถิ่นจะปลูกฝง คานิยม
ในการผูกมิตรผูกสัมพันธข องคนในทองถนิ่ การอยรู วมกนั อยา งมกี ารพงึ่ พาซงึ่ กนั และกนั สรางความสามัคคี
ในหมูคณะใหขอ คิดคติธรรมท่ีเก่ียวของกับชวี ิตความเปนอยกู ารทาํ มาหากินและสง่ิ แวดลอ ม เปนตน
8. คุณคาดานประวัติศาสตรโบราณคดีและความเปนมาของชุมชนแตละทองถิ่น เชน
วรรณกรรมประเภทตํานาน ไดแก ตํานานเก่ียวกับโบราณสถาน โบราณวัตถุ ตํานานช่ือบา นชื่อเมือง
เปนตน
การวิเคราะหค ุณคา ของวรรณกรรมทอ งถิ่นจะพิจารณาจากคุณคา ดา นตา ง ๆ ดังกลา วมา
ซงึ่ วรรณกรรมแตละเรอื่ ง แตล ะประเภทยอ มจะใหค ณุ คาแตกตางกนั การศกึ ษาวรรณกรรมทองถนิ่ ท่จี ะเกิด
ประโยชนจะตอ งพิจารณา วนิ ิจ วิเคราะห และนาํ ไปใชไ ดอ ยางเหมาะสมจึงเปน หนาที่ของเยาวชนท่ีจะถือ
เปน ภารกจิ ทจ่ี ะตองชวยกันอนรุ กั ษวรรณกรรมทม่ี ีคาเหลา นีไ้ ว และชวยกนั สืบทอดใหคนรุน หลงั ไดม ีโอกาส
เรยี นรู ศึกษาและพัฒนาเพื่อความเปน เอกลักษณของชาตติ อ ไป
มารยาทในการอาน
มารยาทเปนวัฒนธรรมทางสังคม เปนความประพฤติที่ดีเหมาะสมท่ีสังคมยอมรับและยกยอ ง
ผูมีมารยาทคือ ผูท ีไ่ ดร ับการอบรมสง่ั สอน ขัดเกลามาดีแลว มารยาทในการอา นแมจะเปน เรอ่ื งเล็ก ๆ นอ ย ๆ
ที่บางคนอาจไมร ูสึก แตไมค วรมองขาม มารยาทเหลาน้จี ะเปนเครอ่ื งบงช้ใี หเ หน็ วาบคุ คลนน้ั ไดร บั การอบรม
สัง่ สอนมาดีหรอื ไม อยา งไร ดังเชน ภาษิตท่ีวา “สําเนียงสอ ภาษากรยิ าสอสกลุ ”
มารยาทท่วั ๆ ไปในการอาน มดี ังนี้
1. ไมค วรอา นเรอื่ งท่ีเปนสว นตวั ของบุคคลอน่ื เชน จดหมาย สมุดบันทกึ
2. ในขณะทม่ี ผี อู านหนังสอื ไมควรชะโงกไปอานขา งหลงั ใหเปนทรี่ ําคาญและไมค วรแยง อา น
3. ไมอ า นออกเสียงดงั ในขณะท่ีผอู ืน่ ตองการความสงบ
4. ไมแ กลงอา นเพ่อื ลอ เลียนบุคคลอื่น
5. ไมค วรถอื วิสาสะหยิบหนังสืออื่นมาอานโดยไมไ ดรบั อนุญาต
64
6. ไมอ านหนงั สือเม่ือยูใ นวงสนทนาหรือมกี ารประชุม
7. เมอื่ อานหนังสือในหอ งสมุดหรือสถานทซ่ี ง่ึ จดั ไวใหอ า นหนงั สอื โดยเฉพาะ ไมส ง เสยี งดงั
ควรปฏิบตั ติ ามระเบยี บกฎเกณฑของสถานทเ่ี หลา นั้นอยา งเครง ครดั
การปลกู ฝง การรกั การอา น
1. ตองทําความเขาใจกับเรื่องท่ีอา นใหช ัดเจนแจมแจง จับใจความเร่ืองท่ีอานไดต ลอดทั้งเรื่อง
และตอ งเขา ใจเน้ือหาใหถูกตองดว ย
2. ใหไ ดรบั รสชาติจากการอา น เชน เกิดความซาบซ้ึงตามเนอื้ เร่ือง หรือสาํ นวนจากการประพันธ
น้ัน ๆ เกดิ อารมณรว ม เหน็ ภาพพจนต ามผปู ระพันธ
3. เห็นคณุ คา ของเรื่องท่อี า น เกดิ ความสนใจใครต ิดตาม ดังน้ันการเลือกอา นในสิ่งที่สนใจก็เปน
เหตุผลหนึง่ ดว ย
4. รจู ักนําส่งิ ทีเ่ ปน ประโยชนจ ากหนังสือไปใชใหไดเ หมาะสมกบั ตนเอง
5. รจู ักเลอื กหนงั สอื ที่อา นไดเหมาะสมตามความตอ งการและโอกาส คณุ สมบัตเิ หลา น้ี
เปน เบ้ืองตนทจ่ี ะปลูกฝง ใหรกั การอา น
65
บทท่ี 4
การเขยี น
สาระสําคัญ
การศึกษาหลักเกณฑการเขียนใหเขาใจ ปฏิบัติตามหลักและวิธีการเขียน กระบวนการเขียน
เพ่ือการส่ือสาร เขียนคํา ขอความใหถ ูกตอ ง เลือกใชค ําไดเ หมาะสม สื่อความหมายไดชัดเจน จะชวยให
การส่ือสารดวยการเขียนมีประสทิ ธภิ าพ ผูเ ขียนมีมารยาทและรกั การเขยี น
ผลการเรียนรูทคี่ าดหวัง
ผเู รยี นจะสามารถ
1. เขียนจดหมาย เขียนเรียงความ เขียนยอ ความ เขยี นบนั ทกึ เขยี นรายงาน เขียนประกาศ
เขียนใบสมัครงาน เขียนสารคดี บนั เทงิ คดี เขยี นคําอวยพร เขยี นโครงการ เขียนคํากลาวรายงาน
2. แตงคาํ ประพนั ธ ประเภท กาพย กลอน โคลง ฉันท รา ย ได
3. มารยาทและสรางนสิ ยั รักการเขยี น
ขอบขา ยเนอื้ หา
เร่อื งที่ 1 หลักการเขยี น
เรือ่ งที่ 2 หลกั การแตง คําประพนั ธ
เรอื่ งท่ี 3 มารยาทและนสิ ยั รักการเขยี น
66
เรือ่ งท่ี 1 หลกั การเขียน
ความหมายและความสาํ คญั ของการเขยี น
การเขยี น คอื การแสดงความรู ความคดิ อารมณค วามรสู กึ และความตองการของผูส ง สารออกมา
เปน ลายลักษณอักษร เพือ่ ใหผรู ับสารอานเขาใจไดรับความรู ความคิด อารมณ ความรูส ึก และความตองการ
ตาง ๆ เหลานน้ั
การเขยี นเปนพฤติกรรมของการสงสารของมนุษย ซ่ึงมีความสําคัญไมย่ิงหยอนไปกวา การสง สาร
ดว ยการพดู และการอา น เพราะการเขยี นเปนลายลักษณอ กั ษรหรือตวั หนังสอื จะคงทนถาวรและกวางขวาง
กวาการพูด และการอาน การที่เราไดท ราบความรูค วามคิดและวิทยาการตาง ๆ ของบุคคลในยุคกอน ๆ
กเ็ พราะมนุษยร ูจกั การเขยี นสัญลักษณแ ทนคาํ พดู ถา ยทอดใหเราทราบ
การเขยี นเพ่ือสงสารมีประสิทธภิ าพมากนอยแคไหนนนั้ ยอ มข้ึนอยูกบั ผสู ง สารหรอื ผูเขียนซง่ึ จะตอง
มคี วามสามารถในหลายดาน ทัง้ กระบวนการคิด กระบวนการเขียน ความสามารถในดา นการใชภาษาและ
อ่ืน ๆ ดงั น้ี
1. เปน ผมู ีความรูในเรอ่ื งท่ีจะเขยี นเปน อยา งดี มีจดุ ประสงคใ นการถา ยทอด เพือ่ จะใหผอู า นไดร ับ
สิง่ ใดและทราบพ้ืนฐานของผูร บั สารเปน อยางดดี วย
2. สามารถเลือกรูปแบบและกลวิธีในการเขียนไดเหมาะสมกับเนื้อหาและโอกาส เชน การเขียน
คําช้ีแจงก็เหมาะที่จะเขียนแบบรอยแกว หากเขียนคําอวยพรในโอกาสตา ง ๆ อาจจะใชก ารเขียนแบบ
รอยกรองเปน โคลง ฉันท กาพย กลอน จะเหมาะสมกวา เปน ตน
3. มีความสามารถในการใชภาษา โดยเฉพาะภาษาเขยี นทั้งการเขยี นคําและขอ ความตามอกั ขรวิธี
รวมทั้งการเลือกใชถ อยคําสํานวนตาง ๆ
4. มคี วามสามารถในการศกึ ษาคน ควาและการฝกฝนทกั ษะการเขียน
5. มีศิลปะในการใชถอ ยคําไดไพเราะเหมาะสมกับเนื้อหา หรอื สารทต่ี อ งการถายทอด
หลกั การเขยี นท่ดี ี
1. เขยี นตัวหนังสอื ชดั เจน อา นงาย เปนระเบยี บ
2. เขยี นไดถกู ตองตามอักขรวธิ ี สะกดการนั ต วรรณยกุ ต วางรปู เคร่ืองหมายตา ง ๆ เวนวรรคตอน
ไดถกู ตอ ง เพ่อื จะสื่อความหมายไดตรงและชัดเจน ชวยใหผอู านเขาใจสารไดดี
3. เลือกใชถอยคําไดเหมาะสม สื่อความหมายไดดี กระทัดรดั ชดั เจนเหมาะสมกับเน้ือหา เพศ
วัยและระดับของผอู า น
4. เลือกใชสํานวนภาษาไดไ พเราะ เหมาะสมกับความรู ความคิด อารมณ ความรูส ึก ท่ีตอ งการ
ถา ยทอด
5. ใชภาษาเขยี นไมค วรใชภ าษาพูด ภาษาโฆษณา หรือภาษาทไี่ มไดมาตรฐาน
6. เขียนไดถกู ตองตามรปู แบบและหลกั เกณฑของงานเขยี นแตละประเภท
67
7. เขยี นในสงิ่ สรางสรรค ไมเขยี นในสง่ิ ท่จี ะสรางความเสียหาย หรอื ความเดือดรอนใหแ กบุคคลและ
สังคม
การท่ีจะสือ่ สารดว ยการเขียนไดดี ผเู ขียนตอ งมีความสามารถในดานการใชภ าษาและตองปฏิบัติ
ตามหลักการเขียนทด่ี ีมีมารยาท
การเขยี นรูปแบบตา ง ๆ
รูปแบบการเขียน งานเขียนในภาษาไทยมี 2 รูปแบบ คือ งานเขียนประเภทรอยกรองกับ
งานเขียนประเภทรอ ยแกว ซง่ึ ผูเรียนไดเคยศึกษามาบา งแลว ในระดับมัธยมศึกษาตอนตน ในท่ีน้ีจะพูดถึง
