The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E Book แผนปี64 กศน.ตำบลหมอนนาง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

E Book แผนปี64 กศน.ตำบลหมอนนาง

E Book แผนปี64 กศน.ตำบลหมอนนาง

Keywords: E Book แผนปี64 กศน.ตำบลหมอนนาง

แผนปฏิบตั กิ าร
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564

กศน.ตาบลหมอนนาง

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอพนสั นคิ ม

สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดชลบุรี
สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
กศน.ตำบลหมอนนาง

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอพนัสนิคม

สำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดชลบุรี
สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ



คำนำ

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ กศน.ตำบลหมอนนาง จัดทำข้ึนเพื่อเป็นแนวทาง
ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 โดยยึดแนวทางตาม
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ.2564 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จังหวัดชลบุรี และยทุ ธศาสตร์และจดุ เน้นการดำเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัส
นิคม ตลอดจนบริบท ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เพื่อกำหนดเป็นแนวปฏิบัติ และแนวทางในการ
ดำเนนิ งาน กศน.ตำบลหมอนนาง ให้เป็นไปตามเปา้ หมายทต่ี ั้งไว้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ กศน.ตำบลหมอนนาง เล่มน้ี สำเร็จลุล่วงด้วยดี
ด้วยความร่วมมือของภาคีเครือข่าย และผู้เกี่ยวข้องร่วมกันระดมความคิดเห็น โดยนำสภาพปัญหาและผลการ
ดำเนนิ งานมาปรบั ปรุงเพื่อเพิม่ ประสิทธภิ าพการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยของ กศน.ตำบล
หมอนนาง เพอื่ สนองตอบความตอ้ งการของประชาชนในพนื้ ท่ีอยา่ งแท้จริง

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของกศน.ตำบลหมอนนาง
เล่มน้ี จะเป็นแนวทางในการดำเนินงานของบุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง เพ่ือให้การจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และมีคุณภาพตามเป้าหมาย ตลอดจนเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วน
เกีย่ วข้อง ประชาชน ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติตอ่ ไป

ผูจ้ ัดทำ
กศน.ตำบลหมอนนาง

แผนปฏิบตั ิการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง



สารบัญ หนา้

คำนำ ข
สารบญั
ส่วนท่ี 1 ข้อมลู พ้ืนฐาน 1
2
- ข้อมลู ท่ัวไป กศน.ตำบลหมอนนาง
- ขอ้ มูลท่ัวไปตำบลหมอนนาง 12
ส่วนท่ี 2 ทศิ ทาง นโยบาย กศน.ตำบลหมอนนาง 21
- นโยบายจดุ เน้นการดำเนนิ งานของ สำนักงาน กศน. ประจำปงี บประมาณ 2564 21
- ทศิ ทาง นโยบายและจุดเน้นของ กศน.อำเภอพนสั นคิ ม 32
- ปรชั ญา วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ กศน.ตำบลหมอนนาง 34
- ผลการวิเคราะห์ SWOT (Swot Analysis) ของ กศน.ตำบลหมอนนาง
- นโยบายและจุดเน้นของ กศน.ตำบลหมอนนาง 36
ส่วนที่ 3 รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ ประจำปี 2564 38
- ตารางแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี 2564 กศน.ตำบลหมอนนาง
- รายละเอียดโครงการ 47
สว่ นที่ 4 กลยุทธ์การดำเนินงาน 49
- การดำเนนิ งานตามแนวทางวงจร PDCA
ส่วนที่ 5 รายชือ่ คณะกรรมการ กศน.ตำบลหมอนนาง
คณะผู้จัดทำ

แผนปฏิบตั ิการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

1

ส่วนท่ี 1 ข้อมลู พน้ื ฐาน
ขอ้ มูลทว่ั ไป กศน.ตำบลหมอนนาง

จากการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552 – 2561) รัฐบาลได้ให้ความสำคัญเรื่อง
การศึกษาและการเรยี นรู้อย่างเป็นระบบ โดยมงุ่ เน้นการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา การเพ่มิ โอกาสทาง
การศึกษาและการเรียนรู้ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพื่อให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตท้ังใน
การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีคุณภาพในทุกระดับ และทุกประเภท
การศกึ ษา ให้บรรลุวสิ ัยทัศน์ท่ีกำหนดไว้ คนไทยได้เรียนร้ตู ลอดชีวิตอยา่ งมคี ุณภาพ โดยเฉพาะได้ดำเนินการจัดให้มี
ศูนย์การเรียนรู้ ตลอดชีวิตเพ่ือการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมในทุกพื้นที่ เติมเต็มระบบการศึกษาให้รองรับการเป็นสังคม
แหง่ การเรยี นรูอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารโดยรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ(นายจุรินทร์ ลกั ษณวศิ ษิ ฎ์)
ในขณะน้ันได้ให้ความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้มีนโยบายให้มีการจัดต้ัง กศน.ตำบลข้ึนเป็นศูนย์การเรียนรู้ระดับ
ตำบลยุคใหม่ท่ีมีเครื่องมือท่ีทันสมัยในการดำเนินงานโดยการผลักดันงบประมาณโครงการไทยเข้มแข็งแก่ กศน.
ตำบล และได้มอบให้สำนักงาน กศน.เร่งรัดพัฒนาและเดินหน้าไปสู่ความเป็นศูนย์การเรียนรู้การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยของชุมชน เพื่อให้ประชาชนทั่วประเทศได้มีพลังแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตไม่มีท่ีสิ้นสุด
ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการอย่างแท้จริง โดยตั้งเป้าหมายไว้ว่าในเดือนกันยายน 2553 จะมี กศน.ตำบล
ครบทั้ง 7,409 ตำบลท่ัวประเทศ และได้ทำพิธีเปิดตัว กศน.ตำบลเม่ือวันท่ี 11 ตุลาคม 2552 ณ อิมแพค เมืองทอง
ธานี จงั หวัดนนทบุรี

กศน.ตำบลหมอนนาง :แหล่งเรียนรู้ราคาถูก ต้ังอยู่ที่ เทศบาลตำบลหมอนนาง (ห้องประชุมหลัง
เก่า) เลขท่ี 111 หมู่ 6 ต.หมอนนาง อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี ตามประกาศจังหวัดชลบุรี เรื่อง จัดตั้ง กศน.ตำบล:
แหล่งเรียนรู้ราคาถูก ในพ้ืนที่อำเภอพนัสนิคม ประกาศ ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2553 และมีการแต่งต้ัง
คณะกรรมการ กศน.ตำบล: แหลง่ เรียนรู้ราคาถูก ประจำตำบลหมอนนาง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ตามคำส่ัง
สำนักงาน กศน.จังหวัดชลบุรีที่ 172 / 2553 โดยให้คณะกรรมการ กศน.ตำบล : แหล่งเรียนร้รู าคาถกู ประจำตำบล
มีหน้าท่ีตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยแหล่งเรียนรู้ราคาถูก : กศน.ตำบลหรือแขวง พ.ศ.2553 ข้อ 9
และข้อ 10 ได้แก่ วางแผนการดำเนินงานประชาสัมพันธ์งาน จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ และครุภัณฑ์พื้นฐาน บริหารและ
จัดกิจกรรม กำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานประสานงานและเชื่อมโยงข้อมูลเพ่ือจัดการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกับศูนย์การเรียนชุมชนอื่นๆ ในตำบล ประสานกับส่วนราชการในตำบล ประสาน

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

2

กบั ส่วนราชการในตำบลและเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน ประสานองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินในพ้ืนที่เพื่อนำแผน
ชุมชนในส่วนท่ีเก่ยี วข้องกบั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

ประวัติความเปน็ มาตำบลหมอนนาง

คำขวัญตำบลหมอนนาง
นางสิบสองลอื ชื่อ เซยี นซอื ลือนาม
ศาลางามวดั ชมุ แสง กระแป๋งแดงทุ่งเหียง
มีช่ือเสียงผลไมด้ นิ ปนั้ รักษม์ ัน่ ประเพณวี ่งิ ควาย

ท่ีอยู่สำนักงานเทศบาล
สำนกั งานเทศบาลตำบลหมอนนาง 111 ม.6 ตำบลหมอนนาง อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี

ประวตั คิ วามเป็นมา
จากตำนานท่ีเล่าขานกันมาของตำบลหมอนนางว่า มีอยู่ว่าสามีภรรยาคู่หนึ่งมีธิดารวมถึง 12 คน

จนไม่สามารถเล้ียงดูได้เพราะฐานะยากจนแร้นแค้นจึงจำตัดใจพาลูกท้ัง 12 คน ไปปล่อยในป่า เด็กหญิงทั้ง 12 คน
เดินหลงเข้าไปในเมืองยักษ์แห่งหน่ึง ยักษีเจ้าเมืองตนหนึ่งชื่อนางยักษ์สันธมารเกิดมีความเอ็นดูจึงทรงเลี้ยงเป็น
พระธิดาบุญธรรม ต่อมาเมื่อพระธิดาทั้งหมดเจริญเติบโตข้ึนจึงร้คู วามจริงว่าพระมารดาเล้ียงของตนแท้จริงแล้วเป็น
ยักษี ก็เกิดคามกลัวพากันหนีไปและได้พบกับเจ้าเมืองกุตารนคร คือ ท้าวรถสิทธิ์ และทรงได้โปรดให้เป็นพระมเหสี
ทงั้ 12 องค์

ฝ่ายนางยักษ์สันธมารทรงมีความแคน้ ใจมากจึงตามมาแปลงกายเปน็ หญงิ งามใชเ้ วทมนตร์เสน่ห์ให้
ท้าวรถสทิ ธทิ์ รงหลงใหลและเช่อื ฟงั นางทุกอย่างและไดโ้ ปรดใหน้ างเปน็ พระมเหสีอกี องค์ พระนางสันธมารทรงออก
อุบายใหท้ า้ วรถสิทธิ์จับพระนางท้งั 12 องค์ แล้วควักพระเนตรทั้ง 2 ข้างยกเวน้ พระนางเภา เพือ่ ทำเป็นยามารักษา
โรคของตน แล้วใหน้ ำไปขงั ไว้ในถ้ำ พระนางท้ัง 12 องค์ทรงไดร้ บั ทุกขเวทนามาก
ต่อมาสถานทต่ี ้ังแหง่ นีท้ างราชการได้ตงั้ ชอ่ื ว่า "ตำบลหมอนนาง" ตามลกั ษณะภายในถำ้ คือ มีหมอนซ่งึ เปน็ ก้อนหิน
ขนาดใหญ่เรียงกันอยู่ 12 ก้อน ซ่งึ เขา้ ใจว่าเป็นของพระนางทง้ั 12 องคน์ ัน่ เอง

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

3

สภาพทางกายภาพของชุมชนตำบลหมอนนาง

ทตี่ งั้

ตำบลหมอนนางเป็นเขตการปกครองหน่งึ ของอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี ตัง้ อย่ทู างทิศใต้ของ

อำเภอพนัสนิคม อย่หู ่างจากตัวเมืองพนัสนิคมประมาณ 16 กิโลเมตร ตามเส้นทางถนนสาย พนัสนคิ ม – หนอง

เสมด็ อาณาเขตตดิ ต่อกับตำบลต่าง ๆ ดังนี้

- ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกบั ตำบลบ้านช้างและตำบลนามะตูม อำเภอพนัสนคิ ม จ.ชลบรุ ี
- ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กับ ตำบลหนองอิรุณ อำเภอบา้ นบงึ จ.ชลบุรี
- ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ ตำบลนาเรกิ อำเภอพนัสนคิ ม, ตำบลบอ่ กวางทอง อำเภอบ่อทอง

และตำบลท่าบญุ มี อำเภอเกาะจันทร์ จ.ชลบุรี
- ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับ ตำบลท่งุ ขวาง และตำบลนามะตมู อำเภอพนสั นคิ ม จ.ชลบรุ ี
ลักษณะภูมิประเทศ
เป็นที่ราบลมุ่ ราษฎรส่วนใหญ่ทำการเกษตร เล้ียงสกุ ร ไก่ บางสว่ นทำนาขา้ วและปลูกอ้อย
พื้นที่และการใช้ประโยชน์
ขนาดเนอื้ ที่เขตตำบลหมอนนางทงั้ หมด 52.58 ตารางกโิ ลเมตร หรือ 32,600 ไร่
ลกั ษณะภูมิอากาศ
ลกั ษณะภมู ิอากาศเปน็ แบบมรสุม
1. ฤดูรอ้ น เริ่มตัง้ แต่เดือนมนี าคม – พฤษภาคม อากาศร้อนจัดในเดือนเมษายน
2. ฤดฝู น เริม่ ตง้ั แต่เดือนมถิ ุนายน – ตุลาคม มีฝนตกหนักในเดือนตลุ าคม บางปตี ่อถึงเดือนพฤศจิกายน
3. ฤดหู นาว เริ่มตั้งแต่เดอื นพฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ อากาศค่อนข้างเย็นในเดือนธันวาคม
แต่อากาศไมแ่ หง้ แล้งมากนัก แต่จะไปแล้งมากเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์
ข้อมูลพ้ืนฐานของหมบู่ ้านหรือชมุ ชน
ตำบลหมอนนางมีทงั้ หมด 12 หม่บู า้ น ไดแ้ ก่
1) หมู่ท่ี 1 บ้านสวนใหม่
2) หมู่ท่ี 2 บ้านหนองไทร
3) หมู่ท่ี 3 บา้ นหนองพร้าว
4) หมู่ที่ 4 บา้ นตลาดทุง่ เหยี ง
5) หมูท่ ่ี 5 บา้ นเหนอื
6) หมทู่ ี่ 6 บ้านหนองยาง
7) หมูท่ ่ี 7 บ้านเนนิ โรงหบี
8) หมูท่ ่ี 8 บ้านดงไม้ลาย
9) หมทู่ ่ี 9 บ้านหมอนนาง
10) หมูท่ ่ี 10 บ้านชุมแสง

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

4

11) หมู่ท่ี 11 บ้านหนองผกั บุ้งขนั

12) หมู่ที่ 12 บ้านหนองแหน

ลกั ษณะการเมืองการปกครอง

แบ่งเขตการปกครองตาม พรบ. มีลักษณะการปกครองทอ้ งที่ พ.ศ. 2475 ประกอบด้วย 12 หมบู่ า้ น

