The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุป 5บท กระเป๋า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สรุป 5บท กระเป๋า

สรุป 5บท กระเป๋า

สรปุ ผลกำรจัดกิจกรรม

โครงกำรศูนย์ฝึกอำชีพชุมชน

รปู แบบชน้ั เรียนวิชำชพี

วชิ ำกำรประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จำกวัสดุเหลือใช้

จำนวน 40 ชว่ั โมง
ระหว่ำงวนั ท่ี 20 – 30 ธนั วำคม 2564

ณ กศน.ตำบลหมอนนำง หมทู่ ี่ 6
ตำบลหมอนนำง อำเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบุรี

กศน.ตำบลหมอนนำง

ศนู ยก์ ำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอพนัสนคิ ม
สำนักงำน กศน.จังหวัดชลบรุ ี กระทรวงศึกษำธิกำร



คำนำ

กศน.ตำบลหมอนนาง สังกัดศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ได้จัดทำ
สรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ วิชาการประดิษฐ์
ผลติ ภณั ฑ์จากวัสดุเหลอื ใช้ จำนวน 40 ชั่วโมง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใหป้ ระชาชนเห็นช่องทางในการประกอบอาชพี มอี าชีพ
มีรายได้ และลดรายจ่าย ซ่ึงมีการสรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพดังกล่าวเพื่อต้องการทราบว่าการดำเนิน
โครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่ บรรลุในระดับใดและได้จัดทำเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษา
เพ่อื พฒั นาอาชีพรายงานต่อผู้บริหาร ผ้เู กย่ี วข้องเพื่อนำข้อมูลไปใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนาการดำเนินกจิ กรรมให้ดยี ิ่งขึ้น

ผ้จู ดั ทำ ขอขอบคณุ ผ้อู ำนวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม
ท่ใี ห้คำแนะนำ คำปรกึ ษา ในการจัดทำสรปุ ผลการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นาอาชีพในคร้งั นี้

หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อ
ผปู้ ฏิบตั ิงานและหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยตอ่ ไป

จนั ทร์ทิพย์ บรรดาศักดิ์
ครู กศน.ตำบล
มกราคม 2565

สารบัญ ข

หัวเรอ่ื ง หนา้
คำนำ ก
สารบัญ ข
สารบญั ตาราง ค
บทที่ 1 บทนำ
1
- หลักการและเหตผุ ล 2
- วัตถปุ ระสงค์ 1
- เปา้ หมายการดำเนินงาน 2
- ผลลัพธ์ 2
- ตวั ชีว้ ัดผลสำเร็จของโครงการ
บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและงานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วข้อง 3
- กรอบการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่อื พัฒนาอาชพี 3
- เอกสาร/งานทเ่ี กยี่ วข้อง 11
บทที่ 3 วิธีดำเนินงาน 14
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 19
บทที่ 5 อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
- แผนการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ
- ขออนุญาตจดั การศกึ ษาต่อเน่ืองรปู แบบกล่มุ สนใจ
- คำสงั่ แต่งต้ังวิทยากร
- รายงานผลการจัดกิจกรรม
- แบบประเมนิ ผ้รู บั บริการ
คณะผูจ้ ดั ทำ

สารบญั ตาราง ค

ตารางที่ หน้า

1. ผู้เข้ารว่ มโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามเพศ 9
2. ผู้เข้าร่วมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอายุ 9
3. ผู้เขา้ ร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอาชพี 10
4. ผู้เข้ารว่ มโครงการทตี่ อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามระดับการศึกษา 11
5. แสดงค่ารอ้ ยละเฉล่ยี ความสำเร็จของตวั ช้วี ัด ผลผลิต ประชาชนท่วั ไป 11
6. ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ในภาพรวม 11
7. ค่าเฉลยี่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ดา้ นบริหารจัดการ 11
8. คา่ เฉลี่ยและสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 12
9. ค่าเฉลย่ี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ดา้ นประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ 13

1

บทท่ี 1
บทนำ

หลักการและเหตุผล
สถานการณ์และสภาวะแวดล้อมของเศรษฐกิจโลกท่ีเปล่ียนแปลงไปอยา่ งมีนยั สำคัญ ภายใต้สภาวการณ์

ทางเศรษฐกิจดังทกี่ ล่าวมานี้ ทกุ รัฐบาลท่ผี ่านมาจงึ ได้ใหค้ วามสำคัญตอ่ การพฒั นาประเทศในด้านเศรษฐกิจเปน็ กรณีพิเศษ
จุดมุ่งหมายของนโยบายของรัฐบาลได้มุ่งไปที่การพัฒนาทางเศรษฐกิจเป็นสำคัญ คือ มุ่งนำประเทศไทยไปสู่โครงสร้าง
เศรษฐกจิ ท่สี มดลุ มคี วามเขม้ แข็งของเศรษฐกจิ ภายในประเทศมากข้ึน ซึง่ จะเป็นพ้นื ฐานทีส่ ำคัญของการสรา้ งการเติบโต
อย่างมีคุณภาพและยั่งยืน และสามารถตอบสนองรองรับต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของประชาคมอาเซียนได้อย่าง
สมบูรณ์ โดยสร้างความพร้อมและความเข้มแข็งทางด้านเศรษฐกจิ สงั คมและวฒั นธรรม รวมทงั้ การเมืองและความม่ันคง
ท้ังนี้ ได้กำหนดนโยบายเพ่ือตอบสนองจุดมุ่งหมายดังกล่าวท่ีสำคัญประการหนึ่ง คือ การเสริมสร้างกระบวนการสร้าง
อาชพี สรา้ งงานที่มคี ุณภาพและมีรายได้สูงให้แก่ประชาชนอย่างท่ัวถึงเป็นระบบในทกุ ระดับช้ันความรู้ สำหรบั รัฐบาลชุด
ปัจจุบันได้มีการแถลงนโยบายท่ีจะให้มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ ให้ความสำคัญทั้งการศึกษาในระบบและ
การศึกษาทางเลือกไปพร้อมกัน เน้นการเรียนรู้เพ่ือสร้างสัมมาชีพในพ้ืนที่ พัฒนากำลังคนให้เป็นท่ีต้องการ เหมาะสมกับ
พื้นท่ี ท้ังในด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และธุรกิจบริการ จัดระบบการสนับสนุนให้เยาวชนและประชาชนทั่วไปมีสิทธิ
เลือกรับบริการทางการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน รวมทั้งมีนโยบายในการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม
และการเร่งสร้างโอกาสอาชีพ และการมีรายได้ที่ม่ันคงแก่ผู้ที่เข้าสู่ตลาดแรงงาน โดยให้แรงงานทั้งระบบ มีโอกาสเข้าถึง
การเรยี นรู้ และพัฒนาทกั ษะฝีมือแรงงานในทุกระดับอย่างมีมาตรฐาน

ในส่วนของกระทรวงศึกษาธิการได้ขานรับต่อนโยบายของรัฐบาลดงั กล่าว ด้วยการกำหนดภารกิจในการ
ท่ีจะเพิม่ และกระจายโอกาสทางการศึกษาให้แก่ประชาชนอยา่ งเทา่ เทียม ยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยปฏริ ูปหลักสูตร
การเรยี นการสอน ปฏิรปู ครู รวมทงั้ การเพ่ิมศักยภาพการแขง่ ขันของประเทศ โดยเน้นผลิตและพัฒนากำลังคนระดบั กลาง
และระดบั สูงท่ีมีคุณภาพ เป็นต้น เพือ่ เป็นการตอบสนองตอ่ นโยบายของรฐั บาลและกระทรวงศึกษาธิการดงั ทก่ี ล่าวมาแล้ว
ข้างต้น

ในปี 2565 สำนักงาน กศน. จึงได้นำนโยบายดังกล่าวสู่การปฏิบัติ ด้วยการให้สำนักงาน กศน.จังหวัด/
กทม. และสถานศึกษา กศน. ดำเนินการสานต่อการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพของโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดย
อาจเป็นการจัดฝึกอาชีพในรูปแบบกลุ่มสนใจ หรือรปู แบบกลุม่ สนใจ ซึ่งอาจเป็นชั้นเรียนระยะสั้นหรือชั้นเรียนระยะยาว
ในวิชาต่างๆ และการจัดฝึกอาชพี ให้กับผู้ทต่ี ้องการต่อยอดอาชีพเดิม เพื่อใหส้ อดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน
และส่งเสรมิ การใชร้ ะบบเทคโนโลยีเพือ่ การพัฒนาอาชีพ ในอันทจี่ ะประกอบอาชีพทสี่ รา้ งรายไดไ้ ด้จรงิ

จากเหตุผลข้างต้น กศน.ตำบลหมอนนางเป็นฐานการจัดกิจกรรมให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่
บริการ โดยมีความเช่ือม่ันว่าโครงการดังกล่าวจะสามารถช่วยให้ประชาชนระดับฐานรากท่ียังว่างงาน หรือมีรายได้น้อย
หรือขาดโอกาสในการเพ่ิมรายได้ ได้เห็นช่องทางในการประกอบอาชีพ มีโอกาสที่จะมีอาชีพ สามารถที่จะมีรายได้
ลดรายจ่าย ซ่ึงอาจทำได้ด้วยการสร้างอาชีพใหม่ พัฒนาต่อยอดอาชีพเดิม หรือทำเป็นอาชีพเสริม ซึ่งจะทำให้ประชาชน

