The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่ม ทำE Book สรุป5บท งบพัฒนาสังคมชุมชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by จัน บรรดาศักดิ์, 2021-12-01 22:40:33

รวมเล่ม ทำE Book สรุป5บท งบพัฒนาสังคมชุมชน

รวมเล่ม ทำE Book สรุป5บท งบพัฒนาสังคมชุมชน

สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพ่อื พัฒนาสงั คมและชุมชน

ปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส1-2)
โครงการส่งเสริมวถิ ีประชาธปิ ไตยและสิทธิเสรภี าพของประชาชน

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนิคม
สำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดชลบุรี

เอกสารเลขท่ี ............. /2564

สรุปผลการจัดกจิ กรรมโครงการส่งเสริมวถิ ีประชาธิปไตยและสิทธเิ สรภี าพของประชาชน ก

คำนำ

กศน.ตำบลบา้ นช้างพร้อมดว้ ย กศน.ตำบลบ้านเซิด และกศน.ตำบลหมอนนาง สงั กัด ศูนย์
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนคิ ม ไดจ้ ดั ทำโครงการสง่ เสริมวถิ ปี ระชาธิปไตยและ
สิทธเิ สรีภาพของประชาชน โดยมวี ตั ถุประสงค์เพื่อพฒั นาประชาชนใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจ เกย่ี วกบั การเมือง
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้องและเห็นถึงความสำคัญของ
การเลอื กตง้ั ทั้งในระดบั ชาติและระดบั ท้องถ่ินต่อไป ซึ่งมีการสรปุ ผลการจัดกิจกรรมโครงการดังกลา่ วเพอ่ื ตอ้ งการ
ทราบว่าการดำเนนิ โครงการบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ทก่ี ำหนดไว้หรือไม่ บรรลุในระดบั ใดและได้จดั ทำเอกสาร
สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชนเสนอต่อผบู้ รหิ าร ผู้เกีย่ วข้องเพอื่ นำขอ้ มลู ไปใช้ใน
การปรบั ปรงุ และพัฒนาการดำเนินโครงการให้ดียิ่งขน้ึ

คณะผู้จัดทำ ขอขอบคณุ ผู้อำนวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอ
พนัสนิคม ที่ให้คำแนะนำ คำปรึกษา ในการจัดทำสรปุ ผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชมุ ชนใน
คร้งั นี้

หวงั เป็นอย่างย่งิ วา่ เอกสารสรุปผลการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชุมชนฉบบั นี้ จะ
เป็นประโยชนต์ อ่ ผู้ปฏบิ ัตงิ านโครงการและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในการนำไปใชใ้ นการจัดกิจกรรมการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตอ่ ไป

เบญจมาศ น้อยประเสริฐ
ครู กศน.ตำบล
มนี าคม 2564

กศน.ตำบล สังกัด กศน.อำเภอพนสั นคิ ม

สรปุ ผลการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสรมิ วิถีประชาธิปไตยและสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน ข

สารบญั หนา้

หัวเรอื่ ง ข
คำนำ ค
สารบัญ 1
สารบญั ตาราง 1
บทที่ 1 บทนำ 1
1
- หลกั การและเหตผุ ล 1
- วตั ถปุ ระสงค์ 2
- เปา้ หมายการดำเนินงาน 3
- ผลลพั ธ์ 3
- ตวั ชว้ี ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ 3
บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและงานวิจยั ทเ่ี กย่ี วข้อง 17
- กรอบการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชมุ ชน 20
- เอกสาร/งานท่เี ก่ยี วข้อง 25
บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินงาน
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 5 อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
- แผนการจัดกิจกรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชมุ ชน
- โครงการสง่ เสรมิ วิถปี ระชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน
- หนังสือขออนุเคราะหว์ ิทยากร
- หนงั สือขอความอนุเคราะห์สถานท่ี
- แบบประเมนิ ผูร้ ับบริการ
- ภาพประกอบการจดั กิจกรรม
คณะผจู้ ัดทำ

กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรุปผลการจดั กิจกรรมโครงการส่งเสรมิ วถิ ปี ระชาธิปไตยและสิทธเิ สรภี าพของประชาชน ค

สารบัญตาราง หน้า
20
ตารางที่ รายละเอียด 20
1 ผูเ้ ข้าร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามเพศ 21
2 ผู้เขา้ ร่วมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอายุ 21
3 ผู้เข้ารว่ มโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอาชพี 21
4 ผเู้ ข้ารว่ มโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามระดบั การศกึ ษา 22
5 แสดงคา่ รอ้ ยละเฉลยี่ ความสำเร็จของตวั ชี้วดั ผลผลิต ประชาชนทวั่ ไป 22
6 ค่าเฉลย่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ในภาพรวม 23
7 คา่ เฉล่ยี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ดา้ นบรหิ ารจดั การ
8 คา่ เฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ 23
ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
9 คา่ เฉลี่ยและสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ
ด้านประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั

กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนสั นคิ ม

สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมวิถปี ระชาธปิ ไตยและสทิ ธิเสรีภาพของประชาชน 1

บทที่ 1
บทนำ

หลักการและเหตผุ ล

การส่งเสรมิ สนับสนนุ และเผยแพร่ความรู้ ความเขา้ ใจในเร่ืองประชาธิปไตยน้นั จะต้องเร่ิมทีเ่ ดก็ และ
เยาวชน สถานศึกษาจึงเปน็ สถาบันที่สำคัญย่งิ ในการปลูกฝัง ฝึกฝนประชาชนให้รจู้ ักและคุ้นเคยกบั พ้ืนฐาน
ความคิดแบบประชาธิปไตย ซึ่งมคี วามสำคัญยงิ่ ต่อการเป็นพลเมืองดแี ละกำลงั สำคัญในการพฒั นาชาตบิ า้ นเมืองใน
อนาคต อีกท้ัง กศน.ตำบลแต่ละตำบลเป็นศนู ย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธปิ ไตยตาํ บล มีหนา้ ทเ่ี ผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
ขยายผลการสง่ เสรมิ ประชาธิปไตย เพ่ือให้ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถงึ ความสำคัญของวิถี
ชวี ติ แบบประชาธปิ ไตย ตลอดจนรณรงค์และส่งเสรมิ ให้มีการดำเนนิ กจิ กรรมทเี่ สรมิ สร้างวิถีประชาธปิ ไตยทุกแห่ง
ทีจ่ ะนำไปประยุกต์ใชใ้ นสถานศกึ ษาของตนต่อไป

กศน.ตำบลบา้ นช้าง กศน.ตำบลบา้ นเซิด และกศน.ตำบลหมอนนาง ได้ตระหนักเห็นความสำคญั ของ
ประชาธปิ ไตย จงึ ไดจ้ ัดทำโครงการสง่ เสริมวิถีประชาธิปไตยและสทิ ธิเสรภี าพของประชาชน ขึน้ เพอื่ พัฒนา
ประชาชนให้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกบั การเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรง
เปน็ ประมขุ ทีถ่ ูกต้องและเหน็ ถึงความสำคัญของการเลอื กตั้งทัง้ ในระดับชาติและระดบั ท้องถน่ิ ต่อไป

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่ือให้ผเู้ ข้ารว่ มอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเมอื งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุขทถี่ ูกต้อง

2. เพือ่ ใหผ้ ู้เข้ารว่ มอบรมเห็นถึงความสำคัญของการเลือกตง้ั ท้ังในระดับชาตแิ ละระดับท้องถิน่

เป้าหมาย (Outputs)

เปา้ หมายเชิงปริมาณ

ประชาชนตำบลบ้านชา้ ง จำนวน 12 คน

ประชาชนตำบลบ้านเซิด จำนวน 12 คน

ประชาชนตำบลหมอนนาง จำนวน 12 คน

รวมทั้งสน้ิ จำนวน 36 คน

เปา้ หมายเชิงคุณภาพ

1. ผ้เู ขา้ รับการอบรมมคี วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย

อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ท่ถี ูกตอ้ งได้อย่างเหมาะสม

2. ผู้เข้ารับการอบรมเหน็ ถงึ ความสำคัญของการเลอื กตัง้ ท้ังในระดับชาติและระดับท้องถิ่น

ผลลพั ธ์

ผเู้ ข้ารับการอบรมมีความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุขทถี่ ูกต้องและเห็นถึงความสำคัญของการเลือกตั้งท้ังในระดบั ชาตแิ ละระดบั ทอ้ งถ่นิ

กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการสง่ เสริมวิถปี ระชาธิปไตยและสิทธเิ สรีภาพของประชาชน 2

ดชั นชี วี้ ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ

ตัวชวี้ ดั ผลผลิต (Outputs)
ร้อยละ 80 ของผเู้ ข้ารับการอบรมมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การเมืองการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
อนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ ท่ีถูกต้อง
ตวั ชีว้ ัดผลลพั ธ์ (Outcomes)
ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารบั การอบรมสามารถนำความรูไ้ ปใชเ้ ปน็ พ้นื ฐานในการเลือกต้ังท้งั ในระดบั ชาตแิ ละ
ระดับท้องถน่ิ ได้

กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรปุ ผลการจัดกิจกรรมโครงการสง่ เสริมวิถีประชาธิปไตยและสิทธเิ สรภี าพของประชาชน 3

บทที่ 2
เอกสารการศึกษาและงานวิจยั ทเี่ กยี่ วข้อง

ในการจดั ทำสรปุ ผลโครงการสง่ เสริมวิถปี ระชาธปิ ไตยและสิทธิเสรภี าพของประชาชนครั้งนี้ คณะผู้จดั ทำ
โครงการได้ทำการค้นควา้ เนื้อหาเอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ัยท่เี กีย่ วขอ้ ง ดังน้ี

1. กรอบการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพือ่ พัฒนาสังคมและชุมชน
2. เอกสาร/งานวิจยั ท่ีเกีย่ วข้อง

1. กรอบการจดั กิจกรรมการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาสังคมและชุมชน
ภารกิจต่อเนื่อง

1. ด้านการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้
1.3 การศกึ ษาต่อเนือ่ ง
3) จัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชมุ ชน โดยใช้หลักสูตรและการจดั กระบวนการ

เรยี นรู้แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจดั เวทีแลกเปล่ยี นเรียนรู้ การจัด
กจิ กรรมจติ อาสา การสรา้ งชมุ ชนนักปฏิบตั ิ และรูปแบบอ่ืนๆ ทเ่ี หมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย และบรบิ ทของชุมชน
แต่ละพนื้ ที่ เคารพความคิดของผอู้ ่ืน ยอมรบั ความแตกต่างและหลากหลายทางความคดิ และอุดมการณ์ รวมทง้ั
สงั คมพหวุ ฒั นธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลมุ่ เพอื่ แลกเปลี่ยนเรยี นร้รู ่วมกัน สรา้ งกระบวนการจติ
สาธารณะ การสร้างจติ สำนึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสทิ ธิ และรับผดิ ชอบต่อหน้าที่ความเปน็
พลเมืองดี การสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม การบำเพ็ญประโยชน์ในชมุ ชน การบรหิ ารจดั การน้ำ การรบั มือกับ
สาธารณภัย การอนรุ กั ษ์พลังงานทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ชว่ ยเหลอื ซึง่ กนั และกนั ในการพฒั นาสงั คม
และชุมชนอย่างยั่งยนื

2. เอกสาร/งานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง
ระบอบการเมอื งการปกครอง

ลกั ษณการเมืองการปกครอง
ประเทศต่าง ๆ ในโลกยอ่ มมีระบอบการเมืองการปกครองที่ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศเช่อื วา่

เหมาะสมและสอดคลอ้ งกับความคิดความเช่ือ ประวตั ิศาสตร์ และสภาพแวดลอ้ มทางเศรษฐกิจ สังคม และ
วฒั นธรรมของประเทศนนั้ ๆ หากปรากฏวา่ ระบอบการเมอื งการปกครองที่ใช้อยู่ในช่วงระยะเวลาหนง่ึ ไม่เหมาะสม
หรือไมส่ อดคล้องกับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ดังกลา่ ว ก็จะต้องมีการเปลยี่ นแปลง พัฒนา หรือปฏิรปู ระบอบการเมือง
การปกครองให้เหมาะสมและเปน็ ประโยชนต์ ่อประชาชนของประเทศมากทสี่ ุด

ระบอบการเมืองการปกครองทป่ี ระเทศต่าง ๆ ในโลกใช้กนั อยู่ในปัจจบุ ันมี ระบอบ คือ ระบอบ
ประชาธปิ ไตยและระบอบเผด็จการ แต่ถา้ หากจะกลา่ วเชงิ เปรียบเทยี บกส็ ามารถกลา่ วได้ว่าประเทศตา่ ง ๆ ในโลก
นี้ ส่วนใหญม่ ีการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย แตก่ ็อาจมีในบางประเทศท่ีปกครองด้วยระบอบเผด็จการ เชน่
สหภาพพมา่ เกาหลเี หนือ เป็นต้น

ระบอบการเมืองการปกครองท้งั 2 ระบอบ มีรายละเอียดพอสงั เขป ดงั นี้
1.1 ระบอบประชาธิปไตย
การเมืองการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยมีลักษณะเดน่ อยู่ท่ีการแข่งขันเสรรี ะหว่างกลุ่มหรอื พรรค
การเมืองตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหไ้ ดร้ ับความไว้วางใจจากประชาชนส่วนมากในประเทศให้เป็นรฐั บาลทำหนา้ ท่ีบรหิ ารกจิ การ
ตา่ ง ๆ ของประเทศตามนโยบายท่กี ลมุ่ หรือพรรคไดว้ างไวล้ ว่ งหน้า

กศน.ตำบล สงั กัด กศน.อำเภอพนสั นคิ ม

สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมโครงการสง่ เสริมวิถีประชาธปิ ไตยและสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน 4