จำนวน 2891 ครวั เรอื น คือ

1) หมู่ท่ี 1 บ้านสวนใหม่ จำนวน 221 ครัวเรือน

2) หมู่ที่ 2 หนองไทร จำนวน 247 ครัวเรอื น

3) หมทู่ ี่ 3 บ้านหนองพร้าว จำนวน 202 ครัวเรือน

4) หมทู่ ี่ 4 ท่งุ เหียง จำนวน 551 ครวั เรือน

5) หมทู่ ี่ 5 บา้ นเหนอื จำนวน 171 ครวั เรือน

6) หมู่ที่ 6 หนองยาง จำนวน 170 ครวั เรือน

7) หมทู่ ี่ 7 เนินโรงหีบ จำนวน 205 ครวั เรือน

8) หมูท่ ่ี 8 ดงไมล้ าย จำนวน 182 ครัวเรอื น

9) หมทู่ ่ี 9 หมอนนาง จำนวน 108 ครัวเรือน

10) หมู่ท่ี 10 ชุมแสง จำนวน 294 ครัวเรอื น

11) หมทู่ ี่ 11 หนองผกั บุ้งขนั จำนวน 285 ครัวเรอื น

12) หมู่ท่ี 12 หนองแหน จำนวน 255 ครวั เรือน

สภาพชมุ ชนตำบลหมอนนาง

ประชากรตำบลหมอนนาง มีประชากร รวม 10,554 คน ข้อมลู ประจำเดือน ตุลาคม 2563

หมทู่ ี่ ชาย หญงิ รวม

1 402 415 817

2 591 570 1,161

3 403 440 843

4 871 1,009 1,880

5 296 331 627

6 255 268 523

7 404 444 848

8 370 376 746

9 174 186 360

10 524 613 1137

11 372 443 815

12 398 399 797

รวม 5,060 5,494 10,554

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

5

ศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรม

1. การศาสนา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพทุ ธและศาสนาอิสลาม มีศาสนาอน่ื เป็นส่วนน้อย

1.1 วดั , ท่ีพักสงฆ์ จำนวน 3 แหง่

1.2 1.2 มัสยดิ จำนวน 2 แห่ง

1.3 1.3 ศาลเจ้า จำนวน 1 แหง่

1.4 2. ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณี ได้แก่ งานบญุ กลางบ้าน,งานสงกรานต์, การทายโจ๊ก,

เทศกาลวันไหว้พระจนั ทร์

ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม

การนบั ถือศาสนา

พนื้ ที่ตำบลหมอนนางประชาชนส่วนใหญน่ บั ถอื ศาสนาพทุ ธเป็นหลกั และมศี าสนาอิสลามปะปนบ้าง

บางส่วนสถานทปี่ ระกอบศาสนกจิ ดังน้ี

- วัด จำนวน 4 แหง่

- มสั ยดิ จำนวน 2 แห่ง

ประเพณีและงานประจำปี

เทศบาลตำบลหมอนนางมกี ารส่งเสรมิ งานประเพณแี ละงานประจำปโี ดยมกี ารจัดงานประเพณลี อยกระทง

และเทศบาลตำบลหมอนนางยังสง่ เสริมงานประเพณปี ระจำท้องถิ่น เช่น ประเพณีวงิ่ ควาย และประเพณีทำบญุ

กลางบ้านของแต่ละหม่บู า้ น

ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ภาษาถิน่

ตำบลหมอนนางมีภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นทส่ี บื ต่อกนั มา ได้แก่ ผลไมด้ ินปั้น

สนิ ค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก

สนิ คา้ ทางการเกษตร สินค้าจากการปศสุ ัตว์ และผลไม้ดนิ ปั้น

ทรัพยากรธรรมชาติ

นำ้

ในพนื้ ทต่ี ำบลหมอนนางมีทรัพยากรนำ้ ท้ังทส่ี ร้างขึ้นเองและจากแหล่งนำ้ ตามธรรมชาติ แหลง่ น้ำที่สรา้ งข้ึน

ได้แก่ ระบบประปาหมูบ่ า้ น และแหล่งน้ำตามธรรมชาตไิ ด้แก่ ห้วย คลอง ตา่ งๆในพืน้ ท่ีตำบลหมอนนาง

ปา่ ไม้

ตำบลหมอนนางไม่มีพื้นที่ปา่ ไม้ เนอ่ื งจากส่วนใหญ่จะมีการทำการเกษตร ปศุสัตว์ และเป็นพ้นื ทีท่ ำโรงงาน

อุตสาหกรรม

คณุ ภาพของทรัพยากรธรรมชาติ

ทรัพยากรธรรมชาติในพ้นื ท่ีตำบลหมอนนางเพียงพอและเหมาะกับการทำการเกษตรและทำการเลยี้ งสัตว์

แผนปฏบิ ัติการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

6

การเลอื กตั้ง

โครงสรา้ งและอำนาจหนา้ ทใี่ นการบริหารงานของเทศบาลตำบลหมอนนาง ประกอบดว้ ย

1. นายกเทศมนตรีตำบลหมอนนาง จำนวน 1 คน

2. รองนายกเทศมนตรตี ำบลหมอนนาง จำนวน 2 คน

3. ท่ปี รึกษานายกเทศมนตรีตำบลหมอนนาง จำนวน 1 คน

4. เลขานายกเทศมนตรตี ำบลหมอนนาง จำนวน 1 คน

5. สมาชกิ สภาเทศบาลตำบลหมอนนาง จำนวน 12 คน

สาธารณสุข

โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพ จำนวน 2 แห่ง

1. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำลบหมอนนาง หมู่ท่ี 4

2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหมอนนาง (บ้านหนองไทร) หมู่ท่ี 2

อาชญากรรม

ท่พี ักสายตรวจ 1 แหง่ ตง้ั อยู่หมู่ท่ี 4 ตลาดทงุ่ เหียง

ยาเสพตดิ

เทศบาลตำบลหมอนนางมีการป้องกนั การเกดิ ปญั หายาเสพติดในกล่มุ เยาวชนโดยมีเครือข่ายตาสับปะรดใน

การเฝ้าระวังและดูแล และยังมกี ล้องวงจรปิด CCTV ในการเฝ้าระวงั ในจดุ เส่ียง อีกทางหนึ่ง และมีการต้ัง

งบประมาณไวใ้ นการป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ อย่างต่อเนื่อง

การสงั คมสงเคราะห์

เทศบาลตำบลหมอนนางมกี ารดำเนนิ การจ่ายเบ้ียยงั ชีพให้แกผ่ ู้สงู อายุ ผพู้ ิการ และผปู้ ่วยเอดส์และ

ให้บรกิ ารประชาชนผดู้ อ้ ยโอกาสในด้านตา่ งๆ

ระบบบริการพื้นฐาน

การคมนาคมขนส่ง

ตำบลหมอนนางมเี ส้นทางการคมนาคมทางถนนซง่ึ มีทง้ั ถนนลาดยางและถนนลูกรัง สภาพถนนลาดยางยงั

อยใู่ นสภาพดี ถนนลูกรงั มสี ภาพเป็นหลมุ เป็นบ่อบา้ ง

การเดนิ ทางของประชาชนส่วนใหญ่ใช้รถยนตส์ ว่ นตัวเป็นพาหนะ รถจักรยานยนตแ์ ละรถโดยสารประจำทาง

ถนนในตำบลหมอนนาง มดี ังนี้

1. ถนนเนินหลงั เต่า – หนองเสมด็ เป็นถนนลาดยาง ยาวประมาณ 15 กิโลเมตร สภาพดี

2. ถนนเจรญิ โชคดี (ถนนทุ่งเหยี งเช่อื มต่อถนน 331) เป็นถนนลาดยาง ยาวประมาณ

5 กิโลเมตร สภาพดี

3. ถนนพนัสนิคม – เกาะโพธ์ิ เป็นถนนลาดยาง ยาวประมาณ 12 กิโลเมตร สภาพดี

4. ถนนสายหนองแหง้ – หนองไทร เป็นถนนลาดยาง ยาวประมาณ 2 กิโลเมตร สภาพดี

5. ถนนสายหนองโพรง – 331 เป็นถนนลาดยาง ยาวประมาณ 5 กโิ ลเมตร สภาพดี

6. ถนนบ้านสวนใหม่ – หนองพรหม เปน็ ถนนลาดยาง ยาวประมาณ 3 กโิ ลเมตร สภาพดี

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

7

7. ถนนสายโรงนำ้ ตาล – วดั ชมุ แสง เปน็ ถนนลาดยาง ยาวประมาณ 6 กโิ ลเมตร สภาพดี
การไฟฟา้

พนื้ ทใี่ นเขตตำบลหมอนนางมีการใชไ้ ฟฟ้าทัง้ หมด 12 หมบู่ ้าน 100% ของครัวเรือนท้ังหมด
การประปา

พนื้ ทใ่ี นเขตตำบลหมอนนางมีนำ้ ประปาใช้เองครบท้ัง 12 หมบู่ า้ น การบริหารงานโดยคณะกรรมการประปา
หมบู่ า้ นจัดเก็บและดูแลรักษาซ่อมแซมบำรุงเอง
โทรศพั ท์

พ้นื ทีใ่ นเขตตำบลหมอนนางมีโทรศพั ท์สาธารณะจำนวนน้อยมาก สว่ นใหญจ่ ะอยูต่ ามสถานทีร่ าชการมีการ
ตดิ ตอ่ สะดวกและมีคู่สายทุกหมบู่ ้าน ประชากรส่วนใหญ่จะใชโ้ ทรศพั ท์เคลื่อนทตี่ ดิ ตามตวั เปน็ สว่ นมาก ประมาณ
90% ของครวั เรอื นทงั้ หมด
ไปรษณยี ์หรือการส่ือสารหรือการขนส่ง และวสั ดุ ครภุ ณั ฑ์

พน้ื ทใ่ี นเขตตำบลหมอนนางไม่มหี นว่ ยบรกิ ารไปรษณีย์ทง้ั ภาคเอกชนและรฐั วสิ าหกิจ ประชากรและ
หน่วยงานราชการจะใชบ้ รกิ ารไปรษณีย์พนัสนิคม และพนื้ ที่ใกลเ้ คียง
ระบบเศรษฐกจิ
การเกษตร

ตำบลหมอนนางมีพ้ืนที่ทางการเกษตรประมาณร้อยละ 10 ในการทำนาปลูกขา้ ว และ มีการปลกู อ้อย ซ่งึ
จะอาศยั นำ้ ตามฤดกู าลและน้ำตามแหลง่ น้ำธรรมชาติ
การประมง

ตำบลหมอนนางมพี ื้นทใี่ นการประมงประมาณรอ้ ยละ 10 โดยทำการเลย้ี งปลานำ้ น้ำจืด
เชน่ ปลานลิ ปลาสวาย
การปศุสัตว์

ตำบลหมอนนางมีพื้นทใี่ นการปศสุ ัตว์รอ้ ยละ 50 คือการทำฟาร์มเลีย้ งหมูทงั้ หมด
อุตสาหกรรม

ตำบลหมอนนางมีพื้นที่เปน็ โรงงานอุตสาหกรรมประมาณร้อยละ 30 ซ่ึงจะมโี รงงาน ผลติ อาหารสัตว์ และ
โรงงานแปรรูปปศสุ ัตว์ โรงงานเหล็ก ฯลฯ
เศรษฐกจิ พอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งนำ้ )
ข้อมูลดา้ นการเกษตร

ตำบลหมอนนางมพี ืน้ ทท่ี ำการเกษตรค่อนข้างนอ้ ยประมาณรอ้ ยละ 10 ซงึ่ เป็นการทำนาปลูกขา้ ว และ มี
การปลูกอ้อย ซง่ึ จะอาศยั น้ำตามฤดูกาลและนำ้ ตามแหลง่ น้ำธรรมชาติ

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

8

ข้อมูลด้านแหล่งนำ้ ทางการเกษตร
พ้นื ทีต่ ำบลหมอนนางมีแหล่งน้ำธรรมชาตเิ พอ่ื ใช้ในการเกษตรหลายแห่ง แต่ในชว่ งฤดูแล้ง น้ำในลำคลอง

จะตืน้ เขินทำการเกษตรไม่ได้ สว่ นในฤดฝู นบางคร้งั จะมนี ้ำท่วมทำให้พ้ืนทกี่ ารเกษตรเสยี หาย ซึง่ แหล่งน้ำธรรมชาติ
ในพนื้ ที่มีดงั น้ี

1) คลองหนองสรวง ประโยชนท์ ่ใี ช้ เพือ่ การเกษตร หมู่ที่ 4 , 5 , 6 , 12
2) คลองบงึ ยาง ประโยชนท์ ใ่ี ช้ เพือ่ การเกษตร หมูท่ ี่ 1 , 4 , 5 , 6 , 7 , 9
3) คลองป่าแดง ประโยชน์ที่ใช้ เพ่อื การเกษตร หมทู่ ่ี 4 , 8 , 12
4) คลองสาลิกา ประโยชนท์ ่ใี ช้ เพื่อการเกษตร หม่ทู ี่ 5 , 6
5) หว้ ยอีแขก ประโยชน์ทใ่ี ช้ เพอ่ื การเกษตร หมู่ที่ 5 , 6 , 9
6) หว้ ยตาแขวง ประโยชนท์ ีใ่ ช้ เพื่อการเกษตร หมูท่ ี่ 1 , 5 , 6 , 7 , 9
7) คลองสง่ น้ำแยกจากคลองปา่ แดง ประโยชน์ที่ใช้ เพ่ือการเกษตร หม่ทู ่ี 3 , 4 , 6 , 8 , 10 , 11
ขอ้ มูลด้านแหลง่ นำ้ กนิ นำ้ ใช้ (หรือนำ้ เพื่อการอปุ โภค บริโภค)
พ้นื ทต่ี ำบลหมอนนางมแี หลง่ นำ้ ในการใช้อุปโภค บรโิ ภคหลายแหง่ ดงั นี้
1. นำ้ ประปา
พ้นื ท่ีในเขตตำบลหมอนนางมีนำ้ ประปาใชเ้ องครบทงั้ 12 หมบู่ ้าน การบรหิ ารงานโดยคณะกรรมการประปา
หมบู่ า้ นจัดเกบ็ และดแู ลรกั ษาซอ่ มแซมบำรุงเอง
2. สระนำ้ สาธารณประโยชน์
1) หมู่ท่ี 2 มจี ำนวน 1 สระ
2) หมทู่ ่ี 3 มีจำนวน 1 สระ
3) หมทู่ ี่ 4 มีจำนวน 3 สระ
4) หมู่ที่ 6 มีจำนวน 1 สระ
5) หมู่ท่ี 11 มจี ำนวน 1 สระ
3. แหลง่ น้ำธรรมชาติ
1) คลองหนองสรวง
2) คลองบงึ ยาง
3) คลองปา่ แดง
4) คลองสาลิกา
5) ห้วยอีแขก
6) หว้ ยตาแขวง
7) คลองส่งน้ำแยกจากคลองป่าแดง

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

9

ทรพั ยากรธรรมชาติ

น้ำ

ในพืน้ ทตี่ ำบลหมอนนางมีทรัพยากรนำ้ ทงั้ ที่สร้างขน้ึ เองและจากแหล่งน้ำตามธรรมชาติ แหล่งนำ้ ท่สี ร้างข้นึ

ได้แก่ ระบบประปาหม่บู า้ น และแหลง่ นำ้ ตามธรรมชาติได้แก่ หว้ ย คลอง ตา่ งๆในพ้ืนท่ีตำบลหมอนนาง

ป่าไม้

ตำบลหมอนนางไม่มพี ื้นทป่ี า่ ไม้ เนอ่ื งจากสว่ นใหญ่จะมีการทำการเกษตร ปศุสัตว์ และเป็นพน้ื ท่ที ำโรงงาน

