ระบบคำนวณแคลอร่สี ำหรับผู้ทีม่ ีภาวะน้ำหนักเกินบนมือถือ
Calorie Counting Mobile Application for Overweight Person
นายยุทธภมู ิ สนาน้อย 62107842
Mr. Yutthapoom Sananoy 62107842
นายภานุพงศ์ กองสุวรรณ 62107339
Mr. Panupong Kongsuwan 62107339
อาจารย์ทปี่ รึกษาโครงงาน
อาจารย์ จกั ริน วแี กว้
โครงงานน้เี ปน็ ส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลกั สูตรปริญญา
วทิ ยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์
A Project Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements
for the Degree of Information Technology
Walailak University
2564
ระบบคำนวณแคลอรีส่ ำหรับผู้ท่มี ภี าวะน้ำหนกั เกินบนมอื ถือ
Calorie Counting Mobile Application for Overweight Person
นายยทุ ธภูมิ สนาน้อย 62107842
Mr. Yutthapoom Sananoy 62107842
นายภานพุ งศ์ กองสวุ รรณ 62107339
Mr. Panupong Kongsuwan 62107339
อาจารย์ทีป่ รกึ ษาโครงงาน
อาจารย์ จักริน วีแก้ว
โครงงานนเ้ี ป็นส่วนหนึ่งของการศกึ ษาตามหลกั สูตรปรญิ ญา
วทิ ยาศาสตร์บัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ
มหาวทิ ยาลัยวลัยลกั ษณ์
A Project Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements
for the Degree of Information Technology
Walailak University
2564
i
หัวข้อโครงงาน คำนวณแคลอรี่
ผู้เขียน นายภาณพุ งศ์ กองสุวรรณ
นายยทุ ธภมู ิ สนานอ้ ย
สาขา เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ปีการศกึ ษา 2564
บทคดั ยอ่
รายงานฉบับนี้เป็นการนำเสนอโครงงานระบบคำนวณแคลอรีส่ ำหรับผู้ที่มีภาวะน้ำหนักเกินบนมือถือ
มวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการเปลี่ยนพฤตกิ รรมการรับประทานอาหารของผ้ใู ช้ทีม่ ีภาวะน้ำหนกั เกิน (overweight) หรือ
ผูใ้ ชท้ ว่ั ไปท่ตี ้องการควบคุมน้ำหนัก โดยแอปพลิเคชันมีความสามารถในการคำนวณแคลอรี่ในอาหารต่อม้ือโดย
จะคิดจากค่าการเผาผลาญ (Basal Metabolic Rate: BMR) โดยรวม ซึ่งเป็นแอปพลิเคชันที่อำนวยความ
สะดวกในการใช้งานตอ่ ผรู้ ักสุขภาพและผใู้ ชท้ ัว่ ไปที่ตอ้ งการทราบถงึ จำนวนแคลอรใี่ นอาหารแต่ละชนิด
โดยหลกั การเบือ้ งตน้ ของการทำงานของระบบคำนวณแคลอรี่สำหรับผทู้ ี่มีภาวะน้ำหนักเกนิ บนสมาร์ท
โฟนน้ี นอกจากจะมีการแนะนำรายการอาหารที่เหมาะสมกับผใู้ ช้ในแต่ละมื้อแลว้ จะมีระบบแจ้งเตือนเมื่อผู้ใช้
เลือกทานรายการที่มีจำนวนแคลอรี่ในอาการเกินความต้องการของร่างกาย โดยการคำนวณจะนำข้อมูล
รายการอาหารที่ผใู้ ช้ไดร้ ับประทานในแต่ละม้ือมาคำนวณจำนวนแคลอรี่ของอาหารเพื่อหักลา้ งกับค่าอัตราการ
เผาผลาญ BMR ในแต่ละวัน โดยจะคำนวณจากดรรชนมี วลกาย (Body Mass Index: BMI) ของผใู้ ช้แต่ละคน
เพราะผู้ใช้แต่ละคนมีค่า BMI ที่แตกต่างกัน ซึ่งระบบจะแสดงผลสามารถปรับขนาดหน้าจอให้เหมาะสมกับ
สมาร์ทโฟนแตล่ ะประเภทได้อย่างอตั โนมัติ ทำให้การใชง้ านมคี วามสะดวก รวดเรว็ และง่ายสำหรบั ผูใ้ ช้ทั่วไป
คำเฉพาะ: ควบคุมแคลอรี่, ควบคุมนำ้ หนกั , โรคอ้วน, ผมู้ ีภาวะน้ำหนักเกนิ , Mobile Application
ii
Project Title Calorie Counting Apps
Author Panupong Kongsuwan
Yutthapoom Sananoy
Major Program Information Technology
Academic Year 2564
Abstract
This report describes a project for a mobile calorie calculator for people who are overweight.