2

สามารถดำรงชีวิตอย่ไู ด้อย่างมีความสขุ จงึ ได้จัดการศึกษาตอ่ เน่อื ง “โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบช้นั เรยี นวิชาชีพ
วชิ าการประดิษฐผ์ ลิตภัณฑจ์ ากวสั ดุเหลือใช้ จำนวน 40 ชวั่ โมง” ขนึ้
วัตถปุ ระสงค์

1. เพ่อื ใหป้ ระชาชนเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพได้
2. เพอ่ื ให้ประชาชนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชพี และสร้างรายได้ได้จริงเพื่อเป็นการเพิม่ รายได้
ให้กับครอบครัว
เปา้ หมาย (Outputs)
เป้าหมายเชิงปรมิ าณ
ประชาชนตำบลหมอนนาง จำนวน 12 คน
เป้าหมายเชิงคุณภาพ
1. เพื่อให้ประชาชนเหน็ ชอ่ งทางในการประกอบอาชพี ได้
2. เพือ่ ให้ประชาชนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชพี และสร้างรายได้ได้จริงเพอื่ เป็นการเพมิ่ รายได้
ใหก้ บั ครอบครวั
ผลลัพธ์
ประชาชนเหน็ ช่องทางในการประกอบอาชีพได้และสามารถนำความรู้ไปใชใ้ นการประกอบอาชีพและสร้างรายได้
ได้จรงิ เพื่อเปน็ การเพ่ิมรายได้ใหก้ บั ครอบครวั
ดชั นีช้ีวดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ
ตวั ชว้ี ดั ผลผลติ (Outputs)

- ประชาชนตำบลหมอนนางเขา้ ร่วมโครงการไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80
ตัวชี้วัดผลลพั ธ์ (Outcomes)

- ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมเห็นชอ่ งทางในการประกอบอาชีพได้
- ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารว่ มกิจกรรมสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชพี และสร้างรายได้ได้จริง
เพือ่ เป็นการเพิ่มรายได้ให้กบั ครอบครัว

3

บทที่ 2
เอกสารการศกึ ษาและงานวิจัยทีเ่ กยี่ วข้อง
ในการจัดทำสรปุ รายงานผล “โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน รูปแบบชนั้ เรียนวชิ าชพี วชิ าการประดิษฐผ์ ลิตภัณฑ์
จากวัสดเุ หลือใช้ จำนวน 40 ช่ัวโมง” คร้งั นี้ ผู้จัดทำโครงการได้ทำการค้นคว้าเนือ้ หาเอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ัยท่ี
เก่ยี วข้อง ดังนี้
1. กรอบการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชพี
2. เอกสาร/งานวิจยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง
1. กรอบการจดั กิจกรรมการศึกษาเพ่อื พัฒนาอาชพี
ภารกจิ ต่อเน่ือง
1. ด้านการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้
1.3 การศกึ ษาตอ่ เน่ือง
1) จดั การศึกษาอาชพี เพื่อการมงี านทำอย่างย่ังยนื โดยใหค้ วามสำคญั กับการจัดการศึกษาอาชพี เพ่ือการ
มีงานทำในกลุ่มอาชพี เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการบริการรวมถึงการ
เน้นอาชีพช่างพืน้ ฐาน ท่สี อดคลอ้ งกับศกั ยภาพของผ้เู รียน ความต้องการและศักยภาพของแตล่ ะพนื้ ทม่ี ีคุณภาพได้
มาตรฐานเป็นที่ยอมรบั สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพฒั นาประเทศ ตลอดจนสรา้ งความเข้มแข็ง
ให้กบั ศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน โดยจดั ให้มหี นง่ึ อาชีพเดน่ รวมทั้งให้มกี ารกำกับ ติดตาม และรายงานผลการจดั การศึกษา
อาชีพเพ่ือการมงี านทำอยา่ งเป็นระบบและตอ่ เนื่อง
2. เอกสาร/งานวิจัยทเ่ี กี่ยวข้อง
งานประดิษฐ์ หมายถึง งานท่ีเกิดจากการใช้ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์สร้างหรือประดิษฐ์ขึ้นตาม
วตั ถุประสงค์ทห่ี ลากหลาย หรือเพือ่ ความสวยงาม หรอื ประดบั ตกแต่งหรือเพอื่ ประโยชนใ์ ช้สอย
ความเป็นมาของงานประดิษฐ์ สิง่ ประดิษฐเ์ กดิ ขึ้นเพราะมนุษยเ์ ป็นผู้สรา้ งผู้พัฒนา ปรับปรุง และเปล่ยี นแปลงแบบ ผลงาน
ด้วยความคิดสร้างสรรค์ท่ีมีอยู่ในแต่ละบุคคล มีวัตถุประสงค์ในการสร้างส่ิงประดิษฐ์เพื่อตอบสนอง ความต้องการด้าน
ประโยชน์ใช้สอย งานประดิษฐ์มีความสัมพันธ์และเก่ียวข้องกับชีวิตประจำวันของคนไทยตั้งแต่สมัยโบราณ เกี่ยวข้องกับ
ขนบธรรมเนยี มและประเพณที างศาสนา
หลักการสร้างสรรค์งานประดิษฐ์ การสร้างสรรค์งานประดิษฐ์ให้ประดิษฐ์ให้ประสบผลสำเร็จนั้น ผู้เรียนต้องมีความพึง
พอใจ ในการทำงาน โดยยดึ หลกั การดังน้ี
1.หม่ันศึกษาหาความรู้ในงานท่ีตนเองสนใจ โดยศึกษาจากผู้เช่ียวชาญการในชุมชนการโรงเรียน จากตัวอย่าง
สงิ่ ประดษิ ฐ์ทีส่ นใจ
2. ศึกษาหลักการ วิธีการ หรือขั้นตอนการปฏิบัติงาน ในการประดิษฐ์ชิ้นงานโดยการวิเคราะห์ ด้วยตนเองหรือ
ศึกษาจากผู้รู้ ผ้เู ช่ยี วชาญ หรอื จากส่อื ตา่ ง ๆ เช่น วารสาร หนังสือ เปน็ ต้น

4

3. ทดลองการปฏิบัติการประดิษฐ์ ผู้เรียนต้องศึกษาค้นคว้าและทดลองปฏิบัติตามแนวคิดที่ได้สร้างสรรค์ไว้ และ
มีการปรบั ปรุงแก้ไข ขอ้ บกพรอ่ งจนสำเรจ็ เป็นชิ้นงานประดิษฐ์ท่ีพึงพอใจ
รไี ซเคลิ ในชวี ติ ประจำวนั

ปัญหาขยะนับเป็นปัญหาใหญ่อย่างหนึ่งที่เรา
ต้องเผชิญในยุคปัจจุบัน ในแต่ละวันมีของเหลือทิ้งเหลือใช้ท่ีเกิด
จากการอุปโภคบริโภคเป็นจำนวนมาก จนดูประหนึ่งว่าสักวัน
อาจจะเกิดการขยะล้นโลกก็เป็นได้ ในแต่ละประเทศมีขั้นตอนใน
การกำจดั ขยะทีแ่ ตกต่างกัน บา้ งฝังกลบ บา้ งเผากำจัด ซ่งึ แต่ละวธิ ี
ก็ส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมท่ีแตกต่างกันได้แทบท้ังสิ้น ย่ิงใน
ขยะท่ีมีสารพิษปลอมปนอยู่อาจจะถึงขั้นไปเช่าพื้นที่ในประเทศ
ด้อยพัฒนา เพื่อฝังกลบขยะกันเลยทีเดียว ขยะบางประเภทก็
สร้างปัญหาให้มนุษย์ และโลกในระยะยาวเพราะไม่สามารถย่อย
สลายลงไดใ้ นระยะเวลาอันรวดเร็วแต่ต้องใช้ เวลานานนับรอ้ ยนับ
พนั ปีเพอื่ การย่อยสลายเช่นพวกพลาสตกิ ต่างๆ

จนกระท่ัง แนวคิดเก่ียวกับการรีไซเคิล (Recycle) และหรือรียูส (Reuse) ได้เกิดข้ึน ซึ่งดูเหมือนว่าจะ
เป็นทางออกในการลดขยะ หรือส่ิงเหลือใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้จะไม่ลดไปถึงข้ันท่ีทำให้การกำจัดขยะเป็นไปได้
อย่างมเี ด็ดขาดแตแ่ นวคดิ นี้กช็ ่วยส่งเสรมิ ใหเ้ กิดขยะใหมล่ ดจำนวนลงไดม้ ากทเี ดียว

กระแสการใช้ทรัพยากรอย่างรู้ค่าเกี่ยวกับการรีไซเคิล-รียูส ต่ืนตัวอย่างเต็มท่ีพร้อมๆกับเร่ืองราวของ
ความน่าสะพรึงกลวั ของสภาวะโลกร้อน ซง่ึ ตน้ ตอปัญหามาจากพฤติกรรมการใชช้ วี ติ ของเราน้นั เอง ดังน้ันนา่ จะเป็นเร่ืองที่
ถูกสำหรับทางออกของสภาวะโลกร้อน ที่เหตุประการแรกคือการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการใช้ทรัพยากรของตัวเราเอง
หลายสิ่งหลายอย่างท่ีเรากินใช้อยู่ในชีวิตประจำวันเราสามารถใช้ให้มีคุณค่า มากกว่าพฤติกรรมเดิมๆท้ังขวดน้ำพลาสติก
กล่องนม บรรจุภัณฑต์ า่ งๆ สามารถนำมารีไซเคิลไดแ้ ทบทัง้ สน้ิ