หลักการของระบอบประชาธิปไตยที่สำคัญ มีดังน้ี
1. อำนาจอธิปไตยหรืออำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เปน็ อำนาจทม่ี าจากปวงชนหรอื ทเ่ี รียกกัน
วา่ “อำนาจของรฐั (state power)” โดยผู้ที่จะได้อำนาจปกครองจะตอ้ งไดร้ ับความยนิ ยอมจากประชาชนส่วน
ใหญใ่ นประเทศ
2. ประชาชนมีสิทธิท่ีจะมอบอำนาจปกครองใหแ้ ก่ประชาชนดว้ ยกนั เองโดยการออกเสยี งเลอื กตั้ง
ประชาชนกลุ่มหนงึ่ ท่ีอาสาจะมาเปน็ ผ้บู ริหารประเทศแทนประชาชนส่วนใหญ่ ตามระยะเวลาและวธิ กี ารท่ีได้
กำหนดไว้อย่างเป็นทางการ เชน่ กำหนดไวว้ า่ ทกุ 4 ปี จะต้องมีการเลอื กตั้งผแู้ ทนของประชาชนพร้อมกันทั่ว
ประเทศ เป็นตน้
3. รัฐบาลจะตอ้ งเคารพสทิ ธแิ ละเสรภี าพขัน้ พ้นื ฐานของประชาชน เช่น สทิ ธิในทรพั ยส์ ิน สทิ ธิในชวี ิต
เสรภี าพในการพูด การเขยี น การแสดงความคิดเห็น การรามกลุม่ สทิ ธใิ นการสร้างครอบครัว เสรีภาพในการชมุ นมุ
เปน็ ตน้
โดยรฐั บาลจะตอ้ งไม่ละเมดิ สิทธิดังกลา่ วขา้ งตน้ เว้นแต่เพื่อรักษาความมั่นคงของชาติ เพื่อรักษาความ
สงบเรยี บร้อย เพื่อคุ้มครองประโยชนส์ ่วนรวม เพือ่ รกั ษาศีลธรรมอันดงี ามของประชาชน หรอื เพื่อสรา้ งสรรคก์ าร
เป็นธรรมแกส่ งั คมเทา่ น้ัน
4. ประชาชนทกุ คนมีสิทธิเสมอกนั ในการทจ่ี ะไดร้ ับบริการทุกชนดิ ที่รัฐจัดให้แก่ประชาชน ฐานันดรหรอื
ยศถาบรรดาศักด์ิไม่กอ่ ใหเ้ กดิ อภสิ ทิ ธ์ิหรอื สิทธิพิเศษแก่บุคคลนนั้ แตอ่ ยา่ งใด
5. รฐั บาลถือกฎหมายและความเปน็ ธรรมมาเปน็ บรรทัดฐานในการปกครอง และในการแก้ปัญหาความ
ขดั แยง้ ตา่ ง ๆ ภายในประเทศโดยรฐั บาลจะต้องไมอ่ อกกฎหมายทมี่ ีผลเป็นการลงโทษบคุ คลย้อนหลัง
ระบอบประชาธิปไตย แบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 รูปแบบ คือ
- ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข เชน่ ไทย ญ่ปี ุ่น เปน็ ตน้
- ระบอบประชาธิปไตยทีม่ ปี ระธานาธิบดเี ปน็ ประมุข เชน่ สหรฐั อเมริกา เกาหลีใต้ อนิ โดนเี ซยี เป็นต้น
1.2 ระบอบเผดจ็ การ
การเมืองการปกครองระบอบเผดจ็ การมลี ักษณะเด่นอยู่ที่การ
รวมอำนาจในทางการเมืองการปกครองไวท้ ่บี ุคคลเพียงคนเดยี ว คณะเดียว
หรือพวกเดียว โดยบคุ คล คณะบุคคล หรือดงั กล่าวสารถใชอ้ ำนาจน้นั
ควบคุมบังคบั ประชาชนได้โดยเดด็ ขาด หากประชาชนคนใดคดั คา้ นผูน้ ำ
หรอื คณะผู้นำ กจ็ ะถูกลงโทษด้วยมาตรการต่าง ๆ
หลักการของระบอบเผดจ็ การ จากท่ีได้กล่าวมาข้างต้น อาจ
สรุปหลกั การของระบอบเผด็จการพอสังเขปได้ ดังนี้
1. ผนู้ ำคนเดียว หรือคณะผนู้ ำของกองทัพ หรอื พรรคการเมอื งเพยี งกลุ่มเดียว มอี ำนาจสูงสุดในการ
ปกครองและสามารถใช้อำนาจนนั้ ได้อยา่ งเตม็ ที่ โดยไม่ต้องฟังเสียงของคนส่วนใหญ่ในประเทศ
2. การรกั ษาความมัน่ คงของผู้นำหรอื คณะผ้นู ำสำคัญกวา่ การคุม้ ครองสทิ ธิและเสรีภาพของประชาชน
ประชาชนไมส่ ามารถจะวิพากษว์ จิ ารณ์การกระทำของผู้นำอย่างเปดิ เผยได้
3. ผู้นำหรอื คณะผนู้ ำสามารถทจ่ี ะอยู่ในอำนาจได้ตลอดชวี ิต หรือนานเทา่ ท่ีกล่มุ ผรู้ ่วมงานหรือกองทัพ
ยงั ใหก้ ารสนบั สนุน ประชาชนทั่วไปไม่มสี ทิ ธทิ ีจ่ ะเปล่ียนผนู้ ำได้
4. รฐั ธรรมนญู และการเลอื กต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท่ีไดจ้ ัดขนึ้ ตามรัฐธรรมนญู และรัฐสภา ไมม่ ี
ความสำคัญต่อกระบวนการทางการปกครองเหมือนในระบอบประชาธิปไตยกลา่ วคือ รัฐธรรมนญู เปน็ เพียงแค่
รากฐานอำนาจของผนู้ ำหรือคณะผนู้ ำเท่าน้ัน

กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรุปผลการจัดกจิ กรรมโครงการส่งเสริมวิถปี ระชาธิปไตยและสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน 5

การเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผ้แู ทนทีจ่ ัดขน้ึ ก็เพ่ือใหป้ ระชาชนออกเสยี งเลอื กตั้งผสู้ มคั รท่ีผนู้ ำหรือคณะผูน้ ำสง่
เข้าสมัครรับเลือกตัง้ เท่าน้นั ในทำนองเดยี วกนั รฐั สภากจ็ ะประชมุ กนั ปลี ะ 5-10 วนั เพื่อรบั ทราบและยืนยันให้ผู้นำ
หรือคณะผนู้ ำทำการปกครองตอ่ ไปตามท่ีผูน้ ำหรือคณะผ้นู ำเห็นสมควร

รูปแบบของระบอบเผดจ็ การ มี 3 แบบ คอื เผดจ็ การทหาร เผดจ็ การฟาสซิสต์ และเผดจ็ การ
คอมมิวนิสต์ สามารถจะอธิบายพอสงั เขปได้ ดังน้ี

2.1 ระบอบเผด็จการทหาร หมายถงึ ระบอบเผดจ็ การทค่ี ณะผู้นำฝา่ ยทหารเปน็ ผใู้ ช้อำนาจเผด็จการใน
การปกครองโดยตรงหรือโดยอ้อม (ผา่ นทางพลเรือนท่พี วกตนสนบั สนุน) และมักจะใช้กฎอยั การศึกหรอื
รฐั ธรรมนญู ทค่ี ณะของตนสรา้ งข้นึ เป็นเครื่องมือในการปกครอง

โดยทวั่ ไปคณะผนู้ ำทหารมักอ้างว่าจะใช้อำนาจปกครองประเทศเป็นการชั่วคราว แต่หลังจากนั้นมักไม่
ยอมคนื อำนาจกลบั มาใหป้ ระชาชนโดยง่าย แตเ่ มื่อเวลาผ่านไปกระแสความไม่พอใจในหมปู่ ระชาชนรวมกบั แรง
กดดันนานาชาตกิ จ็ ะทำใหค้ ณะผู้นำทางทหารกมุ อำนาจการปกครองดงั กลา่ วไว้ไม่ได้ ในท่ีสุดจึงจำเปน็ ต้องคนื
อำนาจใหก้ ับประชาชน แตก่ ว่าจะมาถึงจดุ นี้ได้ในบางประเทศก็เกิดความวุ่นวาย เกดิ การต่อสูร้ ะหวา่ งกำลงั ของ
ประชาชนกบั กำลังของรฐั บาลเผด็จการทหารจนนำไปสู่การบาดเจ็บล้มตายของท้ังสองฝ่ายเป็นจำนวนมาก ซ่งึ จาก
ประวตั ศิ าสตร์การเรียกรอ้ งสิทธแิ ละเสรีภาพในการปกครองท่ีผ่านมา มักจะจบลงด้วยชัยชนะชองฝ่ายประชาชน
เสมอ

ตัวอย่างการปกครองแบเผดจ็ การทหาร เชน่ การปกครองของญป่ี ุ่นระหวา่ งสงครามโลกครั้งที่ 2 อนั เป็น
ระยะที่พลเอกโตโจและคณะนายทหารใชอ้ ำนาจเผดจ็ การในการปกครองหรือการปกครองของไทยช่วงทีไ่ มม่ ี
รัฐธรรมนญู ระหว่างวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 ถงึ วนั ท่ี 20 มิถุนายน พ.ศ. 2511 อำนาจการปกครองไดต้ กอยู่
ภายใตก้ ารควบคุมของคณะปฏิวัติ นำโดยจอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั น์ และจอมพลถนอม กิตตขิ จร

ประเทศทีม่ ีการปกครองระบอบเผด็จการทหาร เชน่ สหภาพพมา่ ซงึ่ มสี ภาสันติภาพและการพัฒนาแห่ง
รฐั ( The State Peace and Development Council : SPDC) ท่ีมาจากคณะนายทหารทำหนา้ ที่บริหารประเทศ
เปน็ ตน้

2.2 ระบอบเผดจ็ การฟาสซิสต์ หมายถงึ ระบอบการปกครองท่ีเน้นความสำคัญของผู้นำว่ามอี ำนาจ
เหนอื ประชาชนท่ัวไป

ผ้นู ำในระบอบการปกครองเผดจ็ การฟาสซสิ ต์มักจะมคี วามเช่อื ในลัทธิการเมืองท่ีเรยี กว่า “ลัทธิ
ฟาสซสิ ต์” เป็นลทั ธิช้นี ำในการปกครองและมงุ่ ทีจ่ ะใช้อำนาจเผดจ็ การปกครองประเทศเปน็ การถาวร โดยเชื่อว่า
ระบอบการปกครองแบบน้เี หมาะสมกบั ประเทศของตน และจะชว่ ยให้ประเทศของตนมคี วามเจรญิ ก้าวหนา้
โดยเร็ว

ตัวอย่างของการปกครองในระบอบน้ี เชน่ การปกครองของอติ าลิในสมยั เบนโิ ตมุสโสลินี ( Benito
Mussolini ) ชว่ งกอ่ นสงครามโลกครั้งท่ี 2 ระหวา่ งปี พ.ศ. 2465-2481 การปกครองของเยอรมนี สมัยอดอล์ฟ ฮติ
เลอร์ (Adolf Hitler) ระหว่างปี พ.ศ. 2476-2488 ในระบอบนาซี(Nazi Regin) ซึ่งถือว่าเปน็ ระบอบฟาสซิสต์
เช่นเดียวกนั

2.3 ระบอบเผด็จการคอมมิวนสิ ต์ หมายถึง ระบอบเผด็จการท่มี เี พยี งพรรคคอมมวิ นิสต์เพยี งพรรค
เดียวได้รับการยอมรบั หรือสนบั สนุนจากบุคคลต่างๆ และกองทัพใหเ้ ปน็ ผู้ใช้อำนาจเผด็จการปกครองประเทศผนู้ ำ
ของพรรคคอมมวิ นสิ ต์เชอื่ วา่ ระบอบเผดจ็ การคอมมิวนิสต์เปน็ รูปแบบการปกครองท่เี หมาสมกบั ประเทศของตน
และจะช่วยทำให้ชนช้นั กรมาชพี เป็นอสิ ระจากการถูกกดขี่โดยชนช้นั นายทุน รวมทั้งทำใหป้ ระเทศมีความ
เจริญกา้ วหน้าทดั เทียมกับต่างประเทศคนยากจนไม่ถกู เอารัดเอาเปรียบกับนายทุน โดยประเทศทีม่ กี ารปกครอง
ระบอบนี้ เช่น สหภาพโซเวยี ตในอดตี เป็นต้น

ระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์มคี วามแตกตา่ งจากระบอบเผดจ็ การทหารในบางประการ เช่น ระบอบ
เผด็จการทหารจะควบคุมเฉพาะกจิ กรรมทางการเมืองของประชาชนเทา่ นัน้ แต่ระบอบเผดจ็ การคอมมิวนิสต์จะใช้

กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรปุ ผลการจัดกจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ วิถีประชาธปิ ไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน 6

อำนาจเผดจ็ การควบคมุ กจิ กรรมแลการดำเนนิ ชีวติ ของประชาชนในทกุ ดา้ น ไมว่ า่ จะเปน็ ด้านการเมือง การ
ปกครอง ดา้ นเศรษฐกจิ และด้านสังคม ดว้ ยเหตุน้ีนกั รัฐศาสตรจ์ ึงเรียกระบอบเผด็จการคอมมวิ นสิ ต์ว่า “ระบอบ
เผด็จการแบบเบด็ เสรจ็ ”

อยา่ งไรก็ตาม เน่ืองจากแต่ละประเทศเล็งเห็นว่าทง้ั ระบอบประชาธิปไตย และระบอบเผดจ็ การตา่ งก็มี
ข้อดีและข้อจำกัดในตวั เอง บางประเทศจึงมีการปฏริ ปู แนวทางการเมอื งการปกครองบางด้านใหเ้ หมาะสมกบั
สภาพแวดล้อม บรบิ ทของสงั คมทีเ่ ปล่ยี นแปลง รวมทั้งเพื่อใหส้ ามารถแข่งกบั นานาประเทศได้ ตัวอย่างเช่น
สาธารณรัฐประชาชนจีนท่มี ีการปกครองแบบคอมมิวนิสตท์ ่ีเปน็ แบบฉบบั ของตนเอง คือ รฐั บาลยังคุมเข้มดา้ นสทิ ธิ
และเสรีภาพการแสดงออกทางการเมืองของประชาชน แต่ทางด้านเศรษฐกิจรัฐบาลจีนกลับเปดิ กว้างให้มีการ
แขง่ ขนั ทางการผลติ การคา้ และการลงทนุ ได้อย่างเสรี

รูปแบบของรฐั
รูปแบบของรัฐแบ่งไดเ้ ปน็ 2 รปู แบบ ได้แก่
1. เอกรัฐหรือรฐั เด่ยี ว ( Unitary State or Single State) หมายถงึ รัฐที่มีรัฐบาลกลางเพยี งรฐั เดยี วใช้

อำนาจอธปิ ไตยปกครองดนิ แดนทงั้ หมด อาจมีการกระจายอำนาจใหท้ ้องถนิ่ ไดบ้ ริหารกิจการของท้องถนิ่ ได้ตามที่
รฐั บาลเห็นสมควร ประเทศท่ีมีรปู แบบของรัฐเดย่ี ว เช่น ราชอาณาจักรสเปน ญปี่ ่นุ สาธารณรัฐสงิ คโปร์
ราชอาณาจกั รไทย เปน็ ตน้

ผลดีท่เี กดิ จากการปกครองรปู แบบนี้ คอื มีความเปน็ เอกภาพสงู มีความเป็นปึกแผน่ มนั่ คงและประหยัด
งบประมาณในการปกครองประเทศ

2. สหพนั ธรัฐหรอื รฐั รวม ( Federal State or Dual State) หมายถึง รฐั ทมี่ รี ฐั บาลสองระดับ คือ
รัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่นของแต่ละมลรฐั รฐั บาลแต่ละระดบั จะใช้อำนาจอธิปไตยปกครองตามทีร่ ัฐธรรมนูญ
กำหนดไว้ โดยทว่ั ไปรัฐบาลกลางของสหพันธรฐั มักจะเปน็ ผูใ้ ชอ้ ำนาจในกิจการทเ่ี กี่ยวข้องหรอื กระทบกระเทือนต่อ
ประโยชนส์ ่วนรวมของชาติ เชน่ การทหาร การต่างประเทศ การคลัง เป็นต้น