Its goal is to change the eating behaviors of overweight people or general users who want to
lose weight. The app can calculate calories per meal based on the user's overall Basal
Metabolic Rate (BMR). Use for health-lover and general users who want to know how many
calories are in each food.
The fundamental principle of how the calorie calculator on this smartphone works for people
who are overweight. Along with recommending food items that are suitable for users during
each meal, there will be a notification system that will alert the user if the user chooses to
consume more calories than the body requires. By calculating the food items consumed at
each meal, the system can determine the number of calories required to offset the user's
daily BMR metabolic rate, which is determined by the user's Body Mass Index (BMI). The system
can automatically adjust the screen size to fit each type of smartphone. Provides convenience,
speed, and ease of use for general users.
Keywords: Calorie Counting Overweight, Obesity, Mobile application
iii
กติ ตกิ รรมประกาศ
โครงงานพัฒนาแอปพลิเคชันฉบับนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี อันเนื่องจากได้รับความช่วยเหลือเป็น
อย่างดีจาก อาจารย์ จักริน วีแก้ว อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานที่ได้ความกรุณาอย่างสูงในการให้คำปรึกษาละ
คอยชี้แนะแนวทางในการทำงานที่เป็นประโยชน์ในการจัดทำรายงานฉบับนี้เป็นอย่างดี ซึ่งต้องขอบพระคุณ
เป็นอย่างสูง และ ขอขอบคุณอาจารย์ในสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัลทุกท่านที่ให้
คำแนะนำในทุกๆเรื่อง ไม่ว่าจะเป็น การออกแบบ , การเขียนโปรแกรม ตลอดมา ขอขอบคุณหนังสือและ
เว็บไซตท์ ี่ทำใหข้ ้าพเจ้าไดเ้ รยี นรใู้ นสิ่งท่ีไม่เคยรู้มาก่อนในการทำงานซ่งึ เป็นสื่อเร่ิมตน้ ท่ีทำให้ข้าพเจา้ ได้เข้าใจใน
เน้ือหา
ขอขอบคุณประชากร ตำบลทา่ ศาลา อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ท่ใี ห้ความรว่ มมอื ในการ
เก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการหาขอ้ ผดิ พลาดของแอปพลิเคชันดว้ ยดีตลอดมา
คุณความดีหรือประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงานฉบับนี้ คณะผู้จัดทำโครงงานขอมอบแด่บุพการี ผู้มี
พระคุณทุกทา่ นและครบู าอาจารยท์ ่ีเคยอบรมสง่ั สอนมาตงั้ แต่แรกเรม่ิ จนถึงปจั จุบนั
นายยทุ ธภูมิ สนาน้อย
นายภานุพงศ์ กองสุวรรณ