อตุ สาหกรรม

คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ

ทรัพยากรธรรมชาติในพ้นื ที่ตำบลหมอนนางเพียงพอและเหมาะกับการทำการเกษตรและทำการเลี้ยงสัตว์

3.สภาพทางเศรษฐกจิ

1. การเกษตรกรรม ทำนา, ทำไร่

2. การปศสุ ตั ว์ เลี้ยงหมู

3. การอุตสาหกรรม มรี าษฎรประกอบอุตสาหกรรมอย่หู ลายรูปแบบ เชน่ อตุ สาหกรรมในครวั เรอื น

อุตสาหกรรมขนาดเลก็ และขนาดใหญ่

4. การพาณชิ ย์

1. ชุมชนตลาดท่งุ เหียง

5. การทอ่ งเที่ยว

มีสถานที่ท่องเทยี่ วทส่ี ำคญั ไดแ้ ก่

1. โบราณสถานโบราณวัตถุต่าง ๆ เช่น โบราณสถานถ้ำนางสิบสอง

ด้านการประกอบอาชีพ

1. รับจา้ ง

2. ดา้ นเกษตรกรรม การเพาะปลูก เลย้ี งสัตว์

3. อุตสาหกรรม

4. ค้าขาย

ขอ้ มูลทางการศกึ ษาของกลุ่มเปา้ หมาย กศน. ตำบลหมอนนาง

จำนวนกลุ่มเป้าหมาย แยกตามอายุ

ชว่ งอายุ จำนวน กลมุ่ เป้าหมาย รวม

กลมุ่ กล่มุ ผ้พู ลาด กลุ่มผู้ขาด กลุ่มผ้ไู ม่มี

ผู้ดอ้ ยโอกาส โอกาส โอกาส เงื่อนไข

จำกัด

ตำ่ กวา่ 15 ปี 38 132 - 957 1,127

15-59 ปี 120 564 - 6,526 7,210

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

60 ปี ขน้ึ ไป 194 2,023 10
รวมท้ังสิน้ 352 2,719
- - 2,217
- 7,483 10,554

จำนวนข้อมูลทางการศกึ ษาของตำบลหมอนนาง (15-59 ปี)

ระดบั การศึกษา จำนวน (คน) หมายเหตุ

1. ผูไ้ มร่ ู้หนงั สือ 9 ผู้พกิ าร

2. ก่อนประถมศกึ ษา (อา่ นออกเขียนได)้ 260 ผพู้ กิ าร

3. ประถมศกึ ษา 278 จบ ป.7 แล้วไมเ่ รยี นตอ่

4. มธั ยมศึกษาตอนต้น 2,560

5. มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2,330

6. สูงกว่ามัธยมศกึ ษาตอนปลาย 1,773

รวม 7,210

แหล่งวิทยาการชุมชนและทุนดา้ นงบประมาณที่สามารถนำมาใชป้ ระโยชนเ์ พื่อจัดการศกึ ษา

แหล่งวิทยากรชุมชน ตำบลหมอนนาง

ท่ี แหลง่ วิทยากรชุมชน ความรูค้ วามสามารถ สถานที่

1 นายสมดลุ ย์ ทำเนาว์ ศิลปวฒั นธรรม / โจ๊กปรศิ นา หม่ทู ี่ 7 ตำบลหมอนนาง

2 นางปรานอม พงษ์เผื่อน สานเสน้ พลาสติก / ศิลปะประดิษฐ์ หมู่ท่ี 6 ตำบลหมอนนาง

3 นางพิกลุ คุณจักร ถักกระเป๋าจากเชือกรม่ หมทู่ ่ี 4 ตำบลหมอนนาง

4 นางสาววภิ า แสงทอง น้ำพริกสำเรจ็ รปู หมทู่ ี่ 12 ตำบลหมอนนาง

5 นางกันยา นทั ธี การจัดเย็บเสือ้ ผ้า หมู่ที่ 11 ตำบลหมอนนาง

6 นางสาวมารศรี ดาศิริ นำ้ พริกสมนุ ไพร หมู่ท่ี 12 ตำบลหมอนนาง

7 นางเสาวภา นาควชั รากูร การทำขนมไทย หมทู่ ี่ 2 ตำบลหมอนนาง

8 นางสาวธัญชนก นพิ นธ์ การแปรรปู กระเทียม หมทู่ ่ี 4 ตำบลหมอนนาง

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

11

แหลง่ เรยี นรู้ในเขตตำบลหมอนนาง ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ท่ตี ง้ั
ท่ี ชือ่ แหล่งเรยี นรู้ ศาสนาและวัฒนธรรม หมทู่ ี่ 2 ตำบลหมอนนาง
1 วดั หนองไทร ศาสนาและวัฒนธรรม หมูท่ ่ี 4 ตำบลหมอนนาง
2 วดั ทุ่งเหยี ง ศาสนาและวัฒนธรรม หมทู่ ี่ 9 ตำบลหมอนนาง
3 วัดหมอนนาง ศาสนาและวฒั นธรรม หมทู่ ี่ 10 ตำบลหมอนนาง
4 วัดชุมแสง สถานทแ่ี ละองคก์ ร หมทู่ ี่ 12 ตำบลหมอนนาง
5 กลมุ่ สตรีตำบลหมอนนาง
(นำ้ พริกสมนุ ไพร) บคุ คล หม่ทู ่ี 9 ตำบลหมอนนาง
6 บ้านโจก๊ ปรศิ นา

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

12

ส่วนที่ 2
ทิศทาง นโยบาย กศน.ตำบลหมอนนาง

จุดเน้นการดาํ เนนิ งานประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
1. นอ้ มนําพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ

1.1 สืบสานศาสตร์พระราชา โดยการสร้างและพัฒนาศูนย์สาธิตและเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” เพื่อ
เป็นแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบต่าง ๆ ท้ังดิน น้ำ ลม แดด รวมถึงพืชพันธ์ุต่าง ๆ และส่งเสริม
การใช้พลังงานทดแทนอย่างมีประสิทธภิ าพ

1.2 จัดให้มี “หนง่ึ ชมุ ชน หนึ่งนวตั กรรมการพฒั นาชมุ ชน” เพือ่ ความกนิ ดี อยู่ดี มงี านทํา
1.3 การสรา้ งกลุ่มจติ อาสาพัฒนาชุมชน รวมทั้งปลกู ฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดท่ีถูกตอ้ งดา้ นคุณธรรม จริยธรรม
มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง และเป็นผู้มีความพอเพียง ระเบียบวินัย สุจริต จิตอาสา ผ่านกิจกรรมการพัฒนา ผู้เรียน
โดยการใช้กระบวนการลกู เสือและยวุ กาชาด
2. สง่ สริมการจัดการศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวิตสาํ หรับประชาชนทเี่ หมาะสมกับทุกช่วงวัย
2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทํา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง
นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความต้องการของประชาชน
ผูร้ บั บริการ และสามารถออกใบรบั รองความรคู้ วามสามารถเพอ่ื นําไปใช้ในการพัฒนาอาชีพได้
2.2 ส่งเสรมิ และยกระดบั ทักษะภาษาอังกฤษให้กบั ประชาชน (English for ALL)
2.3 ส่งเสริมการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมสําหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ การฝึกอบรมอาชีพ ที่เหมาะสม
รองรับสงั คมสูงวัย หลกั สตู รการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสง่ เสริมสมรรถนะผู้สงู วยั และหลักสูตร การดูแลผู้สูงวัย โดย
เนน้ การมีสว่ นรว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยทกุ ภาคสว่ นในการเตรียมความพร้อมเขา้ สสู่ ังคมสูงวยั
3. พฒั นาหลักสตู ร สือ่ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหล่งเรยี นรู้ และรูปแบบ การจดั การศกึ ษาและ
การเรยี นรู้ ในทุกระดับ ทุกประเภท เพื่อประโยชนต์ อ่ การจดั การศึกษาที่เหมาะสม กับทกุ กลุ่มเป้าหมาย มีความ
ทนั สมยั สอดคล้องและพร้อมรองรับกบั บริบทสภาวะสังคมปจั จุบัน ความตอ้ งการ ของผ้เู รียน และสภาวะการ
เรียนรใู้ นสถานการณต์ ่าง ๆ ท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต
3.1 พัฒนาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Leaming Platform ที่รองรับ DEEP ของกระทรวงศึกษาธิการ
และช่องทางเรยี นรรู้ ูปแบบอนื่ ๆ ทัง้ Online On-site และ On-air
3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/
Digital Library ศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพ่ือให้
สามารถ “เรียนรู้ไดอ้ ย่างทัว่ ถึง ทกุ ท่ี ทุกเวลา”
3.3 พัฒนาระบบรับสมัครนักศึกษาและสมัครฝึกอบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอนความรู้ ระบบ
สะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการให้บริการระบบทดสอบอิเล็กทรอนิกส์ (E-
exam)

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

13

4. บรู ณาการความร่วมมือในการส่งเสรมิ สนบั สนนุ และจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ใหก้ บั ประชาชนอย่างมี
คุณภาพ

4.1 ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้ง
ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน อาทิ การส่งเสริมการฝึกอาชีพที่เป็นอัตลักษณ์และบริบทของชุมชน
ส่งเสรมิ การตลาดและขยายช่องทางการจาํ หนา่ ยเพอ่ื ยกระดบั ผลิตภณั ฑ์/สนิ ค้า กศน.

4.2 บูรณาการความร่วมมือกับหนว่ ยงานต่าง ๆ ในสังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ทัง้ ในส่วนกลาง และภูมภิ าค
5. พัฒนาศักยภาพและประสิทธภิ าพในการทาํ งานของบุคลากร กศน.

5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills)
ให้กับบุคลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเป็นรฐั บาลดิจิทัลอย่างมีประสิทธภิ าพ รวมทั้งพัฒนาครูให้มีทักษะ
ความรู้ และความชํานาญในการใช้ภาษาอังกฤษ การผลิตสื่อการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนเพ่ือฝึกทักษะ
การคิดวิเคราะหอ์ ยา่ งเป็นระบบและมเี หตผุ ล เปน็ ขนั้ ตอน

5.2 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ ของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทํางาน
ร่วมกันในรปู แบบต่าง ๆ อาทิ การแขง่ ขนั กฬี า การอบรมเชิงปฏบิ ัติการพฒั นาประสิทธิภาพ ในการทํางาน
6. ปรบั ปรุงและพัฒนาโครงสรา้ งและระบบบริหารจัดการองค์กร ปจั จัยพื้นฐานในการจัดการศกึ ษา และการ
ประชาสมั พันธ์สร้างการรับรู้ตอ่ สาธารณะชน

6.1 เร่งผลักดนั ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการเรยี นรู้ พ.ศ. ... ให้สาํ เรจ็ และปรับโครงสร้าง การบรหิ ารและ
อัตรากาํ ลงั ให้สอดคล้องกับบริบทการเปลี่ยนแปลง เรง่ การสรรหา บรรจุ แตง่ ต้ังที่มปี ระสิทธภิ าพ

6.2 นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนาระบบการทํางานและข้อมูล
สารสนเทศด้านการศึกษาท่ีทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใช้งานทันที โดยจัดตั้งศูนย์ข้อมูลกลาง กศน. เพื่อจัดทํา
ขอ้ มลู กศน. ท้งั ระบบ (ONE ONIE)

6.3 พัฒนา ปรับปรุง ซ่อมแซม ฟื้นฟูอาคารสถานท่ี และสภาพแวดล้อมโดยรอบของหน่วยงาน สถานศกึ ษา
และแหลง่ เรียนรทู้ กุ แหง่ ให้สะอาด ปลอดภยั พร้อมใหบ้ รกิ าร

6.4 ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนท่ัวไปเก่ียวกับการบริการทางวิชาการ/กิจกรรม ด้าน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างช่องทางการแลกเปล่ียนเรียนรู้ด้านวิชาการ ของ
หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ข่าวประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อรูปแบบต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ/มหกรรม
วิชาการ กศน.
การจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
(COVID - 19) ของสาํ นกั งาน กศน.

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เม่ือเดือนธันวาคม 2562 ส่งผล
กระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ได้ออก
ประกาศและมีมาตรการเฝ้าระวังเพ่ือป้องกันการแพร่กระจายของเช้ือไวรัสดังกล่าว อาทิ กําหนดให้มี การเว้น
ระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานที่ของโรงเรียนและสถาบันการศึกษา ทุกประเภท

แผนปฏิบตั ิการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

14

เพ่ือจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทํากิจกรรมใด ๆ ท่ีมีผู้เข้าร่วมเป็นจํานวนมาก การปิด
สถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกําหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้ แบบ
ออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทางโทรทัศน์ วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ต่าง ๆ รวมถึง การ
สอื่ สารแบบทางไกลหรอื ด้วยวิธีอเิ ลก็ ทรอนิกส์

ในส่วนของสํานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนินงานในภารกิจ
ตอ่ เน่ืองต่าง ๆ ในสถานการณก์ ารใชช้ ีวติ ประจําวนั และการจัดการเรียนรเู้ พื่อรองรบั การชีวิตแบบปกติวิถีใหม่ (New
Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสําคัญกับการดําเนินงานตามมาตรการการป้องกัน การแพร่
ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกประเภท หากมีความ
จําเป็นตอ้ งมาพบกลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการป้องกนั ท่ีเข้มงวด มเี จล แอลกอฮอลล้างมือ
ผู้รับบริการต้องใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เน้นการใช้ส่ือดิจิทัลและ
เทคโนโลยอี อนไลน์ในการจดั การเรยี นการสอน
ภารกิจต่อเนอ่ื ง

1. ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรียนรู้
1.1 การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโดยดําเนินการ ให้ผู้เรียน
ได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการเรียน การสอนอย่าง
ท่วั ถึงและเพยี งพอเพ่อื เพ่ิมโอกาสในการเข้าถงึ บริการทางการศึกษาที่มคี ุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย

2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผ้ดู ้อย พลาด และขาดโอกาสทาง
การศกึ ษา ผา่ นการเรยี นแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุม่ การเรียนแบบชน้ั เรยี น และการจดั การศกึ ษาทางไกล

3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน ทั้ง
ด้านหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน ส่ือและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล การเรียน และ
ระบบการให้บรกิ ารนักศกึ ษาในรูปแบบอื่น ๆ

4) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ที่มีความ
โปร่งใส ยุตธิ รรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามท่ีกําหนด และสามารถตอบสนองความตอ้ งการ ของกลมุ่ เปา้ หมายได้
อย่างมีประสิทธิภาพ

5) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติ กิจกรรม เพ่ือ
เป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเก่ียวกับการป้องกัน และแก้ไข
ปัญหายาเสพติดการแข่งขันกีฬา การบําเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเน่ือง การส่งเสริมการปกครอง ในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรม จิตอาสา
และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนํากิจกรรมการบาํ เพ็ญประโยชน์อืน่ ๆ นอกหลักสูตรมาใช้
เพิ่มช่ัวโมงกจิ กรรมให้ผู้เรียนจบตามหลกั สูตรได้