รี ไซเคิล (Recycle) เป็นการนำเศษวัสดุของเหลือกินเหลือใช้มาแปรรูปใหม่เพ่ือนำกลับมาใช้งานอีก
ครัง้ เปน็ การจัดการวัสดเุ หลอื ใชท้ ีก่ ำลงั จะเป็นขยะ โดยนำไปผา่ นกระบวนการแปรสภาพ และนำกลับมาใชใ้ หม่

ส่วนนิยามของคำว่ารียูส(Reuse)น้ันหมายถึง การนำกลับมาใช้ใหม่โดยไม่ผ่านกระบวนการแปรสภาพ
ใดๆทัง้ ส้นิ

ดงั นั้นท้ังสองวิธกี ารจงึ เป็นกระบวนการทค่ี ล้ายคลึงกันและมเี ปา้ หมายอย่าง เดียวกนั คือการใชท้ รัพยากร
อย่างรู้ค่า ใช้อย่างมีความคิด ในข้ันตอนกระบวนการการรีไซเคิลอาจจะยุ่งยากกว่าในทางกระบวนการที่ต้องมีการ
ปรับปรุงพัฒนา และในวัสดุบางประเภทอาจจะต้องอาศัยงานโรงงานอุตสาหกรรมเป็นหลัก แต่การรียูสน้ันเราสามารถทำ
ได้เองไมต่ ้องผา่ นกระบวนการท่ซี ับซ้อน

5

เร่อื งการรีไซเคลิ หรือรียสู ในชีวติ ประจำวันเปน็ สิ่งท่ีเรารู้กนั ดอี ยแู่ ล้ว แต่บางคร้ังอาจจะหลงลืมกันไปบ้าง
เพราะความเร่งรีบและวิถีชีวิตที่รักความสะดวกสบายกันจนเคยตัว เรามาลองดูวิธีการต่างๆ เพ่ือเตือนความจำกันสัก
หน่อย ว่าของเหลือใช้เหล่าน้ีเราสามารถนำมันไปใช้อะไรได้บ้าง ซ่ึงในชีวิตประจำวันของเราตั้งแต่ต่ืนเช้าจนถึงเข้านอน
เราต้องเก่ียวพันกับของกินของใช้มากมาย ชีวิตของเรายึดโยงอยู่กับส่ิงของเหล่าน้ี ในทุกๆวันมีของเหลือใช้ที่ตกเป็นอันไร้
ประโยชน์เป็นจำนวนมาก เราในฐานะที่เป็นส่วนย่อยที่สุดของสังคม ถือเป็นกลไกหลักในการอนุรักษ์โลกซ่ึงหากเราตั้งใจ
ทำกันอยา่ งจรงิ จังกจ็ ะ สามารถลดปรมิ าณการใช้ทรพั ยากรและลดปัญหาขยะลงได้มากทีเดียว
กระดาษ
อย่างแรกสุดคือกระดาษ ไม่ว่าจะเป็นคนวัยเรียนวัยทำงาน ก็ต้องใช้กระดาษกันท้ังนั้นบ้างพิมพ์รายงานส่งอาจารย์หรือ
ต้องทำรายงานส่ง หัวหน้า หรือแม้กระท่ังคนท่ีอยู่กับบ้านชีวิตก็ยังคงต้องเก่ียวพันกับการใช้กระดาษใน รูปแบบต่างๆ ท้ัง
การอ่านหนังสือพิมพ์-นิตยสาร หรือกล่องบรรจุภัณฑ์ของสินค้าประเภทต่างๆ ซองจดหมาย ใบปลิว ใบโฆษณา จิปาถะ
ลว้ นแต่ทำมาจากกระดาษโดยสว่ นใหญ่เศษกระดาษเหล่านเี้ ม่ือไมไ่ ดใ้ ช้งาน เราก็ท้ิงมันไปอย่างไมแ่ ยแส

เราสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้กระดาษได้ง่ายๆ โดยใช้กระดาษให้คุ้มค่าที่สุด ในกรณีกระดาษท่ีมีพ้ืนท่ีใน
การใช้งานเหลือก็สามารถเก็บไว้ใช้เป็นกระดาษทด หรือนำไปปร๊ินซ์งานท่ีไม่เป็นทางการมากนัก การใช้กระดาษอย่าง
คุ้มค่าจะทำให้เราไม่ต้องตัดต้นไม้จำนวนมากในแต่ละปีเพื่อ นำมาผลิตเยื่อกระดาษ แม้กระทั่งกระดาษทิชชูที่ไปไหนมา
ตอ้ งตอ้ งพกติดตวั กนั เสมอกล็ องเปลี่ยนมาพก ผา้ เชด็ หน้าแทนเผ่ือมุขผา้ เชด็ หน้าหล่นจะกลับมาใช้ไดใ้ หม่ในยุคปัจจบุ นั น้ี

การรีไซเคิลกระดาษ เพื่อนำไปผลิตเป็นเย่ือกระดาษใหม่นั้นสามารถทำได้โดยการกำจัด หมึกท่ีปนเปื้อนออกไป
แลว้ จึงนำไปผลติ เปน็ เยื่อกระดาษใหม่ ซึง่ จำต้องอาศยั ตน้ ทนุ และเย่อื กระดาษท่ีได้ก็มคี ุณภาพทล่ี ดลง
อะลูมิเนียม

พวกเคร่ืองด่ืมกระป๋องต่างๆหรือ อาหารกระป๋องท่ีส่วนใหญ่จะผลิตจากอลูมิเนียม ขยะชนิดนี้ก็สามารถนำมารี
ไซเคิลได้ โดยปรกติแล้วขยะอลูมิเนียมหรือพวกอาหารกระป๋องพวกน้ีสามารถนำไปรีไซเคิลได้ ใหม่ตลอดโดยจะนำไปบด
เป็นช้ินเล็กๆก่อนจะนำกลับมาผลิตเป็นกระป๋องสำหรับบรรจุ อาหารใช้ใหม่อีกครั้ง หรือจะนำไปผลิตเป็นขาเทียมตามที่
เราเห็นกันอย่ใู นโฆษณาจากหน้าจอทวี กี ็ได้
พลาสติก

เป็นขยะอีกประเภทหน่ึงที่มักจะเข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเราเสมอๆ อย่างเช่นขวดน้ำดื่ม หรือ
เคร่ืองดื่มที่บรรจุขวดพลาสติก ถุงพลาสติก ขยะพวกพลาสติกสามารถนำมารีไซเคิลได้ซ่ึงจะขึ้นอยู่กับคุณภาพของ
พลาสติกด้วย วา่ จะสามารถนำไปรีไซเคิลใช้งานในรปู แบบไหน
แก้ว
ขยะพวกน้ี เช่น ขวดเครื่องดมื่ ประเภทต่างๆ ภาชนะจากแก้ว ขยะจากแก้วสามารถนำมารีไซเคิลได้โดยไมท่ ำให้คุณสมบัติ
พ้ืนฐานเปลี่ยนแปลงไป ยังสามารถคงคุณภาพเดิมไว้ได้ ผิดกับพวกพลาสติกท่ีเม่ือผ่านกระบวนการรีไซเคิลแล้วคณุ สมบัติ
การใช้งานจะลด ลง

6

แต่หากเราต้องการขยะจากผลิตภัณฑ์จากแก้วเพ่ือปรับใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันของเราเอง โดยไม่
ต้องผ่านกระบวนการต่างๆ เพ่ือนำไปผลิตใหม่ให้ยุ่งยากซึ่งออกจะดูเป็นเรื่องไกลตัวไปสำหรับเราผู้ใช้งาน เราก็สามารถ
นำมาใช้ประโยชน์ได้หลายทางซึ่งขึ้นอยู่กับไอเดียของแต่ละคน แต่เท่าทีเห็นมา ในพวกขวดกาแฟสามารถนำมาใส่ พวก
เคร่ืองปรุงในครัวเรือนได้ เช่น น้ำตาล เกลือ ผงชูรสต่างๆ ผงซักฟอกหรือจะเอามาทำเป็นกระถางต้นไม้ไว้ปลูกดูเล่นก็ ได้
เชน่ กัน

การใช้นำ้ อย่างร้คู ่า น้ำท่ีเหลือจากการล้างจานในน้ำสุดท้ายท่ีไม่มสี ารเคมี ตกค้างมากนักสามารถ นำมา
ใช้รดน้ำต้นไม้ได้ หรือในวันฝนตก ลองหาตุ่มเล็กๆหรือกะละมังมารองน้ำฝนดูในชนบทยังมีบางทีบางแห่งท่ี ยังนิยมดื่ม
นำ้ ฝนกันอยู่ ในขณะทเ่ี ขตอุตสาหกรรมไม่สามารถนำน้ำฝนมาบริโภคได้ เน่อื งจากอาจจะมีสารตกคา้ งจากชั้นบรรยากาศ

การสร้างอุปนิสัยใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าตามความจำเป็นก็เป็นอีกวิธีหน่ึงที่ช่วยประหยัดพลังงานได้ ไฟดวง
ไหนไมใ่ ชง้ าน โทรทศั น์วิทยทุ ่ีไมไ่ ด้ดไู ดฟ้ ังกป็ ดิ นอกจากจะช่วยประหยัดพลังงานแล้วคา่ ไฟกล็ ดลงดว้ ย

แต่หากใครขเี้ กียจย่งุ ยากเกี่ยวกับขยะอยากใชแ้ ล้วทิ้งไปเก็บไว้กร็ กบ้านลอง ทำการแยกขยะดูเพราะการ
แยกขยะจะสามารถช่วยได้มากในขบวนการรีไซเคิลการแยกขยะ ท่ีเป็นระเบียบเรียบร้อยจะทำใหส้ ามารถนำไปรีไซเคลิ ได้
ทันทีโดยไม่ต้องเสีย เวลาและค่าใช้จ่ายในการแยกขยะใหม่อีกครั้ง แต่ในความเป็นจริงแล้วการแยกขยะในบ้านเราดู
เหมือนจะยังไม่ใส่ใจกันเท่าทีควร ทั้งภาครัฐและในประชาชนเอง มิหนำซ้ำบางทีพนักงานของกทม.ก็จับยัดรวมลงถุง
เดยี วกันอยู่ดี