สารบญั iv
บทคดั ย่อ หนา้
Abstract i
กติ ตกิ รรมประกาศ ii
สารบัญ iii
สารบัญ (ตอ่ ) iv
สารบญั (ต่อ) v
สารบัญ (ตอ่ ) vi
สารบญั ตาราง vii
สารบญั รปู
สารบญั รูป (ตอ่ ) viii
สารบัญรูป (ตอ่ ) ix
บทที่ 1 บทนำ x
xi
1.1 ความสำคัญและท่มี าของปญั หา 1
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1
1.3 ขอบเขตของงาน 1
1.4 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับ 2
1.5 ผลที่จะไดเ้ ม่ือเสร็จส้ินโครงการ 2
1.6 แผนการดําเนนิ งาน 2
1.7 เครื่องมือท่ีใชใ้ นการพัฒนา 2
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง 3
6
สารบัญ (ต่อ) v
2.1 ทฤษฎที ่ีเกี่ยวข้อง หน้า
2.1.1 แนวคดิ และทฤษฎเี ก่ียวกบั พฤตกิ รรมการควบคุมน้ำหนัก 6
2.1.1.1 การประเมินภาวะน้ำหนักเกิน 6
2.1.2 แนวคดิ เกี่ยวกบั แรงจูงใจ 6
2.1.2.1 ความหมายของแรงจูงใจ 8
2.1.2.2 ความสำคญั ของแรงจูงใจ 9
2.2 เทคโนโลยีทใี่ ช้ 9
2.3 งานวิจัยหรือระบบท่ใี กล้เคยี ง 10
บทท่ี 3 การวเิ คราะหร์ ะบบ 12
3.1 องค์กรทีเ่ ก่ยี วข้อง 18
3.1.1 แหล่งขอ้ มูลต้งั ตน้ หรอื หน่วยงานท่เี ก่ียวข้อง 18
3.2 วธิ กี ารรวบรวมข้อมลู 18
3.2.1 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 19
3.2.2 การสัมภาษณผ์ ู้ใชง้ าน 19
3.2.3 การสัมภาษณ์ 19
3.2.4 การใชแ้ บบสอบถาม 19
3.3 การทำงานของระบบปัจจบุ นั 21
3.3.1 กระบวนการทำงานของระบบปจั จุบัน 23
3.3.2 ปัญหาของระบบ 24
3.3.3 วเิ คราะหฟ์ ังก์ชันงานของระบบปัจจุบนั 25
27
สารบญั (ต่อ) vi
3.4 การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ หนา้
3.4.1 กลมุ่ ของผ้ใู ช้งาน 28
3.4.2 User requirement 28
3.4.3 Functional 28
3.4.4 Non-Functional 28
28
บทที่ 4 การออกแบบระบบ 29
4.1 สถาปัตยกรรมของระบบใหม่ 29
4.1.1 ออกแบบสถาปัตยกรรม (Architecture Design) 30
แบบ library C
30
4.2 การออกแบบกระบวนการ 30
4.2.1 แผนลำดับขั้นตอนกระบวนการ 31
4.2.2 Context Diagram 32
4.2.3 level1 Data Flow Diagram 35
37
4.3 การออกแบบฐานข้อมูล 39
4.3.1 พจนานุกรมการออกแบบฐานขอ้ มูล 39
39
4.4 การออกแบบส่วนติดต่อกบั ผูใ้ ช้ (User Interface Design) 40
4.4.1 หน้ากรอกข้อมลู 40
4.4.2 หนา้ จอหลัก
4.4.3 หน้าจอฟงั กช์ ันค้นหาอาหาร
4.4.4 หน้าจอฟังก์ชันเลือกประเภทอาหาร
สารบัญ (ต่อ) vii
4.4.5 หน้าจอฟังก์ชันการคน้ หาตามประเภทของอาหาร หน้า
4.4.6 หน้าจอรายละเอียดแอปพลเิ คชัน 41
บทท่ี 5 การพัฒนาและทดสอบระบบ 41
42
5.1 การพฒั นาโปรแกรม 42
5.1.1 โครงสร้างของไฟลโ์ ปรแกรม 42
5.1.2 โครงสรา้ งของไฟล์ข้อมลู 53
55