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

15

1.2 การสง่ เสริมการรู้หนงั สอื
1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็นระบบเดียวกัน ทั้ง

สว่ นกลางและส่วนภูมิภาค
2) พัฒนาและปรับปรงุ หลกั สตู ร สอ่ื แบบเรยี นเครอื่ งมอื วัดผลและเครือ่ งมือการดําเนินงานการ สง่ เสริมการ

รหู้ นังสือที่สอดคล้องกบั สภาพและบรบิ ทของแตล่ ะกลมุ่ เป้าหมาย
3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายท่ีร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถ และทักษะการ จัด

กระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้ไมร่ ู้หนังสอื อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และอาจจดั ให้มอี าสาสมัครส่งเสริมการรู้หนงั สอื ใน พ้นื ท่ี
ทม่ี ีความต้องการจาํ เปน็ เป็นพิเศษ

4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรหู้ นังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือ การพฒั นา
ทักษะการรู้หนังสอื ให้กบั ประชาชนเพอ่ื เปน็ เครื่องมือในการศึกษาและเรยี นรู้อย่างต่อเนือ่ งตลอดชีวติ ของประชาชน
1.3 การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง

1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําอย่างย่ังยืน โดยให้ความสําคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือการมี
งานทําในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชพี เฉพาะทางหรือการบริการ รวมถึง
การเน้นอาชพี ช่างพนื้ ฐาน ท่ีสอดคล้องกับศกั ยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของแต่ละพื้นท่ี มคี ณุ ภาพ
ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรบั สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจน สร้างความ
เข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีการส่งเสริมการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน การพัฒนา หนึ่งตําบลหนึ่ง
อาชีพเด่น การประกวดสินค้าดีพรีเม่ียม การสร้างแบรนด์ของ กศน. รวมถึงการส่งเสริมและจัดหาช่องทางการ
จําหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ และให้มีการกํากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานทํา
อยา่ งเป็นระบบและตอ่ เน่ือง

2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สงู อายุ ท่ีสอดคล้องกับ
ความต้องการจําเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดํารงชีวิตตลอดจน สามารถ
ประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคม ได้อย่างมี
ความสขุ สามารถเผชญิ สถานการณต์ า่ ง ๆ ทเ่ี กิดขึ้นในชวี ติ ประจําวนั ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ และเตรียมพรอ้ มสําหรับ
การปรับตัวให้ทันตอ่ การเปล่ยี นแปลงของข่าวสารขอ้ มลู และเทคโนโลยสี มัยใหม่ในอนาคต โดยจดั กจิ กรรมที่มเี น้ือหา
สําคัญต่าง ๆ เช่น การอบรมจิตอาสา การให้ความรู้เพื่อการป้องการการแพร่ระบาด ของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COMID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การป้องกันภัยยา
เสพติด เพศศึกษา การปลูกฝังและการสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการ
อบรมเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดต้ังชมรม/ชุมนุม การอบรมส่งเสริมความสามารถ
พิเศษต่าง ๆ เป็นต้น

3) จัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณาการ
ในรูปแบบของการฝึกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้การจัดกิจกรรม จิตอาสา การสร้าง
ชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพ้ืนที่ เคารพความคิด
ของผู้อ่ืน ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคม พหุวัฒนธรรม โดยจัด

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

16

กระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้รว่ มกนั สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจติ สํานึกความ
เป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบต่อหน้าที่ความเป็นพลเมือง ที่ดีภายใต้การ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การเป็นจิตอาสา
การบําเพ็ญประโยชน์ในชุมชนการ บริหารจัดการน้ํา การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงาน
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม การช่วยเหลือซึ่งกนั และกันในการพัฒนาสังคมและชมุ ชนอยา่ งยั่งยนื

4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ใน
รูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสรา้ งภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการบริหารจัดการ
ความเสี่ยงอยา่ งเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสคู่ วามสมดลุ และยง่ั ยืน
1.4 การศึกษาตามอธั ยาศัย

1) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ท่ีมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพ การ
เรียนรู้ให้เกดิ ข้ึนในสังคมไทย ใหเ้ กิดขึ้นอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น การพฒั นา กศน. ตําบล หอ้ งสมุด ประชาชน
ทุกแห่งให้มีการบริการท่ีทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่าย ส่งเสริมการ
อ่าน จัดหน่วยบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ ห้องสมุดชาวตลาด พร้อมหนังสือและอุปกรณ์เพ่ือจัดกิจกรรม ส่งเสริมการ
อ่านและการเรียนรู้ท่ีหลากหลายให้บริการกับประชาชนในพื้นท่ีต่าง ๆ อย่างท่ัวถึง สม่ำเสมอ รวมทั้ง เสริมสร้าง
ความพร้อมในด้านบุคลากร ส่ืออุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่าน อย่าง
หลากหลายรปู แบบ

2) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต ของ
ประชาชน เป็นแหลง่ สร้างนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตร์และเปน็ แหลง่ ท่องเท่ียวเชงิ ศลิ ปะวิทยาการประจําทอ้ งถิ่น โดย
จัดทําและพัฒนานิทรรศการสื่อและกิจกรรมการศึกษาที่เน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรงบันดาลใจ ด้าน
วิทยาศาสตร์สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านการ
กระบวนการเรียนรู้ท่ีบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์
รวมท้ังสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมทั้งระดับภูมิภาค และ
ระดับโลกเพ่ือให้ประชาชนมีความรู้และสามารถนําความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิต การพัฒนา
อาชีพ การรักษาส่ิงแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมท้ังมีความสามารถในการปรับตัว
รองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของโลกที่เป็นไปอย่างรวดเร็วและรนุ แรง (Disruptive Changes) ได้อย่าง มี
ประสิทธิภาพ

3) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ เพ่ือส่งเสริม การ
จัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น พิพิธภัณฑ์
ศูนยเ์ รยี นรู้ แหลง่ โบราณคดี วดั ศาสนาสถาน หอ้ งสมุด รวมถงึ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ เปน็ ต้น

แผนปฏิบัติการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

17

2. ด้านหลักสูตร ส่ือรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผลงานบรกิ าร ทางวิชาการ และการ
ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา

2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้และกจิ กรรมเพื่อส่งเสริม การศกึ ษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และ หลักสูตร
ทอ้ งถ่ินท่สี อดคลอ้ งกบั สภาพบริบทของพ้ืนทีแ่ ละความต้องการของกลุม่ เปา้ หมายและชุมชน

2.2 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่น ๆ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
กลมุ่ เปา้ หมายทั่วไปและกลมุ่ เป้าหมายพเิ ศษ เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นสามารถเรียนรไู้ ด้ทกุ ที่ ทกุ เวลา

2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย หลากหลายช่องทางการเรียนรู้ ด้วยระบบ
หอ้ งเรยี นและการควบคุมการสอบรูปแบบออนไลน์

2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ เพื่อให้
มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ัง มีการ
ประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนไดร้ บั รู้และสามารถเขา้ ถึงระบบการประเมินได้

2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดับ
การศึกษาขนั้ พ้ืนฐานใหไ้ ด้มาตรฐานโดยการนําแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเลก็ ทรอนิกส์
(e-Exam) มาใชอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การ วัด
และประเมินผล และเผยแพร่รปู แบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม
อัธยาศยั รวมท้ังให้มกี ารนาํ ไปสู่การปฏบิ ตั ิอยา่ งกว้างขวางและมีการพฒั นาใหเ้ หมาะสมกับบริบทอย่างต่อเน่ือง
2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน มกี ารพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพภายในท่ี
สอดคล้องกับบริบทและภารกิจของ กศน. มากขึ้น เพ่ือพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากร
ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ดําเนินการประกัน
คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเนื่องโดยใช้การประเมินภายในด้วยตนเอง และจัดให้มี ระบบสถานศึกษา
พี่เล้ียงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สําหรับสถานศึกษาท่ียังไม่ได้เข้ารับการประเมินคุณภาพ ภายนอก ให้พัฒนา
คุณภาพการจัดการศึกษาใหไ้ ด้คณุ ภาพตามมาตรฐานท่ีกําหนด
3. ด้านเทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษา

3.1 ผลิตและพัฒนารายการวทิ ยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อให้เช่ือมโยงและตอบสนอง ต่อการ
จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษา
สําหรับกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองให้รู้เท่า
ทนั ส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการส่ือสาร เช่น รายการพฒั นาอาชีพเพื่อการมีงานทํา รายการติวเข้มเติมเต็ม
ความรู้ รายการ รายการทํากินก็ได้ ทําขายก็ดี ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศกึ ษา สถานีวิทยุโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทางอนิ เทอรเ์ นต็

แผนปฏิบตั ิการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

18

3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยผ่านระบบ เทคโนโลยี
ดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อื่น ๆ เพ่ือส่งเสริม ให้ครู กศน.
นาํ เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลมาใช้ในการสรา้ งกระบวนการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY)

3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพ่ือการศึกษาเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการ
ออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยขยาย
เครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพ้ืนท่ีท่ัวประเทศและเพิ่มช่องทาง ให้สามารถรับชม
รายการโทรทัศน์ได้ทั้งระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมท่ีจะ รองรับการพัฒนา
เปน็ สถานวี ิทยโุ ทรทศั น์เพอ่ื การศึกษาสาธารณะ (Free ETV)

3.4 พฒั นาระบบการให้บรกิ ารสือ่ เทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษาเพือ่ ให้ได้หลายช่องทางทั้งทาง อินเทอร์เน็ต และ
รูปแบบอ่ืน ๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคล่ือนท่ี และ Tablet รวมท้ังสื่อ Offline ในรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อให้
กลุ่มเป้าหมายสามารถเลอื กใช้บรกิ ารเพ่อื เขา้ ถงึ โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ได้ตามความต้องการ

3.5 สาํ รวจ วจิ ัย ตดิ ตามประเมินผลด้านการใช้สื่อเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษาอย่างต่อเน่ืองเพื่อนาํ ผล มาใชใ้ น
การพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของประชาชนได้
อยา่ งแท้จริง
4. ด้านโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดําริ หรือโครงการอันเกี่ยวเนอ่ื งจากราชวงศ์

4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริหรือโครงการ อันเกี่ยวเน่ือง
จากราชวงศ์

4.2 จัดทําฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ท่ีสนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริหรือ
โครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์เพ่ือนําไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและการ พัฒนางานไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

4.3 สง่ เสริมการสรา้ งเครือข่ายการดาํ เนนิ งานเพอ่ื สนับสนนุ โครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดําริ เพ่ือใหเ้ กิด
ความเข้มแข็งในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

4.4 พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง”เพ่ือให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา นอก
ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตามบทบาทหนา้ ที่ทกี่ ําหนดไว้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

4.5 จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพ้ืนที่สูง ถิ่นทุรกันดาร
และพ้นื ทช่ี ายขอบ
5. ดา้ นการศกึ ษาในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ พน้ื ท่ีเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษและพื้นทบ่ี ริเวณ ชายแดน

5.1 พฒั นาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในจงั หวัดชายแดนภาคใต้
1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหา และความ
ต้องการของกลมุ่ เปา้ หมายรวมทงั้ อตั ลักษณแ์ ละความเปน็ พหุวัฒนธรรมของพ้ืนท่ี
2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอย่างเข้มข้นและต่อเนื่องเพ่ือให้ ผู้เรียน
สามารถนาํ ความรูท้ ไี่ ด้รบั ไปใช้ประโยชน์ได้จรงิ

แผนปฏบิ ัติการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

19

3) ให้หนว่ ยงานและสถานศึกษาจดั ให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ นักศึกษา กศน.
ตลอดจนผมู้ าใชบ้ ริการอยา่ งทั่วถึง
5.2 พัฒนาการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ

1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการจัดทําแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และบริบท
ของแตล่ ะจงั หวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ

2) จัดทําหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพ้ืนท่ี โดยเน้นสาขาท่ีเป็นความต้องการของตลาด ให้เกิดการ
พฒั นาอาชีพได้ตรงตามความต้องการของพ้ืนที่
5.3 จดั การศึกษาเพอื่ ความมัน่ คงของศนู ย์ฝึกและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน(ศฝช.)

1) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพ่ือให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การประกอบ
อาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรูต้ ้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดํารปิ รัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
สําหรบั ประชาชนตามแนวชายแดนดว้ ยวิธีการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย

2) มุง่ จดั และพฒั นาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลายใช้รูปแบบเชงิ รุกเพ่ือการเข้าถึง กลุ่มเปา้ หมาย
เช่น การจัดมหกรรมอาชพี การประสานความรว่ มมือกับเครอื ขา่ ย การจดั อบรมแกนนําด้านอาชีพ ที่เน้นเรอ่ื งเกษตร
ธรรมชาตทิ ส่ี อดคลอ้ งกบั บริบทของชมุ ชนชายแดน ให้แกป่ ระชาชนตามแนวชายแดน
6. ด้านบคุ ลากรระบบการบริหารจดั การ และการมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วน
6.1 การพัฒนาบคุ ลากร

1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเน่ือง ทั้งก่อนและระหว่าง การดํารง
ตาํ แหน่งเพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตําแหน่ง ให้ตรงกับสายงาน ความ
ชํานาญ และความต้องการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดําเนินงานของหน่วยงานและ
สถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้งส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกัดพัฒนาตนเองเพ่ือเลื่อนตําแหน่ง หรือเลื่อน
วทิ ยฐานะโดยเน้นการประเมนิ วิทยฐานะเชงิ ประจกั ษ์

2) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะที่จําเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการ
นิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยใน
สถานศึกษา

3) พฒั นาหวั หนา้ กศน.ตาํ บล/แขวงให้มีสมรรถนะสูงข้ึน เพ่ือการบริหารจัดการ กศน.ตําบล/แขวง และการ
ปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรแู้ ละผู้อํานวย ความสะดวกใน
การเรียนรเู้ พ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรทู้ มี่ ีประสทิ ธิภาพอย่างแทจ้ ริง

4) พัฒนาครู กศน. และบคุ ลากรท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ ไดอ้ ย่างมี
คุณภาพโดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัด และ
ประเมินผล และการวจิ ัยเบื้องตน้

5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถ
และมคี วามเป็นมอื อาชพี ในการจดั บริการสง่ เสรมิ การเรียนร้ตู ลอดชีวติ ของประชาชน

แผนปฏบิ ัติการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

20

6) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการ บริหารการ
ดาํ เนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทําหน้าท่ีสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตาม
อธั ยาศัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ

8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรรวมท้ั งภาคีเครือข่ายทั้งใน และ
ตา่ งประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน ร่วมกัน
ในรูปแบบท่ีหลากหลายอย่างต่อเน่ืองอาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการ
ทํางาน
6.2 การพัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐานและอตั รากาํ ลัง

1) จัดทําแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและดําเนินการปรับปรุงสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ ให้มี ความ
พรอ้ มในการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้

2) สรรหา บรรจุ แต่งต้ัง และบริหารอัตรากําลังท่ีมีอยู่ทั้งในส่วนท่ีเป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และ
ลูกจ้าง ให้เป็นไปตามโครงสร้างการบริหารและกรอบอัตรากําลัง รวมทั้งรองรับกับบทบาทภารกิจตามท่ีกําหนดไว้
ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพสงู สุดในการปฏิบตั งิ าน

3) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพื่อนํามาใช้ ในการปรับปรุง
โครงสร้างพื้นฐานให้มีความพร้อมสําหรับดําเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย และการ
สง่ เสริมการเรยี นร้สู ําหรบั ประชาชน
6.3 การพัฒนาระบบบริหารจดั การ

1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถว้ น ถูกต้อง ทันสมัย และเชือ่ มโยงกันทั่วประเทศ อยา่ งเป็นระบบ
เพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใช้เป็นเครื่องมือสําคัญในการบริหาร การวางแผน การ
ปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมท้ังจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากับ ควบคุม และเร่งรัด การ
เบกิ จา่ ยงบประมาณให้เปน็ ตามเปา้ หมายท่ีกําหนดไว้

3) พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลรวมของนกั ศึกษา กศน. ใหม้ ีความครบถ้วน ถูกตอ้ ง ทันสมยั และ เชื่อมโยงกันท่ัว
ประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพ่ือประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับ ผู้เรียนและการ
บริหารจดั การอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

4) ส่งเสริมให้มกี ารจัดการความร้ใู นหน่วยงานและสถานศกึ ษาทุกระดับ รวมทั้งการศกึ ษาวิจัย เพื่อสามารถ
นํามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และชุมชนพร้อมทั้ง
พฒั นาขีดความสามารถเชงิ การแข่งขันของหน่วยงานและสถานศกึ ษา

5) สร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมท้ังในประเทศ และ
ตา่ งประเทศ รวมท้ังส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนรว่ มของชมุ ชนเพื่อสรา้ งความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมอื ใน
การส่งเสริม สนับสนนุ และจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ใหก้ ับประชาชนอย่างมคี ุณภาพ

แผนปฏิบัติการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

21

6) ส่งเสริมการใชร้ ะบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) ในการบริหารจัดการ เชน่ ระบบการ ลา ระบบ
สารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส์ ระบบการขอใชร้ ถราชการ ระบบการขอใช้หอ้ งประชมุ เปน็ ตน้

7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิ
ชอบ บริหารจดั การบนขอ้ มลู และหลักฐานเชิงประจักษ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์มีความโปรง่ ใส
6.4 การกํากับ นเิ ทศติดตามประเมิน และรายงานผล

1) สร้างกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอกระบบ และ
การศึกษาตามอัธยาศัยใหเ้ ชอ่ื มโยงกบั หนว่ ยงาน สถานศกึ ษา และภาคีเครือข่ายทง้ั ระบบ

2) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เก่ียวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตามและ รายงานผล
การนาํ นโยบายสูก่ ารปฏบิ ัติ ให้สามารถตอบสนองการดาํ เนินงานตามนโยบายในแตล่ ะเรือ่ งได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ

3) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และส่ืออื่น ๆ ท่ีเหมาะสม เพื่อการกํากับ นิเทศ
ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลอย่างมีประสทิ ธิภาพ

4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปี ของ
หน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วดั ในคํารับรองการปฏิบัตริ าชการประจําปี ของสํานักงาน กศน.
ใหด้ ําเนนิ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เปน็ ไปตามเกณฑ์ วิธกี าร และระยะเวลาท่กี ําหนด

5) ให้มีการเชอื่ มโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ตั้งแต่ ส่วนกลาง
ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพ่ือความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และการพัฒนา
งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

ทิศทาง นโยบายและจดุ เนน้ ของ กศน.อำเภอพนัสนิคม

ปรัชญา
ยกระดบั การศึกษา พัฒนาคุณภาพชวี ติ ดว้ ยแนวคิดตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

วสิ ยั ทศั น์
กศน.อำเภอพนสั นิคม จัดและส่งเสริม สนบั สนนุ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหก้ ับ

ประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายอำเภอพนัสนิคมได้อยา่ งมีคุณภาพด้วยแนวคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
อตั ลกั ษณส์ ถานศึกษา

ใฝ่เรยี นรู้
เอกลกั ษณ์สถานศึกษา

ทมี งานเข้มแข็ง
พนั ธกิจของสถานศกึ ษา

1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยที่มคี ุณภาพ เพ่อื ยกระดับ
การศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย และพร้อมรับการ
เปลีย่ นแปลงบริบททางสังคมและสร้างสงั คมแห่งการเรยี นร้ตู ลอดชีวิต

2. สง่ เสริมสนับสนุนและประสานการมีสว่ นร่วมของภาคีเครอื ขา่ ยและชุมชน ในการจดั การศกึ ษา

แผนปฏบิ ัติการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

22

นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชนรวมทั้งการดำเนินกิจกรรมของ

ศนู ยก์ ารเรยี น และแหลง่ การเรียนรใู้ นรูปแบบตา่ ง ๆ

3. ส่งเสริมและพฒั นาการนําเทคโนโลยีทางการศกึ ษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารมา

ใช้ให้เกดิ ประสิทธิภาพในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ให้กับประชาชน อย่างทัว่ ถงึ

4. พัฒนาหลักสูตรรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เทคโนโลยีส่ือและนวัตกรรม การวัด และ

ประเมนิ ผลในทกุ รปู แบบใหส้ อดคล้องกับบริบทในปัจจุบัน

5. พฒั นาบคุ ลากรและระบบการบรหิ ารจดั การใหม้ ีประสิทธิภาพ เพือ่ ม่งุ จัดการศกึ ษาท่มี คี ณุ ภาพ

โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาลและการมสี ว่ นรว่ ม

เป้าประสงค์ และตัวชี้วดั ความสำเร็จ

เปา้ ประสงค์ ตวั ช้วี ดั ความสำเรจ็

1. จดั และสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและ 1. จำนวนกลุ่มเป้าหมาย ผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษาที่

การศกึ ษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพใหก้ ับ ได้รับบริการการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่

กล่มุ เปา้ หมาย อย่างเท่าเทยี มและทว่ั ถึง สอดคล้องกับสภาพ ปัญหาและความต้องการ ท่ีมีคุณภาพอย่างเท่า

เทยี มและทั่วถงึ

2. ร้อยละของผู้ไม่รู้หนังสือท่ีผ่านการประเมินการรู้หนังสือตาม

หลักสูตรสง่ เสริมการรูห้ นังสือ

2. ส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของภาคเี ครอื ข่ายใน 3. รอ้ ยละภาครัฐและเอกชนทุกภาคส่วน ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการ

การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม จัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและ

อัธยาศัย การศึกษาตามอธั ยาศยั

3. ส่งเสริมให้ประชาชน นักศึกษา กศน.ได้รับการ 4. ร้อยละของประชาชน นักศึกษา กศน. ได้รับการสร้างเสริมและ

ยกระดับการศึกษาสร้างเสริมและปลูกฝัง ปลูกฝังคุณ ธรรมจริยธรรมสู่ความเป็น พ ลเมืองที่ดีใน ระบอบ

คุณธรรม จริยธรรมและความเป็นพลเมือง อัน ประชาธิปไตย

นำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้าง

ความเข้มแข็งให้ชุมชน เพ่ือพัฒนาไปสู่สังคมที่

ย่ังยนื

4. พัฒนาบุคลากร ผู้เรียน ผู้รับบริการ และ 5. ร้อยละบุคลากร ผู้เรียน ผู้รับบริการ ได้รับการพัฒนาการนำ

ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการ เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการส่ือสารมาใช้ในการปฏิบัติงาน การศึกษา

ยกระดับ การจัดการเรียนรู้ และเพ่ิมโอกาส และการดำเนนิ ชีวติ ประจำวันใหเ้ กิดประสิทธิภาพ

ทางการเรียนรู้ให้กับประชาชน และนักศึกษา

กศน. โดยยึดหลักธรรมาภิบาลและการมีส่วน

ร่วม

5. จัดทำหลักสูตร และพัฒนาหลักสูตร รูปแบบ 6. สถานศึกษามหี ลกั สูตร และพฒั นาหลักสูตร รูปแบบการจัดกจิ กรรม

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เทคโนโลยี สื่อและ การเรียนรู้ เทคโนโลยี ส่ือและนวัตกรรม การวัดและประเมินผลในทุก

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

23

เป้าประสงค์ ตวั ชีว้ ัดความสำเรจ็

นวัตกรรม การวัดและประเมินผลในทุกรูปแบบ รปู แบบใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทในพ้ืนที่

ใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทในพื้นท่ี

6. ประชาชนได้รบั การสรา้ งและส่งเสริมให้มนี ิสัย 7.ร้อยละการอา่ นของประชาชนในพ้ืนท่ี เพม่ิ มากขน้ึ
รักการอ่านเพือ่ การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง

7. สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายใน 8. ร้อยละสถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายในและภายนอกมี
และภายนอก มีการจัดทำรายงานการประเมิน การจัดทำรายงานการประเมนิ ตนเอง
ตนเอง
กลยุทธ์

กลยทุ ธท์ ี่ 1 บริหารงานตามนโยบาย
กลยทุ ธท์ ี่ 2 มากมายแหล่งเรียนรู้
กลยทุ ธ์ท่ี 3 ควบคู่เครือข่าย
กลยทุ ธท์ ี่ 4 หลากหลายกจิ กรรม
กลยุทธท์ ่ี 5 นำสูก่ ลุ่มเปา้ หมาย

นโยบายเร่งดว่ นเพอื่ ร่วมขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศ
1. ยุทธศาสตรด์ ้านความมั่นคง
1.1 พฒั นาและเสรมิ สรา้ งความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาตพิ ร้อมทั้งน้อมนำและ

เผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดำริต่าง ๆ
1.2 เสรมิ สรา้ งความรู้ความเข้าใจ และการมสี ่วนรว่ มอย่างถูกตอ้ งกบั การปกครองระบอบ

ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรบั และเคารพความ
หลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์

1.3 สง่ เสรมิ และสนับสนุนการจดั การศึกษาเพ่ือป้องกันและแกไ้ ขปญั หาภยั คุกคามในรปู แบบใหม่
ท้ังยาเสพติด การค้ามนุษย์ ภัยจากไซเบอร์ ภัยพบิ ตั ิจากรรชาติ โรคอุบตั ิใหม่ ฯลฯ

1.4 ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและสรา้ งเสริมโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการการศกึ ษา ในเขตพัฒนา

พเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และพ้ืนทช่ี ายแดนอ่ืน ๆ
1.5 สร้างความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบ้านกล่มุ

ชาติพันธ์ุ และชาวต่างชาติทมี่ ีความหลากหลาย
2. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน
2.1 ยกระดับการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. เพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพของประชาชนให้รองรับ

อตุ สาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยเฉพาะในพื้นท่ีเขตระเบียงเศรษฐกิจ
และเขตพัฒนาพิเศษตามภูมิภาคตา่ ง ๆ ของประเทศ สำหรบั พ้ืนที่ปกตใิ ห้พฒั นาอาชพี ท่ีนัน้ การต่อยอดศักยภาพและ
ตามบรบิ ทของพนื้ ท่ี

แผนปฏิบตั ิการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

24

2.2 จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาพื้นท่ีภาคตะวันออก ยกระดับการศึกษาให้กับประชาชนให้จบ
การศึกษาอย่างน้อยการศึกษาภาคบงั คับสามารถนำคุณวุฒิท่ีได้รับไปต่อยอดในการประกอบอาชีพรองรับการพฒั นา
เขตพนื้ ทีร่ ะเบยี บเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก (EEC)

2.3 พัฒนาและส่งเสริมประชาชนเพ่ือต่อยอดการผลิตและจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน.
ออนไลน์ พร้อมท้ังประสานความร่วมมือกับภาคเอกชนในการเพิ่มช่องทางการจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ให้
กวา้ งขวางย่งิ ขน้ึ

3. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
3.1 สรรหา และพัฒนาครูและบคุ ลากรทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการจัดกจิ กรรมและการเรยี นรู้ เป็นผู้

เชื่อมโยงความรู้กับผู้เรียนและผู้รับบริการ มีความเป็น "ครูมืออาชีพ" มีจิตบริการ มีความรอบรู้และทันต่อการ
เปล่ียนแปลงของสังคม และเป็น ผู้อำนวยการการเรียนรู้" ที่สามารถบริหารจัดการความรู้ กิจกรรม และการเรียนรู้
ทด่ี ี

1) พฒั นาข้าราชการครูในรปู แบบครบวงจร ตามหลกั สูตรทเ่ี ช่ือมโยงกบั วิทยฐานะ
2) พัฒนาครูให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นเร่ืองการพัฒนาทักษะ
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ทกั ษะภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะการจดั กระบวนการเรียนรู้
3) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีความรู้และทักษะเร่ืองการใช้ประโยชน์จาก
ดิจิทัลและภาษาต่างประเทศที่จำเป็น รวมทั้งความรู้เกี่ยวกับอาชีพท่ีรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ
(First S-Curve และ New S - Curve)
3.2 พัฒนาหลกั สูตรการจัดการศกึ ษาอาชีพระยะสนั้ ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับ
บริบทของพนื้ ที่ และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผรู้ ับบรกิ าร
3.3 สง่ เสริมการจดั การเรยี นรู้ทที่ นั สมัยและมีประสทิ ธิภาพ เอือ้ ตอ่ การเรียนรสู้ ำหรบั ทุกคน
สามารถเรียนได้ทุกทท่ี กุ เวลา มีกจิ กรมที่หลากลาย นำสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน
3.4 เสริมสร้างความรว่ มมือกับภาคีเครือขา่ ย ประสาน สง่ เสริมความรว่ มมือภาคีเครอื ข่าย
ทั้งภาครัฐเอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมท้ังส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนเพื่อสรา้ งความเข้าใจ และใหเ้ กิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ
ประชาชนอยา่ งมีคุณภาพ
3.5 พัฒนานวตั กรรมทางการศึกษาเพ่ือประโยชน์ตอ่ การจดั การศึกษาและกล่มุ เป้าหมาย
เช่น จัดการศึกษาออนไลน์ กศน. ท้ังในรูปแบบของการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพและ
การศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้และ
ใชก้ ารวิจยั อยา่ งง่ายเพือ่ สร้างนวตั กรรมใหม่
3.6 พฒั นาศักยภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา และประชาชนท่วั ไป ดา้ นความร้คู วามเขา้ ใจ
และทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัล (Digital Literacy)
3.7 พฒั นาทกั ษะภาษาตา่ งประเทศเพื่อการส่ือสารของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ โดยเนน้ ทักษะ
ภาษาเพ่ืออาชพี ทัง้ ในภาคธุรกจิ การบรกิ าร และการท่องเทีย่ ว