อีกวิธีที่ถือว่าเป็นทางออกสำหรับขยะรีไซเคิลคือ การเก็บไว้ขายให้กับพวกบรรดาซาเล้งท่ีรับซื้อก็น่าจะ
สร้างรายได้เสรมิ ได้ดีพอสมควร ใคร จะคิดว่าในปจั จุบันน้ี ขยะต่างๆเหล่านกี้ ลบั กลายเป็นของมีราคา โดยมีมูลค่ารวมของ
ของเหลือใช้จำพวกขวดพลาสติกอลูมิเนียมเหล่านี้รวมกันแล้ว กว่าหลักพันล้านบาทต่อปี จึงไม่น่าแปลกใจที่มีร้านรับช้ือ
ของเก่ารีไซเคิลมีอยู่มากมายท่ัวมุมเมือง เมื่อซาเล้งนำไปขายให้กับร้านที่รับซ้ือ พ่อค้าท่ีรับซ้ือก็จะนำไปขายให้โรงงาน
อตุ สาหกรรมซึ่งจะเอาไปรไี ซเคลิ เพ่ือนำ มาใชใ้ หมอ่ กี ทอี ยูด่ ี

ขยะจากครัวเรือนสร้างรายได้ต่อปีประมาณเกือบ 3 พันบาทเลยทีเดียวโดยราคาของเหลือใช้พวกนี้จะ
แตกต่างกันไปตามประเภท ราคามีต้ังแต่กิโลละสลึงจนถงึ ข้ันว่ากันทกี่ ิโลละร้อยเลยกม็ ี เชน่ ทองแดง NO.1 เส้นใหญ่ปอก
สวย ราคาอยทู่ กี โิ ลละ 102 บาทจะวา่ ไปราคาประมาณเดียวกบั เนือ้ วัว-เน้ือหมู 1 กิโลกรมั เลยทเี ดยี ว

ขยะไม่ใช่ของไร้ค่าโดยส้ินเชิงอีกต่อไป สามารถนำมาประยุกต์ใช้ ได้หลากหลายรปู แบบแล้วแต่ไอเดียของแต่ละคน หรือ
อย่างนอ้ ยที่สดุ ก็สามารถนำไปขายได้ราคาดี เฉพาะในกรุงเทพฯ ในแตล่ ะวันมีขยะท่ีสามารถนำมารีไซเคลิ ได้ถึง 9,500 ตัน
เลยทีเดยี ว ทั้งนี้มีการนำกลับมาขายให้ร้านรับซื้อของเก่าเพียงแค่วันละ 4,060 ตัน คิดเป็นมลู ค่าสูงถงึ 19.6 ล้านบาทเลย
ทีเดียวในขณะที อีกเกือบ 5,500 ตันก็ถูกทิ้งไปโดยเปล่าประโยชน์ และเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะท่ีต้องเสียท้ัง
งบประมาณในการกำจัดและก่อในเกดิ มลพษิ กบั สิ่งแวดลอ้ ม

เร่ืองเหล่านี่ มันเป็นเร่ืองท่ีเราพบเจออยู่ทุกวัน และเราก็ทราบกันดีอยู่แล้วว่า สิ่งต่างๆสามารถนำมาใช้
ประโยชน์ได้อีกแต่บ้างครั้งเราอาจจะหลงลืม และไม่ได้ใส่ใจเท่าทีควรจึงทำให้ปริมาณขยะต่างๆ และการอุปโภคปริโภค

7

ของเรายังคงเต็มไปด้วยต้นทุนที่เราต้องจ่ายจากสิ่งแวดล้อม แม้มันอาจจะยังไม่ส่งผลกระทบที่เลวรา้ ยในคนรุ่นเราแต่ใคร
จะรู้ในระยะยาวมัน อาจจะส่งผลกระทบที่หนักหนาสาหัสกว่านี้หลายเท่านักอย่างกรณีของน้ำฝนท่ีไม่ สามารถใช้อุปโภค
ได้อกี ตอ่ ไปแล้วในเขตอุตสาหกรรมเปน็ ตวั อย่างที่เห็นได้ ชดั เจน

การรีไซเคิล-รียูสถือเป็นการกระตุกกระตุ้นจิตสำนึกในการใช้ทรพั ยากรและรักษาส่ิงแวดล้อมอยู่ร่วมกัน
ในธรรมชาติโดย ถ้อยทีถ้อยอาศัยและเราในฐานะของปัจเจกชนผู้เป็นส่วนย่อยท่ีสุดในสังคมถือได้ ว่าเป็นจุดเร่ิมที่สำคัญ
ของกระบวนการ เริม่ กันเสียตั้งแตว่ นั น้ี แลว้ จะรู้วา่ มนุษยเ์ ราสามารถทำได้มากกว่าการใช้แล้วท้งิ

ท่มี าและความสำคญั ของส่งิ ประดิษฐ์
ในปัจจุบันโลกของเราพัฒนาไปอย่างรวดเร็วมาก พร้อมกันน้ันโลกของเราก็เปลี่ยนแปลงไปเช่นกัน โลกร้อนขึ้น

เพราะมนุษย์ใช้ทรพั ยากรอย่างสิ้นเปลืองไมค่ ำนึงถึงว่าทรัพยากรจะหมดหรอื สญู หายไปจากโลกนี้ กลุ่มของพวกเราจึงคิด
ประดิษฐ์สิ่งของเหลือใช้จากวัสดุเหลือใช้ เช่นกระป๋องเบียร์ ขวดพลาสติก นำส่ิงที่พวกเราหลายคนๆคิดว่าเป็นขยะมาทำ
เป็นของที่น่าสนใจขึ้นมา โครงงานช้ินนี้ยังเดินตามรอยพ่อหลวงของเราน่ันคือเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นเป็นเศรษฐกิจ
พอเพียงท่ีผสมผสานหลายสิ่งหลายอย่างเข้าด้วยกัน เป็นการบูรนาการเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับเรื่องของภาวะโลก
รอ้ น การสร้างสรรค์ผลงานประดิษฐ์จากเศษวัสดุท่ีย่อยสลายยาก จากวัสดุเหลือใช้ประเภทพลาสติก ซึ่งเป็นของเหลือใช้
หรือขยะท่ีมีอยู่ทุกที่ ซ่ึงนับวันปริมาณจะเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆดังน้ันการประดิษฐ์จากเศษวัสดุที่ย่อยสลายยากจากขยะประเภท
พลาสติก จึงเป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยลดปริมาณขยะและนำของเหลือใช้นี้มาใช้หรือดัดแปลงให้เกิดประโยชน์ได้ โดยนำมา
ประดิษฐ์เป็นของเล่น ของประดับตกแต่ง และของใช้ต่างๆ เพ่ือเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างจิตสำนึกที่ดีต่อ
การรกั ษาส่ิงแวดล้อม อีกทั้งยังเป็นการนำเศษส่งิ ของเหลอื ใช้มาประดิษฐ์เป็นของใช้ของตกแต่งแทนการท้ิงให้สูญเปล่า ซ่ึง
จะมีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในชุมชน และช่วยลดการเกิดภาวะโลกร้อน ขอเชิญชวนพวกเรานักประดิษฐส์ ร้างสรรค์
ทุกท่านช่วยกันนำเศษวัสดุเหลือใช้ หรือวัสดุท่ีเป็นขยะต่างๆ นำมาคิดค้นประดิษฐ์เป็นส่ิงของรูปแบบต่างๆเพื่อช่วยลด
ปริมาณขยะที่ย่อยสลายยากให้ลดลง และลดปริมาณการผลิตสิ่งท่ีเป็นเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อนขึ้น และช่วยกัน
ประชาสัมพันธ์บอกต่อๆกันให้ทราบว่าวัสดุเหลือใช้ เศษวัสดุ และขยะยังมีค่าสามารถนำมาใช้ทำประโยชน์ได้อีกมากมาย
ถ้าเราคิดคน้ สรา้ งสรรคช์ ้ินงานต่างๆ ใหส้ วยงามและคงคุณค่าไวไ้ ดแ้ ละทีส่ ำคัญเพื่อเปน็ การชว่ ยลดภาวะโลกรอ้ น

ประเภทของงานประดิษฐ์
1. งานประดิษฐท์ ีเ่ ปน็ เอกลกั ษณ์ไทย

1.1 งานประดษิ ฐ์ดว้ ยดอกไม้สด
1.2 งานประดิษฐด์ ้วยใบตอง
1.3 งานแกะสลกั พืชผกั และผลไม้
1.4 งานจักสาน

8

2. งานประดษิ ฐ์ทัว่ ไป
2.1 งานปัน้
2.2 งานประดิษฐ์ดอกไม้ ต้นไม้ดว้ ยกระดาษหรือผ้า
2.3 งานประดิษฐจ์ ากเศษวัสดุหรอื วัสดเุ หลือใช้
2.4 งานประดิษฐจ์ ากวสั ดุธรรมชาติ

การออกแบบงานประดษิ ฐ์
การออกแบบงานประดิษฐ์ เป็นการสร้างรูปลักษณ์ของช้ินงาน โดยอาศัยความคิดสร้างสรรค์ความรู้ความเข้าใจ