บทที่ 6 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน 55
6.1 สรุปผล 55
6.2 ปัญหาในการดำเนินงาน 55
6.3 แนวทางการแกป้ ัญหา 55
6.4 ขอ้ เสนอแนะ 57
58
บรรณานกุ รม 59
บรรณานุรม (ต่อ) 60
ภาคผนวก 61
ภาคผนวก ก 62
บทสมั ภาษณ์ 1 63
บทสมั ภาษณ์ 2
ประวตั ผิ ู้จัดทำ
สารบัญตาราง viii
ตารางที่ 1.1 รายละเอียดการดำเนนิ งาน หนา้
ตารางที่ 1.2 การจำแนกภาวะโภชนาการตามดัชนีความหนาแนน่ ของรา่ งกายและรอบเอว 5
ตารางท่ี 1.3 อัตราความรุนแรงของการเจบ็ ป่วยทีม่ คี วามสมั พันธ์กบั ดัชนคี วามหนาแนน่ ของ 7
8
รา่ งกายในระดับต่าง ๆ และเส้นรอบเอวในกลุม่ ผูใ้ หญเ่ อเชยี
ตารางท่ี 1.4 ตารางเปรยี บเทียบงานวิจยั หรือระบบใกลเ้ คียง 14
ตารางที่ 1.5 ตารางการเปรียบเทยี บระบบงานท่ีใกล้เคียง 17
ตารางท่ี 1.6 แสดงรูปแบบวัตถุประสงคแ์ ละวิธีรวบรวมขอ้ มลู 19
ตารางที่ 1.7 ตาราง User 36
ตารางท่ี 1.8 ตาราง User_detail 37
ตารางท่ี 1.9 ตาราง BMI 37
ตารางท่ี 1.10 ตาราง Calorie 37
ตารางที่ 1.11 ตาราง Calorie_type 38
ตารางท่ี 1.12 ตาราง โครงสรา้ งของข้อมลู ไฟล์ 54
สารบญั รปู ix
ภาพที่ 2.1 ระบบแคลอร่ี ไดอารี่ หน้า
ภาพท่ี 2.2 ระบบลดน้ำหนักภายใน 30 วนั 15
ภาพที่ 3.1 วัตถุประสงค์ของแบบสอบถาม 16
ภาพที่ 3.2 ขอ้ มูลสว่ นบุคคล 21
ภาพท่ี 3.3 ระดับความรใู้ นการเลือกบริโภคอาหาร 22
ภาพท่ี 3.4 ระดบั พฤติกรรมในการบรโิ ภคอาหาร 22
ภาพที่ 3.5 Flow แสดงการทำงานระบบปัจจบุ นั 23
ภาพที่ 3.6 fish bone diagram แสดงปัญหาของระบบปัจจบุ ัน 24
ภาพท่ี 3.7 กระบวนการทำงานของแอปพลเิ คชันคำนวณแคลอร่ี 25
ภาพท่ี 4.1 สถาปตั ยกรรมซอฟตแ์ วร์ 26
ภาพท่ี 4.2 แผนผงั ลำดับขนั้ ตอนการกระบวนการ ระบบคำนวณแคลอรสี่ ำหรับผทู้ มี่ ีภาวะ 29
นำ้ หนักเกินบนมือถือ 30
ภาพท่ี 4.3 แสดงแผนภาพกรแสข้อมลู ระดับสูงสดุ (Context Diagram) ระบบแอพลเิ คชัน
คำนวณแคลอรี่สำหรบั ผู้ท่ีมีภาวะน้ำหนกั เกินบนมือถือ 31
ภาพที่ 4.4 Data Flow Diagram Level 0 ระบบแอปพลเิ คชันคำนวณแคลอรีส่ ำหรับผู้ที่มี
ภาวะนำ้ หนกั เกินบนมือถอื 33
ภาพท่ี 4.5 Data Flow Diagram Level 1 กระบวนการที่ 1
ภาพที่ 4.6 Data Flow Diagram Level 1 กระบวนการท่ี 2 34
ภาพที่ 4.7 Data Flow Diagram Level 1 กระบวนการท่ี 3 34
ภาพท่ี 4.8 การออกแบบฐานขอ้ มูล 35
36
สารบัญรูป (ต่อ) x
ภาพท่ี 4.9 User Interface Design กรอกข้อมูล หน้า
ภาพท่ี 4.10 User Interface Design หนา้ จอหลัก 39
ภาพที่ 4.11 User Interface Design หน้าจอฟังก์ชนั คน้ หาอาหาร 39
ภาพท่ี 4.12 User Interface Design หน้าจอฟังก์ชันเลือกประเภทอาหาร 40
ภาพที่ 4.13 User Interface Design หนา้ จอฟังกช์ ันการแกไ้ ขข้อมลู ส่วนตัว 40