งานเขียนประเภทรอ ยแกวท่ีผูเรียนจําเปนตอ งใชในชีวิตประจําวัน เชน การเขียนจดหมาย การเขียน
เรียงความ การเขียนยอความ การจดบันทึกและการเขียนแสดงความคิดเห็น และงานเขียนประเภท
รอ ยกรองบางประเภทเทานน้ั
การเขยี นจดหมาย
การเขียนจดหมาย เปน วธิ ีการที่นิยมใชเพื่อการสื่อสารแทนการพูด เม่ือผูสง สารและผูร ับสารอยู
หา งไกลกัน เพราะประหยัดคา ใชจาย มีลายลักษณอักษรเปน หลักฐานสง ถึงกันไดสะดวกทุกพ้ืนที่ จดหมาย
ทเ่ี ขียนตดิ ตอกนั มหี ลายประเภทเปนตน วา
จดหมายสวนตัว เปนจดหมายทเ่ี ขยี นถึงกันระหวางญาติมิตร หรือครูอาจารย เพื่อสง ขาวคราว
บอกกลา วไตถ ามถึงความทุกขสุข แสดงถงึ ความรัก ความปรารถนาดี ความระลึกถึงตอกัน รวมท้ังการเลาเร่ือง
หรือเหตกุ ารณทสี่ าํ คัญ การขอความชว ยเหลอื ขอคาํ แนะนําซง่ึ กนั และกนั
จดหมายกิจธุระ เปนจดหมายท่บี คุ คลเขียนตดิ ตอ กบั บคุ คลอนื่ บริษทั หางรา นและหนว ยงานอืน่ ๆ
เพื่อแจงกิจธุระ เปน ตนวา การนัดหมายขอสมัครงาน ขอความชว ยเหลือและขอคําปรึกษา เพ่ือประโยชน
ในดานการงานตาง ๆ
จดหมายธรุ กจิ เปน จดหมายที่เขียนติดตอกันในเรื่องธุรกิจ และการเงินระหวา งบริษัท หางรา น
และองคการตา ง ๆ
จดหมายราชการ หรือหนังสือราชการ เปนจดหมายที่ติดตอกันเปน ทางราชการจากสวนราชการ
หนึ่งถึงอีกสวนราชการหน่ึงขอ ความในหนังสือถือวาเปนหลักฐานทางราชการและมีสภาพผูกมัดถาวร
ในราชการ จดหมายราชการจะมีเลขที่ของหนังสอื มีการลงทะเบียน รบั -สง ตามระเบียบของงานสารบรรณ
การเขยี นจดหมายแตละประเภทจะมลี ักษณะแตกตา งกนั ไป แตโดยทว่ั ไปจะมีแนวโนมในการเขยี น
ดงั น้ี
1. สวนประกอบของจดหมายทส่ี ําคญั คอื ทอ่ี ยขู องเจา ของจดหมาย วนั เดอื น ป ท่เี ขียนขอความ
ท่ีตอ งการสือ่ สาร คาํ ขน้ึ ตน และคําลงทาย
2. ใชภ าษาท่ีส่ือความหมายตรง ชัดเจน สั้น กะทัดรัดไดใ จความ เพื่อใหผูรับจดหมายไดท ราบ
อยา งรวดเร็ว การเขยี นแบบนมี้ กั ใชใ นการเขียนจดหมาย กจิ ธรุ ะ จดหมายธรุ กจิ และจดหมายราชการ
68
3. ใชถอ ยคําภาษาในเชิงสรางสรรค เลือกเฟน ถอยคําใหนาอาน ระมัดระวังในการใชถ อยคํา
การเขียนลักษณะน้เี ปน การเขียนจดหมายสวนตวั
4. จดหมายที่เขียนติดตอ เปนทางการตองศึกษาวา ควรจะสง ถึงใคร ตําแหนง อะไร เขียนชื่อ
ชื่อสกุล ยศ ตําแหนง ใหถ กู ตอง
5. ใชค าํ ข้ึนตน และคําลงทา ยใหเ หมาะสมกบั ผรู ับตามธรรมเนยี ม
6. กระดาษและซองเลือกใชใหเ หมาะสมกับประเภทของจดหมาย ถา เปนจดหมายท่ีสงทาง
ไปรษณีย จะตองเขียนนามผูสง ไวม ุมซองบนดานซายมือ พรอ มที่อยูและรหัสไปรษณีย การจาหนาซอง
ใหเ ขยี น หรือพมิ พชือ่ ท่ีอยูข องผรู บั ใหชัดเจนและอยา ลืมใสรหัสไปรษณียด ว ย สว นดวงตราไปรษณยี ใ หป ด ไว
มุมบนขวามือ คา ไปรษณียากรตองใหถ ูกตองตามกาํ หนด
การเขยี นเรียงความ
การเขยี นเรียงความเปนรูปแบบการเขียนอยางหนึ่ง ซ่ึงจะตอ งใชศ ิลปะในการเรียบเรียงถอ ยคํา
ภาษาใหเ ปนเน้อื เร่อื ง เพอื่ ถายทอดขอเท็จจรงิ ความรู ความรูส ึก จินตนาการและความเขาใจดว ยภาษาท่ี
ถกู ตองสละสลวยการจะเขียนเรียงความไดด ีผูเ ขียนจะตองศึกษารูปแบบ กฏเกณฑใหเขา ใจและฝก เขียน
เปนประจาํ
การเขียนเรียงความ มีสว นสําคญั 3 สว น คือ
สวนที่ 1 ความนาํ หรือคาํ นาํ
ความนาํ เปน สวนแรกของการเขียนเรียงความ ซ่ึงผูรูไดแนะนําใหเ ขียนหลังจากเขียนสว นอื่น ๆ
เสรจ็ เรียบรอ ยแลว และจะไมซํ้ากบั ขอความลงทา ยหรอื สรุป ความนําของการเขียนเรียงความจะทําหนาท่ี
ดงั นี้
1. กระตนุ ใหผ ูอา นเกิดความสนใจตอเน่ืองของเรอ่ื งนน้ั ๆ
2. ปพู ื้นฐานความเขาใจใหก ับผูอาน หรอื ชใ้ี หเห็นความสาํ คญั ของเรอื่ งกอนทีจ่ ะอานตอ ไป
3. บอกขอบขายเน้ือเร่ืองนนั้ ๆ วา มขี อบขา ยอยางไร
สว น 2 เนอ้ื เรอื่ งหรือตวั เรื่อง
การเขียนเนื้อเร่ือง ผูเรียนจะตอ งดูหัวขอเรื่องที่จะเขียนแลวพิจารณาวา เปนเรื่องลักษณะใด
ควรต้ังวตั ถุประสงคข องการเขียนเรียงความอยา งไร เพอื่ ใหข อ เทจ็ จรงิ แกผูอา น เพ่อื โนมนาวใจใหผูอานเช่ือ
หรอื คลอ ยตาม เพ่ือใหความบันเทิง หรือ เพ่ือสงเสริมใหผูอ า นใชค วามคิดของตนใหกวางขวางขึ้น เม่ือได
จดุ ประสงคใ นการเขยี น ผเู รยี นจะสามารถกาํ หนดขอบขายของหัวขอเร่อื งท่ีจะเขียนได
69
สว นที่ 3 บทสรุปหรอื ความลงทา ย
การเขียนบทสรุป หรือความลงทาย ผูรูไดแ นะนําใหเขียนหลังจากเขียนโครงเรื่องเสร็จแลว
เพราะความลงทา ยจะทําหนาทยี่ า้ํ ความสําคัญของเร่ือง ชวยใหผูอานจดจาํ สาระสาํ คัญในเรอื่ งน้ไี ด หรือชวย
ใหผอู า นเขา ใจจุดประสงคข องผเู ขยี นอีกดว ย วิธีการเขยี นความลงทายอาจทาํ ได ดังน้ี
1. สรุปความท้ังหมดทนี่ าํ เสนอในเรือ่ ง ใหไ ดสาระสาํ คญั อยางชัดเจน
2. นาํ เรื่องทเ่ี ปน สว นสาํ คญั ทสี่ ดุ ในเนือ้ เร่ืองมากลาวยาํ้ ตามจุดประสงคข องเร่ือง
3. เลือกคํากลา วท่นี าเชื่อถือ สุภาษติ คําคมท่ีสอดคลอ งกบั เรอ่ื งมาเปน ความลงทาย
4. ฝากขอคดิ และแนวปฏบิ ัติใหกบั ผูอ า น เพ่อื นาํ ไปพิจารณาและปฏบิ ัติ
5. เสนอแนวคิดหรือขอ ใครค รวญลักษณะปลายเปด ใหผูอา นนาํ ไปคิดและใครค รวญตอ
ลักษณะของเรยี งความที่ดี ควรมีลกั ษณะที่เปน เอกภาพ สมั พนั ธภาพ และสารตั ถภาพ
เอกภาพ คือ ความเปน อนั หน่งึ อนั เดียวกนั ของเรอ่ื งไมเขียนนอกเรอื่ ง
สัมพันธภาพ คือ มีความสัมพันธก ันตลอดเร่ือง หมายถึง ขอ ความแตละขอความหรือแตละ
ยอ หนา จะตอ งมีความสมั พันธเกย่ี วเนื่องกนั โดยตลอด
สารตั ถภาพ คือ การเนนสาระสาํ คัญของยอหนาแตละยอหนา และของเรอ่ื งทง้ั หมด โดยใชถอ ยคาํ
ประโยค ขอ ความท่กี ระชบั ชัดเจน สอื่ ความเร่อื งทัง้ หมดไดเ ปนอยางดีย่งิ
การเขยี นยอความ
การยอ ความ คอื การนาํ เรือ่ งราวตา ง ๆ มาเขยี นใหมด ว ยสาํ นวนภาษาของผยู อเอง เม่ือเขียนแลว
เน้ือความเดมิ จะสั้นลง แตย ังมใี จความสาํ คัญครบถว นสมบรู ณ การยอ ความน้ี ไมม ีขอบเขตวาควรจะสนั้ หรอื
ยาวเทา ใดจึงจะเหมาะ เพราะบางเรื่องมีพลความมากก็ยอ ลงไปไดม าก แตบางเร่ืองมีใจความสําคัญมาก
กอ็ าจยอได 1 ใน 2 หรอื 1 ใน 3 หรอื 1 ใน 4 ของเรือ่ งเดิมตามแตผยู อจะเหน็ สมควร
ใจความสําคัญ คือ ขอความสําคัญในการพูด หรือการเขียน พลความ คือ ขอ ความท่ีเปน
รายละเอยี ดนาํ มาขยายใจความสาํ คัญใหชัดเจนยิง่ ขึ้น ถา ตัดออกผูฟง หรอื ผอู านก็ยงั เขาใจเร่ืองนนั้ ได
หลกั การยอความ จากสิง่ ทไ่ี ดอ า น ไดฟง
1. อา นเนื้อเร่อื งทจ่ี ะยอ ใหเขาใจ อาจมากกวา 1 เท่ียวกไ็ ด
2. เมื่อเขา ใจเร่ืองดีแลว จึงจับใจความสําคัญทีละยอหนา เพราะ 1 ยอหนาจะมีใจความสําคัญ
อยางเดียว
3. นําใจความสาํ คญั แตละยอ หนา มาเขียนใหมดวยภาษาของตนเอง โดยคํานึงถงึ สิง่ ตา ง ๆ ดงั น้ี
3.1 ไมใชอกั ษรยอ ในขอ ความทยี่ อ