ในหลกั การออกแบบและนำมาใช้ ทำใหก้ ารออกแบบช้ินงานนั้นมคี ณุ คา่ และน่าสนในยิ่ง
1. การออกแบบ หมายถึง การทำต้นแบบ หรือการทำโครงสร้างของช้ินงานที่ต้องการประดิษฐ์ เพื่อให้ได้ผลงาน

สำเรจ็ ตามที่มุ่งหวงั โดยการเลือกวัสดุ เลือกสี ท่ีนำมาใช้ใหเ้ หมาะสมสวยงาม
2. ทีม่ าของการออกแบบงานประดิษฐ์
2.1 การศกึ ษาแบบของงานทีต่ นสนใจจากหนังสือ นิตยสารแลว้ ทดลองปฏิบัติ
2.2 การดัดแปลงแบบท่ีมีอยู่เดิม หรือแบบตัวอย่างโดยทำการศึกษาแบบ จนเกิดความเข้าใจ จึงปฏิบัติการสร้าง

แบบ โดยการนำเอาแนวความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์ของตนเองไปผสมผสานทำให้ได้แบบที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะไม่
เหมอื นใคร

2.3 การออกแบบด้วยตนเองคือการออกแบบที่เกิดจากแนวคิดของตนเองและทดลองปฏิบตั ิสร้างแบบจนได้แบบ
ที่สวยงาม เหมาะสมตามความตอ้ งการ
งานประดษิ ฐ์ท่ัวไป
งานประดิษฐท์ เี่ กดิ จากแนวความคิดหรอื ความคิดสรา้ งสรรค์ทีม่ งุ่ สร้างผลงานโดยมจี ดุ มงุ่ หมายอย่างใดอย่างหน่งึ

o ประดิษฐเ์ พื่อเป็นของเล่น
o ประดิษฐ์เพอ่ื เปน็ ของใช้
o ประดษิ ฐ์ของตกแต่งบา้ น
2.4. ประโยชนข์ องงานประดิษฐ์
1. งานประดิษฐ์มีความสัมพันธ์เก่ียวขอ้ งกับชีวติ ประจำวนั ของไทย
2. งานประดิษฐ์มีความสมั พนั ธเ์ ก่ียวข้องขนบธรรมเนยี มและประเพณที างศาสนา
3. งานประดิษฐช์ ่วยใหเ้ กดิ ความรัก ความสามัคคีในหมู่คณะ
4. งานประดิษฐ์ช่วยใหก้ ารทำงานของสมองและประสาทสมั ผัสประสานสมั พนั ธ์กนั
5. ใช้เป็นเครื่องประดบั ตกแต่ง ของเล่น ของขวญั ที่ระลกึ
6. รจู้ ักใชเ้ วลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์
7. เป็นการฝกึ ลักษณะนิสยั ในการทำงานใหม้ ีความอดทน

9

โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ วิชาการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ จำนวน 40
ชัว่ โมง

ราคาจัดจำหน่าย กระเปา๋ ใบละ 350 -1,000 บาท
วสั ดอุ ปุ กรณใ์ นการทำมดี งั ต่อไปนี้

1. กระดาษหนงั สอื พมิ พ์
2. กาวลาเท็กซ์ TOA
3. ลวดเบอร์ 20
4. คมี ตดั ลวด
5. คลิปหนีบดำ
6. สีสเปรย์แลกเกอร์แบบเคลือบเงา
7. กรรไกร
8. คัตเตอร์
9. ไมไ้ ผ่เหลากลม สำหรับทำแกนพนั กระดาษ
ขั้นตอนการทำงาน
1. ตดั กระดาษหนังสอื พมิ พ์ใหไ้ ด้ 500 แผน่ ตามแบบ กว้าง 2 น้ิว ยาว 20.5 นว้ิ

2. นำกระดาษหนังสอื พมิ พ์ไปม้วนใหเ้ ป็นแท่งเลก็ ๆ ด้วยไมก้ ลมๆ แล้วต่อกาวใหเ้ รยี บร้อย ทำเตรยี มไว้ 500 อัน

10

3. ตอ่ แทง่ กระดาษท่เี ตรยี มไว้ นำลวดมาเสยี บใส่ในแทง่ สำหรับข้นึ โครงทำกน้ กระเปา๋

4. นำแท่งกระดาษประกอบจนเป็นกระเปา๋ ตามแบบทเ่ี ราชอบ

5. พ่นสี สเปรย์แลกเกอร์แบบเคลอื บเงา
6. ตากแดดใหแ้ หง้ ตกแตง่ เพิม่ เติมตามความชอบ

11

บทที่ 3
วิธดี ำเนนิ งาน
การดำเนนิ โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน รปู แบบช้นั เรยี นวิชาชพี วิชาการประดษิ ฐ์ผลติ ภัณฑจ์ ากวสั ดุเหลอื ใช้
จำนวน 40 ช่ัวโมง ไดด้ ำเนินการตามข้ันตอนต่างๆ ดังนี้
1. ขัน้ เตรยี มการ
1. การศกึ ษาเอกสารทีเ่ กย่ี วข้องกบั โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน รปู แบบชนั้ เรียนวิชาชพี วชิ าการประดษิ ฐ์
ผลติ ภณั ฑ์จากวัสดุเหลือใช้ จำนวน 40 ช่วั โมง
2. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการได้ศึกษาคน้ คว้าเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ งเพ่ือเป็นข้อมลู และแนวทางในการดำเนนิ การ
โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน รูปแบบชน้ั เรยี นวิชาชีพ วชิ าการประดิษฐผ์ ลิตภณั ฑ์จากวสั ดุเหลอื ใช้ จำนวน
40 ชว่ั โมง ดงั น้ี
(1) ศกึ ษาเอกสาร/คมู่ ือ ข้อมลู จากหนังสือ เก่ียวกับการประดิษฐข์ องเหลอื ใชจ้ ากซองกาแฟ เพ่อื เปน็
แนวทางเก่ียวกบั การจดั โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน การประดษิ ฐ์ผลิตภณั ฑจ์ ากวสั ดุเหลือใช้
(2) ศกึ ษาข้ันตอนการดำเนนิ โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน รปู แบบชัน้ เรียนวชิ าชพี วิชาการประดิษฐ์
ผลิตภณั ฑจ์ ากวัสดุเหลอื ใช้ จำนวน 40 ชัว่ โมงเพอ่ื เปน็ แนวทางในการจัดเตรยี มงาน วัสดอุ ุปกรณ์
และบุคลากรใหเ้ หมาะสม
 การสำรวจความต้องการของประชาชนในพน้ื ที่ (ตามนโยบายของรัฐบาล)
กลมุ่ ภารกิจ การจดั การศึกษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล สำรวจความต้องการของ
กลุ่มเป้าหมายเพื่อทราบความต้องการทแี่ ทจ้ รงิ ของประชาชนในตำบล และมีข้อมูลในการจัดกิจกรรมที่ตรงกบั ความ
ตอ้ งการของชมุ ชน
 การประสานงานผู้นำชมุ ชน / ประชาชน
ครู กศน.ตำบล ไดป้ ระสานงานกบั หวั หนา้ /ผนู้ ำชมุ ชนและประชาชนในตำบลเพ่ือร่วมกันปรึกษาหารือใน
กล่มุ เก่ียวกับการดำเนนิ การจัดโครงการให้ตรงกับความตอ้ งการของชุมชน พร้อมประสานวิทยากร
 การประชาสัมพันธโ์ ครงการฯ
ครู กศน.ตำบล ได้ดำเนนิ การประชาสัมพันธ์การจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รปู แบบชัน้ เรียน
วชิ าชีพ วชิ าการประดิษฐผ์ ลิตภัณฑจ์ ากวัสดุเหลือใช้ จำนวน 40 ชวั่ โมง เพอื่ ใหป้ ระชาชนทราบขอ้ มลู การจดั กิจกรรม
ดงั กลา่ วผ่านผนู้ ำชุมชน
 ประชุมเตรียมการ / วางแผน
1) ประชุมปรึกษาหารือผทู้ ีเ่ ก่ียวขอ้ ง
2) เขียนโครงการ วางแผนมอบหมายงานให้ฝา่ ยตา่ งๆ เตรียมดำเนนิ การ
3) มอบหมายหนา้ ที่ แต่งต้งั คณะทำงาน

12

 การรับสมคั รผเู้ ขา้ ร่วมโครงการฯ
กศน.ตำบลไดร้ ับสมัครผูเ้ ขา้ ร่วม โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน รปู แบบชัน้ เรยี นวชิ าชพี วชิ าการประดษิ ฐ์

ผลิตภณั ฑ์จากวสั ดเุ หลอื ใช้ จำนวน 40 ช่ัวโมง โดยให้ประชาชนทัว่ ไปท่อี าศัยอย่ใู นพน้ื ทีต่ ำบลหมอนนางเข้ารว่ มโครงการ
เป้าหมายจำนวน 12 คน

 การกำหนดสถานที่และระยะเวลาดำเนนิ การ
ครู กศน.ตำบลหมอนนางได้กำหนดสถานที่ในการจดั อบรมคือ กศน.ตำบลหมอนนาง หมู่ท่ี 6 ตำบล

หมอนนาง อำเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบุรี ระหวา่ งวันท่ี 20-30 ธันวาคม พ.ศ.2564 จำนวน 10 วนั
เวลา 08.00 – 12.00 น.
2. ข้ันดำเนนิ งาน

 กลุม่ เปา้ หมาย
กลมุ่ เปา้ หมายของโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน รปู แบบชนั้ เรยี นวชิ าชพี วชิ าการประดิษฐ์ผลติ ภัณฑ์จาก