สำหรับรฐั บาลของท้องถ่นิ จะมีอำนาจในกิจการท่เี ก่ยี วข้องกับท้องถ่ินของตนโดยเฉพาะ เช่น การศกึ ษา
การสาธารณสขุ การไฟฟา้ การรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย เป็นตน้ ประเทศที่มรี ปู แบบของรฐั ในลกั ษณะดังกล่าวน้ี
เชน่ สหรัฐอมรกิ า สหพันธรัฐรสั เซีย มาเลเซยี เป็นต้น

ผลดจี ากการปกครองรปู แบบนี้ คือ ทำให้การปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ เป็นไปอยา่ งทัว่ ถึง สามารถแกไ้ ข
ปญั หาตา่ ง ๆ ได้อย่างรวดเรว็ รวมทั้งลดภาระของรฐั บาลกลางในระดับท้องถิ่นลงทำให้สามารถดำเนินการเพื่อ
รกั ษาเอกราชและความเจริญกา้ วหน้าของประเทศได้มากยิ่งข้ึน

สำหรับประเทศไทยมรี ปู แบบการปกครองแบบเอกรฐั หรอื รัฐเด่ยี ว โดยได้บญั ญัตไิ ว้ในรฐั ธรรมนญู ทุก
ฉบบั รวมถึงรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2550 ไดบ้ ัญญตั ิไวใ้ นหมวด 1 บททัว่ ไป มาตรา 1 วา่
“ประเทศไทยเปน็ ราชอาณาจักรอนั ห่งึ อันเดียวจะแบง่ แยกมิได้” และในหมวด 5 แนวนโยบายพืน้ ฐานแห่งรฐั
มาตรา 77 ว่า “รฐั ตอ้ งพทิ ักษ์รักษาไวซ้ ึ่งสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ เอกราช อธปิ ไตย และบูรณภาพแหง่ เขตอำนาจ
รฐั และต้องจัดให้มีกำลงั ทหาร อาวธุ ยทุ โธปกรณ์ และเทคโนโลยีทท่ี ันสมยั จำเป็นและเพียงพอ เพื่อพทิ ักษร์ ักษา
เอกราช อธิปไตยความม่นั คงของรฐั สถาบันพระมหากษตั ริย์ ผลประโยชน์แห่งชาติ และการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข และเพ่ือการพฒั นาประเทศ

การปฏิวตั สิ ยาม พ.ศ. 2475 เป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชยม์ าเปน็
ราชาธปิ ไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ กองทพั เข้ามามบี ทบาททางการเมืองนับแต่นน้ั ทัง้ รฐั ธรรมนูญฉบับชั่วคราวและ
รฐั ธรรมนญู ฉบับแรกในปี 2475 สถาปนาสภาผแู้ ทนราษฎรโดยโดยกำหนดใหส้ มาชิกมาจากการเลือกตัง้ ทงั้ หมด
หลงั พ้น 10 ปหี รอื ประชากรเกนิ กงึ่ หนงึ่ ของประเทศสำเร็จการศกึ ษาชั้นประถม แต่กอ่ นหน้านัน้ คณะราษฎรจะเป็น
ผูแ้ ตง่ ต้งั สมาชกิ ไปพลางก่อน[11]:44–5,59 ปลายปี 2475 (นบั ศักราชแบบเกา่ ) เกิดความขัดแยง้ ในสภา

กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรุปผลการจดั กจิ กรรมโครงการส่งเสริมวิถีประชาธปิ ไตยและสิทธิเสรภี าพของประชาชน 7

ผแู้ ทนราษฎรและคณะรฐั มนตรเี กีย่ วกับข้อเสนอการวางแผนเศรษฐกิจ "สมดุ ปกเหลือง" ของหลวงประดิษฐ์มนู
ธรรม ทำใหพ้ ระยามโนปกรณนิตธิ าดา นายกรัฐมนตรีคนแรก ส่งั ยกเลิกการประชมุ สภาผู้แทนราษฎรและปรับ
คณะรัฐมนตรีแต่อีกไมถ่ ึงสองเดือนตอ่ มา พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) นำคณะทหารยึดอำนาจการ
ปกครอง เขาเปน็ นายกรัฐมนตรคี นแรกที่เป็นสมาชกิ คณะราษฎร ในปเี ดียวกนั มีการเลือกต้ังโดยอ้อมคร้ังแรกและ
ครั้งเดียวในประวตั ิศาสตร์ไทย ประเทศไทยเปน็ ประเทศเอเชียประเทศแรกที่สตรีมีสทิ ธิออกเสียงเลือกตง้ั นบั ว่ามี
กอ่ นประเทศในทวปี ยโุ รปและอเมรกิ าเหนอื บางประเทศ แต่ในขณะนน้ั ยังมีคำส่งั ห้ามพรรคการเมืองอยูแ่ ละผสู้ มัคร
รับเลอื กตั้งเป็นผูส้ มัครอสิ ระ ผลทำให้ได้สภาฯ ท่มี ีสมาชิกมาจากการเลือกตั้งโดยออ้ มกงึ่ หนงึ่ และนายกรฐั มนตรี
แตง่ ตัง้ อกี กึ่งหน่งึ [11]:123 ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกบั พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอยู่หวั ในเรอ่ื งอำนาจ
ของรฐั บาลในการแตง่ ต้ังสมาชกิ สภาฯ และอำนาจของสภาฯ ในการลบล้างคำคัดคา้ นของพระมหากษัตรยิ ์ ทำให้
พระองค์ทรงสละราชสมบตั ิ[11]:126 พระวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ อานนั ทมหดิ ลสบื ราชสมบตั เิ ป็นพระมหากษัตรยิ ์
ตอ่ ตามกฎมณเฑียรบาล แต่เนอื่ งจากยังไมบ่ รรลุนิตภิ าวะจึงมีการตง้ั คณะผสู้ ำเรจ็ ราชการแทนพระองค์ พระยา
พหลพลพยหุ เสนาดำรงตำแหนง่ นายกรัฐมนตรีรวม 5 ปี รัฐบาลสามารถปราบปรามกบฏบวรเดช

เน่อื งจากพระยาพหลพลพยุหเสนาไม่รับตำแหน่งนายกรฐั มนตรีอีก จอมพล แปลก พิบูลสงคราม จึงสืบ
ตำแหนง่ ตอ่ มา ในปี 2483 มีการแก้ไขเพิ่มเติมรฐั ธรรมนญู เพ่ือขยายระยะเวลาทีส่ มาชกิ สภาฯ มาจากการแต่งตัง้
จาก 10 ปีเป็น 20 ปี[11]:141 เขาปกครองประเทศแบบเด็ดขาด ในปี 2485 มกี ารขยายวาระของสภาฯ เนื่องจาก
บา้ นเมอื งอยู่ในภาวะสงครามทำใหจ้ ัดการเลือกตั้งไม่ได[้ 11]:143 จอมพล ป. พน้ จากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในชว่ ง
ปลายสงครามเพ่อื ใหบ้ ุคคลท่ีนยิ มฝา่ ยสมั พันธมติ รท่ีใกล้ชนะสงครามดำรงตำแหน่งแทน หลังสงคราม มีการยุบสภา
ฯ ทม่ี อี ายุถงึ แปดปแี ล้วจัดการเลือกตัง้ ใหม่ในปี 2489 ในปีเดียวกนั มกี ารประกาศใชร้ ัฐธรรมนญู ปี 2489 หลงั
สมาชกิ สภาฯ เหน็ วา่ ประชาชนได้รบั การศึกษามากพอแล้ว[11]:150,153 รัฐธรรมนูญฉบับดงั กล่าวกำหนดให้มีสอง
สภาและสมาชิกมาจากการเลือกต้ังท้ังหมด มีรฐั บาลพลเรอื นท่ีไม่มั่นคงโดยมีการเปล่ยี นตัวนายกรัฐมนตรี
ผู้สนับสนุนปรดี ี พนมยงคห์ ลายคน รฐั ประหารในปี 2490 ถอนโคนนักการเมืองสายปรีดี และนบั เป็นจดุ ส้นิ สดุ
อำนาจของคณะราษฎร จอมพล ป. กลบั คืนตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอกี คร้งั โดยผูม้ ีอำนาจทางการเมืองสงู สุดใน
เวลานัน้ อกี สองคน ได้แก่ เผ่า ศรียานนท์ และสฤษดิ์ ธนะรัชต์

กศน.ตำบล สงั กัด กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรปุ ผลการจัดกจิ กรรมโครงการสง่ เสริมวิถปี ระชาธปิ ไตยและสิทธเิ สรีภาพของประชาชน 8

รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560

รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช
2560 เปน็ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 20 มี
ท่ีมาจากการต้ังคณะกรรมการร่างรฐั ธรรมนญู (กรธ.) ใน
เดือนตลุ าคม พ.ศ. 2558 เพื่อจัดทำรา่ งฯ ฉบับใหม่
ประกอบด้วยสมาชกิ 21 คน มมี ีชัย ฤชุพันธ์ุ เป็นประธาน
เม่ือร่างเสรจ็ แลว้ มีการลงประชามตใิ นเดือนสงิ หาคม พ.ศ.
2559 ซึ่งผมู้ าใชส้ ทิ ธิรอ้ ยละ 61.35 เห็นชอบ
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกลา้ เจ้าอยูห่ ัวทรงลงพระปรมาภิไธยในรา่ งรฐั ธรรมนูญเม่ือวันท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2560
หลังมกี ารแกไ้ ขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญฉบับผ่านประชามตติ ามพระบรมราชวนิ จิ ฉยั

รัฐธรรมนูญฉบบั น้ีถูกวจิ ารณ์ว่าเป็นการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มี
สมาชิกวุฒิสภาจำนวน 250 คนท่ีมาจากการแต่งต้ังหรือคดั เลอื กโดย คสช. ทัง้ หมด การรณรงค์ให้ความรแู้ ละให้ลง
มตคิ ัดค้านรา่ งรัฐธรรมนูญถูกปิดกนั้ และคำถามพ่วงในประชามติมีความซบั ซ้อนเขา้ ใจยาก ซ่งึ มีผลให้สมาชกิ
วุฒสิ ภามีอำนาจรว่ มลงมติเลือกนายกรฐั มนตรไี ด้เชน่ เดียวกับสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร ส่วนเนอื้ หาอ่ืน เชน่ การ
แก้ไขให้ "สิทธิ" หลายประการของประชาชนกลายเป็น "หน้าท่ี" ของรัฐ ตลอดจนบทเฉพาะกาลทร่ี ับรองบรรดา
ประกาศและคำสัง่ ของ คสช.

ในช่วงการประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563 มขี ้อเรยี กร้องให้ร่างรัฐธรรมนูญใหมท่ ั้งฉบับ ในเดอื น
กนั ยายน 2563 มกี ารเสนอญัตตแิ ก้ไขเพิ่มเติมรฐั ธรรมนูญรวม 6 ญตั ติ และในวนั ที่ 24 กันยายน 2563 รัฐสภามี
มตติ ้งั คณะกรรมาธิการพิจารณารา่ งแก้ไขรฐั ธรรมนูญกอ่ นรับหลักการ

ประวัติคณะกรรมาธกิ ารยกร่างรฐั ธรรมนูญ
วนั ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 เกิดรฐั ประหาร โดยคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ (คสช.) คณะ

รฐั ประหารมีคำสงั่ ยกเลกิ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 ตอ่ มาในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.
2557 ไดป้ ระกาศใช้รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย (ฉบับชั่วคราว) พทุ ธศักราช 2557 ซง่ึ กำหนดใหม้ ี คยร.
ประกอบด้วยสมาชกิ 36 คน สรรหามาจากสภาปฏริ ปู แหง่ ชาติ (สปช.), สภานิตบิ ัญญัตแิ หง่ ชาติ (สนช.),
คณะรัฐมนตรี (ครม.), และ คสช. เพอ่ื ร่างรัฐธรรมนูญถาวรฉบบั ใหม่ วนั ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 เทียนฉาย กี
ระนนั ทน์ ประธาน สปช. ลงนามคำสัง่ แต่งต้ัง กยร. ซ่งึ มบี วรศักดิ์ อวุ รรณโณ เปน็ ประธานร่างรฐั ธรรมนูญฉบบั
กยร. เดมิ มี 315 มาตรา หลังจากได้รบั ขอ้ เสนอของ สปช. แล้ว กยร. ได้ปรบั แกเ้ น้ือหาให้เหลือ 285 มาตรา[3] แต่
ในวันที่ 6 กนั ยายน พ.ศ. 2558 สปช. มีมติไมร่ ับรา่ งรัฐธรรมนญู ของ กยร. สง่ ผลให้ สปช. และ กยร. ส้นิ สุดลงใน
วนั น้ัน

เนอ้ื หาร่างรฐั ธรรมนญู
29 มกราคม พ.ศ. 2559 กรธ. ได้เผยแพรร่ ่างรฐั ธรรมนญู

เบ้ืองต้นผ่านเว็บไซต์ของรฐั สภา
30 มีนาคม พ.ศ. 2559 หนังสือพิมพ์ สเตรดไทมส์ เขียน

ว่า รา่ งรฐั ธรรมนญู ดงั กลา่ วจะให้คณะผูย้ ึดอำนาจการปกครองมี
อำนาจในรัฐสภาอกี ห้าปี โดยจะได้แตง่ ตั้งสมาชิกวุฒสิ ภา (ส.ว.) ทงั้
250 คน โดยสงวนหกทน่ี ่งั ไวใ้ หผ้ บู้ ญั ชาการทหารและตำรวจ

กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรุปผลการจัดกจิ กรรมโครงการสง่ เสรมิ วิถีประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน 9

นอกจากนี้ ในกรณีท่เี กิดวกิ ฤตการณ์ ยงั มบี ทเฉพาะกาลให้สภาผูแ้ ทนราษฎรเลือกนายกรฐั มนตรีที่มไิ ด้มาจากการ
เลอื กตั้ง

10 เมษายน พ.ศ. 2559 หนงั สอื พิมพ์ ประชาไท ลงวา่ ร่างรัฐธรรมนญู ฉบับดงั กล่าวตดั สิทธขิ องบุคคล
ไดร้ ับบริการสาธารณสุขของรัฐ "อย่างทว่ั ถึงและมปี ระสิทธภิ าพ" แตก่ ำหนดให้เป็น "หน้าทขี่ องรฐั "เนอ้ื หาใน
รัฐธรรมนญู ชดุ น้ีทเี่ ปลย่ี นไป มีการตดั มาตรา 5 องคก์ รแก้วิกฤต แก้ไขมาตรา 12 คุณสมบตั อิ งคมนตรที ี่ต้องไมเ่ ปน็
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) หรอื ดำรงตำแหนง่ ทางการเมือง มาตรา 15 อำนาจการแต่งตงั้ และการให้
ข้าราชการในพระองค์พ้นจากตำแหน่งขนึ้ อยกู่ บั พระราชอัธยาศยั มาตรา 16 มาตรา 17 การตง้ั ผู้สำเรจ็ ราชการ
แทนพระองคห์ รือไม่กไ็ ด้ เมอ่ื พระมหากษัตริย์จะไมป่ ระทบั อยใู่ นราชอาณาจกั ร มาตรา 19 ผู้สำเรจ็ ราชการแทน
พระองค์ซงึ่ เคยไดร้ ับการแต่งตัง้ และปฏญิ าณตนมาแล้ว ไม่ตอ้ งปฏิญาณตนทร่ี ัฐสภาอกี และมาตรา 182 เกย่ี วกับ
เรอ่ื งผ้ลู งนามรับสนองพระบรมราชโองการ รวมทั้งการเพม่ิ มาตรา 65 ท่บี ัญญัตใิ หม้ ีการจัดทำยุทธศาสตรช์ าติ