3.2 ถามีคาํ ราชาศพั ทใ นเรอ่ื งใหคงไวไ มตองแปลออกเปน คําสามญั
3.3 จะไมใ ชเครอื่ งหมายตา ง ๆ ในขอ ความท่ยี อ เชน อัญประกาศ
3.4 เน้ือเรอ่ื งท่ยี อ แลว โดยปกตเิ ขยี นติดตอ กันในยอหนาเดยี วและควรมคี วามยาวประมาณ
1 ใน 4 ของเรือ่ งเดิม
70
4. คํานําในการอา นยอความ ใหใ ชแ บบคํานํายอความ ตามประเภทของเรื่องที่จะยอโดยเขียน
คํานําไวยอ หนา แรก แลวจึงเขยี นขอ ความท่ยี อ ในยอ หนา ตอ ไป
การเขยี นบันทกึ
การเขียนบันทึกเปนวธิ ีการเรียนรแู ละจดจาํ ทดี่ ี นอกจากนข้ี อ มูลทถ่ี ูกบันทึกไวยังสามารถนาํ ไปเปน
หลักฐานอางอิงเพ่ือประโยชนอืน่ ตอ ไป เชน
การจดบันทึกจากการฟง
การบันทึกจากการฟง หรือการประสบพบเห็นดวยตนเอง ยอ มกอใหเกิดความรู ในท่ีน้ีใครขอ
แนะนําวิธีจดบันทึกจากการฟง และจากประสบการณตรง เพื่อผูเ รียนจะสามารถนําไปใชประโยชนใน
การศกึ ษาดว ยตนเองไดว ธิ หี นงึ่
วิธจี ดบนั ทึกจากการฟง
การจดบันทึกจากการฟงจะไดผ ลดีเพียงใดขนึ้ อยูกับสมรรถภาพในการฟงของผูจ ดบันทึกในขณะท่ี
ฟง อยนู ัน้ เราไมส ามารถจดจาํ คําพดู ไดทุกคาํ ดังน้นั วิธีจดบนั ทกึ จากการฟง จงึ จาํ เปนตองรจู กั เลอื กจดเฉพาะ
ประเด็นสําคัญ ใชห ลักการอยา งเดียวกับการยอความนั่นเอง กลาวคือ ตองสามารถแยกใจความสําคัญ
ออกจากพลความได ขอความตอนใดทไี่ มสาํ คญั หรือไมเก่ียวขอ งกบั เร่อื งน้ันโดยตรงก็ไมจ ําเปนตอ งจดและ
วธิ ีการจดอาจใชอ ักษรยอ หรือเครอื่ งหมายท่ใี ชก ันทัว่ ไปเพือ่ บนั ทกึ ไวไดอ ยางรวดเร็ว เชน
ร.ร. แทน โรงเรียน
ร.1 แทน รัชกาลที่ 1
> แทน มากกวา
ผเู รียนอาจใชอ ักษรยอ หรอื เครอ่ื งหมายของผูเรยี นเองโดยเฉพาะ แตทัง้ นี้จะตอ งใหเปน ระบบ
จะไดไ มสับสนภายหลงั
ผูฟงจับความรูส ึก หรือเจตนาของผูพ ูดในขณะท่ีฟงดวยวามีจุดประสงคเชน ไร เมื่อบันทึกใจ
ความสําคัญไดค รบถวนแลว ควรนําใจความสําคัญเหลานั้นมาเรียบเรียงเสียใหม อน่ึงในการเรียบเรียงนี้
อยา ทง้ิ เวลาใหเ น่ินนานจนเกนิ ไป เพราะผูจดยังสามารถจาํ ขอ ความบางตอนท่ีไมไดจดไว จะไดเ พ่ิมเติมความรู
และความคิดไดอ ยางสมบูรณ
บนั ทึกการประชุม
การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ในปจจุบันมักจะมีการประชุมเพ่ือปรึกษาหารือกันกอนเสมอและในการ
ประชุมทกุ ครั้งจะตองมีผูจดบนั ทกึ การประชุมเพ่อื เปนหลักฐาน บนั ทกึ การประชมุ มรี ูปแบบ ดังตัวอยา งตอ ไปน้ี
71
บันทึกการประชุม
การประชมุ (ลงชอ่ื คณะกรรมการหรือช่อื การประชุมนัน้ ๆ)
คร้งั ที่ (ลงครง้ั ทีป่ ระชุม)
เม่อื (ลงวนั ท่ี เดือน พ.ศ. ท่ีประชุม)
ณ (ลงช่อื สถานท่ที ป่ี ระชุม)
ผูเขา ประชมุ
1. เขยี นชอ่ื ผมู าประชุม..................................................................................
2. ..................................................................................................................
3. ..................................................................................................................
ฯลฯ
ผขู าดประชมุ
1. เขยี นรายชอ่ื หรือจํานวนผูที่ไมม าประชมุ .................................................
2. ..................................................................................................................
3. ..................................................................................................................
ฯลฯ
เร่มิ ประชมุ เวลา (ลงเวลาทีเ่ รม่ิ ประชุม)
ขอ ความ (เรม่ิ ดว ยประธานกลา วเปดการประชมุ การอา นรายงาน (บันทึก) การประชุมคร้ังท่ีแลว
(ถาม)ี ทปี่ ระชมุ รบั รอง หรอื แกไขอยางไร แลวถงึ เร่อื งทจ่ี ะประชุมถามีหลายเร่ืองใหยกเร่ืองที่ 1 เร่ืองที่ 2
และตอ ๆ ไปตามลาํ ดบั และใหม ีมตขิ องทปี่ ระชุม (ทุกเรือ่ ง)
เลิกประชุม (ลงเวลาเลกิ ประชุม)..................................................................................
(ลงชือ่ ...................................................ผบู ันทึกการประชุม)
ศพั ทเฉพาะทใี่ ชในกิจกรรมการประชมุ ทค่ี วรรบู างคํา
1. ผเู ขาประชุม
หมายถึง ผูท ีไ่ ดรบั เชิญ หรือไดร บั การแตงตง้ั ใหเ ปน ผูมีสทิ ธเิ ขาประชมุ เพ่อื ทาํ หนาท่ีตา ง ๆ
เชน ทาํ หนาทเ่ี ปนผูนําการประชมุ เปน ผเู สนอความคดิ เหน็ ตอ ทป่ี ระชมุ เปนผจู ดบันทกึ การประชมุ เปนตน
2. วาระ
หมายถึง เรื่องหรือหัวขอ หรือประเด็นปญ หาตาง ๆ ที่ตองหาคําตอบ หาขอยุติหรือวิธีแกไข
โดยจดั เรียงลําดับเรอื่ งตามความเหมาะสม
3. ขอ เสนอ
ในการประชุมถา ขอใหท ่ีประชุมพิจารณาเร่ืองใดเรื่องหน่ึง มีศัพทเ ฉพาะเพื่อใชบอก
ความประสงควา เสนอและเรียกเร่อื งทเ่ี สนอวา ขอ เสนอ
72
4. สนับสนุน คัดคาน อภิปราย
ขอเสนอท่ีมผี เู สนอตอทปี่ ระชุมนั้น ผูเขาประชมุ มสี ิทธิเห็นดวย หรือไมเ ห็นดวยกไ็ ด ถาเหน็ ดว ย
เรียกวาสนับสนุน ไมเ ห็นดว ยเรียกวาคัดคาน การแสดงความคิดเห็น เพ่ือสนับสนุนหรือคัดคานขอเสนอ
เรียกวา การอภปิ รายใหต รงประเดน็ และมเี หตผุ ลสนับสนนุ อยางชดั เจน
5. มติ คอื ขอตดั สนิ ใจของท่ปี ระชมุ เพ่อื นําไปปฏบิ ัติ เรยี กวา มติทป่ี ระชมุ
การเขยี นบนั ทึกประจําวัน
วธิ เี ขยี นอาจแตกตางกันออกไป แตมแี นวทางในการเขียน ดังนี้
1. บันทกึ เปนประจาํ ทุกวันตามความเปน จริง โดยมีสมดุ บันทึกตา งหาก 1 เลม
2. บอกวนั เดอื นปท่บี นั ทึกไวอ ยางชดั เจน
3. การบันทกึ อาจเร่ิมจากเชาไปค่ํา โดยบนั ทกึ เร่ืองท่สี าํ คญั และนา สนใจ
4. การบนั ทกึ อาจแสดงทรรศนะและความรูสกึ สวนตวั ลงไปดวย
5. การใชภาษาไมมรี ูปแบบตายตวั สว นใหญใ ชภาษางาย ๆ สนกุ สนาน ท้ังนี้ข้ึนอยูก ับความพอใจ
และบุคลกิ ของผูบันทึกเอง
วิธีจดบนั ทกึ จากประสบการณต รง
ความรบู างอยา งเราไมอ าจหาไดจากการอาน หรอื การฟง ตอ งอาศัยการไปดแู ละสังเกตดว ยตนเอง
เรยี นจากประสบการณต รง วธิ กี ารจดบนั ทกึ จากการสงั เกตของจริงนัน้ คลายกบั การบนั ทึกจากการอานและ
การฟงนั่นเอง กลา วคอื เราตองรจู กั สงั เกตสิ่งท่ีสาํ คญั ๆ สังเกตดคู วามสัมพันธของสงิ่ ตางๆ ที่เราเห็นนั้นวา
เกย่ี วขอ งกนั อยา งไรมีลกั ษณะอยา งไร แลว บันทึกเปน ขอ มูลไวใ นสว นของขอสงสยั หรอื ความคดิ เห็นเราอาจ
บนั ทกึ ไว เมอื่ นาํ บนั ทกึ ทไ่ี ดจ ากการสงั เกตมาเรียบเรียงใหมนั้นควรระบุเร่ืองที่จะบันทึก วัน เวลา สถานที่
หากมีขอ สังเกตหรือความคิดเห็นประการใด ใหเรียบเรียงไวในตอนทาย ทั้งน้ีควรเขียนใหร วบรัด
ใหร ายละเอียดเฉพาะทีจ่ ําเปน และไมใ ชถอ ยคําทีฟ่ ุมเฟอ ย
ในชีวติ ประจําวนั เราไดรับสารจากวิธีการสอ่ื สารหลายประเภท ไมวาจะเปนหนังสอื วิทยุ โทรทัศน