วัสดุเหลอื ใช้ จำนวน 40 ช่ัวโมง เปน็ ประชาชนตำบลหมอนนาง จำนวน 12 คน
 สถานท่ีดำเนินงาน
ครู กศน.ตำบลหมอนนางรว่ มกนั จัดกิจกรรมโครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน รปู แบบชั้นเรียนวชิ าชพี

วชิ าการประดษิ ฐ์ผลติ ภัณฑ์จากวัสดเุ หลือใช้ จำนวน 40 ช่วั โมง โดยจดั กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ระหวา่ งวนั ที่ 20-30
ธนั วาคม พ.ศ.2564 จำนวน 10 วนั เวลา 08.00 – 12.00 น. ณ กศน.ตำบลหมอนนาง หมู่ท่ี6 ตำบลหมอนนาง
อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี

 การขออนมุ ตั ิแผนการจัดกิจกรรมการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาอาชีพ
กศน.ตำบลหมอนนางได้ดำเนินการขออนมุ ัตแิ ผนการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพโครงการ

ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน รปู แบบช้ันเรยี นวชิ าชพี วิชาการประดิษฐผ์ ลติ ภัณฑ์จากวสั ดุเหลือใช้ จำนวน 40 ชั่วโมง ตอ่
สำนกั งาน กศน.จงั หวัดชลบุรี เพ่ือให้ต้นสงั กดั อนุมตั ิแผนการจัดการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาอาชีพ

 การจดั ทำเคร่อื งมือการวัดความพึงพอใจของผรู้ ว่ มกิจกรรม
เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการติดตามประเมินผลโครงการ ได้แก่ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ

 ขนั้ ดำเนนิ การ / ปฏิบัติ
1. เสนอโครงการเพ่ือขอความเห็นชอบ/อนุมัตจิ ากต้นสงั กดั
2. วางแผนการจดั กจิ กรรมในโครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน รูปแบบช้นั เรียนวชิ าชีพ วิชาการประดษิ ฐ์

ผลิตภัณฑ์จากวสั ดเุ หลอื ใช้ จำนวน 40 ชวั่ โมง โดยกำหนดตารางกิจกรรมที่กำหนดการ
3. มอบหมายงานใหแ้ กผ่ รู้ บั ผิดชอบฝา่ ยต่างๆ
4. แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดำเนินงาน
5. ประชาสัมพันธ์

13

6. จดั กจิ กรรมโครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน รูปแบบชน้ั เรยี นวิชาชีพ วชิ าการประดษิ ฐ์ผลิตภัณฑ์จากวสั ดุ

เหลอื ใช้ จำนวน 40 ชว่ั โมง ตามตารางกจิ กรรมท่ีกำหนดการ

7. ตดิ ตามและประเมินผล

3. การประเมนิ ผล

 วิเคราะหข์ อ้ มลู

1. บันทึกผลการสังเกตจากผู้เข้าร่วมกจิ กรรม

2. วิเคราะห์ผลจากการประเมินผลในแบบประเมินความพึงพอใจ

3. รายงานผลการปฏบิ ัติงานรวบรวมสรุปผลการปฏิบัติงานของโครงการนำเสนอตอ่ ผบู้ ริหารนำปัญหา

ข้อบกพร่องไปแก้ไขครง้ั ต่อไป

 ค่าสถติ ทิ ใ่ี ช้

การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติร้อยละในการประมวลผลข้อมูลส่วนตัวและตัวช้ีวัดความสำเร็จของ

โครงการตามแบบสอบถามคดิ เป็นรายขอ้ โดยแปลความหมายคา่ สถติ ิรอ้ ยละออกมาได้ดังนี้

ค่าสถติ ริ อ้ ยละ 90 ข้ึนไป ดมี าก

ค่าสถิติร้อยละ 75 – 89.99 ดี

คา่ สถติ ิรอ้ ยละ 60 – 74.99 พอใช้

ค่าสถติ ริ อ้ ยละ 50 – 59.99 ปรบั ปรุง

คา่ สถิติร้อยละ 0 – 49.99 ปรับปรุงเรง่ ด่วน

สว่ นการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อซึ่งมีลักษณะเป็นค่าน้ำหนักคะแนน และ

นำมาเปรยี บเทยี บ ได้ระดบั คุณภาพตามเกณฑ์การประเมิน ดังนี้

เกณฑ์การประเมิน (X)

ค่านำ้ หนักคะแนน 4.50 – 5.00 ระดบั คณุ ภาพ คอื ดมี าก

ค่าน้ำหนักคะแนน 3.75 – 4.49 ระดบั คุณภาพ คอื ดี

ค่าน้ำหนักคะแนน 3.00 – 3.74 ระดับคณุ ภาพ คือ พอใช้

คา่ น้ำหนักคะแนน 2.50 – 2.99 ระดับคณุ ภาพ คอื ต้องปรบั ปรงุ

คา่ น้ำหนักคะแนน 0.00 – 2.49 ระดบั คุณภาพ คอื ต้องปรบั ปรุงเร่งดว่ น

14

บทท่ี 4
ผลการดำเนินงานและการวิเคราะห์ขอ้ มลู

ตอนที่ 1

รายงานผลการจัดกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ วิชาการประดิษฐ์

ผลิตภัณฑจ์ ากวัสดุเหลอื ใช้ จำนวน 40 ชัว่ โมง สรุปรายงานผลการจดั กิจกรรมไดด้ ังนี้

ในการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ตามโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ วิชาการ

ประดษิ ฐ์ผลติ ภัณฑ์จากวสั ดุเหลอื ใช้ จำนวน 40 ชว่ั โมง เป็นการจัดกล่มุ สนใจโดยมี นางปรานอม พงษเ์ ผอ่ื น เปน็ วิทยากร

ในการบรรยายให้ความรู้ เรื่อง วิชาการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมดังกล่าวแล้ว

ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมได้รบั ความรแู้ ละฝึกทกั ษะเกี่ยวกบั วชิ าการประดิษฐ์ผลติ ภณั ฑ์จากวสั ดุเหลอื ใช้ และสามารถนำความรู้ไป

ใชใ้ นการประกอบอาชพี และสร้างรายได้ไดจ้ ริงเพ่ือเป็นการเพิ่มรายได้ใหก้ ับครอบครัว

ตอนที่ 2

รายงานผลความพงึ พอใจของโครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน รปู แบบชั้นเรยี นวชิ าชีพ วิชาการประดษิ ฐ์ผลิตภณั ฑ์

จากวัสดเุ หลือใช้ จำนวน 40 ช่ัวโมง ซง่ึ สรุปรายงานผลจากแบบสอบถามความคดิ เห็น ข้อมูลที่ไดส้ ามารถวิเคราะห์และ

แสดงค่าสถติ ิ ดงั น้ี

ตารางท่ี 1 ผู้เขา้ รว่ มโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามเพศ

รายละเอียด เพศ

ชาย หญงิ

จำนวน (คน) 0 12

รอ้ ยละ 0 100

จากตารางท่ี 1 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามท่เี ข้าร่วมกิจกรรมเปน็ หญงิ จำนวน 12 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100

ตารางท่ี 2 ผ้เู ข้าร่วมโครงการท่ตี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอายุ

รายละเอยี ด อายุ (ปี)

อายุ 15-29 30 - 39 40 - 49 50-59 60 ขนึ้ ไป

จำนวน (คน) - - - 2 10

รอ้ ยละ - - - 1.42 85.71

จากตารางท่ี 2 พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามท่ีเขา้ รว่ มกจิ กรรมมอี ายุ 50 – 59 ปี จำนวน 2 คน คดิ เป็น

ร้อยละ 1.42 และมีอายุ 60 ปีข้ึนไป จำนวน 10 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 85.71

15

ตารางที่ 3 ผู้เข้าร่วมโครงการท่ตี อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอาชพี

รายละเอยี ด อาชีพ

เกษตรกรรม รบั จ้าง รบั ราชการ/รฐั วิสาหกิจ คา้ ขาย อนื่ ๆ
1 -
จำนวน (คน) - 10 1 8.33 -

รอ้ ยละ - 83.33 8.33

จากตารางท่ี 3 พบวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถามที่เขา้ ร่วมกจิ กรรมมอี าชีพรับจ้าง จำนวน 10 คน คดิ เป็นร้อยละ 83.33
อาชพี รบั จา้ ง จำนวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 8.33 และอาชีพค้าขาย จำนวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 8.33

ตารางท่ี 4 ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการทต่ี อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามระดบั การศึกษา

รายละเอยี ด ระดับการศึกษา

การศึกษา ป.4 ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย/ปวช. ปวส. ป.ตรี
1
จำนวน (คน) 3 6 2 - - 8.33

รอ้ ยละ 25.00 50.00 16.67 - -

จากตารางที่ 4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามทเี่ ขา้ รว่ มกิจกรรมมรี ะดบั ป.4 จำนวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 25.00
ระดบั ประถม จำนวน 6 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 50.00 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 16.67 และ
ระดับปริญญาตรี จำนวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 8.33

ตารางท่ี 5 แสดงคา่ ร้อยละเฉลีย่ ความสำเร็จของตัวชี้วดั ผลผลติ ประชาชนท่ัวไปเขา้ ร่วมโครงการจำนวน 12 คน

ผลสำเรจ็ ของโครงการ

เป้าหมาย(คน) ผเู้ ข้ารว่ มโครงการ(คน) คดิ เปน็ รอ้ ยละ

12 12 100

จากตารางที่ 5 พบวา่ ผลสำเรจ็ ของตัวชีว้ ัดผลผลิตกิจกรรมมผี ้เู ข้ารว่ มโครงการ จำนวน 12 คน คิดเป็น