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

25

3.8 เตรียมความพรอ้ มของประชาชนในการเข้าสู่สงั คมผูส้ ูงอายทุ ่เี หมาะสมและมคี ณุ ภาพ
3.9 ส่งเสริมการรภู้ าษาไทยให้กบั ประชาชนในรปู แบบต่าง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพนื้ ที่สูง
ให้สามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพือ่ ประโยชน์ในการใช้ชีวิตประจำวันได้
4. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
4.1 พฒั นาแหลง่ เรยี นรใู้ หม้ ีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่เี อ้ือต่อการเรยี นรู้ มีความพรอ้ มในการ
ใหบ้ ริการกิจกรรมการศึกษาและการเรยี นรู้

1) เรง่ ยกระดบั กศน.ตำบลนำร่อง 928 แห่ง (อำเภอละ 1 แหง่ ) ใหเ้ ปน็ กศน.ตำบล 5 ดี
พรเี มี่ยม ท่ีประกอบด้วย ครดู ี สถานที่ดี (ตามบริบทของพืน้ ที่) กจิ กรรมดี เครือข่ายดี และมีนวตั กรรมการเรยี นร้ทู ีต่ ี
มปี ระโยชน์

2) จัดให้มีศูนย์การเรียนรตู้ ้นแบบ กศน. เพื่อยกระดับการเรียนรู้ เป็นพ้นื ท่ีการเรยี นรู้
(Co- Learning Space) ทีท่ ันสมัยสำหรับทกุ คน มีความพร้อมในการให้บรกิ ารตา่ ง ๆ

3) พัฒนาห้องสมุดประชาชน "เฉลิมราชกุมารี" ใหเ้ ปน็ Digital Library
5. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตที่เปน็ มิตรต่อสง่ิ แวดลอ้ ม

5.1 ส่งเสริมใหม้ กี ารให้ความรู้กบั ประชาชนในการรบั มอื และปรับตวั เพ่ือลดความเสยี หายจากภยั
ธรรมชาตแิ ละผลกระทบที่เกย่ี วขอ้ งกบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ

5.2 สร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างสงั คมสเี ขียวส่งเสรมิ ความรู้ใหก้ ับประชาชน
เกยี่ วกบั การคดั แยกตง้ั แตต่ น้ ทางการกำจดั ขยะ และการนำกลบั มาใชซ้ ้ำ

5.3 ส่งเสรมิ ให้หนว่ ยงานและกศน.ตำบลใช้พลงั งานทเ่ี ป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อม รวมทง้ั ลดการใช้
ทรพั ยากรที่สง่ ผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ ม เช่น รณรงค์เรื่องการลดการใชถ้ ุงพลาสติก การประหยัดไฟฟ้า เป็นต้น

6. ยทุ ธศาสตร์ด้านการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ
6.1 พฒั นาและปรับระบบวธิ ีการปฏบิ ตั ิราชการให้ทนั สมัย มีความโปรง่ ใสปลอดการทจุ ริตและ

ประพฤติมชิ อบ บรหิ ารจดั การบนขอ้ มลู และหลกั ฐานเชิงประจักษ์ มุ่งผลสมั ฤทธ์ิมีความโปรง่ ใส
6.2 นำนวตั กรรมและเทคโนโลยีระบบการทำงานท่เี ป็นดิจิทัลมาใชใ้ นการบริหารและพัฒนางาน
6.3 สง่ เสรมิ การพฒั นาบุคลากรทุกระดบั อย่างต่อเน่อื ง ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐาน

ตำแหน่งใหต้ รงกับสายงาน ความชำนาญ และความต้องการของบุคลากร
ภารกจิ ต่อเน่ือง
1. ดา้ นการจัดการศึกษาและการเรียนรู้
1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โดยดำเนินการให้ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซ้ือหนังสือเรียน ค่าจัดกิจ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
และค่าจัดการเรียนการสอนอย่างท่ัวถึงและเพียงพอ เพ่ือเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพ
โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

26

2) จัดการศึกษานอกระบบระตับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ต้อย พลาด
และขาดโอกาสทางการศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบช้ันเรียน และการจัด
การศึกษาทางไกล

3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน ทั้งต้านหลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน ส่ือและนวัตกรรม ระบบการวัดและ
ประเมนิ ผลการเรียน และระบบการใหบ้ ริการนักศึกษาในรูปแบบอื่น ๆ

4) จัดให้มีการประเมนิ เพอ่ื เทยี บระดบั การศกึ ษา และการเทียบโอนความรูแ้ ละ
ประสบการณ์ที่มีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กำหนด และสามารถตอบสนองความ
ตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

5) จัดให้มกี ิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นทม่ี ีคณุ ภาพท่ีผเู้ รียนต้องเรยี นร้แู ละเข้าร่วมปฏิบัติ
กิจกรรมเพ่ือเป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการป้องกัน
และแก้ไขปัญหายาเสพติด การแข่งขันกีฬา การบำเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างตอ่ เน่ือง การส่งเสริมการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรม
จิตอาสาและการจัดต้ังชมรม/ชุมนุม พร้อมทั้งปิดโอกาสให้ผู้เรียนนำกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชน์ อื่น ๆ
นอกหลกั สูตร มาใช้เพม่ิ ชวั่ โมงกิจกรรมให้ผเู้ รียนจบตามหลกั สตู รได้

1.2 การสง่ เสริมการรู้หนังสือ
1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็น

ระบบเดยี วกันทง้ั ส่วนกลางและสว่ นภูมภิ าค
2) พัฒนาหลักสูตร สื่อ แบบเรียน เคร่ืองมือวัดผลและเคร่ืองมือการดำเนินงานการ

สง่ เสรมิ การรหู้ นงั สือทสี่ อดคลอ้ งกับสภาพแต่ละกล่มุ เป้าหมาย
3) พัฒนาครู อาสาสมัคร กศน. และภาคีเครือข่ายท่ีร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้

ความสามารถ และทกั ษะการจัดกระบวนการเรียนร้ใู ห้กบั ผูไ้ ม่ร้หู นงั สืออยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้

หนังสือการพัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพ่ือเป็นเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอด
ชวี ิตของประชาชน

1.3 การศกึ ษาต่อเน่อื ง
1) จดั การศกึ ษาอาชพี เพื่อการมงี านทำอย่างยั่งยืน โดยให้ความสำคัญกบั การจัดการศึกษา

อาชีพเพื่อการมีงานทำในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือ
การบริการรวมถึงการเน้นอาชีพช่างพ้ืนฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของแต่
ละพ้ืนท่ีมีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ
ตลอดจนสร้างความเข้มแขง็ ใหก้ บั ศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน โดยจัดใหม้ ีหน่ึงอาชพี เด่น รวมท้ังให้มกี ารกำกับ ติดตาม และ
รายงานผลการจดั การศกึ ษาอาชีพเพ่อื การมงี านทำอย่างเป็นระบบและต่อเนอื่ ง

แผนปฏิบัติการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

27

2) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ
ผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดำรงชีวิต
ตลอดจนสามารถประกอบอาชพี พึ่งพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจดั การชีวติ ของตนเองให้อยู่ใน
สังคมได้อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
เตรียมพร้อมสำหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต
โดยจัดกิจกรรมท่ีมีเนื้อหาสำคัญต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและ
ค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารปู แบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต
การจดั ตัง้ ชมรมชุมนมุ การสง่ เสริมความสามารถพเิ ศษตา่ ง ๆ

3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการ
เรียนรู้แบบบูรณาการในรูปแบบของกาฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดกิจกรรม
จติ อาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรปู แบบอื่นๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชนแตล่ ะพ้ืนท่ี
เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคมพหุ
วัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันสร้างกระบวนการจิตสาธารณะการ
สร้างจิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบต่อหน้าท่ีความเป็นพลเมืองดีการส่งเสริม
คุณธรรม จริยธรรม การบำเพ็ญประโยชน์ในชุมชนการบริหารจัดการน้ำการรับมือกับ สาธารณภัย การอนุรักษ์
พลงั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ชว่ ยเหลอื ซง่ึ กันและกันในการพัฒนาสงั คมและชมุ ชนอยา่ งยง่ั ยืน

4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้
ตลอดชีวิตในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการ
บริหารจดั การความเสย่ี งอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสู่ความสมดลุ และยัง่ ยนื

1.4 การศึกษาตามอัธยาศยั
1) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการอ่านและพัฒนา

ศักยภาพการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้เกิดข้ึนอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุก
แห่งให้มีการบรกิ ารท่ีทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมคั รส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน
จัดหน่วยบริการเคลื่อนท่ีพร้อมอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรี ยนรู้ที่หลากหลายให้บริการกับ
ประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆ อย่างทั่วถึง สม่ำเสมอ รวมท้ังเสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร ส่ือ อุปกรณ์เพื่อ
สนับสนุนการอา่ นและการจัดกจิ กรรมเพื่อสง่ เสรมิ การอ่านอย่างหลากหลาย

1.5 ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพ่ือ
ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน
เชน่ พพิ ธิ ภัณฑ์ศนู ย์เรยี นรู้ แหลง่ โบราณคดี เป็นตน้

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

28

2. ดา้ นหลักสูตร ส่ือ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล งานบริการทางวชิ าการ
และการประกนั คณุ ภาพการศึกษา

2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรม เพ่ือส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทห่ี ลากหลาย ทันสมัย รวมท้ังหลักสูตรท้องถ่นิ ท่ีสอดคลอ้ งกบั สภาพ
บรบิ ทของพ้นื ที่ และความต้องการของกลุ่มเปา้ หมายและชุมชน

2.2 ส่งเสรมิ การพัฒนาสอื่ แบบเรียน สื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละสือ่ อน่ื ๆ ที่เอื้อตอ่ การเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น
กลุ่มเป้าหมายทว่ั ไปและกลุ่มเปา้ หมายพิเศษ

2.3 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ
ประสบการณ์เพื่อให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ รวมท้ังมีการประชาสมั พันธใ์ หส้ าธารณชนได้รับรแู้ ละสามารถขา้ ถงึ ระบบการประเมนิ ได้

2.4 พัฒนาผลสัมฤทธิ์การวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตรโดยเฉพาะหลักสูตร
ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนำแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส์
(e-Exam) มาใช้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

2.5 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้
การวัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังให้มีการนำไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับบริบท
อยา่ งตอ่ เนือ่ ง

2.6 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพื่อพร้อมรับการประเมิน
คุณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของระบบการประกันคณุ ภาพ
และสามารดำเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเน่ืองโดยใช้การประเมินภายในด้วยตนเอง
และจัดให้มีระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สำหรับสถานศึกษาที่ยังไม่ไต้เข้ารับการประเมิน
คุณภาพภายนอกใหพ้ ฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาให้ได้คณุ รพตามมาตรฐานท่ีกำหนด

3. ดา้ นเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษา
3.1 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยผ่านระบบ

เทคโนโลยี และช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น YouTube Facebook หรือ application อ่ืน ๆ เพ่ือส่งเสริมให้ครู
กศน.นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้สรา้ งกระบานการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง (Do it Yourself : DM)

4. ดา้ นโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ หรอื โครงการอนั เกี่ยวเนือ่ งจากราชวงศ์
4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ หรือโครงการ

อันเกยี่ วเน่ืองจากราชวงศ์
4.2 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดำเนินงาน เพื่อสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ

ที่ทำใหเ้ กิดความเขม้ แขง็ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

แผนปฏิบัติการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

29

5. ด้านบคุ ลากร ระบบการบรหิ ารจดั การ และการมสี ่วนร่วมของทุกภาคสว่ น
5.1 การพัฒนาบุคลากร
1) พฒั นาบุคลากรทรุ ะดับ ทกุ ประเภทให้มีสมรรถนะสูงขน้ึ อย่างต่อเนือ่ ง ท้ังก่อนและ

ระหว่างการดำรงตำแหน่งเพ่ือให้มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัตงิ านและบริหารจัดการการดำเนินงาน
ของหน่วยงานและสถานศึกษาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

2) พัฒนาหัวหน้า กศน.ตำบลใหม้ ีสมรรถนะขน้ึ เพ่ือการบริหารจัดการ กศน. ตำบลและ
การปฏิบตั ิงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อำนวยความสะดวก
การเรียนรเู้ พื่อใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรียนรู้ที่มีประสิทธภิ าพอย่างแท้จริง

3) พัฒนาครู กศน. และบคุ ลากรทเี่ กย่ี วข้องกับการจัดการศกึ ษาใหส้ ามารถจดั รูปแบบการ
เรียนรู้ไดม้ คี ุณภาพ โดยส่งเสรมิ ให้มวี ามรูค้ วามสามารถในการจัดทำแผนการสอน การจดั กระบวนการเรยี นรู้ การวัด
และประเมินผล และการวิจยั เบ้ืองต้น

4) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่รี ับผิดชอบการบริการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มคี วามรู้
ความสามารถและมีความเป็นมืออาชีพในการจดั บรกิ ารส่งเสริมการเรียนร้ตู ลอดชีวิตของประชาชน

5) สง่ เสริมให้คณะกรรมการสถานศกึ ษา มสี ่วนร่วมในการบรหิ ารการดำเนนิ งานตาม
บทบาทภารกจิ ของ กศน. อย่างมีประสทิ ธิภาพ

6) พัฒนาอาสาสมคั ร กศน. ให้ทำหนา้ ที่ให้สนบั สนุนการจดั การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

7) พฒั นาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธร์ ะหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือขา่ ยท้ัง
ในพ้ืนที่และนอกพ้ืนที่ทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพไนการทำงาน
ร่วมกนั ในรูปแบบทีห่ ลากหลาย อย่างตอ่ เน่ือง

5.2 การพัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐานและอตั รากำลัง
1) จดั ทำแผนการพัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐานและดำเนนิ การบรบั ปรงุ สถานท่ี และวสั ดุ

อปุ กรณ์ ให้มีความพรอ้ มในการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้
2) บริหารอัตรากำลังทมี่ อี ยู่ ท้ังในสว่ นทเ่ี ปน็ ข้าราชการ พนกั งานราชการ และลกู จ้าง ให้

เกิดประสิทธิภาพสงู สดุ ในการปฏิบตั ิงาน
3) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครอื ข่ายทุกภาคสว่ นในการระดมทรัพยากรเพ่ือนำมาใช้

ในการปรับปรุงโครงสร้างฟ้ืนฐานให้มีความพร้อมสำหรับดำเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั และส่งเสริมการเรยี นรู้สำหรบั ประชาชน

5.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ
1) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลให้มคี วามครบถนั ถกู ต้อง ทนั มยั และเชอ่ื มโยงกนั ทว่ั ประเทศ

อย่างเป็นระบบเพ่ือให้หน่วยงานสังกัดสามารถนำไปใช้เป็นเครื่องมือสำหรับในการบริหารการวางแผน การ
ปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมี
ประสิทธิภาพ