หรืออาจเปนสิง่ ทีเ่ ราไดเห็นและประสบมาดวยตนเอง ถาเราเพียงแตจดจําสิ่งเหลานั้นโดยไมไ ดจ ดบันทึก
กอ็ าจจะลมื และอยูไดไ มน าน แตถ ามกี ารจดบนั ทกึ ไวก ็จะชว ยใหอยูไ ดนานวนั ขนึ้
การเขียนรายงาน
รายงานการศึกษาคนควา เปนการเขียนเสนอเพื่อรายงานการศึกษาคนควาเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง
โดยเฉพาะ โดยกอ นเขียนจะตองมีการศึกษาคนควา จัดระบบและเรียบเรียงเปนอยา งดีขั้นตอนการเขียน
รายงานการคนควา
1. เลือกเร่ือง หรือประเด็นท่ีจะเขียน ซึ่งเปน เรื่องที่ตนสนใจ กําลังเปนท่ีกลาวถึงในขณะนั้น
เรอื่ งแปลกใหมน าสนใจ จะไดร บั ความสนใจมากข้ึน
2. กาํ หนดขอบเขตทจี่ ะเขยี นไมก วาง หรอื แคบจนเกนิ ไป สามารถจดั ทําไดใ นเวลาท่กี าํ หนด
73
3. ศกึ ษาคน ควาและเก็บรวบรวมขอ มูลอยางเพียงพอทั้งจากเอกสาร การสัมภาษณ การสังเกต
หรอื จากสอ่ื มวลชนตา ง ๆ เปน ตน
4. บันทึกขอมลู ทไ่ี ดค นควาพรอ มแหลงทีม่ าของขอมลู อยางละเอยี ด โดยจดบันทึกลงในบัตรหรือ
สมุดบนั ทึก ทง้ั น้เี พอื่ นาํ มาเขียนเชิงอรรถและบรรณานกุ รมในภายหลงั
5. เขียนโครงเร่ืองอยา งละเอยี ด โดยลาํ ดับหัวขอ ตา ง ๆ อยางเหมาะสม
6. เรียบเรยี งเปนรายงานท่เี หมาะสม โดยมรี ปู แบบของรายงานท่ีสําคัญ 3 สวนคอื
6.1 สวนประกอบตอนตน
6.1.1 หนาปกรายงาน
6.1.2 คาํ นาํ
6.1.3 สารบัญ
6.1.4 บัญชีตาราง หรอื ภาพประกอบ (ถามี)
6.2 สว นเนอ้ื เรือ่ ง
6.2.1 สว นท่ีเปน เนือ้ หา
6.2.2 สว นประกอบในเนอ้ื หา
6.2.2.1 อญั ประกาศ
6.2.2.2 เชงิ อรรถ
6.2.2.3 ตารางหรอื ภาพประกอบ (ถาม)ี
6.3 สว นประกอบตอนทาย
6.3.1 บรรณานุกรม
6.3.2 ภาคผนวกหรืออภธิ านศพั ท (ถาม)ี
การใชภ าษาในการเขียนรายงาน
1. ใชภาษากะทดั รดั เขาใจงา ย และตรงไปตรงมา
2. ใชภาษามาตรฐาน ตามธรรมเนยี มนยิ ม
3. เวน วรรคตอนอยางถูกตอ งเหมาะสม เพอ่ื ใหเ นอื้ ความกระจางชัด เขาใจงาย
4. การเขียนทั่ว ๆ ไป ควรใชศพั ทธ รรมดา แตใ นกรณที ต่ี อ งใชศพั ทเ ฉพาะวิชา ควรใชศัพทท ่ีไดรับ
การรับรองแลว ในแขนงวิชาน้ัน ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งศัพทซ่ึงคณะกรรมการบัญญัติศัพทภ าษาไทย
ของราชบญั ฑิตสถานไดบัญญตั ไิ วแ ลว
5. การเขียนยอหนาหนึ่ง ๆ จะตอ งมีใจความสําคัญเพียงอยางเดียว และแตล ะยอ หนาจะตองมี
ความสัมพนั ธตอเนอ่ื งกันไปจนจบ
74
การเขียนประกาศ
ประกาศ หมายถึง การบอกกลาว หรือช้ีแจงเรือ่ งราวตาง ๆ ใหส าธารณชน หรือผูเ กี่ยวขอ งทราบ
ผูรบั ขอมลู ไดทราบจากสอื่ มวลชนตาง ๆ เชน วทิ ยุ โทรทศั น หนังสือพิมพ หรอื จากฝา ยโฆษณาใบปลวิ เปนตน
ลักษณะของประกาศทผ่ี ูเ ขียนจะไดพบเสมอ ๆ แบง ไดเ ปน 2 แบบ คือ
1. แบบประกาศท่ีเปน ทางการ ประกาศลักษณะน้ีมักออกจากหนวยงานราชการรัฐวิสาหกิจ
หรอื องคกรตาง ๆ สวนมากจะเปนเรื่องเกีย่ วกับกลมุ คนสวนใหญ รูปแบบการเขียนมักจะมีประเด็นสําคัญ
ดังนี้ คือ
1.1 ชื่อหนว ยงานหรือองคก รที่ออกประกาศ
1.2 เรื่องท่ปี ระกาศ
1.3 เนื้อความท่ปี ระกาศ สวนใหญจ ะมรี ายละเอียดอยางนอ ย 2 สวนคอื
1.3.1 เหตุผลความเปนมา
1.3.2 รายละเอยี ด เงื่อนไข และขอเสนอแนะตาง ๆ
1.4 วนั เดอื นปท ีป่ ระกาศน้ันจะมีผลบงั คบั ใชน บั ตง้ั แตเวลาที่ปรากฏในประกาศ
1.4.1 การลงนามผปู ระกาศ คือ ผมู ีอํานาจในหนวยงานทเ่ี ปนเจา ของประกาศนนั้
1.4.2 ตําแหนง ของผปู ระกาศ
2. ประกาศที่ไมเ ปน ทางการ ประกาศลักษณะนี้มักออกจากบริษัท หางรา น หรือของบุคคลใด
บุคคลหนึง่ จะมีจดุ ประสงคเ ฉพาะเรอ่ื ง เชน ประกาศรบั สมัครงาน ประกาศของหาย ประกาศลักษณะน้ี
จะมีเฉพาะขอ มูลที่จําเปน ทั้งน้ี สวนใหญจะเปน การประกาศในหนาหนังสือพิมพซ ่ึงตอ งประหยัดเนื้อที่
โฆษณา เนื่องจากคา โฆษณามรี าคาสูง
การเขียนโฆษณา
การโฆษณาสนิ คาบรกิ ารเปนการสง สารโนม นาวใจตอ สาธารณชน เพอ่ื ประโยชนในการขายสินคา
หรอื บรกิ ารตา ง ๆ ซึ่งมลี ักษณะดังนี้
1. บทโฆษณาจะมีสว นนาํ ที่สะดดุ หู สะดดุ ตา ซง่ึ มีผลทําใหส ะดดุ ใจสาธารณชน ดว ยการใชถ อยคาํ
แปลก ๆ ใหม ๆ อาจเปน คาํ สัมผสั อักษร คําเลยี นเสียงธรรมชาติ
2. ไมใชถอยคาํ ที่ยดื ยาว ครอบคลุมเนื้อหาอยางครบถวน มักใชเปน รูปประโยคสั้น ๆ หรือวลีสั้น ๆ
ทําใหผ อู า นรบั รูไดอยางฉับพลนั
3. เนื้อหาจะชี้ใหเ ห็นถึงความดี วิเศษของคุณภาพ ของสินคาหรือบริการ สวนมากจะเนน
ความเปนจริง เชน “ทนทานปานเหล็กเพชร”
4. ผโู ฆษณาจะพยายามจบั จุดออนของมนุษย โดยจะโนม นาวใจในทํานองที่วาถา ใชเ ครื่องสาํ อางค
ชนดิ น้แี ลว ผิวพรรณจะเปลงปลงั่ บาง เรอื นรางจะสวยมเี สนห บ าง
5. เนือ้ หาการโฆษณา มกั ขาดเหตผุ ล ขาดความถูกตองทางวิชาการ
6. การโฆษณาจะปรากฏทางสื่อชนดิ ตาง ๆ ซํา้ ๆ กันหลายครงั้ หลายหน
75
การเขยี นคําอวยพร
พร คือ คําทแี่ สดงความปรารถนาดี ที่บุคคลจะพึงกลา วแกผ ูอ ื่น ในการเขียนคําอวยพรตองเขียน
ใหเหมาะสมกับโอกาส เชน อวยพรในวันขึ้นปใ หม อวยพรในการทําบุญข้ึนบา นใหม อวยพรในงานมงคล
สมรส อวยพรผทู ล่ี าไปศกึ ษาตอ ณ ตางประเทศ
นอกจากคาํ นงึ ถึงโอกาสทจ่ี ะกลาวคําอวยพรแลว ตอ งคํานงึ ถงึ บุคคลทจี่ ะรบั พรวา เปนผูอ ยูใ นฐานะใด
เปน คนเสมอกนั หรือเปนผูมีอาวุโสสูงกวาหรือตา่ํ กวาผูพดู คาํ อวยพรมใี หเปนรายบุคคลหรือใหแ กหมูคณะ
ทง้ั น้ี เพือ่ จะไดเ ลือกใชถอยคําใหถกู ตองเหมาะสมเปน กรณไี ป มีขอเสนอแนะ ดงั นี้
1. ในการแตง คาํ อวยพรสาํ หรับโอกาสตา ง ๆ พรท่ใี หกันกม็ กั เปน สง่ิ อันพงึ ปรารถนา เชน พรสี่
ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ความสําเรจ็ ในกจิ การงาน ความสมหวัง ความมเี กยี รติ เปน ตน ท้งั นี้
แลวแตผ อู วยพรจะเหน็ วาสิ่งใดเหมาะสมท่ีจะนํามากลา ว โดยเลือกหาคําทไ่ี พเราะ มคี วามหมายดี มาใชแตง
ใหไดเ นือ้ ความตามทีป่ ระสงค
2. ถาเปน การอวยพรญาติมิตร ที่มีอายุอยูใ นวัยใกลเ คียงกันก็กลาวอวยพรไดเลย แตถ า เปน
ผูท ี่สูงกวา ดวยวัยวุฒิ คุณวุฒิ และชาติวุฒิ ก็ควรอางสิ่งท่ีตนเคารพนับถือ หากเปน พุทธศาสนิกชน
ก็อางคุณพระศรรี ัตนตรยั ใหด ลบันดาลพร เพื่อความเปน สิรมิ งคลแกผทู ไ่ี ดรับพร
การเขียนโครงการ
การทํางานขององคกรหรือหนวยงานตาง ๆ นั้นจําเปนตองมีโครงการเพ่ือบอกเหตุผลของการ
ทาํ งานนั้น บอกวัตถุประสงค เปา หมาย วิธีการดําเนินงาน ระยะเวลา สถานที่ งบประมาณที่ใช บุคคลท่ี
รบั ผิดชอบ เพือ่ ใหการทาํ งานน้ันดําเนินไปดว ยดี ขอใหด ูตวั อยา งโครงการและศกึ ษาแนวการเขียนโครงการ
ในแตละหัวขอ ใหเขา ใจ
76
ยกตัวอยา งโครงการที่เปน ปจจบุ ัน
โครงการประชมุ สมั มนาคณะกรรรมการบรหิ ารองคก ารบรหิ ารสว นตําบล (อบต.)
ภาคตะวนั ออก ประจาํ ปง บประมาณ 2551
…………………………………….