รอ้ ยละ 100 ซึง่ บรรลุเป้าหมายด้านตวั ชีว้ ัดผลผลิต

16

ตารางท่ี 6 ค่าเฉลย่ี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมที่มคี วามพงึ พอใจต่อโครงการใน

ภาพรวม

รายการ คา่ เฉล่ยี ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ

() มาตรฐาน ความพงึ พอใจ

()

ดา้ นบรหิ ารจดั การ 4.33 0.68 ดี

ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4.37 0.55 ดี

ดา้ นประโยชนท์ ่ไี ด้รบั 4.57 0.50 ดีมาก

รวมทุกด้าน 4.42 0.58 ดี

จากตารางที่ 6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีความพึงพอใจ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบชั้นเรียน

วิชาชีพ วิชาการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ จำนวน 40 ชั่วโมง ในภาพรวมอยู่ในระดับดี (=4.42) เมื่อ

พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านประโยชน์ที่ได้รับ อยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (= 4.57) รองลงมาคือ ด้านการจัด

กิจกรรมการเรียนรู้ มีอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย (= 4.37) และด้านบริหารจัดการ อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย (= 4.33)

ตามลำดับ โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.50 - 0.68 แสดงว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจ

สอดคล้องกัน

ตารางที่ 7 ค่าเฉล่ยี และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมที่มีความพึงพอใจต่อโครงการศูนย์ฝึก

อาชีพชมุ ชน รูปแบบช้ันเรยี นวชิ าชีพ วชิ าการประดิษฐ์ผลติ ภัณฑ์จากวสั ดุเหลือใช้ จำนวน 40 ช่ัวโมง ด้านบรหิ ารจัดการ

รายการ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบย่ี งเบน ระดบั
() มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ

1. อาคารสถานท่ี 4.40 0.49 ดี

2. สิ่งอำนวยความสะดวก 4.33 0.70 ดี

3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ 4.27 0.57 ดี

4. เอกสารการอบรม 4.27 0.85 ดี

5. วิทยากรผใู้ หก้ ารอบรม 4.40 0.71 ดี

รวม 4.33 0.68 ดี

จากตารางท่ี 7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความพึงพอใจ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบช้ันเรียน

วิชาชพี วิชาการประดิษฐผ์ ลติ ภณั ฑจ์ ากวัสดเุ หลอื ใช้ จำนวน 40 ชวั่ โมง ดา้ นบริหารจดั การ ในภาพรวมอยใู่ นระดบั ดี

มคี ่าเฉลี่ย (= 4.33) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อาคารสถานที่ มีค่าเฉลี่ย (= 4.40) รองลงมา คือ วิทยากรผู้ให้

การอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.40) ส่ิงอำนวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ย (= 4.33) กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนิน

17

โครงการมคี ่าเฉลี่ย (= 4.27) เอกสารการอบรม มีค่าเฉล่ีย (= 4.27) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่
ระหว่าง 0.49 - 0.85 แสดงว่า ผตู้ อบแบบสอบถามมีความคดิ เห็นไปในทิศทางเดยี วกนั

ตารางที่ 8 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมที่มคี วามพึงพอใจต่อ โครงการศูนย์

ฝกึ อาชีพชมุ ชน รปู แบบชนั้ เรียนวชิ าชพี วชิ าการประดษิ ฐ์ผลิตภัณฑ์จากวสั ดเุ หลือใช้ จำนวน 40 ช่ัวโมง ดา้ นการจัด

กิจกรรมการเรียนรู้

รายการ คา่ เฉล่ยี ส่วนเบีย่ งเบน ระดบั
() มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ

6. การจัดฝกึ ปฏิบตั ิ การประดิษฐ์ผลิตภัณฑจ์ ากวสั ดุ 4.47 0.50 ดี

เหลอื ใช้ จำนวน 40 ชวั่ โมง

7. การให้ความรู้ เรอ่ื ง ช่องทางการประกอบอาชีพ 4.53 0.50 ดมี าก

ทกั ษะการประกอบอาชีพ และการบริหารจัดการในการ
ทำกระเป๋าจากกระดาษหนังสือพิมพ์

8. การตอบข้อซักถามของวทิ ยากร 4.33 0.47 ดี

9. การแลกเปล่ียนเรียนรู้ของผู้เรียน 4.40 0.49 ดี

10. การสรปุ องค์ความรู้รว่ มกัน 4.27 0.68 ดี

11. การวัดผล ประเมินผล การฝึกอบรม 4.20 0.54 ดี

รวม 4.37 0.55 ดี

จากตารางท่ี 8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบชั้น

เรียนวิชาชีพ วชิ าการประดิษฐ์ผลิตภณั ฑ์จากวัสดุเหลือใช้ จำนวน 40 ชว่ั โมง ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในภาพรวม

อย่ใู นระดับดี มีค่าเฉล่ีย (= 4.37) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การให้ความรู้ เร่ือง ชอ่ งทางการประกอบอาชีพ มี

ค่าเฉล่ีย (= 4.53) รองลงมาคือ การจัดฝึกปฏิบัติอาชีพ มีค่าเฉลี่ย (= 4.47 ) การแลกเปล่ียนเรียนรู้ของผู้เรียน มี

ค่าเฉลี่ย (= 4.40 ) การตอบข้อซักถามของวิทยากร มีค่าเฉล่ีย (=4.33) การสรุปองค์ความรู้ร่วมกัน มีค่าเฉล่ีย

(= 4.27) และการวัดผล ประเมินผล การฝึกอบรม ( = 4.20) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่

ระหวา่ ง 0.47 - 0.68 แสดงวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามคิดเห็นสอดคล้องกนั

18

ตารางที่ 9 คา่ เฉลี่ยและสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมท่ีมีความพงึ พอใจตอ่ โครงการศูนย์
ฝึกอาชพี ชุมชน รปู แบบชั้นเรียนวชิ าชีพ วชิ าการประดษิ ฐผ์ ลติ ภัณฑ์จากวสั ดุเหลอื ใช้ จำนวน 40 ชว่ั โมง ดา้ นประโยชน์ที่
ได้รบั

รายการ ค่าเฉลยี่ สว่ นเบยี่ งเบน ระดับความ
() มาตรฐาน () พงึ พอใจ

12. ได้เรยี นร้แู ละฝึกปฏิบัตเิ ก่ียวกบั ความรเู้ รอื่ ง ช่อง 4.53 0.50 ดีมาก
ทางการประกอบอาชีพ ทกั ษะการประกอบอาชพี และ 4.60 0.49 ดีมาก
การบริหารจดั การในการการประดษิ ฐ์ของเหลือใช้
การทำกระเป๋าจากกระดาษหนังสือพิมพ์
13. ไดฝ้ กึ อาชพี วิชาการทำกระเปา๋ จากกระดาษ
หนงั สอื พิมพ์

รวม 4.57 0.50 ดีมาก

จากตารางท่ี 9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบช้ันเรียน
วิชาชีพ วิชาการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ จำนวน 40 ชั่วโมง ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย

(= 4.57) เม่ือพิจารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า ไดฝ้ ึกอาชีพ วิชาการประดษิ ฐผ์ ลิตภณั ฑ์จากวสั ดเุ หลือใช้ (การทำประเป๋าจาก

กระดาษหนังสือพิมพ์) มีค่าเฉลี่ย (= 4.60) รองลงมา ได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติเก่ียวกับความรู้เรื่อง ช่องทางการ

ประกอบอาชีพ มีค่าเฉล่ีย (= 4.53) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.49 - 0.50 แสดงว่าผู้ตอบ
แบบสอบถามมีความคิดเห็นไปในทิศทางเดยี วกัน

สรุปในภาพรวมของกจิ กรรมคดิ เป็นรอ้ ยละ 88.40 มีคา่ น้ำหนกั คะแนน 4.42 ถือวา่ ผู้รับบรกิ าร
มคี วามพึงพอใจทางดา้ นต่างๆ อยูใ่ นระดับดี โดยเรยี งลำดับดังนี้

 อนั ดบั แรก ดา้ นด้านประโยชนท์ ี่ได้รบั คิดเป็นร้อยละ 91.40 มีคา่ น้ำหนักคะแนน 4.57 อยู่ในระดบั
คณุ ภาพดีมาก

 อันดับสอง ด้านการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ คดิ เปน็ ร้อยละ 87.40 มคี ่านำ้ หนักคะแนน 4.37 อย่ใู นระดับ
คุณภาพดี

 อนั ดับสาม ด้านบรหิ ารจัดการ คิดเป็นร้อยละ 86.60 มคี า่ นำ้ หนักคะแนน 4.33 อยใู่ นระดบั คณุ ภาพดี

19

บทท่ี 5
อภิปรายและข้อเสนอแนะ
ผลการจัดกิจกรรม โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน รูปแบบชั้นเรยี นวิชาชพี วิชาการประดษิ ฐผ์ ลติ ภัณฑจ์ ากวสั ดุ
เหลอื ใช้ จำนวน 40 ช่ัวโมง ไดผ้ ลสรุปดงั นี้

วัตถุประสงค์
1. เพ่อื ให้ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมได้รับความรแู้ ละฝึกทกั ษะเก่ียวกบั วิชาการประดิษฐผ์ ลติ ภณั ฑ์จากวัสดเุ หลือใช้ (การ

ทำกระเป๋าจากกระดาษหนังสือพิมพ)์
2. เพอื่ ใหผ้ ูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ไปใชใ้ นการประกอบอาชีพและสรา้ งรายได้ได้จริงเพ่อื เป็นการเพิ่ม