การลงประชามตแิ ละประกาศใช้
26 มนี าคม พ.ศ. 2559 โฆษก กรธ. แถลงวา่ กรธ. พจิ ารณารา่ งรัฐธรรมนูญเสรจ็ แลว้ ตอ่ มาวนั ท่ี 7

เมษายน พ.ศ. 2559 สนช. พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนญู พ.ศ. ....
วาระ 2 และ 3 ตามทค่ี ณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารา่ งพระราชบัญญตั ิการออกเสยี งประชามตริ ่างรฐั ธรรมนูญ
ซ่งึ มีเน้อื หาห้ามรณรงคไ์ มร่ บั ร่างรฐั ธรรมนูญ9 เมษายน พ.ศ. 2559 สนช. เห็นชอบเปน็ เอกฉนั ทใ์ ห้เพม่ิ คำถาม
ประชามตใิ หส้ มาชิกวุฒิสภาชดุ แรกตามรัฐธรรมนญู ฉบับนีม้ ีอำนาจลงมตเิ ลือกนายกรัฐมนตรีดว้ ยหรือไม่

19 เมษายน พ.ศ. 2559 คณะกรรมการการเลอื กตง้ั (กกต.) กำหนดให้วนั ท่ี 7 สงิ หาคม พ.ศ. 2559 เปน็
วนั ออกเสียงประชามตริ ่างรัฐธรรมนญู

7 สงิ หาคม พ.ศ. 2559 ในการออกเสยี งประชามติ ผลปรากฏว่า ร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพว่ งเรื่อง
อำนาจลงมตเิ ลือกนายกรฐั มนตรีของสมาชกิ วฒุ ิสภาชุดแรกตามรฐั ธรรมนูญน้ไี ดร้ ับความเห็นชอบดว้ ยคะแนนข้าง
มากของผมู้ าใชส้ ิทธเิ ลือกตัง้ จากนน้ั กรธ. นำร่างรฐั ธรรมนญู ไปปรบั ปรงุ ในบางมาตราและในบทเฉพาะกาลเพ่ือให้
เข้ากับคำถามพ่วงเปน็ เวลา 30 วัน หลังจากนั้น สง่ รา่ งคนื นายกรัฐมนตรีใหน้ ำขึ้นทูลเกล้าฯ เพ่อื ให้ทรงลงพระ
ปรมาภไิ ธยประกาศใช้เปน็ กฎหมายตอ่ ไป

วันท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2560 พระบาทสมเด็จพระวชิรเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ประทับพระราชอาสน์หนา้ พระทน่ี ัง่
พดุ ตานกาญจนสิงหาสนเ์ พื่อลงพระปรมาภิไธยในร่างรฐั ธรรมนญู และประทับตราพระราชลัญจกร นบั เปน็ พระราช
พิธีประกาศใช้รฐั ธรรมนญู คร้งั แรกในรอบเกือบ 50 ปี

อน่ึง ก่อนท่ีพระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกล้าเจา้ อยูห่ ัวจะทรงลงพระปรมาภไิ ธยประกาศใช้รฐั ธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 นน้ั ไดท้ รงมอบ "ข้อสังเกตพระราชทาน" และให้รฐั บาลแก้ไขให้เปน็ ไปตาม
ขอ้ สังเกตดงั กลา่ ว ไดแ้ ก่ มาตรา 5, 17 และ 182 ใจความสำคัญคือ 1) ตัดข้อความท่ใี ห้ศาลรฐั ธรรมนูญเรียก
ประชมุ ประมุขสามอำนาจเพื่อแก้ไขวิกฤตการเมือง, 2) พระมหากษตั รยิ ไ์ ม่จำเป็นต้องแต่งต้ังผ้สู ำเร็จราชการแทน
พระองค์ และ 3) ผู้รบั สนองกฎหมาย พระบรมราชโองการและประกาศพน้ จากความรับผิดชอบ เปน็ การแกไ้ ขร่าง
รฐั ธรรมนูญตามพระราชประสงค์หลงั จากมีประชามติรับร่างรัฐธรรมนญู แลว้

ขอ้ วจิ ารณ์
ไทเรล ฮาเบอรค์ อร์น จากภาควิชาการเมอื งและการเปลย่ี นแปลงทางสงั คม ของมหาวิทยาลยั แห่งชาติ
ออสเตรเลยี ซง่ึ มีผลงานเขยี นเก่ียวกบั ประเทศไทยในหลายประเด็น วจิ ารณเ์ ก่ยี วกับรัฐธรรมนูญชุดน้ใี นทำนองวา่
"ทำใหท้ หารมที ยี่ ืนอย่างถาวรในรัฐบาล เพื่อให้การแทรกแซงกลายเป็นเรอื่ งปกติ" รวมไปถงึ ส.ว. มาจากการ
คัดเลือกของ คสช. และมีวาระ 5 ปี ซึง่ นานกว่าชุดอนื่ ทั้งยังมีอำนาจร่วมออกเสยี งเลือกนายกรฐั มนตรี และมี
อำนาจกำกบั ดแู ลให้รัฐบาลชุดใหมต่ อ้ งทำตามยุทธศาสตร์ท่ี คสช. จัดทำขนึ้ [21] สวนดุสติ โพลเผยผลสำรวจความ

กศน.ตำบล สังกัด กศน.อำเภอพนสั นคิ ม

สรุปผลการจดั กิจกรรมโครงการสง่ เสริมวิถีประชาธปิ ไตยและสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน 10

คดิ เหน็ ของประชาชน 1,164 คน ระหวา่ งวนั ท่ี 6-9 ธนั วาคม พ.ศ. 2560 เกี่ยวกับรัฐธรรมนญู ทปี่ ระกาศใช้ใหม่
โดยสว่ นใหญม่ องวา่ เป็นฉบับปราบโกง เนน้ ป้องกันทุจริต แต่จุดอ่อนเปน็ การสืบทอดอำนาจของ คสช.

ระบบการเลอื กตั้งแบบใหม่
รฐั ธรรมนญู ดังกลา่ วกำหนดการเลอื กต้ัง ส.ส. เปน็ แบบจดั สรรปันสว่ นผสม บัตรเลอื กตั้งสามารถเลือกได้

เพียงตวั เลอื กเดยี วเพ่ือเลือกทั้งผสู้ มัครและพรรคการเมือง มกี ารแถลงความมุ่งหมายของระบบดงั กล่าวไว้วา่ เพ่อื ให้
พรรคการเมอื งส่งผ้สู มคั รท่ีดีที่สดุ ไม่ใชส่ ่ง "เสาโทรเลข" อยา่ งไรก็ตาม ความมงุ่ หมายแฝงเรน้ คือ ป้องกันพรรค
การเมืองขนาดใหญ่เกินกึง่ หนึ่งของสภาผแู้ ทนราษฎร ดงั นน้ั ในการเลอื กตัง้ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการ
ทวั่ ไป พ.ศ. 2562 จงึ เกดิ ยุทธศาสตร์ "พรรคแบงก์ย่อย" ซง่ึ พรรคการเมืองพันธมิตรของทักษณิ ชินวตั ร มีการตั้ง
พรรคการเมอื งหลายพรรคแลว้ สง่ ผู้สมัครแบบแบง่ เขตและบญั ชรี ายชื่อแยกกนั นอกจากน้ี ยงั มีปรากฏการณ์
ครึกโครมท่ีพรรคพลงั ประชารฐั ดงึ ตวั ผสู้ มัครในชว่ งปี พ.ศ. 2561

นอกจากนี้ แม้รัฐธรรมนญู กำหนดใหพ้ รรคการเมืองเปิดเผยชื่อบุคคลที่จะเสนอเป็นนายกรัฐมนตรตี าม
มาตรา 88 แต่มาตรา 272 เปิดช่องให้รฐั สภาพจิ ารณาบุคคลนอกบญั ชีท่ีพรรคการเมืองเสนอมาได้ อีกทงั้ ส.ว. ชุด
แรกซ่ึงมวี าระ 5 ปียังมีอำนาจลงมตเิ ลอื กนายกรัฐมนตรตี ามมาตรา 272 ได้ หมายความวา่ ส.ว. ดงั กล่าวจะมี
อำนาจลงมตเิ ลือกนายกรฐั มนตรไี ด้ 2 คน (หากคิดวาระคนละ 4 ปี)

การแก้ไขเพิม่ เติมรฐั ธรรมนูญ
การแก้ไขเพม่ิ เติมรัฐธรรมนูญฉบับนเี้ ป็นข้อเรยี กร้องของผปู้ ระท้วงในการประทว้ งในประเทศไทย พ.ศ.
2563 ตงั้ ต่อข้อเรียกร้องสามประการท่ีเสนอต่อรฐั บาลในวนั ท่ี 18 กรกฎาคม 2563 มีการเสนอญัตติแกไ้ ขเพิ่มเติม
รฐั ธรรมนญู จำนวน 6 ญตั ติทั้งจากรัฐบาลผสมและพรรครว่ มฝ่ายค้าน มีการอภิปรายรว่ มของรัฐสภาและลงมตใิ น
วันที่ 24 กันยายน 2563 ในวันดงั กลา่ ว รัฐสภามมี ติตัง้ คณะกรรมาธิการพิจารณารา่ งแก้ไขรฐั ธรรมนญู ก่อนรับ
หลกั การ อันเปน็ ผลให้เล่ือนการแก้ไขเพ่ิมเตมิ รัฐธรรมนูญออกไปอยา่ งนอ้ ย 1 เดือน

ระบบการเมอื งการปกครองของไทย

สมัยสฤษด์ิ ธนะรชั ต์ นายกรัฐมนตรีเปน็ ผู้ใชอ้ ำนาจอธปิ ไตยโดยไม่มกี ารแยกใช้อำนาจรฐั ประหารในปี
2500 นำโดยสฤษด์ิ ธนะรัชตท์ ำให้จอมพล ป. หมดอำนาจ ในชว่ งแรกเขาให้ถนอม กติ ติขจรเปน็ นายกรัฐมนตรี แต่
หลังจากรฐั บาลบรหิ ารประเทศไมร่ าบรน่ื เพราะกลไกรัฐสภา เขาจงึ รัฐประหารอีกในปี 2501 ครง้ั นเ้ี ขายกเลิก
รัฐสภาและรฐั ธรรมนูญ และปกครองประเทศในฐานะรฏั ฐาธิปตั ย์ ระบอบการปกครองน้ีบ้างมผี ้เู รียกวา่ "ระบบพอ่
ขนุ อปุ ถัมภ์แบบเผดจ็ การนอกจากน้ียงั ฟื้นฟูพระราชอำนาจและบทบาททางสงั คมของพระมหากษตั รยิ ์ สฤษด์ิเป็น
นายกรฐั มนตรีจนถึงปี 2506 แลว้ ถนอมไดก้ ลบั มาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง มีการประกาศใช้รฐั ธรรมนูญปี 2511
หลงั จากกระบวนการรา่ งกวา่ 9 ปี และกลับมามรี ัฐสภาช่วงสั้น ๆ จนมรี ัฐประหารในปี 2514 ซ่งึ ยกเลิกรัฐสภาอกี
ความไม่พอใจที่เกิดจากความเหลือ่ มลำ้ ทางเศรษฐกิจและสังคม รว่ มกับการพัฒนาทางการเมืองท่ีลา่ ชา้ ทำให้เกิด
การชุมนุมต่อต้านรัฐบาล รัฐบาลนำกำลงั เขา้ ปราบปรามจนเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516

พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชทรงเขา้ แทรกแซงในวกิ ฤตการณ์ ถนอมถูกบบี ให้ลาออก
สัญญา ธรรมศกั ด์ิได้รบั แต่งต้ังเปน็ นายกรัฐมนตรีแทน มีการร่างและประกาศใชร้ ัฐธรรมนูญปี 2517 ซง่ึ ใหม้ กี าร
เลอื กตัง้ สมาชิกรัฐสภาอีกครั้ง ในช่วงน้นั มีการเปดิ เสรีทางการเมืองอยา่ งมากท่เี รียก "ยคุ ประชาธิปไตยเบ่งบาน"
อย่างไรก็ดี สถานการณใ์ นอินโดจีนทีค่ อมมิวนสิ ตม์ อี ิทธิพลในลาว กมั พูชาและเวยี ดนามมากขน้ึ เร่ือย ๆ ทำให้
เกิดปฏิกริ ิยาต่อตา้ นฝ่ายซ้าย การเลือกตง้ั ในปี 2518 และ ปี 2519 ทำให้ได้รัฐบาลผสมท่ีไม่ม่นั คง หม่อมราชวงศ์
เสนยี ์ ปราโมช และหมอ่ มราชวงศ์คกึ ฤทธิ์ ปราโมช สลบั กนั ครองอำนาจ ในเดือนตุลาคม 2519 กลมุ่ ฝา่ ยขวา
กล่าวหาวา่ นกั ศกึ ษาเปน็ คอมมิวนิสต์ เหตุการณ์ลงเอยดว้ ยการสงั หารหมู่ทม่ี หาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ 6 ตุลาคม
2519

กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนสั นคิ ม

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมโครงการสง่ เสริมวิถปี ระชาธปิ ไตยและสทิ ธิเสรภี าพของประชาชน 11