1. หลกั การและเหตผุ ล
ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 8 ไดก ําหนดทศิ ทางการพัฒนาประเทศทั้งใน
ทศวรรษหนาและในชวง พ.ศ. 2540 - 2544 ใหเนนคนเปนศูนยกลาง หรอื เปนจดุ หมายหลักของการพัฒนา
ทัง้ นีเ้ พือ่ นาํ ไปสวู ิสัยทัศน “ครอบครัวอบอนุ ชุมชนเขมแข็ง สงั คมมีสมรรถภาพ เสรภี าพ ความยตุ ิธรรมและ
มีการพฒั นาที่สมดุล บนพื้นฐานของความเปนไทย” ซึ่งจะเปน การพัฒนาในลักษณะท่ีตอเนื่องและย่ังยืน
ทําใหค นไทยสวนใหญม ีความสุขท่ีแทจ ริงในระยะยาว และองคก ารบริหารสวนตําบลซึ่งเปนหนว ยงาน
บรหิ ารราชการสวนทอ งถิ่นทจี่ ดั ขน้ึ ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคก ารบริหารสว นตําบล พ.ศ. 2537
มหี นาทใ่ี นการสงเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สง เสรมิ การพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน โดยมีอํานาจ
อสิ ระในการดาํ เนินกิจกรรม กาํ หนดแผนงาน และการใชง บประมาณของตนเอง หากองคการบรหิ ารสวน-
ตําบลไดรวมจดั และสงเสริมการศกึ ษาในตําบลอยางแทจ ริงแลวกจ็ ะทาํ ใหก ารพัฒนาคุณภาพของคนเปน ไป
อยางมีประสิทธภิ าพ ทัดเทียมนานาอารยประเทศท่ีเจริญแลว กรมการศึกษานอกโรงเรียนจึงไดรวมกับ
สํานักคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง ชาติ มอบหมายใหศนู ยการศกึ ษานอกโรงเรียนภาคตะวนั ออก
จัดสัมมนาคณะกรรมการบริหารองคการบริหารสวนตาํ บลขน้ึ
2. วัตถปุ ระสงค
2.1 เพ่ือใหคณะกรรมการบริหาร อบต. มีความรูความเขา ใจเกี่ยวกับการศึกษาทั้งในระบบ
โรงเรยี นและนอกระบบโรงเรียน
2.2 เพื่อใหค ณะกรรมการบริหาร อบต. มีสวนรว มในการวางแผน และจัดกิจกรรมการศึกษา
ในระบบโรงเรียนและการศึกษานอกระบบโรงเรียน
2.3 เพ่ือใหค ณะกรรมการบริหาร อบต. มีความเขาใจเก่ียวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
ตามแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 8 มีสวนในการพัฒนาสังคม เด็ก สตรี และครอบครัว
รวมกับ ศนู ยบริการการศกึ ษานอกโรงเรียนอําเภอ(ศบอ.) และเกดิ การขยายผลอยางตอ เนื่อง
3. เปา หมาย
3.1 เชิงปรมิ าณ กลุมเปา หมายทง้ั ส้นิ 115 คน ประกอบดวย
3.1.1 ประธาน อบต. จังหวัดละ 3 คน 9 จงั หวัด จํานวน 27 คน
3.1.2 ปลดั อบต. จงั หวัดละ 3 คน 9 จงั หวัด จาํ นวน 27 คน
3.1.3 หน.ศบอ. จังหวัดละ 3 คน 9 จังหวัด จาํ นวน 27 คน
3.1.4 ผูอํานวยการศูนยการศกึ ษานอกโรงเรยี น
จังหวัด (ศนจ.) จาํ นวน 9 คน
77
3.1.5 เจาหนา ท่ีศูนยก ารศกึ ษานอกโรงเรียนจังหวัด จาํ นวน 9 คน
3.1.6 เจา หนาท่ีศูนยการศึกษานอกโรงเรียนภาคตะวนั ออก จํานวน 7 คน
3.1.7 พนกั งานขบั รถยนต ของ ศนจ. จํานวน 9 คน
รวม 115 คน
3.2 เชงิ คณุ ภาพ
กลมุ เปาหมายมคี วามรูค วามเขา ใจเก่ียวกับงานการศึกษามีสวนรวมในการสนับสนุนและจัดการ
ศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบโรงเรียน เพื่อพัฒนาสังคม เด็ก สตรี และครอบครัวอยา งแทจ ริงและ
ขยายผลอยางตอ เนือ่ ง
4. วธิ ีดาํ เนนิ การ
4.1 ขัน้ เตรยี มการ
4.1.1 ศึกษา สํารวจ รวบรวมขอมูล
4.1.2 ขออนมุ ตั ิโครงการ
4.1.3 ประสานงานผูเกีย่ วของ
4.1.4 ดําเนนิ การประชมุ สัมมนา
4.2 ข้นั ดาํ เนินการ
4.2.1 จดั ประชุมสมั มนาจํานวน 2 วัน
4.2.2 รวบรวมแผนพฒั นาของ อบต. เกีย่ วกบั การจัดการศกึ ษา เพ่อื นาํ เสนอผูเกี่ยวของ
4.2.3 ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดําเนินงานรวมกบั หนว ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ ง
5. ระยะเวลา/สถานท่ี
5.1 จัดประชุมสัมมนา ระหวา งวันท่ี 24 - 25 สิงหาคม 2551 ณ โรงแรมสตาร อําเภอเมือง
จงั หวัดระยอง
5.2 ติดตาม ประเมนิ ผล ภายในเดือนกนั ยายน 2551 พ้ืนที่ 9 จงั หวัดในภาคตะวนั ออก
6. งบประมาณ
ใชง บประมาณประจําป 2551 หมวดคา ตอบแทน ใชส อย วัสดุ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา
นอกโรงเรียน กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน จาํ นวนเงนิ 140,000 บาท มรี ายละเอียด ดังน้ี
คา ใชสอยและวัสดใุ นการประชมุ สัมมนา
- คาที่พัก 115 x 425 = 48,875.- บาท
- คา อาหารวา งและเคร่ืองดม่ื 115 x 100 x 2 = 23,000.- บาท
- คาอาหารกลางวัน 115 x 120 x 2 = 27,600.- บาท
- คาอาหารเย็น 115 x 150 = 17,250.- บาท
- คาตอบแทนวิทยากร 600 x 2 ชว่ั โมง = 1,200.- บาท
- คา ตอบแทนวิทยากร 600 x 0.75 ชัว่ โมง = 450.- บาท
- คา นํา้ มันเชือ้ เพลงิ = 1,000.- บาท
78
- คา วสั ดุ = 20,675.- บาท
หมายเหตุ ทกุ รายการขอถวั จา ยตามท่ีจา ยจริง
7. เครอื ขา ย/หนวยงานท่ีเกีย่ วของ
- ศูนยการศกึ ษานอกโรงเรียนจังหวัดในภาคตะวนั ออก
- ศนู ยบรกิ ารการศึกษานอกโรงเรยี นอาํ เภอในภาคตะวนั ออก
- หนว ยงานสังกัดกรมการปกครองในภาคตะวันออก
8. การประเมินผลโครงการ
- ประเมนิ ระหวางการประชมุ สมั มนา
- ประเมินหลงั การประชุมสัมมนา
- สรปุ และรายงานผลการประชุมสัมมนา
9. ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ
นางญาณศิ า เจรรี ตั น งานโครงการพิเศษ
ฝา ยนโยบายและแผนงาน
ศูนยก ารศึกษานอกโรงเรียนภาคตะวนั ออก
10. ความสมั พนั ธก บั โครงการอน่ื
- โครงการพฒั นาเครอื ขา ย
- โครงการพฒั นาบคุ ลากร
- โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกโรงเรยี น
- โครงการจัดกิจกรรมการศกึ ษานอกโรงเรียนในศูนยการเรียนชมุ ชน (ศรช.)
11. ผลทีค่ าดวา จะไดรบั
ศบอ.มสี วนในการวางแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น รวมกบั อบต.ไดต รงตามนโยบาย
ของรัฐบาล ตลอดทง้ั สามารถขยายผลการพฒั นาในพื้นทไ่ี ดอยางมปี ระสิทธผิ ล
ผูขออนุมตั ิโครงการ ผเู ห็นชอบโครงการ ผูอนมุ ตั โิ ครงการ
(นางญานศิ า เจรรี ตั น) (นางสาวสุรภี สกลุ รัตน) (นายชวี ติ อจุ วาที)
อาจารย 2 ระดบั 6 ผชู ว ยผอู าํ นวยการ ศนภอ. ผูอาํ นวยการ ศนภอ.
การเขยี นคํากลา วรายงาน
การเขยี นคาํ กลาวรายงานในการเปด หรือปดการประชุมสมั มนานัน้ จะมี 2 สวน คือ
คาํ กลาวรายงานของเจาของงาน และคาํ กลาวเปดของประธานการเปดหรอื ปดการประชุม
79
คํากลาวรายงานและคํากลาวเปด
1. คํากลาวรายงานพธิ ีเปดการประชมุ สมั มนาจะกลาวถึงรายละเอยี ด หรอื มีแนวทางการเขียน ดงั น้ี
1.1 คําขึ้นตนนยิ มใชคาํ วา “เรียน….” และขอบคณุ
1.2 บอกกลา วผูเ ขาประชมุ และหนว ยงานหรือสถานะของผเู ขาประชมุ พรอมทั้งบอกจํานวน
ผูเขารวมประชุม
1.3 บอกวตั ถุประสงคของการประชมุ
1.4 บอกระยะเวลาของการประชมุ
1.5 บอกวทิ ยากรบุคคล หนว ยงานท่มี สี วนรว ม มสี ว นเก่ยี วขอ งชวยเหลือสนบั สนนุ
2. คาํ กลา วเปด การประชมุ มแี นวทางในการเขยี น ดงั น้ี
2.1 คาํ ขน้ึ ตน หรือคาํ ทักทาย จะเอยชอื่ บุคคลตาํ แหนงของผูเ ขาประชมุ
2.2 บอกถึงความรสู กึ ขอบคุณบุคคล วทิ ยากรหรือหนวยงานที่เก่ียวของชว ยเหลอื
2.3 บอกขอ เสนอแนะแนวทางขอ คิดเห็นที่เปนประโยชนต อ การประชมุ
2.4 อวยพรและแสดงความปรารถนาดที ีจ่ ะใหการประชมุ บรรลผุ ลตามวตั ถุประสงค
สวนคํากลา วรายงานและคํากลาวปด การประชุม ก็จะมีลักษณะคลา ยกัน แตจะมีรายละเอียด
เกย่ี วกับผลของการดําเนินงานการประชุมเพม่ิ เขามา และมีการมอบวฒุ ิบัตรหรอื ของทรี่ ะลกึ อกี เทานัน้
80
ตัวอยาง
คํากลาวรายงานในพธิ ีเปดการประชุมสัมมนา
คณะกรรมการบรหิ ารองคก ารบรหิ ารสว นตําบล (อบต.)
ภาคตะวนั ออก ปงบประมาณ 2551
ณ โรงแรมสตาร อาํ เภอเมอื ง จังหวดั ระยอง
วันที่ 26 สงิ หาคม 2551
....................................
เรียน ทา นประธาน ผูอ ํานวยการศนู ยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นภาคตะวนั ออก ผอู าํ นวยการศนู ยการ
ศกึ ษานอกโรงเรยี นจงั หวดั หัวหนา ศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอ ปลัด อบต. ประธาน อบต.
เจาหนาท่ีศูนยการศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด
ดิฉัน นางสาวสุรภี สกุลรตั น ในฐานะผูจัดการประชุมสัมมนารูส ึกเปนเกียรติอยา งย่ิงที่ทา นไดให
เกียรตมิ าเปนประธานในการประชมุ สัมมนาครัง้ นี้
การประชุมสัมมนาคร้งั นปี้ ระกอบดวยผปู ระชุมสัมมนาจํานวน 99 คน ดงั นี้
- ผูอ ํานวยการศูนยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นจงั หวดั ในภาคตะวนั ออก 9 ทา น
- หวั หนา ศูนยบรกิ ารการศกึ ษานอกโรงเรียนอาํ เภอในภาคตะวนั ออก 27 ทา น
- ปลดั อบต.จากจังหวัดในภาคตะวนั ออก 27 ทา น
- ประธาน อบต. จากจงั หวัดในภาคตะวนั ออก 27 ทา น
- เจา หนา ท่ศี นู ยการศึกษานอกโรงเรยี นจงั หวดั ในภาคตะวันออก 9 ทาน
วตั ถปุ ระสงคของการประชุมสมั มนา
1. เพ่อื ใหคณะกรรมการบรหิ าร อบต. มีความรูความเขาใจเก่ยี วกับงานการศึกษานอกโรงเรียน
2. เพ่ือใหค ณะกรรมการบริหาร อบต. มีสวนรว มในการวางแผนและจัดกิจกรรมการศึกษานอก
โรงเรียน
3. เพื่อใหค ณะกรรมการบริหาร อบต. มคี วามเขา ใจเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ในสวน
ของการพฒั นาสังคม เด็ก สตรี และครอบครวั รวมกบั หนวยงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น
วทิ ยากรในการประชมุ สมั มนาประกอบดวย
- ผอู าํ นวยการศูนยก ารศึกษานอกโรงเรียนภาคตะวันออก
- ผตู รวจราชการสวนทองถิ่นจงั หวัดระยอง
- รองประธานคณะกรรมการพัฒนาสตรภี าคตะวันออก
ในโอกาสน้ี ดฉิ นั ขอเรียนเชิญทา นประธานไดก รณุ ากลา วเปดการประชมุ และบรรยายพิเศษตามท่ี
ทานเห็นสมควร ขอเรียนเชิญ
81
ตวั อยา ง
คาํ กลาวของประธาน
พิธเี ปด การประชมุ สัมมนาคณะกรรมการบรหิ ารองคก ารบรหิ ารสว นตาํ บล (อบต.)