รายไดใ้ หก้ ับครอบครัว

เป้าหมาย (Outputs)
เป้าหมายเชิงปรมิ าณ
- ประชาชนตำบลหมอนนาง จำนวน 12 คน
เป้าหมายเชิงคุณภาพ
- ประชาชนตำบลหมอนนางมีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั การทำกระเป๋าจากกระดาษหนังสืมพมิ พ์

และนำความรู้ท่ีไดร้ บั มาปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวัน

เครอื่ งมือที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลในครง้ั น้ี คือ แบบประเมินความพึงพอใจ

การเก็บรวบรวมข้อมลู
ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ได้มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบลหมอนนาง ท่ีรบั ผดิ ชอบกิจกรรมแจกแบบสอบถาม

ความพงึ พอใจใหก้ ับผรู้ ่วมกิจกรรม โดยใหผ้ ้เู ข้าร่วมกิจกรรมประเมินผลการจัดกิจกรรมต่างๆ ตามโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ
ชมุ ชน รูปแบบชน้ั เรยี นวชิ าชพี วชิ าการประดิษฐผ์ ลิตภณั ฑ์จากวสั ดเุ หลือใช้ จำนวน 40 ช่วั โมง
สรปุ ผลการดำเนินงาน

กศน.ตำบลหมอนนางได้ดำเนินการจัดกจิ กรรมตาม โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน รปู แบบชนั้ เรียนวชิ าชพี
วิชาการประดิษฐ์ผลติ ภณั ฑจ์ ากวสั ดเุ หลือใช้ จำนวน 40 ช่วั โมง โดยดำเนนิ การเสรจ็ สนิ้ ลงแลว้ และสรุปรายงานผลการ
ดำเนินงานไดด้ ังนี้

20

1. ผรู้ ว่ มกิจกรรมจำนวน 12 คน มีความรู้ ความเขา้ ใจโครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน รูปแบบชนั้ เรยี นวชิ าชพี
วชิ าการประดษิ ฐผ์ ลติ ภณั ฑจ์ ากวัสดเุ หลือใช้ และนำความรู้ทีไ่ ด้รับมาปรับใชใ้ นชีวติ ประจำวัน

2. ผู้ร่วมกิจกรรมร้อยละ 91.40 นำความรู้ไปใชใ้ นการประกอบอาชพี และสร้างรายไดไ้ ด้จรงิ เพอื่ เปน็ การเพมิ่
รายได้ให้กับครอบครวั

3. จากการดำเนนิ กิจกรรมตามโครงการดังกลา่ ว สรุปโดยภาพรวมพบวา่ ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมส่วนใหญม่ ีความพงึ
พอใจต่อโครงการ อยู่ในระดับ “ดมี าก” และบรรลคุ วามสำเรจ็ ตามเปา้ หมายตวั ชี้วัดผลลัพธ์ทตี่ ้งั ไว้ โดยมีค่าเฉลยี่ รอ้ ยละ
ภาพรวมของกจิ กรรม 93.21 และค่าการบรรลุเปา้ หมายค่าเฉลย่ี 4.91

ขอ้ เสนอแนะ
- อยากใหม้ ีการจัดกิจกรรมอีก จะไดน้ ำความรู้ไปใชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ ตอ่ ไป

21

บรรณานกุ รม
กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน (2546)
บญุ ชม ศรีสะอาด และ บุญส่ง นิลแก้ว (2535 หนา้ 22-25) กระทรวงศึกษาธกิ าร . (2543).
https://sites.google.com/site/occupationteacherji2017/bth-thi-

4?tmpl=%2Fsystem%2Fapp%2Ftemplates%2Fprint%2F&showPrintDialog=1
https://guru.sanook.com/7968/

22

ภาคผนวก

23

รายงานผลการจดั กจิ กรรม

โครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน รูปแบบช้นั เรยี นวชิ าชพี
วิชาการประดษิ ฐผ์ ลติ ภณั ฑจ์ ากวสั ดเุ หลอื ใช้ จำนวน 40 ชว่ั โมง

ระหว่างวนั ที่ 5 - 6 มกราคม 2564

ณ กศน.ตำบลหมอนนาง เลขที่ 111 หมู่ที่ 6 ตำบลหมอนนาง อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบุรี
- วิทยากรคือ นางปรานอม พงษ์เผื่อน
- ผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรมจำนวน 12 คน
- งบประมาณ 8,100.- บาท แบง่ เป็นค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 6,000.-บาท ค่าวสั ดุจำนวน 2,100.-บาท

24

25

แบบสอบถามความพึงพอใจ

โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน รูปแบบช้ันเรยี นวิชาชีพ

วิชาการประดิษฐ์ผลติ ภัณฑ์จากวสั ดเุ หลือใช้ จำนวน 40 ช่วั โมง

ระหว่างวันท่ี 5 - 6 มกราคม 2564

ณ กศน.ตำบลหมอนนาง เลขที่ 111 หมู่ที่ 6 ตำบลหมอนนาง อำเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบรุ ีปี

งบประมาณ พ.ศ. 2565

คำชแ้ี จง

1. แบบสอบถามฉบบั นม้ี ีวัตถุประสงค์ เพ่ือใชใ้ นการสอบถามความพึงพอใจต่อ โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน รูปแบบชั้น

เรยี นวิชาชพี วชิ าการประดิษฐผ์ ลิตภณั ฑ์จากวัสดุเหลอื ใช้ จำนวน 40 ชวั่ โมง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

2. แบบสอบถามมี 3 ตอนดังน้ี

ตอนท่ี 1 ถามข้อมูลเกย่ี วกบั ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 4 ข้อ ใหท้ ำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่องใหต้ รงกับ สภาพจริง

ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจตอ่ โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน รูปแบบช้นั เรยี นวชิ าชพี วชิ าการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จาก

วสั ดุเหลอื ใช้ จำนวน 40 ช่วั โมง ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน 13 ขอ้ ซึ่งมีระดบั ความพึงพอใจ 5 ระดบั ดังน้ี

5 มากทส่ี ุด หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจมากทีส่ ุด

4 มาก หมายถงึ มีความพึงพอใจมาก

3 ปานกลาง หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง

2 น้อย หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจน้อย

1 นอ้ ยท่สี ุด หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจนอ้ ยทสี่ ุด

ตอนที่ 3 ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะต่อ โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน รูปแบบชน้ั เรียนวิชาชพี วิชาการ

ประดษิ ฐ์ผลติ ภัณฑจ์ ากวัสดุเหลือใช้ จำนวน 40 ชัว่ โมง

ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม

เพศ  ชาย  หญงิ

อายุ  15 ปี – 29 ปี  30 ปี – 39 ปี  40 ปี – 49 ปี

 50 ปี – 59 ปี  60 ปีขึ้นไป

การศึกษา  ตำ่ กว่า ป.4  ป.4  ประถม  ม.ตน้

 ม.ปลาย  อนุปรญิ ญา  ปรญิ ญาตรี  สงู กว่าปรญิ ญาตรี

ประกอบอาชีพ

 รับจา้ ง  คา้ ขาย

 เกษตรกร  ลูกจา้ ง/ขา้ ราชการหน่วยงานภาครัฐหรอื เอกชน

 อ่ืน ๆ ………………………………….

26

ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจเกีย่ วกับ โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน รูปแบบชน้ั เรยี นวิชาชีพ วิชาการประดิษฐผ์ ลิตภัณฑ์

จากวัสดุเหลือใช้ จำนวน 40 ช่วั โมง

ขอ้ ท่ี รายการ ระดบั ความคิดเห็น
5 432 1

ด้านบรหิ ารจัดการ

1. อาคารและสถานที่

2. สงิ่ อำนวยความสะดวก

3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ

4. เอกสารการอบรม

5. วิทยากรผใู้ หก้ ารอบรม

ด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

6. การจัดกจิ กรรม โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน รูปแบบกลุ่ม

สนใจ วชิ าการทำสลัดโรล หลกั สตู ร 5ช่ัวโมง

7. การใหค้ วามรเู้ รื่องวิชาการทำสลดั โรล

8. การตอบข้อซกั ถามของวทิ ยากร

9. การแลกเปลีย่ นเรียนรขู้ องผู้เข้ารบั การอบรม

10. การสรุปองคค์ วามรูร้ ว่ มกนั

11. การวัดผล ประเมินผล การฝกึ อบรม

ด้านประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั

12 ไดเ้ รยี นรูแ้ ละฝึกตนเอง เกี่ยวกบั วชิ าการประดิษฐ์ของใช้จาก

ซองกาแฟ

13 นำความรูท้ ่ไี ดร้ บั มาปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน

ตอนที่ 3 ขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะ
ขอ้ คิดเห็น ..............................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................................

ขอบขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ
กศน.ตำบลหมอนนาง กศน.อำเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี

27

คณะผจู้ ัดทา

ที่ปรกึ ษา หม่ืนสา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนคิ ม
1. นางณัชธกญั การงานดี ครู
2. นางสาวมุทกิ า ศรบี ุณยะแก้ว ครผู ู้ช่วย
3. นางสาวณภษร ทำทอง ครผู ู้ชว่ ย
4. นางสาวพิรุฬห์พร อดุ านนท์ ครู อาสาสมคั ร กศน.
5. นายวชั รินทร์

คณะทำงาน ครู กศน.ตำบลหมอนนาง
นางสาวจันทร์ทพิ ย์ บรรดาศักดิ์

บรรณาธิการ ครู กศน.ตำบลหมอนนาง
นางสาวจันทรท์ พิ ย์ บรรดาศักด์ิ


Click to View FlipBook Version