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

30

2) เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจดั การงบประมาณ โดยพฒั นาระบบการกำกับ ควบคมุ
และเร่งรดั การเบิกจ่ายงบประมาณให้เป็นตามเปา้ หมายที่กำหนดไว้

3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และ
เช่ือมโยงกันทั่วประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ตามความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับ
ผู้เรียนและการบริหารจดั การอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

5.4 การกำกับ นิเทศตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผล
1) สรา้ งกลไกการกำกบั นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงาน

การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหเ้ ช่ือมโยงกบั หน่วยงาน สถานศกึ ษา และภาคเี ครอื ข่าย
2) สง่ เสริมใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนทศและการสื่อสาร และส่อื อนื่ ๆ ท่เี หมาะสม เพ่ือการ

กำกบั นิเทศติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

ปรัชญา วิสัยทศั น์ พันธกิจ กศน.อำเภอพนัสนิคม
ปรัชญา
สร้างโอกาสทางการศึกษา สูก่ ารเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
วสิ ัยทัศน์
กศน.ตำบลหมอนนาง จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหก้ บั ประชาชนทกุ

กลุ่มเปา้ หมายสู่การเรียนรตู้ ลอดชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อัตลกั ษณ์
ใฝ่เรียนรู้
เอกลักษณ์
เครอื ข่ายดี
พันธกจิ
1. จดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพอ่ื ยกระดบั การศกึ ษา พฒั นา

ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงบริบททาง
สงั คมและสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้ตลอดชีวิต

2. ส่งเสริมสนับสนุนและประสานการมีส่วนรว่ มของภาคีเครือขา่ ยและชุมชน ในการจัดการศกึ ษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชนรวมท้ังการดำเนินกิจกรรมของ
ศูนยก์ ารเรยี น และแหล่งการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ

3. ส่งเสริมและพัฒนาการนาํ เทคโนโลยที างการศกึ ษา และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารมา
ใช้ให้เกิดประสทิ ธภิ าพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ให้กับประชาชน อย่างทว่ั ถึง

4. พฒั นาหลกั สูตรรปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรียนร้เู ทคโนโลยสี ือ่ และนวัตกรรม การวดั และ

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

31

ประเมินผลในทกุ รปู แบบให้สอดคลอ้ งกับบริบทในปจั จบุ นั
เปา้ ประสงค์
1. ประชาชนในตำบลหมอนนางได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ อย่างเท่าเทียมและท่ัวถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหาและความต้องการ
ของแตล่ ะกลมุ่

2. ประชาชนในตำบลกฎุ โงง้ ไดร้ ับการเรียนรเู้ พ่ือแกป้ ัญหาและพฒั นาคุณภาพชวี ิตและเสรมิ สร้าง
ความเข้มแข็งให้กับชุมชน โดยมี กศน.ตำบล และแหล่งการเรียนรู้อื่น ในชุมชนเป็นกลไกในการจัดการเรียนรู้เพื่อ
พัฒนาไปสูค่ วามมั่นคงและยั่งยนื ทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตรแ์ ละส่ิงแวดล้อม

3. ชุมชนและทุกภาคส่วน ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการจัดส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและปรัชญาคิดเป็น

4. กศน.ตำบลหมอนนางนําสื่อ เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมา
ใชใ้ นการเพมิ่ โอกาสและยกระดบั คณุ ภาพในการจดั การเรียนรู้

5. กศน.ตำบลกฎุ โง้งมีระบบการบรหิ ารจัดการตามหลกั ธรรมาภบิ าล
ตัวชี้วดั

1. ประชาชนในตำบลหมอนนางไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาในรปู แบบการศกึ ษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศยั ท่ีมคี ณุ ภาพ อยา่ งเทา่ เทยี มและทว่ั ถงึ

2. จำนวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไปท่ีเข้าถึงบริการความรู้นอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยผ่านชอ่ งทางสื่อเทคโนโลยีทางการศกึ ษา และเทคโนโลยกี ารส่ือสาร

3. กศน.ตำบลหมอนนางมีการใช้ระบบเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดทำฐานข้อมูลชุมชนและกา
บริหารจัดการ เพอ่ื สนับสนุนการดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ขององค์การ

4. จำนวนองค์กรภาคส่วนต่าง ๆ ท้ังในและนอกพ้ืนท่ี ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานการศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

กลยุทธ์
กลยุทธ์ที่ 1 ดำเนนิ งานตามนโยบาย
กลยทุ ธ์ท่ี 2 มากมายแหลง่ เรียนรู้
กลยทุ ธ์ท่ี 3 ควบคู่เครอื ข่าย
กลยทุ ธท์ ี่ 4 หลากหลายกจิ กรรม
กลยทุ ธ์ท่ี 5 นำสู่กลุ่มเปา้ หมาย

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

32

ผลการวเิ คราะห์ SWOT (Swot Analysis) ของ กศน.ตำบลหมอนนาง
1. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน

1.1 จดุ แขง็ ของ กศน.ตำบล (Strengths-S) 1.2 จุดอ่อนของ กศน.ตำบล (Weaknesses-W)

ด้านบุคลากร ดา้ นบุคลากร

• มคี ณะกรรมการ กศน.ตำบล เปน็ ท่ีปรึกษาให้ • ครมู วี ฒุ คิ รูวชิ าเอกไมต่ รงกบั วิชาท่สี อน

คำแนะนำการดำเนินงาน กศน.ตำบล • มีหวั หน้า กศน.ตำบล ปฏบิ ัตงิ านในพน้ื ท่ี เพยี งคน
• วทิ ยากร มศี ักยภาพ มีความรู้ ความชำนาญที่ เดยี ว

หลากหลายสาขา บุคลากรสถานศกึ ษาได้รับการ ด้านงบประมาณ

พฒั นาศักยภาพอย่างต่อเนื่องจากโครงการพัฒนา • ตอ้ งรองบประมาณจากส่วนกลางในการจดั กิจกรรม

บคุ ลากร • ตอ้ งใชเ้ อกสารจำนวนมาก ในการเบิกจ่าย

• มีพนกั งานราชการ ปฏบิ ัติหวั หนา้ กศน.ตำบล • หลงั จากสง่ เอกสาร ต้องใชร้ ะยะเวลานานในการ

ดา้ นงบประมาณ เบิกจา่ ยค่าดำเนนิ งานและกิจกรรม ของกศน.ตำบล

• ระบบการติดตามการบรหิ ารงบประมาณเปน็ แบบราย ด้านอาคารสถานที่ สอ่ื วัสดุอปุ รณ์

เดือน รายไตรมาส และรายปี • สอ่ื วัสดุ ครภุ ัณฑ์ ไมเ่ พยี งพอในการดำเนนิ งาน กศน.

ดา้ นอาคารสถานที่ ส่อื วัสดุอปุ กรณ์ ตำบล

• สถานทีต่ งั้ อยู่ในบรเิ วณของเทศบาล มีความปลอดภัย • อาคารสถานท่เี ป็นเอกเทศ แต่ตอ้ งใช้รว่ มกับเทศบาล
สูง บุคคลภายนอกสามารถเข้า – ออก ไดต้ ลอดเวลา

• ได้รับการสนบั จากเทศบาล ด้านอาคาร สถานที่ และ • ขาดวัสดุ อุปกรณ์ โสตทศั นปู กรณ์ กศน.ตำบลท่ี
โตะ๊ เรยี น ทนั สมัย

• ไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณเพอ่ื จัดซ้ือ • สถานศึกษาอย่หู ่างไกลชมุ ชน

วัสดุ – ครุภัณฑท์ ่ีจำเป็นจากทาง กศน.อำเภอ ดา้ นโครงสร้างองค์กร/การบริหารจดั การ คา่ นิยมองคก์ ร

ดา้ นโครงสร้างองค์กร/การบรหิ ารจดั การ คา่ นิยมองคก์ ร • การบรหิ ารงาน มคี วามยดื หยุ่นมากเกินไป
• สถานศึกษามโี ครงสร้างองค์กรในการบรหิ ารทชี่ ัดเจน • คณะกรรมการ กศน.ตำบล ไม่คอ่ ยมบี ทบาทในการ

• การบริหารงาน มีความยืดหยุ่นและบูรณาการ จัดกจิ กรรม

• มกี ารจดั ต้ังคณะกรรมการ กศน.ตำบล ตาม • ภาคีเครอื ข่ายมคี วามรู้ที่ไมเ่ ป็นแบบแผนในการจดั
หลักเกณฑ์ทสี่ ำนกั งาน กศน.ทก่ี ำหนด กจิ กรรม กศน.ตำบล

• ภาคีเครือขา่ ยมสี ่วนร่วมในการจัดกจิ กรรม กศน. ขาดงบประมาณในการประชุมคณะกรรม กศน.ตำบล

ตำบล

• มีการอบรมพัฒนาความรู้ หัวหน้างาน กศน.ตำบล

อยา่ งต่อเน่ือง

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

33

2. การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก

2.1 โอกาส (Opportunities - O) 2.2 อุปสรรค/ความเสย่ี ง (Threats - T)

ด้านนโยบาย กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ดา้ นนโยบาย กฎหมายทเี่ กย่ี วข้อง

• มีนโยบายที่สนับสนุนการทำงานของกศน. • ต้องใช้ระยะเวลานานและมีหลายขนั้ ตอนในการ

• มนี โยบายจากทาง กศน. ท่ชี ัดเจนในการปฏบิ ตั ิงานใน ขอรบั การสนบั สนุน

แตล่ ะปี • มีคณะกรรมการกล่นั กรองหลายชนั้ ในการสนับสนนุ

• องค์การบริหารสว่ นทอ้ งถิ่นให้การสนับสนนุ ในการ การจัดกจิ กรรม

จดั กจิ กรรมของ กศน. ดา้ นความปลอดภัยในพ้ืนท่ี

ดา้ นความปลอดภยั ในพ้ืนท่ี • ตำบลมพี ้ืนที่กวา้ งขวาง ทำให้ใช้เวลานาน กวา่ จะไป

• พ้ืนทีม่ ีความปลอดภยั สูง เน่ืองจากมรี ูปแบบการ ถึงท่ีเกิดเหตุ

ปกครองแบบเทศบาลตำบล • มคี นตา่ งด้าวจำนวนมาก ทำให้ยากต่อการควบคุม

• มีอาสาสมัครรกั ษาความปลอดภยั ในพื้นที่ หากเกิดเหตวุ ิวาท

• มีปอ้ มสายตรวจ อยู่ในพนื้ ท่ี • มเี ส้นทางติดต่อกบั ตา่ งอำเภอหลายสาย ทำให้ง่ายต่อ

ดา้ นสังคม – วฒั นธรรม การหลบหนี

• มีศาสนาและวฒั นาธรรมท่หี ลากหลาย ด้านสังคม – วฒั นธรรม

• มวี ฒั นธรรมทีเ่ ปน็ เอกลักษณเ์ ฉพาะตวั (การทายโจ๊ก) • กล่มุ เปา้ หมายบางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจงาน
กศน.
• มกี ารผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมดงั เดมิ กับ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ • ศาสนาท่ีมีความหลากหลาย ส่งผลต่อความเช่อื และ
ค่านยิ ม
ด้านเศรษฐกิจ

• เศรษฐกิจมีความคล่องตัว มีโรงงานขนาดใหญ่หลาย • มกี ลุ่มที่มีอิทธพิ ล หลายกลุ่ม

โรงงานในพนื้ ท่ี • มคี วามขัดแย้งทางการเมอื งท้องถิ่นทรี่ ุนแรง

• มกี ารจา้ งงานคนในพน้ื ที่ ด้านเศรษฐกิจ

• มีตลาดคา้ ขาย ในชุมชนหลายแหง่ • ทัศนคติการประกอบอาชีพมีความสำคัญมากกว่า
ด้านเทคโนโลยี/การคมนาคม ติดตอ่ ส่ือสาร การศกึ ษา

• การคมนาคมสะดวก สามารถตดิ ตอ่ กับตา่ งอำเภอได้ • มีแรงงานต่างดา้ วเปน็ จำนวนมาก เนอื่ งจากคา่ แรง
อยา่ งสะดวก ถกู

• มกี ารปรับปรงุ ถนน เสน้ ทางการจารจรเปน็ • มปี ัญหาเร่อื งยาเสพตดิ ระบาดอย่างรนุ แรง
ประจำทกุ ปี • ประชาชนบางส่วนไมป่ ระกอบอาชีพสุจริต (เลน่ การ

• สัญญาณโทรศัพท์และ Internet กระจายอยา่ งทั่วถงึ พนัน, ค้ายาเสพตดิ , ปล่อยเงินกู)้

แผนปฏิบัติการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

ด้านส่ิงแวดลอ้ ม 34
• มีการจดั เก็บขยะท่ีเป็นระบบ
• มีพ้ืนทเ่ี ปน็ เขตการเรียนรู้ ดา้ นเทคโนโลยี/การคมนาคม ติดต่อส่ือสาร
• มีโครงการอนรุ กั ษ์ธรรมชาติ อยา่ งต่อเนือ่ ง • บางพ้ืนทเ่ี ป็นจุดอับสญั ญาณ
• โทรศัพทส์ ารธราณะไมส่ ามารถใช้การได้เนอ่ื งจากถูก
งดั และถูกทำลาย

ด้านสง่ิ แวดล้อม
• มปี ัญหาเรื่องระบบระบายทำให้เกดิ ปัญหานำ้ ทว่ มใน
บางพน้ื ที่
• ไม่มแี หลง่ บำบัดของเสยี ที่เป็นของส่วนกลาง

ปรชั ญา วิสยั ทศั น์ พันธกิจ กศน.ตำบลหมอนนาง
ปรัชญา
สรา้ งโอกาสทางการศึกษา สกู่ ารเรยี นร้ตู ลอดชีวติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
วสิ ยั ทัศน์
กศน.ตำบลหมอนนาง จัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ให้กับประชาชนทุก

กลุม่ เปา้ หมายสู่การเรยี นรู้ตลอดชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
อตั ลักษณ์
ใฝเ่ รียนรู้
เอกลกั ษณ์
เครือข่ายดี
พันธกิจ
1. จัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยทมี่ คี ุณภาพ เพื่อยกระดับ การศึกษา พัฒนา

ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงบริบททาง
สังคมและสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต

2. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และประสานการมีส่วนรว่ มของภาคีเครือขา่ ยและชมุ ชน ในการจัดการศกึ ษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชนรวมทั้งการดำเนินกิจกรรมของ
ศนู ย์การเรยี น และแหลง่ การเรยี นรใู้ นรูปแบบต่างๆ

3. ส่งเสรมิ และพัฒนาการนาํ เทคโนโลยที างการศกึ ษา และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารมา
ใช้ให้เกิดประสทิ ธิภาพในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ให้กับประชาชน อยา่ งทั่วถึง