เปรม ติณสูลานนทเ์ ป็นนายกรัฐมนตรี 8 ปีในระบอบ "ประชาธปิ ไตยครึง่ ใบ"
ในวันเดียวกนั น้ันยงั เกิดรัฐประหารด้วย ผลทำให้ธานนิ ทร์ กรยั วิเชียรเปน็ นายกรัฐมนตรีซง่ึ ใชน้ โยบาย
ขวาจัด เกิดความแตกแยกในประเทศและรฐั บาลเสือ่ มความนยิ มจนมรี ฐั ประหารอกี คร้งั ในปี 2520 เพ่ือเปล่ยี นตวั
นายกรัฐมนตรี รฐั บาลใหม่ของเกรยี งศักด์ิ ชมะนันทน์เผชิญกับปญั หาเศรษฐกจิ และผู้ลีภ้ ัยอนิ โดจีน เช่นเดยี วกับ
กำลงั เวยี ดนามพยายามโจมตีขา้ มชายแดนเขา้ มา ทำให้ถูกบีบใหล้ าออกก่อนมีรฐั ประหาร ในปี 2523 เปรม ติณสู
ลานนท์ เป็นนายกรฐั มนตรี ในปี 2531 ชาตชิ าย ชณุ หะวัณเปน็ นายกรัฐมนตรี จากความขัดแย้งภายในกองทัพ ทำ
ให้ฝ่ายท่อี ยตู่ รงขา้ มกับเขารฐั ประหารในปี 2534 นำโดยสุจินดา คราประยูร จากการที่สุจินดาตระบัดสตั ย์รบั
ตำแหนง่ นายกรฐั มนตรีทำให้เกดิ การประท้วงใหญ่ในปี 2535 จนนำไปสเู่ หตกุ ารณ์พฤษภาทมิฬ และสจุ นิ ดาถูกบบี
ให้ลาออกจากตำแหนง่
กลางปี 2540 เกิด "วิกฤตต้มยำกงุ้ " ซ่งึ โค่นรัฐบาลบรรหารและชวลติ ในปเี ดียวกันยังมีการประกาศใช้
รฐั ธรรมนูญปี 2540 ซง่ึ มสี มาชกิ สภารา่ งรฐั ธรรมนญู มาจากการเลอื กตัง้ หลังจากนนั้ ปี 2544 ทักษณิ ชินวัตรนำ
พรรคไทยรักไทยชนะการเลอื กตงั้ ถล่มทลายในปี 2544 และปี 2548 แนวนโยบายประชานิยมของเขาทำให้ไดร้ ับ
เสียงสนบั สนุนจำนวนมากในชนบท แต่อภิชน ข้าราชการและชนชน้ั กลางในเมืองคดั คา้ นเขา การประทว้ งนำโดย
กลมุ่ พนั ธมติ รประชาชนเพื่อประชาธปิ ไตยในปี 2549 ตามมาดว้ ยรัฐประหารในปีเดียวกัน นับแต่น้ันการเมืองไทย
อยใู่ นวิกฤตการเมืองระหวา่ งผู้สนบั สนุนและผ้คู ัดค้านทกั ษิณ ชนิ วัตร หลงั มกี ารประกาศใช้รฐั ธรรมนูญปี 2550 กม็ ี
การจดั การเลือกตง้ั ท่ัวไป ผลปรากฏวา่ สมคั ร สุนทรเวชนำพรรคพลงั ประชาชนซง่ึ เปน็ พันธมติ รของทักษิณชนะการ
เลอื กต้ังอกี ในปี 2551 พนั ธมิตรประชาชนเพอ่ื ประชาธิปไตยชุมนมุ ตัง้ แต่เดือนพฤษภาคมถึงธันวาคม จนเม่ือศาล
รัฐธรรมนูญวินิจฉัยยุบพรรคพลังประชาชน ทำให้มกี ารรวบรวมเสียง
ในสภาเพ่อื เลือกอภิสิทธิ์ เวชชาชวี ะเป็นนายกรฐั มนตรี ในคร้ังนนั้ พล
เอกเปรมและพลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผู้บัญชาการทหารบก
อำนวยความสะดวกหรือส่ังการโดยตรงใหม้ ีการซ้ือตัวกลุ่มเพ่ือนเน
วนิ ระหวา่ งอภิสิทธิด์ ำรงตำแหนง่ นายกรัฐมนตรี แนวรว่ ม
ประชาธิปไตยต่อตา้ นเผด็จการแห่งชาติประทว้ งรัฐบาลโดยขัดขวาง
การประชุมสุดยอดผู้นำเอเชยี ตะวันออกในปี 2552 และชมุ นุมใน
กรุงเทพมหานครในปี 2553 เพือ่ เรยี กรอ้ งให้จัดการเลือกตั้งใหม่
อภสิ ิทธ์ิยุบสภาในปี 2554 ผลการเลอื กตง้ั ปรากฏวา่ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นอ้ งสาวของทักษิณ นำพรรคเพื่อ
ไทยชนะการเลือกตั้ง สองปีแรกถือว่ารฐั บาลค่อนข้างมีเสถียรภาพ
แตใ่ นปี 2556 หลังรฐั บาลพยายามผา่ นรา่ งพระราชบัญญัตินิรโทษ
กรรมและแก้ไขรฐั ธรรมนูญ ทำให้เกิดการประท้วงโดย
คณะกรรมการประชาชนเพ่ือการเปลีย่ นแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้
เป็นประชาธิปไตยท่สี มบรู ณแ์ บบอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็
ประมุข (กปปส.) สุดทา้ ยมีรฐั ประหารในปี 2557 มกี ารร่างและ
ประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2560 ซึง่ เป็นฉบับปจั จบุ ัน มีการ
ประกาศใช้แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปแี ละใหส้ มาชกิ วุฒิสภา
ท่มี าจากการแต่งตง้ั ดูแลการทำงานของรัฐบาลใหเ้ ป็นไปตาม
แผนนี้ หลังเลอื่ นมาหลายครัง้ สุดท้ายมีการจัดการเลือกตัง้ ใน
วันที่ 24 มีนาคม 2562 โดยไม่มพี รรคใดครองเสียงข้างมาก
วนั ที่ 5 มิถนุ ายน 2562 รัฐสภาซง่ึ ประกอบดว้ ยสภา
ผ้แู ทนราษฎรและวุฒิสภาทมี่ าจากการแต่งต้งั ลงมติเลือกพล
เอกประยทุ ธเ์ ปน็ นายกรัฐมนตรีอกี สมัย

กศน.ตำบล สังกัด กศน.อำเภอพนสั นคิ ม

สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมวิถีประชาธปิ ไตยและสิทธิเสรภี าพของประชาชน 12

การเลอื กตัง้ ท้องถิน่

ผู้แทนในระดับทอ้ งถน่ิ
ผ้แู ทนองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นในแตล่ ะแห่งท่ีมาจากการเลือกต้งั

โดยตรงของประชาชน แบง่ เป็น 2 ฝ่าย คอื
1. ฝา่ ยนติ ิบญั ญตั ิ มหี นา้ ที่ออกกฎหมายท้องถนิ่ และตรวจสอบการ

บริหารงานของท้องถิน่ ไดแ้ ก่
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล (ส.อบต.)
สมาชิกสภาเทศบาล (ส.ท.)
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด (ส.จ.)
สมาชิกสภาเมอื งพัทยา
สมาชกิ สภากรุงเทพมหายคร (ส.ก.)
2. ฝ่ายบรหิ าร มหี นา้ ท่ีในการควบคมุ และบริหารกจิ การของท้องถนิ่ ได้แก่
นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบล
นายกเทศมนตรี
นายกองค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั
นายกเมืองพัทยา
ผวู้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร

ทำไมต้องไปเลือกผ้แู ทนท้องถ่ิน
การเลอื กตงั้ เปน็ หนา้ ที่ของคนไทยทุกคนในระบอบประชาธปิ ไตยเพ่ือใหม้ ีตวั แทนไปทำหนา้ สำคญั แทน

พวกเรา เช่น ปกป้องผลประโยชน์ และดทู ุกขส์ ุกของประชาชนในทอ้ งถน่ิ ใหป้ ระชาชนอยู่ดีกนิ ดี เรยี กร้องใหแ้ ก้ไข
ปัญหาความเดือดร้อนทีเ่ กิดขึ้นในชมุ ชน ซ่งึ หากไม่มผี ู้แทนกจ็ ะไม่มผี ู้นำเสนอปัญหาเหล่านั้นก็จะไม่ไดร้ ับการแก้ไข

การปกครองท้องถน่ิ สำคญั อยา่ งไร
องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ จัดตั้งข้นึ เพื่อให้การบริการแกป่ ระชาชนในด้านต่าง ๆ เช่น
- ด้านการศกึ ษา วัฒนธรรม ประเพณี
- ดา้ นสาธารณปู โภค
- ด้านปกป้องและบรรเทาสาธารณภัย โรคติดต่อ
- สง่ เสริมพฒั นา สตรี เดก็ เยาวชน ผูส้ ูงอายุ

คุณสมบตั ิของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ผมู้ ีสทิ ธเิ ลอื กตัง้ คือผู้ท่ีมคี ณุ สมบตั ดิ ังนี้
1. มสี ญั ชาตไิ ทย ถ้าแปลงสัญชาติตอ้ งได้สัญชาตไิ ทยมาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 5 ปี
2. มีอายุไมต่ ำ่ กว่า 18 ปีบรบิ ูรณใ์ นวนั ท่ี 1 มกราคม ของปีทมี่ ีการเลือกตั้ง และมีช่ืออยใู่ นทะเบียนบา้ นใน

เขตเลอื กต้งั ติดต่อกนั ไม่น้อยกวา่ 1 ปนี ับถึงวันเลือกตั้ง เช่น ถ้าเราอาศยั อยู่ใน อบต. ก็เลือกนายก อบต. กับ ส.
อบต. เชน่ กัน ถา้ อาศยั อยู่ในเขตเทศบาล ก็เลือก นายกเทศมนตรี กบั ส.ท. เปน็ ต้น

กศน.ตำบล สังกัด กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรุปผลการจัดกจิ กรรมโครงการสง่ เสริมวถิ ีประชาธปิ ไตยและสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน 13

เตรยี มความพร้อมเลือกต้ังท้องถ่นิ อยา่ งไร
การเลอื กต้ังท้องถ่ินทกุ ระดบั ต้อง เตรียมพร้อม เหมอื นกนั ดงั นี้
1. 20 วัน ก่อนวนั เลอื กต้ัง ตรวจสอบรายชอื่ ผ้มู ีสิทธิเลือกต้ังไดท้ ที่ ่วี า่ การอำเภอท่ีทำการองคก์ รปกครอง

ส่วนทอ้ งถ่ินที่ทำการผู้ใหญบ่ ้าน เขตชุมชนหรอื ท่เี ลือกตงั้
2. 15 วัน กอ่ นวนั เลือกต้ัง เจา้ บ้านจะไดร้ ับหนังสอื แจ้งรายชอ่ื ผูม้ ีสทิ ธิเลอื กต้ังเพ่ือให้ตรวจสอบชอื่ -

นามสกลุ และท่ีเลือกตงั้
3. 10 วนั ก่อนวนั เลอื กตั้ง หากเห็นว่าไมม่ ีช่ือตนเองหรอื มีชื่อผ้ไู ม่มีสิทธเิ ลอื กตัง้ ปรากฏในบัญชีรายชอื่ ผมู้ ี

สทิ ธเิ ลือกต้งั ใหย้ ื่นคำร้องขอเพม่ิ ขนึ้ -ถอนชื่อตอ่ นายทะเบยี นอำเภอหรือนายทะเบยี นท้องถ่ิน

หลกั ฐานทใี่ ช้ในการเลือกต้ัง
1. บัตรประชาชน (บัตรท่หี มดอายุก็ใชไ้ ด)้
2. บัตรหรอื หลักฐานทร่ี าชการหรือหนว่ ยงานของรฐั ออกให้มีรปู ถ่ายและหมายเลขบตั รประจำตัว

ประชาชน เช่น
- บัตรประจำตวั เจ้าหนา้ ที่ของรฐั
- ใบขับขี่
- หนงั สอื เดนิ ทาง (พาสปอร์ต)

ผูแ้ ทนทอ้ งถิ่นควรมีลกั ษณะอยา่ งไร
1. เป็นคนท่ีอาศยั อยู่ในท้องถ่ิน รบั รู้ปญั หาของทอ้ งถนิ่
2. มีคณุ ธรรมและร้จู ักเสยี สละ ไมเ่ หน็ แกต่ ัว
3. มีการหาเสียงอย่างสร้างสรรค์ โดยไมผ่ ิดกฎหมาย
4. เข้าถงึ ประชาชนในพ้นื ที่อย่างสมำ่ เสมอ เข้าใจปญั หาทเี่ กิดขน้ึ และนำมาแก้ไขโดยเสนอนโยบายที่เปน็

ประโยชนต์ ่อประชาชนและปฏิบตั ไิ ดจ้ ริง
5. เปิดโอกาสใหป้ ระชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและรับฟงั ความคิดเหน็ ของประชาชน เพ่ือรว่ มกัน

พฒั นา
6. เป็นแบบอย่างของการรู้จกั รักษาประโยชนส์ ่วนรวม
7. มีบทบาทในการสง่ เสริมและพฒั นาประชาธิปไตย
8. ไม่มพี ฤตกิ รรมฝ่าฝนื กฎหมายเลอื กตงั้ เช่น แจกเงนิ หรือสงิ่ ของ
9. อยา่ เลือกคนทจุ ริต อยา่ คิดขายเสยี ง
เม่ือทา่ นมโี อกาสไปทำหน้าท่ใี ชส้ ทิ ธิเลือกตัง้ แลว้ ไม่ควรเลือกผู้สมคั รทโ่ี กงการเลอื กตงั้ เป็นผู้แทนท้องถ่นิ ใน

ทุกระดับเพราะผสู้ มคั รที่โกงการเลอื กต้งั โดยใชเ้ งนิ ซอ้ื เสียงหัวละไม่กี่ร้อยบาท เมอื่ ไดเ้ ข้าไปบรหิ ารเงนิ งบประมาณ
ของทอ้ งถ่ิน ซง่ึ มาจากภาษีของเราเองแลว้ ไปถอนทุนคนื ทำใหพ้ วกเราไดร้ ับประโยชน์ในการพัฒนาท้องถิน่ ไมเ่ ต็มท่ี
เช่น ถนน สะพาน ใช้ได้ไมน่ านกช็ ำรดุ เสียหาย

ดังนั้น พวกเราต้องไปเลอื กต้งั ดว้ ยใจบริสทุ ธิดว้ ยการไม่รบั เงินซอ้ื เสยี งหรือผลประโยชนอ์ นื่ ใดจากผสู้ มัคร
แต่เลอื กผแู้ ทนทีด่ ีไปบริหารงบประมาณในการพฒั นาท้องถ่ินให้เกิดประโยชนอ์ ยา่ งเต็มเม็ดเต็มหน่วยจะดีกว่า

กศน.ตำบล สงั กัด กศน.อำเภอพนสั นคิ ม

สรปุ ผลการจัดกจิ กรรมโครงการสง่ เสริมวถิ ปี ระชาธปิ ไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน 14

การทุจริตเลือกตั้งส่งผลเสียหายตอ่ ท้องถ่นิ อยา่ งไร
- ทอ้ งถ่นิ สญู เสียงบประมาณ ซ่ึงมาจากภาษีของพวกเราในการจดั การเลือกต้งั ใหม่
- ผแู้ ทนที่เลือกเข้าไปจะโกงเงินภาษี ทำใหท้ ้องถิ่นไม่ได้รบั การพฒั นาอย่างเต็มที่
ดงั นั้น เมอ่ื พบเห็นการทุจริตเลือกตังไมว่ ่าจะเป็นการแจกเงินส่ิงของ หรอื มีการเลือกรบั เงินหรอื ทรพั ย์สนิ

ใหช้ ว่ ยกันแจ้งเบาะแสหรือรวบรวมหลกั ฐานการทุจริตแจง้ ต่อตำรวจในพ้ืนที่ กกต.จังหวัด กกต.ท้องถน่ิ หรอื แจง้ ให้
กกต.สว่ นกลาง สายด่วน 1171 ทราบ