ภาคตะวันออก ปงบประมาณ 2551
วันท่ี 26 สงิ หาคม 2551
ณ โรงแรมสตาร อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั ระยอง
................................................
ทาน ผูอ ํานวยการศูนยก ารศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด ทา นหัวหนาศูนยบ ริการการศึกษานอก
โรงเรยี นอําเภอ ทานปลดั อบต. ทา นประธาน อบต. เจา หนา ที่ศนู ยก ารศึกษานอกโรงเรียนจงั หวดั ทุกทาน
ผมมคี วามยนิ ดีทไี่ ดมาเปน ประธานในการประชุมสัมมนา คณะกรรมการบรหิ ารองคการสว นตําบล
(อบต.) ภาคตะวันออก ปงบประมาณ 2551 ในวันน้ี นบั วา เปน โอกาสที่ดีที่งานการศึกษานอกโรงเรียนไดม ี
โอกาสรวมประชุมสัมมนากับหนวยงานทางดานการปกครอง โดยเฉพาะเปนหนวยงานการปกครอง
สวนทองถิ่น ที่สามารถนําประโยชนท่ีไดจ ากการประชุมสัมมนา ไปใชใ นการพัฒนาทองถ่ินไดโดยตรง
ในปจจุบนั การศกึ ษาเปนส่งิ จําเปนอยา งยิ่งตอการพัฒนาทุกดา น เน่ืองจากเปน ส่ิงท่ีจะชว ยใหเ รามีความรู
ความเขา ใจทถี่ ูกตองไดง ายโดยเฉพาะในชมุ ชน ถา สมาชิกไดรับการศึกษานอยอาจจะเปน สาเหตุหน่ึงทําให
ชุมชนประสบกบั ปญหาตา ง ๆ ทัง้ ทางดา นความปลอดภยั ดานสขุ ภาพ และปญ หาสังคมอ่ืน ๆ ที่จะตามมา
โดยไมคาดคดิ
หนวยงานของทางราชการไมว า จะเปนหนว ยงานทางการศึกษา หรือหนว ยงานทางการปกครอง
ยอ มตอ งมีภาระรับผิดชอบในการรวมกันพัฒนาชุมชนและประเทศชาติ ดังนั้นถาหนวยงานของเรามี
การรวมมือกันเปน อยางดยี อมจะกอ ใหเ กิดประโยชนมหาศาลแกสังคมและประเทศชาตไิ ด
ในการประชุมสัมมนาครัง้ น้ี ผมหวังเปนอยา งยิ่งวาผูเ ขา ประชุมสัมมนาทุกทานคงจะตั้งใจและให
ความสนใจตลอดระยะเวลาของการประชุมสัมมนา เพื่อนําความรูแ ละประสบการณท ี่ไดไปปรับใชใน
การพัฒนาทอ งถ่ินตามความเหมาะสมและศักยภาพของชุมชน
ขอขอบคุณวิทยากร เจาหนา ที่ศูนยก ารศึกษานอกโรงเรียนภาคตะวันออก ผูอํานวยการศูนย
การศกึ ษานอกโรงเรียนจังหวดั และผูท่ีเกี่ยวของทุกทา น ท่ีชวยทําใหโครงการนี้ดําเนินไปดว ยความเรียบรอ ย
ในโอกาสนีผ้ มขออาราธนาคณุ พระศรีรตั นตรยั และพระบารมขี องพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัว จงดลบันดาล
ใหผเู ขาประชุมสมั มนาทกุ ทา นจงประสบแตค วามสุข ความเจรญิ และขอใหการประชมุ สัมมนาคร้ังน้ีดําเนิน
ไปอยา งสัมฤทธิผล
ผมขอเปดการประชมุ สัมมนาคณะกรรมการบริหารองคก ารบริหารสว นตําบล (อบต.)
ภาคตะวนั ออก ปงบประมาณ 2551 ณ บดั นี้
82
การเขยี นตัวเลขไทย
ตวั เลขไทยเกดิ พรอมอกั ษรไทยมานานนับ 700 ป แตปจ จุบันมผี ูใชต ัวเลขไทยนอ ยมาก ดวยเหตุนี้
จึงมกี ารรณรงคเ พื่อใหเห็นคณุ คา และศิลปะของตัวเลขไทย ซ่ึงคนไทยควรภมู ิใจและใชอักษรไทยกบั เลขไทย
เพ่ือดํารงไวซ ึ่งเอกลกั ษณทางภาษาไทยและเปน มรดกของชาติสืบไป
ลกั ษณะการเขยี นตวั เลขไทย
การเขียนตัวเลขไทยเขียนคลายกบั การเขียนอกั ษรคอื มีหัวมีหางแทบทกุ ตวั บางตัวคลา ยตัวอักษร
เชน เลข ๓ คลาย ตวั ต เลข ๘ คลา ย ๘ (ไมไ ตค ู) เปน ตน การเขียน เลข ๙ ก็เขียนคลายกับตัวอักษรขอม
คนจงึ ไมนิยมเขยี นเพราะมีความรูสกึ เขยี นยาก ไมคอยมีโอกาสไดใ ช ประกอบกับแบบฟอรมตา ง ๆ ที่ใหกรอก
ขอ มูลมกั ใชเ ลขอารบิคเปน สว นใหญ
เพื่อเปน การสรา งจิตสํานึกของคนไทยในการอนุรักษการใชเ ลขไทยและเอกลักษณของชาติไทย
ควรดําเนินการ ดงั นี้
1. สงเสริมใหเ ด็กเขียนเลขไทยต้ังแตร ะดับอนุบาลข้ึนไปจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เชน
การเขยี น วนั ที่ เดือน พ.ศ. ในแบบฟอรม การกรอกขอมลู ตาง ๆ แลวฝก ใหเ ขยี นเลขไทย ๑ - ๑๐ แลวเพ่ิม
จํานวนถงึ ๑๐๐
2. ในการเขียนรายงานตา ง ๆ ไมว าจะเปนรายงานแบบเปน ทางการ หรือไมเ ปนทางการ
ก็ใชเลขไทยรวมทั้งการกรอกขอมูลในบัตรประจําตัวประชาชน หรือการไปติดตอ ธุรกิจธนาคารควรใช
เลขไทย
3. เขียนตวั เลขทพ่ี บเหน็ ในชีวติ ประจาํ วนั เปนตัวเลขไทย เชน บา นเลขที่ เลขทีซ่ อย เลขทะเบยี นรถ
เบอรโ ทรศัพท ฯลฯ ควรเขียนเปน เลขไทย ฉะน้ันบุคคลทุกระดับ ทุกเพศทุกวัย ท้ังหนวยงานของรัฐและ
เอกชนควรหันมาใชเ ลขไทยพรอมเพรียงกัน ซ่ึงเราคนไทยควรภูมิใจท่ีจะใชอักษรไทยกับเลขไทยคูกัน
เพื่อเปน การสรางจิตสํานึกและแสดงเอกลกั ษณทางภาษาและวัฒนธรรมอันดีของชาติไทย
4. รฐั บาล สวนราชการ และหนวยงานท่เี กยี่ วของไมมกี ารกําหนดนโยบาย สั่งการใหส ว นราชการ
และหนวยงานเอกชนใชตัวเลขไทยในหนังสอื ราชการและหนังสอื ติดตอราชการดว ย
5. รณรงคใ หป ระชาชนคนไทยใชเลขไทยในการเขียนและสื่อสารทุกประเภทตลอดเวลา ท้ังรณรงค
ใหส่ือสารมวลชนใชต วั เลขไทยดวย การสงเสริมการใชเลขไทย ภาษาไทย เพ่ือเนนการสรางจิตสํานึกและ
อนุรักษเอกลักษณไทยนั้น กระทรวงศึกษาธิการไดม ีหนังสือขอความรวมมือสว นราชการในกระทรวง
ศึกษาธกิ ารตามหนังสือท่ี ศธ.o๒o๑ ๒/๔๓o ลงวันท่ี ๑๐ มกราคม ๒๕๔๖ ขอความรวมมือจากสวนราชการ
เรื่องการใชเ ลขไทย เลขศักราช เลขปพ ุทธศักราช และอนุรักษภ าษาไทยเพื่อสรา งจิตสํานึกของคนไทยใน
การอนุรักษเ อกลักษณข องชาติ ขอใหหนวยงานราชการใชเลขไทยในหนังสือราชการ ใชเลขศักราชเปน
พุทธศักราช ในกิจกรรมทุกดา น ซ่ึงเปน นโยบายของรัฐบาลต้ังแตป 2543 ในฐานะที่เปนคนไทยคนหนึ่ง
จงึ ตอ งรว มอนุรักษเ อกลกั ษณไ ทย ภาษาไทยดวยการใชเลขไทย
83
เรอื่ งที่ 2 หลักการแตง คาํ ประพนั ธ
คําประพนั ธ หรอื รอยกรองมีหลายประเภท เชน โคลง กลอน กาพย ฉันท และรา ย บทรอ ยกรอง
เปน ขอ ความทีป่ ระดดิ ประดอยตกแตง คาํ ภาษาอยางมีแบบแผนและมเี งอื่ นไขพิเศษบังคับไว เชน บงั คบั
จาํ นวนคํา บังคบั วรรค บังคับสมั ผสั เรยี กวา “ฉันทลกั ษณ”
แนวทางการเขยี นบทรอ ยกรองมดี งั นี้
1. ศึกษาฉนั ทลกั ษณข องคําประพันธนน้ั ๆ ใหเขา ใจอยางแจมแจง
2. คดิ หรือจนิ ตนาการวา จะเขียนเร่ืองอะไร สรา งภาพใหเกิดขึ้นในหวงความคดิ
3. ลําดับภาพ หรือลาํ ดบั ขอความใหเปน อยา งสมเหตผุ ล