4. พฒั นาหลักสตู รรูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ ทคโนโลยสี อื่ และนวัตกรรม การวดั และ
ประเมนิ ผลในทกุ รูปแบบให้สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทในปจั จบุ ัน

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

35

เป้าประสงค์
1. ประชาชนในตำบลหมอนนางได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ อย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหาและความต้องการ
ของแต่ละกลุ่ม

2. ประชาชนในตำบลกุฎโง้งไดร้ ับการเรียนรเู้ พ่ือแก้ปญั หาและพัฒนาคุณภาพชีวิตและเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งให้กับชุมชน โดยมี กศน.ตำบล และแหล่งการเรียนรู้อ่ืน ในชุมชนเป็นกลไกในการจัดการเรียนรู้เพื่อ
พัฒนาไปสคู่ วามมนั่ คงและย่ังยนื ทางด้านเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร์และสิง่ แวดลอ้ ม

3. ชุมชนและทุกภาคส่วน ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการจัดส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและปรชั ญาคิดเปน็

4. กศน.ตำบลหมอนนางนําสื่อ เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมา
ใช้ในการเพ่ิมโอกาสและยกระดับคุณภาพในการจัดการเรยี นรู้

5. กศน.ตำบลกฎุ โง้งมีระบบการบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภบิ าล
ตวั ช้วี ดั

1. ประชาชนในตำบลหมอนนางไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ที่มีคณุ ภาพ อยา่ งเท่าเทียมและทั่วถงึ

2. จำนวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไปที่เข้าถึงบริการความรู้นอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัยผ่านช่องทางสื่อเทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยีการสื่อสาร

3. กศน.ตำบลหมอนนางมีการใช้ระบบเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดทำฐานข้อมูลชุมชนและกา
บริหารจัดการ เพ่ือสนับสนนุ การดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัยขององค์การ

4. จำนวนองค์กรภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งในและนอกพ้ืนท่ี ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

กลยุทธ์
กลยุทธ์ที่ 1 ดำเนนิ งานตามนโยบาย
กลยทุ ธท์ ี่ 2 มากมายแหลง่ เรียนรู้
กลยุทธท์ ี่ 3 ควบคู่เครอื ข่าย
กลยทุ ธ์ที่ 4 หลากหลายกจิ กรรม
กลยุทธท์ ่ี 5 นำสกู่ ลมุ่ เป้าหมาย

แผนปฏิบัติการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

ส่วนท่ี 3 36

รายละเอียดแผนงาน/โครงการ ประจำปี พ.ศ.2564 งบประมาณ
(บาท)
ตารางแผนปฏิบัติการประจำปี พ.ศ.2564 กศน.ตำบลหมอนนาง
- บาท
ลำดับที่ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย 3,190.-บาท
8,410.-บาท
คน/แห่ง
- บาท
1 การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน - บาท

1.1 หลักสูตรการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 - บาท

- ประถมศึกษา - คน 4,025.-บาท
3,600.-บาท
- มธั ยมศึกษาตอนต้น 11 คน 8,800.-บาท

- มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 29 คน 22,500.-บาท
14,000.-บาท
1.2 สง่ เสริมการรหู้ นังสือ - คน
- บาท
1.3 โครงการประเมนิ เทียบระดับการศึกษานอก - คน
- บาท
ระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
- บาท
1.4 กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น - คน
- บาท
2 ผลผลติ ที่ 4 งานการศึกษานอกระบบ
5,000.- บาท
- การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ิต 35 คน

- การศึกษาเพื่อเรียนรหู้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 9 คน

- การศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน 22 คน

งบรายจ่ายอ่ืน

ศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน

- ชัน้ เรียนวิชาชพี (31 ชม.ขน้ึ ไป) 25 คน

- กลุ่มสนใจ (ไม่เกนิ 30 ชม.) 20 คน

- 1 อำเภอ 1 อาชีพ - คน

3 การจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

- กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน/ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอ - คน

พนสั นิคม

- กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่าน/ห้องสมดุ ประชาชนเฉลิม - คน

ราชกมุ ารอี ำเภอพนสั นิคม

- โครงการจดั สร้างแหลง่ เรียนร้ชู ุมชนในตำบล/จดั ซือ้ - แห่ง

หนงั สอื พมิ พ์

- โครงการจดั สรา้ งแหลง่ เรยี นร้ชู ุมชนในตำบล/ 15 คน

กิจกรรมการเรียนรู้ (กศน.ตำบลสรา้ งใหม่)

แผนปฏบิ ัติการประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

ลำดับที่ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย 37
4 คน/แห่ง
การจัดการศึกษาตามอัธยาศยั งบประมาณ
- โครงการจัดสรา้ งแหลง่ เรยี นรู้ชุมชนในตำบล/จดั ซื้อ - แห่ง (บาท)
หนังสือ/สือ่ สำหรับ กศน.ตำบล (กศน.ตำบลสรา้ งใหม่)
- บ้านหนังสอื ชมุ ชน 720 คน - บาท
- หนว่ ยบรกิ ารเคลื่อนท่ี (รถโมบาย) - คน
- อาสาสมคั รส่งเสริมการอ่าน 60 คน - บาท
- หอ้ งสมดุ เคล่อื นท่สี ำหรับชาวตลาด - คน - บาท
- ศนู ย์การเรยี นชุมชน - แหง่ - บาท
กิจกรรมตามนโยบายเร่งด่วน - บาท
- โครงการจดั หลักสูตรการดูแลผู้สงู อายุ - คน - บาท
กระทรวงศึกษาธิการ (หลกั สูตร 70 ช่ัวโมง)
- โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสอื่ สารด้านอาชีพ - คน - บาท
- โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดจิ ิทัล 25 คน
- กศน. wow 1 แหง่ - บาท
- โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ 6,600.-บาท
เพอ่ื คงพัฒนาการทางกายและจิตและสมองของ 15
ผู้สูงอายุ - บาท
966 คน/1 แห่ง 1,400.-บาท
รวมทั้งสนิ้
77,525.-บาท

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี กศน.ตำบลหมอนนาง

รายละเอียดโครงการ วัตถุประสงค์ กจิ กรรมหลกั ตวั
ลำดบั ชอ่ื งาน/ เชิงปริมาณ

ที่ โครงการ

1 โครงการ 1. เพอ่ื สรา้ งโอกาส 1. จดั การศกึ ษา ประชาชนตำบล

ยกระดบั และกระจายโอกาส นอกระบบขน้ั หมอนนาง

การศึกษา ทางการศึกษา ใน พ้นื ฐานที่มี จำนวน 40 คน

ประชาชน การยกระดับ คณุ ภาพ ระดับ

ตำบลหมอนนาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน ประถมศึกษา

ของประชาชนให้ ระดับมธั ยมศึกษา

สงู ข้นึ ตอนตน้

ระดับมธั ยมศึกษา

ตอนปลาย

2. การจดั

กจิ กรรมพฒั นา

คุณภาพผู้เรียน

3. ค่าหนังสอื

เรยี น

แผนปฏิบัติการประจำปี

38

วชีว้ ัดความสำเร็จ เป้าหมาย งบประมาณ หมาย

เชงิ คณุ ภาพ ประเภท จำนวน เหตุ

กลุม่ เป้าหมาย กลุ่มเปา้ หมาย

1. รอ้ ยละ 80 ของ ผู้ด้อยโอกาส 20 คน - 11,600.-บาท

กลมุ่ เปา้ หมายที่ไดร้ ับ ผูพ้ ลาดโอกาส 20 คน

การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานนอก รวม 40 คน

ระบบอยา่ งครอบคลุมและ

ท่ัวถึง

2. ร้อยละ 80 ของผู้เรียนมี

ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น

ตามจดุ มงุ่ หมาย และมี

คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

กศน.ตำบลหมอนนาง

ลำดบั ชอ่ื งาน/ วตั ถุประสงค์ กิจกรรมหลกั ต
ที่ โครงการ เชิงปรมิ าณ

2 โครงการจดั 1. เพื่อให้ 1. สำรวจสภาพปัญหา ประชาชน

การศกึ ษาเพ่ือ ผ้รู ับบรกิ ารนำ และความต้องการของ ตำบล

พฒั นาทกั ษะ ความรทู้ ่ีได้รบั ไป กลมุ่ เป้าหมาย หมอนนาง

ชวี ติ ใชป้ ระโยชนใ์ น 2. วางแผนการ จำนวน 35 ค

ชีวติ ประจำวนั ดำเนนิ งาน

สามารถจัดการ 3. จดั การศกึ ษาเพื่อ

ชีวติ ของตนเองให้ พฒั นาทกั ษะชีวติ ให้กบั

อยู่ในสงั คมได้ ทกุ กลุ่มเป้าหมาย และ

อยา่ งมีความสขุ ม่งุ เน้นใหท้ ุก

กลมุ่ เปา้ หมายมีทักษะ

การดำรงชวี ิตตลอดจน

สามารถประกอบอาชีพ

พึง่ พาตนเองได้ มีความรู้

ความสามารถในการ

บรหิ ารจัดการชวี ติ ของ

ตนเองให้อยใู่ นสังคมได้

อยา่ งมีความสุข สามารถ

เผชญิ สถานการณ์ตา่ งๆ ที่

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี

39

ตวั ชวี้ ดั ความสำเร็จ เปา้ หมาย งบประมาณ หมาย
เหตุ
ณ เชิงคณุ ภาพ ประเภท จำนวน

กล่มุ เป้าหมาย กล่มุ เปา้ หมาย

1. ร้อยละ 80 ของ ผดู้ ้อยโอกาส 35 คน 4,025.-บาท

ผู้รับบรกิ ารนำความรู้ท่ี ผพู้ ลาดโอกาส

ไดร้ ับไปใช้พฒั นาคุณภาพ รวม

คน ชวี ติ ประจำวัน ของตนเอง

ใหอ้ ยู่ในสังคมได้อย่างมี

ความสุข

กศน.ตำบลหมอนนาง

ลำดบั ช่อื งาน/ วตั ถปุ ระสงค์ กจิ กรรมหลัก ต
ที่ โครงการ เชิงปริมาณ

เกิดขนึ้ ในชีวิตประจำวนั

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ประเมนิ ผล/รายงาน

ผล/ตดิ ตามผล

3 โครงการ 1. เพอ่ื สร้าง 1. สำรวจสภาพปญั หา ประชาชน

การศกึ ษาเพ่อื จิตสำนึกและ และความต้องการ ตำบล

เรียนรหู้ ลกั ส่งเสริม 2. วางแผนการ หมอนนาง

ปรัชญา กระบวนการ ดำเนนิ งาน จำนวน 9 คน

เศรษฐกิจ เรยี นรู้กิจกรรม 3. การจัดกจิ กรรมการ

พอเพียง ตามหลักปรัชญา เรียนร้ตู ามหลักปรชั ญา

ของเศรษฐกจิ เศรษฐกิจพอเพียงผ่าน

พอเพียง กระบวนการเรียนรตู้ ลอด

2. เพ่ือนำความรู้ ชีวติ ในรูปแบบตา่ งๆ

ไปใช้ใน ให้กบั ประชาชน เพื่อ

ชวี ิตประจำวัน เสรมิ สร้างภมู คิ มุ้ กนั

สามารถยืนหยดั อยู่ได้

อย่างมน่ั คง และมกี าร

บรหิ ารจดั การ

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี

40

ตัวช้วี ัดความสำเรจ็ เปา้ หมาย งบประมาณ หมาย
ณ เชิงคุณภาพ เหตุ
ประเภท จำนวน

กลุม่ เป้าหมาย กลมุ่ เป้าหมาย

1. รอ้ ยละ 80 ของ
ผู้รบั บริการมีความรู้
ความเข้าใจ การเรยี นรู้
น หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง
2. รอ้ ยละ 80 ของ
ผ้รู บั บริการสามารถนำ
ความรู้นำความรู้ไปใช้ใน
ชีวติ ประจำวันได้

กศน.ตำบลหมอนนาง

ลำดับ ช่ืองาน/ วัตถปุ ระสงค์ กจิ กรรมหลกั ต
ท่ี โครงการ เชงิ ปรมิ าณ

ความเสย่ี งอยา่ งเหมาะสม

ตามทศิ ทางการพฒั นา

ประเทศสู่ความสมดลุ และ

ย่ังยนื

4. ประเมินผล/รายงาน

ผล/ติดตามผล

4 โครงการพัฒนา 1. เพ่ือส่งเสรมิ 1. สำรวจสภาพปัญหา ประชาชน

สังคมและ สนับสนนุ ให้ และความต้องการ ตำบล

ชมุ ชน ประชาชนมี 2. วางแผนการ หมอนนาง

จติ สำนึกที่ดตี ่อ ดำเนินงาน จำนวน 9 คน

สงั คม และมสี ่วน 3. การจัดกจิ กรรม

รว่ มในการพัฒนา 4. ประเมินผล/รายงาน

สงั คมใหย้ งั่ ยืน ผล/ติดตามผล

2. เพื่อนำความรู้

ไปใชใ้ น

ชีวติ ประจำวนั

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี

41

ตัวช้วี ัดความสำเรจ็ เปา้ หมาย งบประมาณ หมาย
ณ เชิงคุณภาพ เหตุ
ประเภท จำนวน

กลุม่ เป้าหมาย กลมุ่ เป้าหมาย

1. รอ้ ยละ 80 ของ
ผู้รบั บริการมีความรู้
ความเขา้ ใจ การเรยี นรู้
น หลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. รอ้ ยละ 80 ของ
ผ้รู บั บริการสามารถนำ
ความรู้นำความรู้ไปใช้ใน
ชีวติ ประจำวันได้

กศน.ตำบลหมอนนาง

ลำดบั ชื่องาน/ วตั ถุประสงค์ กิจกรรมหลกั ต
ท่ี โครงการ เชงิ ปรมิ าณ

5 โครงการศนู ย์ 1. เพอ่ื สร้าง 1. สำรวจสภาพปญั หา ประชาชน

ฝึกอาชพี ชมุ ชน ความรู้ ความ และความต้องการของ ตำบลหมอน

เข้าใจ และพัฒนา กลุ่มเป้าหมาย นาง

ทกั ษะอาชีพ2. 2.จัดโครงการศนู ย์ฝกึ จำนวน 52 ค

เพอ่ื นำความรู้ไป อาชพี ชมุ ชน

ใช้ใน 2.1 การจัดรปู แบบกลมุ่

ชีวติ ประจำวนั สนใจ หลักสตู รไมเ่ กนิ 30

และนำไป ช่ัวโมง

ประกอบอาชีพ 2.2 การจดั รปู แบบช้นั

สรา้ งรายได้ เรยี นวชิ าชพี หลักสตู ร 31

ช่วั โมงขนึ้ ไป

2.3 หลักสตู รพฒั นา

อาชีพท่สี อดคล้องกับ

ศกั ยภาพของผเู้ รียนและ

ศกั ยภาพของแต่ละพืน้ ที่

3. ประเมินผล/รายงาน

ผล/ตดิ ตามผล

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี


Click to View FlipBook Version