การแจ้งเหตทุ ่ีไม่อาจไปใชส้ ิทธเิ ลือกตงั้
7 วนั ก่อนวันเลือกต้ัง หรือ ภายใน 7 วัน นบั แตว่ นั เลอื กตั้ง ขอรบั แบบ ส.ถ./ผ.ถ. 31 หรอื ทำหนังสือ

ช้ีแจงเหตุท่ที ำให้ไปใช้สิทธเิ ลือกตั้งไม่ได้ และใหร้ ะบุเลขประจำตวั ประชาชนและท่อี ยู่ตามทะเบยี นบ้านโดยยน่ื ตอ่
นายทะเบียนอำเภอ หรือนายทะเบยี นท้องถน่ิ

ด้วยตนเอง หรอื
มอบหมายผู้อน่ื หรอื
สง่ ทางไปรษณีย์ลงทะเบยี น
ไมไ่ ดไ้ ปเลอื กตั้งท้องถน่ิ เสียสทิ ธิอะไรบ้าง
ผ้ทู ี่ไม่ได้ไปใชส้ ทิ ธเิ ลอื กต้งั และไม่ได้แจ้งเหตอุ นั สมควร จะเสยี สิทธิ 6 ประการ ดงั น้ี
1. สทิ ธิย่ืนคำรอ้ งคดั ค้านการเลอื กตงั้ สมาชิกสภาท้องถิ่นและผบู้ ริหารทอ้ งถน่ิ
2. สทิ ธิรอ้ งคดั คา้ นการเลือกต้ังกำนนั และผู้ใหญ่บา้ นตามกฎหมายว่าด้วยลกั ษณะปกครองท้องที่
3. สิทธสิ มัครรบั เลอื กตงั เปน็ สมาชิกสภาท้องถ่นิ และผบู้ ริหารทอ้ งถิน่
4. สิทธิสมคั รรบั เลือกเป็นกำนันและผู้ใหญบ่ า้ นตามกฎหมายวา่ ดว้ ยลกั ษณะปกครองท้องท่ี
สทิ ธิเข้าชอ่ื ร้องขอใหส้ ภาทอ้ งถิ่นพิจารณาออกข้อบัญญัติท้องถน่ิ ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชอ่ื เสนอข้อบัญญตั ิ
ทอ้ งถ่นิ
5. สิทธเิ ขา้ ช่อื ร้องขอให้ถอดถอนสมาชกิ สภาท้องถ่ินหรือผู้บริหารทอ้ งถ่นิ ตามกฎหมายว่าด้วยการ
ลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาทอ้ งถ่นิ หรอื ผู้บริหารทอ้ งถิ่น

การมีส่วนร่วมทางการเมืองระหว่างการเลอื กต้ัง
ในระหว่างทม่ี ีการเลือกตง้ั เรามสี ว่ นร่วมทางการเมืองได้ เชน่ ติดตามการ

โฆษณาหาเสียงของผู้สมัครวา่ ทำผิดกฎหมายเลือกต้ังหรือไม่สังเกตการณท์ ำหนา้ ท่ี
ของกรรมการประจำหน่วยเลือกตงั้ เช่น เปดิ หีบบตั รตรงเวลาหรือมีบัตรอยู่ในหีบ
ก่อนเปดิ หีบหรือไม่เฝา้ ตดิ ตามการนับคะแนนว่ากรรมการมีการอ่านคะแนนถกู ต้อง
หรอื ไม่ ฯลฯการมีสว่ นรว่ มทางการเมืองหลังการเลือกต้ัง

แม้การเลือกตงั เสรจ็ สิน้ ไปแล้วแตท่ า่ นยงั สามรถตรวจสอบการทำงานของ
ผู้แทนในระดับท้องถ่นิ ได้ ดังนี้
มสี ่วนรว่ มในการบรหิ าร เชน่ การเข้ารับฟังการประชมุ ของสภาท้องถนิ่ หรือติดตามประกาศต่างๆของท้องถน่ิ
รวมทัง้ ใหค้ วามคดิ เหน็ ในการจัดทำโครงการหรือกจิ กรรมต่างๆ ของท้องถิน่
มสี ่วนรว่ มในการตรวจสอบ เช่น ติดตามและตรวจสอบการบริหารงานของผู้บรหิ ารท้องถ่ินหรอื การปฏบิ ัตหิ น้าที่
ของสมาชิกสภาทอ้ งถน่ิ

การมสี ่วนร่วมทางดา้ นกฎหมาย เชน่ การเขา้ ชื่อเสนอรา่ งข้อบญั ญัติ หรอื แสดงความคิดเห็นเสนอแนะต่อ
สภาทอ้ งถิ่น

กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมโครงการสง่ เสรมิ วิถีประชาธิปไตยและสิทธเิ สรภี าพของประชาชน 15

การคดั คา้ นการเลอื กตง้ั
การคดั ค้านการเลือกต้ัง สามารถยน่ื คำร้องได้ก่อนวันเลือกตั้ง หรือภายใน 30 วนั นบั แต่วันประกาศผล

เลือกตงั้ ผู้มีสิทธิเลือกต้ังไม่น้อยกว่า 10 คน หรอื ผสู้ มคั ร หรือผวู้ ่าราชการจังหวดั หรือนายอำเภอในเขตเลอื กต้งั น้ัน
กรณเี ห็นวา่ การเลือกตงั้ หรือการนับคะแนนเลอื กตัง้ ในเขตเลือกตัง้ เปน็ ไปโดยทุจรติ หรือไมเ่ ทยี่ งธรรมใหย้ ่นื คำรอ้ ง
คดั ค้านต่อ กกต. โดยผ่านผู้อำนวยการเลือกต้ังประจำจังหวัดผู้สมัครสมาชิกสภาทอ้ งถ่ินหรือผบู้ รหิ ารทอ้ งถิน่
จะต้องยื่นบัญชีคา่ ใช้จ่ายในการเลอื กตัง้ ภายใน 90 วนั นบั แต่วันประกาศผลการเลือกต้ังและผู้ร้องคัดคา้ นเกยี่ วกับ
คา่ ใชจ้ า่ ยในการเลือกตั้ง ผรู้ อ้ งสามารถยืน่ คำร้องคดั คา้ นได้ภายใน 180 วัน นับแต่วนั ประกาศผลการเลอื กตง้ั

วธิ ีการข้าชือ่ ร้องขอและลงคะแนนเสยี งถอดถอนสมาชกิ สภาท้องถนิ่
ประชาชนในท้องถ่นิ มีสิทธิยื่นคำรอ้ งขอให้มีการลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาทอ้ งถิน่ หรือผู้บริหาร

ท้องถ่ินน้นั ไดห้ ากเหน็ ว่าผนู้ น้ั ไม่สมควรที่จะดำรงตำแหน่งอีกต่อไปโดยมี 4 ข้ันตอนดงั นี้
ทำคำร้องขอใหม้ ีการถอดถอนโดยระบุชื่อ ท่อี ยู่ ลงลายมือช่ือ พร้อมสำเนาบตั รประจำตัวประชาชน
ย่นื คำรอ้ งต่อผ้วู ่าราชการจงั หวดั หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย(เฉพาะ กทม.) โดยมรี ายละเอยี ดของ
ขอ้ เทจ็ จริง และพฤติการณ์ที่แสดงใหเ้ หน็ วา่ สมาชิกสภาท้องถ่นิ หรอื ผูบ้ ริหารท้องถน่ิ ปฏบิ ัติหนา้ ท่หี รือ มีความ
ประพฤติเสอื่ มเสยี จนเปน็ เหตุท่ไี มส่ มควรดำรงตำแหนง่ ต่อไป
เม่ือผู้ว่าราชการจังหวดั หรอื รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยไดร้ ับคำร้องแลว้ ให้ส่งคำร้องพร้อมคำช้แี จงของผู้
ถกู กล่าวหาไปยัง กกต. เพอ่ื ทำการประกาศวนั และจัดให้มีการลงคะแนนเสียงถอดถอน
ผูม้ สี ทิ ธลิ งคะแนนเสยี งไปลงคะแนนเสียงถอดถอน ณ หนว่ ยลงคะแนนเสยี งท่ี กกต. กำหนด
การเข้าชอ่ื รอ้ งขอและการลงคะแนนเสยี งถอดถอนสมาชกิ สภาท้องถิน่ หรือผู้บรหิ ารท้องถ่ินจะถือเกณฑจ์ ำนวนผ้มู ี
สิทธเิ ลือกตั้งขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ แต่ละแห่งต่อจำนวนผเู้ ข้าช่ือ ดังนี้

- จำนวนผมู้ สี ิทธเิ ลือกตั้ง ไมเ่ กนิ 1 แสนคน จำนวนผเู้ ข้าช่อื ถอดถอน ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5
จำนวนผูม้ ีสทิ ธิเลือกต้ัง ระหว่าง 1 แสนคน – 5 แสนคน จำนวนผู้เข้าช่ือถอดถอน ไม่น้อยกวา่ 2 หมืน่ คน

- จำนวนผู้มสี ิทธเิ ลือกตงั้ ระหว่าง 5 แสนคน – 1 ล้านคน จำนวนผู้เขา้ ชื่อถอดถอน ไม่น้อยกว่า 2.5 แสน
คน

- จำนวนผู้มีสทิ ธิเลือกตง้ั เกนิ 1 ล้านคน จำนวนผู้เขา้ ชือ่ ถอดถอน ไมน่ ้อยกวา่ 3 แสนคน

ผลการลงคะแนนเสยี ง
ประชาชนลงคะแนนเสียงเกินกึ่งหนึง่ ของจำนวนผู้มสี ทิ ธิลงคะแนนเสียงและไดค้ ะแนนเสียงไม่น้อยกวา่ 3 ใน 4

ของผู้มสี ิทธิเลือกตั้งทม่ี าลงคะแนนเสียงใหบ้ คุ คลนั้นพน้ จากตำแหนง่ นับแต่วนั ลงคะแนนเสียง ประชาชนลงคะแนน
เสียงไม่ถึงกึง่ หน่งึ ของจำนวนผมู้ สี ิทธลิ งคะแนนเสียงให้การเข้าชอื่ ถอดถอนบุคคลนน้ั เป็นอันตกไป (บคุ คลนั้นยงั อยู่
ในตำแหน่งต่อไป)

คณุ สมบตั ขิ องผู้มสี ทิ ธิเลือกต้ัง
– สัญชาติไทย หรอื ผู้มีสัญชาติไทยโดยได้แปลงสญั ชาตมิ าแล้วไม่

นอ้ ยกวา่ 5 ปี
– อายไุ ม่ตำ่ กว่า 18 ปีบริบูรณ์ ในวันที่ 1 มกราคม ของปีทม่ี ีการ

เลอื กตง้ั ในปีน้ีถงึ ว่า ตอ้ งมีอายคุ รบ 18 ปบี รบิ รูณภ์ ายในวันที่ 1 มกราคม
2553

– มชี ื่ออย่ใู นทะเบยี นบ้านในเขตเลอื กต้งั มาแลว้ เป็นเวลา
ติดต่อกันไมน่ ้อยกว่า 90 วัน นบั ถึงวนั เลือกต้ัง

กศน.ตำบล สังกัด กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรุปผลการจดั กจิ กรรมโครงการสง่ เสริมวิถปี ระชาธปิ ไตยและสิทธเิ สรภี าพของประชาชน 16

ลกั ษณะต้องห้ามของผู้มสี ทิ ธิเลือกตง้ั
– ภิกษุ สามเณร นกั พรต หรือนักบวช
– อยูใ่ นระหว่างถกู เพงิ ถอนสิทธกิ ารเลือกตัง้
– ต้องคุมขังโดยหมายของศาล หรอื โดยคำส่ังท่ีชอบดว้ ยกฎหมาย
– วกิ ลจริต จิตฟนั่ เฟือน หรอื ไม่สมประกอบ

กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรปุ ผลการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมวิถีประชาธปิ ไตยและสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน 17

บทที่ 3

วธิ ดี ำเนนิ งาน

การดำเนินโครงการส่งเสรมิ วถิ ีประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน ไดด้ ำเนินการตามข้ันตอน

ตา่ ง ๆ ดังนี้

1. ข้นั เตรียมการ

 การศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับโครงการส่งเสริมวิถีประชาธปิ ไตยและสิทธเิ สรีภาพของประชาชน

ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารทีเ่ กีย่ วขอ้ งเพ่ือเป็นข้อมลู และแนวทางในการดำเนินการ

โครงการสง่ เสริมวถิ ีประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน ดงั นี้

1. ศกึ ษาเอกสาร / คู่มือ ข้อมูลจากหนังสือ เก่ียวกบั การส่งเสริมวถิ ปี ระชาธปิ ไตยและสิทธเิ สรีภาพของ
ประชาชน เพือ่ เป็นแนวทางเก่ียวกบั การจัดโครงการสง่ เสริมวิถีประชาธิปไตยและสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน

2. ศึกษาขัน้ ตอนการดำเนนิ โครงการสง่ เสริมวิถปี ระชาธิปไตยและสทิ ธิเสรภี าพของประชาชน เพ่ือเปน็

แนวทางในการจัดเตรียมงาน วสั ดอุ ปุ กรณ์ และบคุ ลากรใหเ้ หมาะสม
 การสำรวจความตอ้ งการของประชาชนในพน้ื ที่ (ตามนโยบายของรัฐบาล)
กล่มุ ภารกจิ การจดั การศึกษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล สำรวจความตอ้ งการของ

กลุ่มเป้าหมายเพ่ือทราบความต้องการทแ่ี ท้จริงของประชาชนในตำบล และมีข้อมูลในการจดั กจิ กรรมท่ีตรงกบั

ความต้องการของชุมชน
 การประสานงานผู้นำชุมชน / ประชาชน /วิทยากร

1. ครู กศน.ตำบล ได้ประสานงานกบั หัวหนา้ /ผนู้ ำชุมชนและประชาชนในตำบลเพื่อรว่ มกัน
ปรึกษาหารือในกลุ่มเก่ียวกบั การดำเนินการจดั โครงการให้ตรงกบั ความต้องการของชุมชน

2. ครู กศน.ตำบล ไดป้ ระสานงานกับหน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งเพ่ือจดั หาวทิ ยากรและสถานท่ีจัด

กิจกรรม
 การประชาสัมพนั ธโ์ ครงการฯ
ครู กศน.ตำบล ไดด้ ำเนินการประชาสัมพันธ์การจัดโครงการส่งเสริมวถิ ีประชาธิปไตยและสิทธิ

เสรีภาพของประชาชน เพ่ือให้ประชาชนทราบข้อมูลการจัดกจิ กรรมดังกล่าวผา่ นผู้นำชุมชน
 ประชุมเตรยี มการ / วางแผน

1) ประชุมปรกึ ษาหารือผู้ทเ่ี ก่ียวข้อง

2) เขียนโครงการ วางแผนมอบหมายงานให้ฝ่ายต่าง ๆ เตรียมดำเนนิ การ
3) มอบหมายหน้าที่ แต่งตั้งคณะทำงาน
 การรับสมคั รผเู้ ขา้ ร่วมโครงการฯ

ครู กศน.ตำบล ไดร้ ับสมัครผูเ้ ข้าร่วมโครงการส่งเสริมวถิ ีประชาธปิ ไตยและสิทธิเสรีภาพของ

ประชาชน โดยใหป้ ระชาชนทั่วไปที่อาศยั อยู่ในพื้นทีต่ ำบลบ้านช้าง ตำบลบา้ นเซิดและตำบลหมอนนาง เขา้ ร่วม
กิจกรรม เป้าหมายตำบลละ 12 คน รวมทัง้ สน้ิ จำนวน 36 คน

 การกำหนดสถานท่แี ละระยะเวลาดำเนนิ การ

ครู กศน.ตำบล ได้กำหนดสถานทใี่ นการจดั อบรมคือ ห้องประชมุ โรงเรียนเทศบาล 4 เจริญอปุ ถัมภ์

ปญั ญาธร ตำบลพนสั นิคม อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี ในวันที่ 19 มนี าคม พ.ศ. 2564 จำนวน 1 วนั

เวลา 09.00-15.00 น.