4. ถา ยทอดความรสู กึ หรอื จินตนาการน้นั เปนบทรอ ยกรอง
5. เลือกใชค ําทส่ี ่อื ความหมายไดช ัดเจน ทาํ ใหผ อู านเกดิ ภาพพจนและจินตนาการรว มกบั
ผปู ระพนั ธ
6. พยายามเลอื กใชคาํ ท่ไี พเราะ เชน คดิ ใชคําวา ถวลิ ผูหญงิ ใชค ําวา นารี
7. แตงใหถ กู ตองตามฉนั ทลกั ษณของคาํ ประพันธ
การเขียนโคลงสี่สุภาพ มีหลักการเขยี น ดังนี้
บทหน่งึ มี 4 บาท บาทหน่ึงมี 2 วรรค เรียก วรรคหนา กับวรรคหลัง วรรคหนา มี 5 พยางคท ุกบาท
วรรคหลังของบาททห่ี นงึ่ ทส่ี องและท่ีสามมี 2 พยางค วรรคหลงั ของบาททสี่ มี่ ี 4 พยางค และอาจมคี าํ สรอย
ไดในวรรคหลังของบาททห่ี นงึ่ และบาททีส่ าม มสี ัมผสั บังคบั ตามทก่ี าํ หนดไวในผังของโคลง ไมนยิ มใชสัมผัส
สระ ใชแตส มั ผสั อักษร โคลงบทหน่งึ บงั คับใชคําท่ีมวี รรณยุกตเอก 7 แหง และวรรณยุกตโ ท 4 แหง คําเอก
ผอนผนั ใหใ ชคาํ ตายแทนได
ผังของโคลงส่ีสภุ าพ
๐๐๐๐๐ ๐๐ (๐๐)
๐๐๐๐๐ ๐๐
๐๐๐๐ ๐ ๐๐ (๐๐)
๐๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐ ๐๐
ตัวอยา งโคลงส่ีสุภาพ
จากมามาล่ิวล้ํา ลาํ บาง
บางยเ่ี รือราพลาง พ่พี รอง
เรอื แผงชวยพานาง เมยี งมา น มานา
บางบร ับคาํ คลอ ง คลา วนา้ํ ตาคลอ
(นริ าศนรนิ ทร)
84
การเขยี นกลอนสภุ าพ มีหลักการเขยี น ดังนี้
บทหนงึ่ มี 4 วรรคหรอื 2 บาท ๆ ละ 2 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ วรรครอง วรรคสง แตละ
วรรคมี 8 พยางค หรอื 7 หรือ 9 พยางคกไ็ ด
สัมผัส ใชพ ยางคสุดทายของวรรคทห่ี น่ึงสัมผัสกับพยางคท ่ี 3 หรือ 5 ของวรรคที่สองและพยางค
สดุ ทายของวรรคท่สี อง สมั ผัสกบั พยางคสุดทายของวรรคท่สี าม พยางคสดุ ทา ยวรรคทส่ี ามสัมผัสกับพยางค
ที่ 3 หรือ 5 ของวรรคที่สี่ และพยางคสุดทายของวรรคท่ีสี่ สัมผัสกับพยางคสุดทา ยของวรรคที่สองในบท
ตอไป เรียกวา สัมผัสระหวางบท
เสียงวรรณยุกตทีน่ ิยมในการแตง กลอนมีดงั นี้ คอื พยางคส ดุ ทา ยของวรรคที่สองตองใชเ สียงจัตวา
หรือเสียงเอก หรือเสียงโท และพยางคส ุดทา ยของวรรคที่สี่ นิยมใชว รรณยุกตส ามัญ หรือเสียงตรี และ
พยางคน ้ไี มนยิ มใชเสียงวรรณยุกตท ีซ่ ํ้ากบั พยางคส ุดทา ยของวรรคท่สี อง หรอื พยางคส ดุ ทายของวรรคที่สาม
การเขียนจะเกิดประสิทธิภาพอยางแทจ ริงจําเปน อยางย่ิงท่ีผูเรียนจะตอ งมีความรูความเขาใจ
ในงานเขียนทุกประเภท ทั้งงานเขียนท่ีเปน รอยแกว และรอยกรอง โดยเฉพาะอยางย่ิงงานที่เขียนเปน
รอ ยกรองนน้ั ผูเ ขียนตอ งพยายามจดจาํ ฉันทลักษณของรอยกรองแตละชนิดใหถ ูกตอ งแมม ยาํ จงึ จะสามารถ
สอื่ สารกับผูอ่ืนไดอ ยา งสมบรู ณ
85
การเขียนกาพย แบงออกเปน กาพยย านี กาพยฉ บงั กาพยสรุ างคนางค กาพยข บั ไม
(1) กาพยยานี 11 มลี กั ษณะบังคบั ของบทรอ ยกรอง ดังน้ี
คณะ คณะของกาพยย านมี ดี ังน้ี กาพยบทหนึง่ ท่ี 2 บาท บาทท่ี 1 เรียกวา บาทเอก บาทท่ี 2
เรียกวา บาทโท แตล ะบาทมี 2 วรรค คือ วรรคแรกและวรรคหลงั
พยางค พยางคห รือคําในวรรคแรกมี 5 คํา วรรคหลังมี 6 คํา เปนเชนน้ีทั้งบาทเอกและ
บาทโท จึงนับจํานวนไดบาทละ 11 คาํ เลข 11 ซ่ึงเขยี นไวหลงั ช่อื กาพยยานีนน้ั เพ่อื บอกจํานวนคํา
ผังของกาพยย านี 1 บท
สัมผัส มีสัมผัสเสนอระหวางคําสุดทา ยในวรรคหนึ่งไปคําท่ีสามอีกวรรคหน่ึง ดังผังขา งบน
สว นสัมผัสในน้ันยืดหยนุ ได
เสียงวรรณยุกต มขี อ สังเกตเก่ยี วกับการใชเสียงวรรณยุกตในกาพยย านีอยูบ างประการ คือ
1.1 คาํ สุดทา ยของวรรคหลงั ของบาทโท ใชเ สียงวรรณยกุ ตส ามัญและจัตวาสวนใหญ
1.2 ทใ่ี ชคาํ ตายเสยี งตรี หรือเอกก็มีบาง แตไ มคอยพบมากนกั
วชิ าเหมอื นสินคา อันมีคาอยเู มอื งไกล
ตอ งยากลาํ บากไป จงึ จะไดสินคามา
จงต้ังเอากายเจา เปนสาํ เภาอันโสภา
ความเพยี รเปน โยธา แขนซายขวาเปน เสาใบ
น้ิวเปน สายระยาง สองเทาตา งสมอใหญ
ปากเปนนายงานไป อชั ฌาศยั เปน เสบียง
สติเปน หางเสอื ถือทายเรือไวใ หเท่ียง
ถือไวอยาใหเอียง ตดั แลน เลย่ี งขา มคงคา
ปญญาเปนกลอ งแกว สอ งดูแถวแนวหินผา
เจา จงเอาหตู า เปนลา ตาฟง ดลู ม
ข้เี กียจคือปลารา ย จะทาํ ลายใหเรือจม
เอาใจเปนปน คม ยงิ ระดมใหจ มไป
จึงจะไดส ินคามา คอื วิชาอนั พศิ มัย
จงหมนั้ มน่ั หมายใจ อยา ไดค รานการวชิ า
86
2. กาพยฉบงั 16 มลี ักษณะบังคับของบทรอยกรอง ดังนี้
คณะ กาพยฉ บังบทหน่งึ มีเพียง 1 บาท แตม ี 3 วรรค คือ วรรคตน วรรคกลาง และวรรคทา ย
พยางค พยางคหรือคําในวรรคตนมี 6 คํา วรรคกลางมี 4 คาํ วรรคทา ยมี 6 คํา รวมทัง้ บท
มี 16 คํา จึงเขยี นเลข 16 ไวหลงั ชื่อกาพยฉ บัง
ฉบังสบิ หกความหมาย หนึง่ บทเรียงราย
นับไดส ิบหกพยางค เพ่ือเปนแนวทาง
สมั ผัสรดั ตรึง
สมั ผสั ชัดเจนขออาง รอยรัดจดั ทาํ
ใหหนูไดคิดคํานงึ จงจํานาํ ไป
พยางคสุดทา ยวรรคหนงึ่ อ.ภาทิพ ศรสี ุทธิ์ ประพนั ธ
สุดทา ยวรรคสองตอ งจาํ
สดุ ทายวรรคสามงามขาํ
สัมผสั รดั บทตอ ไป
บทหนึง่ กบั สองวอ งไว
เรียงถอยรอ ยกาพยฉบงั
3. กาพยส รุ างคนางค มีลกั ษณะบังคับของบทรอ ยกรอง ดงั นี้
คณะ บทหน่งึ มี 7 วรรค เรยี งได 2 วธิ ีตามผัง ดงั นี้
สรุ างคนางค เจด็ วรรคจกั วาง ใหถูกวธิ ี
วรรคหน่งึ สี่คาํ จงจําไวใ หด ี บทหนงึ่ จึงมี ยี่สิบแปดคาํ
หากแตง ตอไป สมั ผัสตรงไหน จงใหแ มนยาํ
คําทา ยวรรคสาม ติดตามประจํา สมั ผสั กับคํา ทายบทตน แล
อ.ฐาปนีย นาครทรรพ ประพันธ
87
พยางค จํานวนคําในวรรค มีวรรคละ 4 คํา 7 วรรค รวมเปน 28 คํา จึงเขียนเลข 28 ไวหลังช่ือ
กาพยส ุรางคนางค
สมั ผสั
1. มสี ัมผัสบงั คบั หรอื สมั ผัสนอก ดังแสดงไวในผงั
2. เฉพาะหมายเลข (4) เปนสมั ผัสระหวา งบท
3. สัมผัสในยดื หยุนได บางทีก็เปน สัมผัสสระ บางทีก็เปนสัมผัสอักษร บางทีก็ไมม ีสัมผัสในเลย
มุงเอาคาํ ทมี่ ีความหมายเปนใหญ
ฉันท แบงเปน หลายชนิด เชน อินทรวเิ ชยี รฉนั ท ภุชงคประยาตฉันท วชิ ชมุ มาลาฉนั ท มาณวกฉันท
วสันตดิลกฉันท อิทิ ฉันท เปน ตน และยังมีฉันทที่มีผูประดิษฐขึ้นใหมอ ีก เชน สยามมณีฉันท ของ น.ม.ส.
เปนตน
1. อินทรวิเชียรฉนั ท 11
อนิ ทรวิเชยี รฉนั ท 11 มคี วามหมายวา “ฉันท ทีม่ ลี ลี าดจุ สายฟา ของพระอินทร
เปนฉนั ทท นี่ ยิ มแตงกันมากท่ีสดุ มีลกั ษณะและจํานวนคําคลายกับกาพยยานี 11 แตต า งกันเพียงที่วาอินทร
วิเชยี รฉนั ทน้ีมขี อบงั คบั ครุและลหุ
1. อนิ ทรวิเชียรฉนั ท 11 มลี ักษณะบังคบั ของรอ ยกรอง ดังนี้
88
ตัวอยางคาํ ประพนั ธ พศิ เสนสรรี รัว
ยลเนือ้ ก็เนือ้ เตน กร็ ะริกระรวิ ไหว
หติ โอเลอะหลงั่ ไป
ทวั่ รางและท้งั ตวั ระกะรอ ยเพราะรอยหวาย
และหลงั ละลามโล-
เพงผาดอนาถใจ
จาก สามคั คีเภทคําฉันท - ชิต บุรทตั
คณะและพยางค อนิ ทรวเิ ชยี รฉนั ท บทหนึ่งมี 2 บาท เรียกบาทเอกและบาทโท แตล ะบาท
มี 2 วรรค วรรคแรกมี 5 คาํ วรรคหลังมี 6 คาํ รวมเปน 11 คาํ ในแตล ะบาทเทา กบั กาพยย านี
สัมผสั บังคับสัมผัส 3 แหง คือ
1. คาํ สดุ ทา ยของวรรคแรกในบาทเอก สัมผสั กับคาํ ท่ี 3 ในวรรคหลงั
2. คําสุดทายของวรรคหลังในบาทเอก สัมผัส กบั คาํ สดุ ทายในวรรคแรกของบาทโท
3. คําสุดทายของวรรคหลังในบาทโท สัมผัสกับคําสุดทา ยในวรรคหลังของบาทเอกของฉันท
บทตอ ไป
คร-ุ ลหุ มีการเรียง ครุ ลหุ ตามท่ีเขียนไวในแผน ถา จะดูเฉพาะลหุก็จะเห็นไดว าอยูที่คําท่ี 3 ของ
วรรคแรกและคําท่ี 1,2,4 ของวรรคหลงั เปนเชนนที้ กุ วรรคไป แตละบาทจะมีครุ 7 ลหุ 4 อยูในตําแหนงที่
แนนอนไมเ ปลย่ี นแปลง
2. ภชุ งคประยาตฉนั ท 12 มลี ักษณะบงั คบั ของรอยกรอง ดังน้ี
ภุชงประยาต หรือ ภุชงคปยาต “ภุชงค” แปลวา งู หรือ นาค “ประยาต” แปลวาอาการ
หรอื อาการเล้อื ยของงู ภชุ งคประยาต จึงแปลวา ฉันททม่ี ลี ีลางดงามประดุจอาการเลื้อยของงู
ผงั ภมู ิ
ตัวอยาง นรินทรไทยมทิ อถอน
มนัสไทยประณตไท มิพ่ึงบารมีบญุ
บรุ ุษนําอนงคห นนุ
มิผกู รกั มภิ ักดบ์ิ ร ประจญรว มประจัญบาญ
ถลันจว งทะลวงจ้ํา
ฉันทยอเกียรตชิ าวนครราชสีมา
บุรษุ รุกอนงคร ุน
89
คณะและพยางค ภุชงคประยาฉนั ท บทหนึง่ มี 2 บาท แตล ะบาทมี 2 วรรค วรรคแรกและ
วรรคหลังมจี าํ นวนคาํ เทากนั คอื มวี รรคละ 6 คํา รวม 2 วรรค เปน 12 คาํ มากกวา อินทรวเิ ชยี รฉันท
เพียง 1 คําเทาน้นั สัมผัสบงั คบั เหมือนอินทรวเิ ชยี รฉนั ท แตกาํ หนดครุ ลหุ ตา งกันไปเล็กนอ ย
สมั ผสั บงั คับสมั ผสั ตามผงั ดังท่ีโยงไวใ หด ู จงึ เห็นไดว า บงั คบั สมั ผสั เหมอื นอนิ ทรวิเชียรฉนั ท บางแหง
กวอี าจใชสมั ผสั อักษรได
คร-ุ ลหุ มกี ารเขียน ครุ ลหุ ตามทเ่ี ขียนไวในผัง ถา จะดูเฉพาะ ลหุ ก็จะเห็นไดวา อยูท ่ีคําที่ 1 และ
คาํ ท่ี 4 ทกุ วรรค และเปน ระเบียบเชนนีไ้ มเ ปลี่ยนแปลง
5. รา ย แบงเปน รา ยโบราณ รา ยสุภาพ รา ยดั้นและรายยาว รา ยยาวที่เรารูจักดี คือ รา ยยาว
มหาเวสสันดรชาดก
รายยาว คือ รายไมมีกําหนดจํานวนคําในวรรคหนึ่ง ๆ วรรคทุกวรรคในรายอาจมีจํานวนคํา
แตกตางกัน คอื มากบางนอ ยบา ง ใชแตงขน้ึ เปน บทเทศน เชน รายยาวมหาเวสสันดรชาดกเปนตนและราย
ชนดิ น้ี ไมตองอาศยั คาํ ประพันธช นิดอืน่ เรื่องใดประพันธเ ปนรายยาว กใ็ หเ ปนรายยาวตลอดทั้งเร่อื ง
ตัวอยาง อถ มหาสตฺโต ปางน้ันสมเด็จพระเวสสันดรอดุลดวงกษัตริย ตรัสทอดพระเนตรเห็น
พระอัครเรสถงึ วิสัญญีภาพสลบลงวันนัน้ พระทัยทาวเธอสําคัญวาพระนางเธอวางวาย จัดเอาวารีมาโสรจ
สรงลงท่ีพระอุระพระมัทรี หวังวาจะใหชุมช่ืนฟนสมปฤดีคืนมา แหงนางพระยาน้ันแล (รายยาวมหา
เวสสนั ดรชาดก กัณฑม ทั รี)
บญั ญัตริ ายยาว
คณะ คําในวรรคหนง่ึ ๆ ไมจ ํากัดจํานวนแนน อน วรรคหนึ่งจะมีก่คี ํากไ็ ด
สัมผสั คําสดุ ทา ยวรรคหนา สงสมั ผสั ไปยังคาํ ใดคําหน่ึงในวรรคตอไปและสงรับกันเชนนี้ตลอดไป
จนจบราย
คําสรอย สดุ ทา ยบทรา ยยาว ลงดวยคําสรอย เชน นน้ั เถดิ นน้ั แล น้ีเถดิ เปน ตน
คณะและพยางค รา ยสภุ าพบทหนงึ่ ๆ มตี งั้ แต 5 วรรคขนึ้ ไป แตล ะวรรคมคี าํ 5 คํา จะแตง สกั
กวี่ รรคกไ็ ด แตตอนตบตอ งจบดวยโคลงสอง
สัมผัส มีสัมผัสสงทายวรรค และมีสัมผัสรับเปนเสียงวรรณยุกตเดียวกันตรงคําที่ 1-2-3 คําใด
คาํ หน่ึงจนถึงตอนทาย พอจะจบก็สงสัมผัสไปยังบาทตนของโครงสองสุภาพตอ จากน้ันก็บังคับสัมผัสตาม
แบบของโคลงสองสภุ าพ จึงถอื วาครบรา ยแตล ะบท สวนสมั ผสั ในนัน้ ไมบ ังคับ
90
คาํ เอก-คาํ โท มบี งั คับคําเอก คาํ โท เฉพาะทโี่ คลงสองสุภาพตอนทา ยบทเทาน้ัน
คณะและพยางค รา ยสภุ าพบทหนึง่ ๆ มีตง้ั แต 5 วรรคขึ้นไป แตล ะวรรคมคี ํา 5 คํา จะแตง สกั กี่
วรรคกไ็ ด แตตอนจบตอ งจบดว ยโคลงสอง
สัมผัส มีสมั ผัสสงทา ยวรรค และมสี มั ผสั รบั เปนเสยี งวรรณยกุ ตเ ดยี วกนั ตรงคาํ ที่ 1-2-3 คาํ ใด
คําหน่ึงจนถึงตอนทาย พอจะจบก็สง สัมผัสไปยังบาทตนของโคลงสองสุภาพตอ จากน้ันก็บังคับสัมผัส
ตามแบบของโคลงสองสภุ าพ จงึ ถือวา ครบรา ยแตล ะบท สวนสัมผัสในนัน้ ไมบ งั คับ
คาํ เอก-คําโท มีบงั คบั คําเอก คําโท เฉพาะทโี่ คลงสองสภุ าพตอนทายบทเทานั้น
คําสรอ ย รางสุภาพแตล ะบท มีคําสรอ ยไดเ พียง 2 คํา คือ สองคําสุดทายของบทตอจาก
คาํ สุดทา ยของโครงสองสภุ าพ
ตวั อยางรายสภุ าพ
ขาเกา รายอยา เอา อยา รกั เหากวาผม อยา รกั ลมกวานํา้
อยา รักถาํ้ กวา เรือน อยารักเดือนกวาตะวัน สบสงิ่ สรรพโอวาท
ผเู ปน ปราชญพงึ สดบั ตรบั ตรองปฏบิ ตั ิ โดยอรรถอันถอ งถวน (โคลงสอง)
แถลงเลศเหตุเลอื กลว น เลิศอางทางธรรม แลนา ฯ
(สภุ าษติ พระรวง)
91
เร่ืองท่ี 3 มารยาทและนิสัยรักการเขียน
มารยาทในการเขยี น
1. ไมควรเขยี นโดยปราศจากความรเู ก่ียวกับเรอ่ื งนั้น ๆ เพราะอาจเกิดความผดิ พลาด
หากจะเขียนกค็ วรศึกษาคน ควา ใหเ กิดความพรอ มเสยี กอน
2. ไมเ ขยี นเรอ่ื งท่สี งผลกระทบตอความม่ันคงของชาตหิ รือสถาบนั เบอื้ งสูง
3. ไมเ ขยี นเพ่ือมงุ เนน ทาํ ลายผอู ่ืน หรอื เพ่อื สรางผลประโยชนใ หแ กต น พวกพองตน
4. ไมเ ขยี นโดยใชอารมณสว นตัวเปนบรรทัดฐาน
5. ตองบอกแหลง ที่มาของขอมลู เดิมเสมอ เพ่อื ใหเกยี รตเิ จา ของขอมลู นน้ั ๆ
การสรา งนิสยั รกั การเขยี น
ในการเริม่ ตนของการเขียนอะไรก็ตาม ผูเ ขียนจะเขียนไมออกถาไมต ั้งเปาหมายในการเขียน
ไวล วงหนา วา จะเขยี นอะไร เขียนทําไม เพราะการเขียนเร่ือยเปอ ยไมท ําใหงานเขียนนาอา นและถา ทําใหงาน
ชน้ิ นนั้ ไมมีคุณคา เทาท่ีควร งานเขียนท่ีมีคุณคาคือ งานเขียนอยา งมีจุดหมาย มีขอ มูลขา วสารไรพ รมแดน
ดังเชนในปจ จุบัน การมขี อ มูลมากยอมทาํ ใหเ ปน ผไู ดเปรียบผอู นื่ เปนอันมาก เพราะยุคปจ จุบันเปน ยุคแหง
การแขง ขันกันในทุกทางโดยเฉพาะในทางเศรษฐกิจ ใครมีขอ มูลมากจะเปน ผูไดเ ปรียบคูแ ขง ขันอื่น ๆ
เพราะการนําขอมูลมาใชป ระโยชนไ ดเร็วกวา นั้นเอง การหม่ันแสวงหาความรูเ พื่อสะสมขอมูลตาง ๆ ให
ตัวเองมาก ๆ จึงเปน ความไดเปรียบ และควรกระทําใหเ ปนนิสัยติดตัวไป เพราะการกระทําใด ๆ ถาทํา
บอ ย ๆ ทาํ เปนประจําในวันหนง่ึ ก็จะกลายเปน นสิ ยั และความเคยชนิ ที่ตอ งทาํ ตอ ไป
การคน ควารวบรวมขอมลู เปน กิจกรรมทจ่ี ะทาํ ใหเกดิ ความสนกุ สนานทางวชิ าการ เพราะย่งิ คนควา
ก็จะยิ่งทําส่ิงท่ีนา สนใจมากขึ้น ผูท่ีฝก ตนใหเ ปน ผูใครร ู ใครเรียน ชอบแสวงหาความรูจ ะมีความสุขมาก
เมือ่ ไดศกึ ษาคนควาและไดพ บสิ่งแปลก ๆ ใหม ๆ ในภาษาไทย หรอื ในความรูแขนงอ่นื ๆ บางคน เมือ่ คน ควา
แลวจะรวบรวมไวอ ยา งเปนระบบ
สรุป
การสรา งนิสยั รักการเขียนและการศึกษาคน ควาตองเร่ิมจากเปน ผหู มั่นแสวงหาความรู มใี จรัก
ท่จี ะเขยี น เห็นประโยชนการเขียนและหมั่นฝก ฝนการเขยี นบอ ย ๆ
กิจกรรมท่ี 1
ใหผูเ รยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี
1. การเขียนอะไร มคี วามสาํ คัญอยางไร
2. การจะเขียนเพอ่ื สงสารไดด ีจะตองทาํ อยา งไร