กศน.ตำบล สงั กัด กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ วิถปี ระชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน 18

2. ข้นั ดำเนนิ งาน

 กลุม่ เป้าหมาย

กลมุ่ เป้าหมายของโครงการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน

ประชาชนตำบลบา้ นช้าง จำนวน 12 คน

ประชาชนตำบลบ้านเซิด จำนวน 12 คน

ประชาชนตำบลหมอนนาง จำนวน 12 คน

รวมทง้ั ส้นิ จำนวน 36 คน

 สถานท่ดี ำเนินงาน

ครู กศน.ตำบล จดั กิจกรรมโครงการส่งเสริมวิถปี ระชาธปิ ไตยและสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน

โดยจดั กจิ กรรมอบรมใหค้ วามรู้ ในวนั ท่ี 19 มีนาคม พ.ศ. 2564 จำนวน 1 วัน เวลา 09.00-15.00 น.

ณ ห้องประชมุ โรงเรียนเทศบาล 4 เจริญอุปถัมภ์ปญั ญาธร ตำบลพนัสนิคม อำเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบุรี

 การขออนุมตั แิ ผนการจัดกิจกรรมการศึกษาเพอ่ื พัฒนาสงั คมและชุมชน

กศน.ตำบลบา้ นช้าง ไดด้ ำเนนิ การขออนมุ ัติแผนการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพ่อื พัฒนาสงั คมและ

ชมุ ชน โครงการสง่ เสรมิ วิถีประชาธปิ ไตยและสิทธเิ สรีภาพของประชาชน ตอ่ สำนักงาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี เพอ่ื ให้

ตน้ สงั กัดอนุมัติแผนการจดั กิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชมุ ชน

 การจดั ทำเครอื่ งมอื การวัดความพึงพอใจของผรู้ ว่ มกิจกรรม

เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการติดตามประเมินผลโครงการ ไดแ้ ก่ แบบประเมนิ ความพึงพอใจ

 ขัน้ ดำเนินการ / ปฏิบตั ิ

1. เสนอโครงการเพื่อขอความเห็นชอบ/อนมุ ัติจากตน้ สงั กดั

2. วางแผนการจดั กิจกรรมในโครงการสง่ เสรมิ วิถปี ระชาธิปไตยและสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน

โดยกำหนดตารางกจิ กรรมที่กำหนดการ

3. มอบหมายงานใหแ้ กผ่ ูร้ บั ผิดชอบฝา่ ยต่าง ๆ

4. แตง่ ตัง้ คณะกรมการดำเนินงาน

5. ประชาสมั พันธ์โครงการส่งเสริมวถิ ีประชาธิปไตยและสิทธิเสรภี าพของประชาชน

6. จัดกิจกรรมโครงการส่งเสรมิ วิถีประชาธิปไตยและสิทธเิ สรีภาพของประชาชน ตามตาราง

กิจกรรมท่ีกำหนดการ

7. ตดิ ตามและประเมินผลโครงการสง่ เสริมวิถีประชาธิปไตยและสิทธิเสรภี าพของประชาชน

กศน.ตำบล สงั กัด กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมโครงการสง่ เสรมิ วิถปี ระชาธปิ ไตยและสิทธเิ สรีภาพของประชาชน 19

3. การประเมินผล

 วเิ คราะห์ข้อมูล

1. บนั ทึกผลการสังเกตจากผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม

2. วเิ คราะห์ผลจากการประเมินในแบบประเมินความพงึ พอใจ

3. รายงานผลการปฏบิ ัติงาน รวบรวมสรุปผลการปฏิบตั ิงานของโครงการนำเสนอตอ่ ผูบ้ ริหาร

นำปัญหา ข้อบกพร่องไปแก้ไขครงั้ ต่อไป

 ค่าสถติ ิทใ่ี ช้

การวิเคราะห์ขอ้ มูล ใช้ค่าสถิติรอ้ ยละในการประมวลผลข้อมูลส่วนตัวและตวั ชว้ี ัดความสำเร็จของ

โครงการตามแบบสอบถามคดิ เปน็ รายขอ้ โดยแปลความหมายคา่ สถิติร้อยละออกมาได้ดงั นี้

ค่าสถิติร้อยละ 90 ขึ้นไป ดมี าก

ค่าสถติ ริ อ้ ยละ 75 – 89.99 ดี

คา่ สถิตริ ้อยละ 60 – 74.99 พอใช้

คา่ สถิติรอ้ ยละ 50 – 59.99 ปรบั ปรงุ

คา่ สถติ ริ ้อยละ 0 – 49.99 ปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น

สว่ นการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเหน็ รายข้อซ่ึงมีลักษณะเป็นค่าน้ำหนักคะแนน

และนำมาเปรียบเทียบ ไดร้ ะดับคุณภาพตามเกณฑก์ ารประเมิน ดังน้ี

เกณฑก์ ารประเมนิ (X)

ค่าน้ำหนักคะแนน 4.50 – 5.00 ระดบั คุณภาพ คอื ดีมาก

ค่านำ้ หนักคะแนน 3.75 – 4.49 ระดับคณุ ภาพ คือ ดี

คา่ นำ้ หนกั คะแนน 3.00 – 3.74 ระดบั คุณภาพ คือ พอใช้

คา่ นำ้ หนกั คะแนน 2.50 – 2.99 ระดบั คณุ ภาพ คือ ตอ้ งปรบั ปรุง

ค่านำ้ หนกั คะแนน 0.00 – 2.49 ระดับคณุ ภาพ คอื ตอ้ งปรับปรงุ เร่งด่วน

กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนสั นคิ ม

สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมโครงการสง่ เสริมวิถปี ระชาธิปไตยและสิทธเิ สรีภาพของประชาชน 20

บทที่ 4
ผลการดำเนินงานและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ตอนที่ 1 รายงานผลการจดั กจิ กรรมโครงการสง่ เสริมวถิ ีประชาธิปไตยและสิทธเิ สรภี าพของประชาชน
การจดั กจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ วถิ ปี ระชาธปิ ไตยและสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน สรปุ รายงานผลการจัด

กิจกรรมไดด้ ังน้ี
ในการจดั กจิ กรรมอบรมให้ความรูต้ ามโครงการส่งเสริมวถิ ีประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน

เป็นการอบรมใหค้ วามรู้ โดยมี นายประกาย รัตนมณี เป็นวทิ ยากรในการบรรยายใหค้ วามรู้ เรอื่ ง ประวัติความ
เปน็ มาของการปกครองระบบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข ความหมายของการปกครอง
ระบบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข การใชส้ ิทธเิ สรีภาพ ความเสมอภาคและหน้าทีต่ าม
ระบอบประชาธิปไตย ความสำคัญของการเลือกต้ังทัง้ ในระดับชาตแิ ละระดับท้องถิ่น

ตอนท่ี 2 รายงานผลความพึงพอใจของโครงการสง่ เสริมวถิ ปี ระชาธปิ ไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน
การจัดกจิ กรรมโครงการสง่ เสรมิ วถิ ปี ระชาธิปไตยและสทิ ธิเสรภี าพของประชาชน ซ่ึงสรปุ รายงานผลจาก

แบบสอบถามความคดิ เห็น ข้อมลู ที่ได้สามารถวเิ คราะห์และแสดงค่าสถิติ ดงั น้ี

ตารางท่ี 1 ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามเพศ รอ้ ยละ
เพศ จำนวน
ชาย 1 2.78
หญิง 35 97.22
รวม 36
100.00

จากตารางท่ี 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามทีเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชุมชน
โครงการสง่ เสรมิ วิถีประชาธปิ ไตยและสิทธเิ สรีภาพของประชาชน จำนวน 36 คน สว่ นใหญ่ เป็นเพศหญิง
จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 97.22 และเพศชาย จำนวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.78

ตารางที่ 2 ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการทตี่ อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอายุ

อายุ จำนวน ร้อยละ

15 – 25 ปี 1 2.78
2.78
26 - 39 ปี 1 2.78
38.89
40 - 49 ปี 1 52.78

50 - 59 ปี 14 100.00

60 ปีขึน้ ไป 19

รวม 36

จากตารางท่ี 2 พบว่าผูต้ อบแบบสอบถามท่ีเข้ารว่ มกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชมุ ชน
โครงการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยและสิทธเิ สรีภาพของประชาชน จำนวน 36 คน สว่ นใหญม่ ีอายุระหว่าง 60
ปขี ้นึ ไป จำนวน 19 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 52.78 รองลงมาคอื อายุระหวา่ ง 50 – 59 ปี จำนวน 14 คน คิดเปน็ ร้อย
ละ 38.89 และสดุ ทา้ ยอายรุ ะหวา่ ง 15-25 ปี จำนวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.78 อายรุ ะหว่าง 26.39 ปี จำนวน
1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.78 และอายรุ ะหว่าง 40-49 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.78

กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนสั นคิ ม

สรปุ ผลการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมวถิ ีประชาธปิ ไตยและสิทธิเสรภี าพของประชาชน 21

ตารางที่ 3 ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอาชีพ

ประกอบอาชีพ จำนวน รอ้ ยละ

รับจา้ ง 21 58.33
11.11
ค้าขาย 4 8.33

เกษตรกร 3 -
22.22
ลกู จ้าง/ข้าราชการหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน -
100.00
อ่นื ๆ 8

รวม 36

จากตารางท่ี 3 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามทเี่ ขา้ ร่วมกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชมุ ชน
โครงการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชนจำนวน 36 คน สว่ นใหญ่ประกอบอาชีพรับจา้ ง
จำนวน 21 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 58.33 รองลงมาคืออาชีพอื่น ๆ จำนวน 8 คน คดิ เป็นร้อยละ 22.22 อาชพี
ค้าขาย จำนวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 11.11 และสุดทา้ ยประกอบอาชีพเกษตรกร จำนวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ
8.33

ตารางที่ 4 ผ้เู ข้าร่วมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามระดบั การศึกษา

ระดบั การศึกษา จำนวน รอ้ ยละ

ต่ำกว่า ป.4 1 2.78
30.56
ป.4 11 33.33
5.56
ประถมศึกษา 12 25.00

มัธยมศกึ ษาตอนต้น 2 -
2.78
มัธยมศึกษาตอนปลาย 9
-
อนุปรญิ ญา -
100.00
ปริญญาตรี 1

สงู กวา่ ปริญญาตรี -

รวม 36

จากตารางที่ 4 พบว่าผูต้ อบแบบสอบถามทเ่ี ขา้ ร่วมกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชุมชน
โครงการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยและสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน จำนวน 36 คน สว่ นใหญ่มีการศึกษาระดบั
ประถมศกึ ษา จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 รองลงมา คอื ระดับ ป.4 จำนวน 11 คดิ เปน็ ร้อยละ
30.56 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 9 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 25.00 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน
2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 5.56 และสดุ ทา้ ยระดับต่ำกว่า ป.4 จำนวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 2.78 และระดับ
ปรญิ ญาตรี จำนวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 2.78

ตารางที่ 5 แสดงค่ารอ้ ยละเฉลี่ยความสำเร็จของตัวช้ีวดั ผลผลิต ประชาชนทัว่ ไปเข้ารว่ มโครงการจำนวน 36 คน

ผลสำเรจ็ ของโครงการ จำนวน รอ้ ยละ
เป้าหมายโครงการ 36 100.00
ผู้เข้ารว่ มโครงการ 36 100.00

กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนสั นคิ ม

สรุปผลการจดั กิจกรรมโครงการสง่ เสริมวถิ ปี ระชาธิปไตยและสทิ ธิเสรีภาพของประชาชน 22

จากตารางที่ 5 พบว่าผลสำเร็จของตวั ชีว้ ัดผลผลิตกิจกรรมการศึกษาเพ่อื พัฒนาสังคมและชุมชน
โครงการส่งเสริมวิถปี ระชาธิปไตยและสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนมีผู้เข้ารว่ มโครงการ จำนวน 36 คน คดิ เป็นร้อย
ละ 100 ซง่ึ บรรลเุ ป้าหมายด้านตวั ชีว้ ดั ผลผลติ

ตารางท่ี 6 คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมท่ีมีความพึงพอใจต่อโครงการ
สง่ เสริมวิถปี ระชาธปิ ไตยและสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน ในภาพรวม

รายการ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ระดับ
() ความพงึ พอใจ
ดา้ นการบริหารจดั การ 4.74 ()
ดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรม 4.75 0.44 ดมี าก
การเรยี นรู้/การอบรม 0.43 ดีมาก
ดา้ นประโยชนท์ ไี่ ด้รับ 4.79
รวมทกุ ดา้ น 4.76 0.41 ดมี าก
0.43 ดีมาก

จากตารางที่ 6 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามทม่ี ีความพึงพอใจตอ่ โครงการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยและ
สิทธิเสรภี าพของประชาชน ในภาพรวม จำนวน 36 คน อยูใ่ นระดับดมี าก (=4.76) เมื่อพิจารณาเปน็ รายดา้ น
พบว่า ดา้ นประโยชน์ท่ีได้รบั อยู่ในระดับมากทส่ี ุด มคี ่าเฉล่ีย (= 4.79) รองลงมาคอื ด้านกระบวนการจัด

กจิ กรรมการเรยี นรู้/การอบรม มอี ยูใ่ นระดบั ดีมาก มีค่าเฉลย่ี (= 4.75) และสดุ ทา้ ยดา้ นการบริหารจดั การ อยู่
ในระดบั ดีมาก มีค่าเฉล่ีย (= 4.74) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.41 - 0.44
แสดงว่า ผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมมีความพึงพอใจสอดคล้องกนั

ตารางที่ 7 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกจิ กรรมที่มีความพึงพอใจต่อโครงการ
ส่งเสริมวถิ ปี ระชาธิปไตยและสิทธเิ สรภี าพของประชาชน ด้านการบรหิ ารจัดการ

รายการ คา่ เฉลยี่ ส่วนเบ่ยี งเบน ระดับ
ความพงึ พอใจ
1. อาคารสถานท่ี () มาตรฐาน ()
2. สง่ิ อำนวยความสะดวก 4.86 0.35 ดมี าก
3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ 4.75 0.44 ดมี าก
4. เอกสารประกอบการอบรม 4.69 0.47 ดมี าก
5. วิทยากรผูใ้ ห้การอบรม 4.64 0.49 ดมี าก
4.78 0.42 ดมี าก
รวม 4.74 0.44
ดีมาก

จากตารางที่ 7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามท่มี คี วามพงึ พอใจต่อโครงการสง่ เสรมิ วถิ ีประชาธิปไตยและ
สิทธิเสรีภาพของประชาชน ด้านการบริหารจัดการ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉล่ีย (= 4.74) เม่ือ
พจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบว่า อาคารสถานที่ มคี ่าเฉลีย่ (= 4.86) รองลงมา คือ วิทยากรผใู้ ห้การอบรม มคี ่าเฉลี่ย
(= 4.78) สิ่งอำนวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ย (= 4.75) กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการมี
ค่าเฉล่ีย (= 4.69) และสุดท้ายเอกสารประกอบการอบรม มคี ่าเฉล่ยี (= 4.64) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน () อยรู่ ะหว่าง 0.35 - 0.49 แสดงว่า ผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามคดิ เห็นไปในทิศทางเดียวกนั

กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรปุ ผลการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมวถิ ีประชาธิปไตยและสิทธเิ สรีภาพของประชาชน 23

ตารางที่ 8 คา่ เฉล่ียและสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรมที่มคี วามพึงพอใจต่อ
โครงการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยและสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน ด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้/การอบรม

รายการ คา่ เฉลย่ี สว่ นเบี่ยงเบน ระดับ
() มาตรฐาน () ความพึงพอใจ
6. การจดั กจิ กรรมโครงการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตย
และสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน 4.69 0.47 ดมี าก
7. การให้ความร้เู ร่ืองประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพ
ของประชาชน 4.78 0.42 ดีมาก
8. การตอบข้อซักถามของวทิ ยากร
4.86 0.35 ดีมาก
9. การแลกเปลีย่ นเรียนรูข้ องผเู้ ข้ารบั การอบรม
10. การสรุปองค์ความรรู้ ่วมกัน 4.81 0.40 ดมี าก
11. การวดั ผลและประเมนิ ผลการฝกึ อบรม 4.78 0.42 ดมี าก
4.58 0.52 ดีมาก
รวม 4.75 0.43 ดมี าก

จากตารางท่ี 8 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยและ
สิทธิเสรีภาพของประชาชน ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้/การอบรม ในภาพรวมอยู่ในระดบั ดีมาก มคี ่าเฉลี่ย

(= 4.75) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ การตอบขอ้ ซักถามของวิทยากร มีค่าเฉล่ีย (= 4.86) รองลงมาคอื

การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ของผเู้ ข้ารบั การอบรม มคี า่ เฉลยี่ (= 4.81 ) การใหค้ วามรเู้ รอ่ื งประชาธิปไตยและสทิ ธิ

เสรภี าพของประชาชนและการสรุปองคค์ วามรู้รว่ มกนั มคี ่าเฉลยี่ (= 4.78 ) การจัดกจิ กรรมโครงการส่งเสริมวิถี

ประชาธปิ ไตยและสิทธิเสรภี าพของประชาชน มคี ่าเฉล่ีย (=4.69) และสดุ ทา้ ยการวัดผลและประเมนิ ผลการ

ฝึกอบรม มีค่าเฉลย่ี (= 4.58) ตามลำดบั โดยมีสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยรู่ ะหวา่ ง 0.35 - 0.52 แสดงวา่
ผตู้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นสอดคลอ้ งกนั

ตารางที่ 9 คา่ เฉล่ยี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้เข้ารว่ มกิจกรรมที่มีความพงึ พอใจตอ่ โครงการ
ส่งเสรมิ วิถีประชาธปิ ไตยและสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน ดา้ นประโยชน์ท่ีได้รับ

รายการ ค่าเฉลย่ี ส่วนเบี่ยงเบน ระดับความ
() มาตรฐาน () พงึ พอใจ
12. การเรียนรู้และฝกึ ตนเองเก่ยี วกับประชาธปิ ไตยและ 4.83 ดมี าก
สทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน 0.38
13. การนำความรู้ท่ีได้รับมาปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวัน 4.75 ดมี าก
4.79 0.44 ดมี าก
รวม 0.41

จากตารางที่ 9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการส่งเสรมิ วิถีประชาธิปไตยและ

สิทธิเสรีภาพของประชาชน ด้านประโยชน์ที่ได้รับ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (= 4.79) เม่ือ
พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การเรียนรู้และฝึกตนเองเกี่ยวกับประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน มี

ค่าเฉล่ีย (= 4.83) และการนำความรู้ท่ีได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีค่าเฉลี่ย (= 4.75) โดยมีส่วน

เบย่ี งเบนมาตรฐาน () อยรู่ ะหว่าง 0.38 - 0.44 แสดงว่าผตู้ อบแบบสอบถามมีความคดิ เห็นไปในทิศทางเดียวกนั

กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนสั นคิ ม

สรปุ ผลการจัดกจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ วิถีประชาธปิ ไตยและสิทธเิ สรีภาพของประชาชน 24

สรปุ ในภาพรวมของกจิ กรรมคิดเป็นร้อยละ 95.20 มคี ่าน้ำหนกั คะแนน 4.76 ถือว่าผู้รับบรกิ าร
มคี วามพึงพอใจทางดา้ นต่าง ๆ อย่ใู นระดบั ดีมาก โดยเรียงลำดบั ดังน้ี

 อันดบั แรก ดา้ นการบรหิ ารจดั การ คิดเป็นร้อยละ 95.80 มคี ่านำ้ หนักคะแนน 4.79 อยูใ่ นระดบั
คณุ ภาพดีมาก

 อันดับสอง ด้านการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้/การอบรม คิดเป็นรอ้ ยละ 95.80 มีค่าน้ำหนกั คะแนน
4.69 อยใู่ นระดบั คุณภาพดีมาก

 อนั ดบั สาม ด้านประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ คิดเปน็ ร้อยละ 94.80 มคี ่านำ้ หนักคะแนน 4.74 อยใู่ นระดับ
คุณภาพดีมาก

กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนสั นคิ ม

สรุปผลการจดั กิจกรรมโครงการส่งเสริมวถิ ปี ระชาธิปไตยและสิทธเิ สรภี าพของประชาชน 25

บทที่ 5
อภปิ รายและข้อเสนอแนะ

ผลการจดั กิจกรรมโครงการสง่ เสรมิ วถิ ปี ระชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน ไดผ้ ลสรุปดงั นี้

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื ให้ผเู้ ข้ารว่ มอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับการเมอื งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุขทถี่ ูกต้อง

2. เพอื่ ให้ผู้เขา้ ร่วมอบรมเห็นถึงความสำคัญของการเลือกตง้ั ทั้งในระดับชาติและระดบั ท้องถ่ิน

เป้าหมาย (Outputs)

เป้าหมายเชิงปริมาณ

ประชาชนตำบลบา้ นช้าง จำนวน 12 คน

ประชาชนตำบลบ้านเซดิ จำนวน 12 คน

ประชาชนตำบลหมอนนาง จำนวน 12 คน

รวมทัง้ สิ้น จำนวน 36 คน

เป้าหมายเชิงคุณภาพ

1. ผเู้ ข้ารบั การอบรมมีความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกับการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย

อนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ ที่ถูกตอ้ งได้อย่างเหมาะสม

2. ผ้เู ขา้ รับการอบรมเหน็ ถึงความสำคัญของการเลือกตัง้ ทั้งในระดบั ชาติและระดับท้องถิ่น

เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล
เครอื่ งมือที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลในครง้ั น้ี คือ แบบประเมนิ ความพึงพอใจ

การเก็บรวบรวมข้อมลู
ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ได้มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบลที่รับผิดชอบกิจกรรมแจกแบบสอบถามความ

พงึ พอใจให้กับผ้รู ่วมกิจกรรม โดยใหผ้ ู้เขา้ ร่วมกิจกรรมประเมินผลการจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ ตามโครงการสง่ เสริมวิถี
ประชาธปิ ไตยและสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน

สรปุ ผลการดำเนินงาน
กศน.ตำบล ได้ดำเนนิ การจดั กจิ กรรมตาม โครงการสง่ เสริมวถิ ปี ระชาธิปไตยและสทิ ธเิ สรีภาพของ

ประชาชน โดยดำเนินการเสรจ็ สิ้นลงแลว้ และสรุปรายงานผลการดำเนินงานไดด้ ังนี้
1. ผู้ร่วมกิจกรรมจำนวน 36 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั การเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย

อนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุขท่ถี ูกต้อง
2. ผรู้ ว่ มกิจกรรมรอ้ ยละ 95.80 นำความรู้ทไ่ี ดร้ บั นำความรู้ทีไ่ ดร้ บั มาปรบั ใช้ในเลือกตง้ั ท้ังในระดับชาติ

และระดับทอ้ งถ่นิ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
3. จากการดำเนินกจิ กรรมตามโครงการดังกลา่ ว สรุปโดยภาพรวมพบว่า ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมสว่ นใหญ่มี

ความพงึ พอใจตอ่ โครงการ อยู่ในระดับ “ดีมาก ” และบรรลคุ วามสำเรจ็ ตามเปา้ หมายตัวชวี้ ดั ผลลัพธ์ทตี่ ้ังไว้ โดย
มคี ่าเฉล่ยี ร้อยละภาพรวมของกิจกรรม 95.20 และค่าการบรรลุเปา้ หมายค่าเฉล่ยี 4.76

กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนสั นคิ ม

สรุปผลการจดั กิจกรรมโครงการสง่ เสริมวถิ ปี ระชาธปิ ไตยและสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน 26

ข้อเสนอแนะ
- ตอ้ งการให้มีการจัดกิจกรรมนอี้ ีก เพราะประชาชนสามารถนำความร้ทู ี่ไดร้ บั ไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวนั

รวมท้ังสามารถเลือกต้ังทง้ั ในระดบั ชาติและระดับท้องถน่ิ ได้อย่างถูกต้อง

กศน.ตำบล สังกดั กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมโครงการส่งเสริมวถิ ปี ระชาธปิ ไตยและสทิ ธิเสรีภาพของประชาชน

ภาคผนวก

กศน.ตำบล สงั กดั กศน.อำเภอพนัสนคิ ม

สรุปผลการจดั กิจกรรมโครงการสง่ เสริมวิถีประชาธปิ ไตยและสิทธิเสรภี าพของประชาชน

ภาพประกอบการจัดกิจกรรม

โครงการสง่ เสริมวถิ ีประชาธิปไตยและสทิ ธิเสรภี าพของประชาชน
วนั ที่ 19 มีนาคม 2564

ณ หอ้ งประชุมโรงเรียนเทศบาล 4 เจริญอปุ ถัมภ์ปญั ญาธร ต.พนัสนิคม อ.พนสั นิคม จ.ชลบุรี
วิทยากรคือ นายประกาย รตั นมณี
ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมจำนวน 36 คน

กศน.ตำบล สังกัด กศน.อำเภอพนสั นคิ ม

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมโครงการสง่ เสริมวิถีประชาธิปไตยและสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน

คณะผู้จดั ทำ

ท่ปี รึกษา หมนื่ สา ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนิคม
1. นางณชั ธกัญ การงานดี ครู
2. นางสาวมุทกิ า
ครู กศน.ตำบลบา้ นช้าง
คณะทำงาน น้อยประเสริฐ ครู กศน.ตำบลบ้านเซิด
1. นางสาวเบญจมาศ เพชรประเสรฐิ ครู กศน.ตำบลหมอนนาง
2. นางสาวสุนทรี บรรดาศักด์ิ
3. นางสาวจันทรท์ ิพย์ ครผู ู้ชว่ ย
ครอู าสาสมัครฯ
บรรณาธกิ าร ศรบี ณุ ยะแก้ว
1. นางสาวณภษร คลงั สนิ ธ์
2. นางสาวเฟอ่ื งฟา้

กศน.ตำบล สงั กัด กศน.อำเภอพนสั นคิ ม

แบบประเมนิ ผูร้ ับบรกิ าร

โครงการส่งเสรมิ วถิ ปี ระชาธิปไตยและสทิ ธิเสรภี าพของประชาชน

สถานศกึ ษา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนสั นิคม

กจิ กรรม การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพือ่ พฒั นาทกั ษะชีวติ

การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง

********************************************************************************************

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ท่วั ไป

คำช้แี จง ใส่เครอ่ื งหมาย  ลงในช่องทีต่ รงกบั ข้อมลู ของทา่ นเพียงช่องเดียว

เพศ  ชาย  หญิง

อายุ  15 - 25 ปี  26 – 39 ปี  40 – 49 ปี  50 – 59 ปี  60 ปขี นึ้ ไป

อาชีพ  รบั จา้ ง  คา้ ขาย  เกษตรกรรม  ลูกจ้าง/ขา้ ราชการหนว่ ยงาน อื่น ๆ ระบุ

การศึกษา  ตำ่ กวา่ ป.4  ป.4  ประถมศกึ ษา  ม.ต้น  ม.ปลาย

 อนุปริญญา  ปรญิ ญาตรี  สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี
ส่วนที่ 2 ดา้ นความพึงพอใจของผู้รับบรกิ าร

คำช้ีแจง ใสเ่ ครือ่ งหมาย  ลงในช่องทต่ี รงกับขอ้ มูลของท่านเพยี งช่องเดยี ว

ขอ้ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย

มาก มาก ปาน น้อย น้อย เหตุ

ท่ีสดุ กลาง ท่สี ุด

ตอนท่ี 1 ความพงึ พอใจดา้ นการบริหารจัดการ

1 อาคารสถานท่ี

2 สิง่ อำนวยความสะดวก

3 กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ

4 เอกสารประกอบการอบรม

5 วิทยากรผ้ใู ห้การอบรม

ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนร/ู้ การอบรม

6 การจัดกิจกรรมโครงการสง่ เสริมวิถปี ระชาธปิ ไตยและสิทธิ

เสรีภาพของประชาชน

7 การให้ความรเู้ รอ่ื งวถิ ีประชาธิปไตยและสทิ ธิเสรภี าพของ

ประชาชน

8 การตอบขอ้ ซกั ถามของวิทยากร

9 การแลกเปล่ียนเรียนรขู้ องผู้เขา้ รับการอบรม

10 การสรุปองค์ความรรู้ ่วมกัน

11 การวดั ผลและประเมินผลการฝกึ อบรม

ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจด้านประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ

12 การเรยี นรู้และฝึกตนเองเกีย่ วกับวถิ ีประชาธปิ ไตยและสทิ ธิ

เสรภี าพของประชาชน

13 การนำความรทู้ ี่ไดร้ บั มาปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวัน

ผูผ้ า่ นการฝกึ อบรมได้นำความร้ไู ปใชจ้ รงิ

เพมิ่ รายได้ ลดรายจา่ ย นำไปประกอบอาชพี

พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ อืน่ ๆ ระบุ……………………….

ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะอื่นๆ

............................................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณทุกทา่ นท่กี รณุ าตอบแบบประเมิน : จาก กศน.อำเภอพนสั นคิ ม




Click to View FlipBook Version