ภาพท่ี 4.14 User Interface Design หน้าจอรายละเอยี ดแอปพลิเคชนั 41
ภาพท่ี 5.1 ภาพหน้าจอเรมิ่ ต้นการทำงานแอปพลิเคชนั 41
ภาพที่ 5.2 ภาพฟังก์ชันการทำงานแอปพลเิ คชนั 42
ภาพท่ี 5.3 ภาพฟังกช์ นั การทำงานหลกั 43
ภาพท่ี 5.4 ภาพโฟลเดอร์แสดงหนา้ ออกแบบแอปพลิเคชนั 43
ภาพที่ 5.5 ภาพโฟลเดอร์การจดั เก็บรูป 44
ภาพที่ 5.6 ภาพแสดงการทำการรนั โปรแกรม 44
ภาพท่ี 5.7 ภาพหนา้ จอสมัครสมาชกิ 45
ภาพท่ี 5.8 ภาพหนา้ จอเขา้ ใช้งาน 46
ภาพท่ี 5.9 ภาพหนา้ จอการกรอกข้อมูล 47
ภาพที่ 5.10 ภาพหนา้ จอแสดงข้อความเกีย่ วกับดัชนีมวลกาย 48
ภาพท่ี 5.11 ภาพหนา้ จอหลกั แอปพลิเคชัน 49
ภาพท่ี 5.12 ภาพหนา้ จอเกีย่ วกับเรา 50
ภาพที่ 5.13 ภาพหนา้ จอฐานขอ้ มูล (Firebase) 51
ภาพที่ 5.14 ภาพหน้าจอฐานขอ้ มลู ช่ือและรหสั 51
52
สารบญั รูป (ต่อ) xi
ภาพท่ี 5.15 ภาพหนา้ จอฐานขอ้ มลู (User) หน้า
ภาพที่ 5.16 ภาพหนา้ จอการกำหนดคา่ ตวั แปร 52
53
1
บทท่ี 1
บทนำ
1.1 ความสำคัญและทีม่ าของปญั หา
เนื่องจากปัจจุบันการควบคุมน้ำหนักมีการควบคุมที่ผิดหลักและไม่ถูกต้องตามที่ร่างกายของเรา
ตอ้ งการซึง่ ทำให้หลายคนเข้าใจว่าการควบคุมอาหารท่ีถูกต้องคือการลดปริมาณอาหารที่รับประทานให้น้อยลง
ท้งั ทีค่ วามจรงิ แลว้ ปรมิ าณไม่ได้สำคญั เทา่ กบั พลังงานจากอาหารทร่ี า่ งกายไดร้ บั เขา้ ไป ดังนน้ั การได้รับประทาน
อาหารทผ่ี ดิ วิธนี ั้นเป็นปัญหาทห่ี ลายๆ คนเขา้ ใจผดิ กันเป็นอย่างมาก และการรบั ประทานอาหารท่ผี ิดวิธีน้ัน จะ
ทำให้เกิดโรคอ้วนหรือน้ำหนักเกินตามมาได้ ซึ่งสาเหตุของโรคอ้วนนั้นเกิดขึ้นได้หลายประเภท เช่นการกิน
อาหารมากเกินความต้องการของร่างกาย ความสม่ำเสมอในการออกกำลังกาย จึงทำให้เกิดการสะสมของ
พลังงานในรูปของไขมันตามร่างกาย ภาวะน้ำหนักเกินหรือโรคอ้วนค่า ดัชนีมวลกาย≥25 (สสส. 2555. ภาวะ
น้ำหนกั เกินและโรคอ้วน. สบื คน้ จาก https://bit.ly/3zkOvbn)
ระบบคำนวณแคลอรี่สำหรับผู้ที่มีภาวะน้ำหนักเกินบนมือถือ มีฟังก์ชันการคำนวณค่าแคลอรี่และค่า
BMI ของผู้ใช้งานโดยจะแสดงค่าของแคลอรี่ของอาหารแต่ละชนิดที่ผู้ใช้งานได้เลือกข้อมูลอาหารด้วยตนเอง
และคำนวณค่า BMI ที่เหมาะสมตอ่ ผู้ใช้งาน
แอปพลเิ คชันที่ได้พัฒนาขึ้นมาจะมาช่วยแก้ไขในส่วนของคนท่ีมภี าวะน้ำหนักเกนิ และผู้ที่ต้องการดูแล
สขุ ภาพ มีความสะดวกสบายต่อการใช้งาน ที่สามารถเห็นผลในการควบคมุ อาหารวา่ ในการรับประทานอาหาร
ในแต่ละครั้งนั้นรับแคลอรี่ไปเท่าไหร่ ในช่วงเวลาไหนของวัน ซึ่งจะทราบปริมาณที่เหมาะสมว่าร่างกายนั้น
ต้องการแคลอรี่มากน้อยเพียงใด และทำการคำนวณค่าต่างๆโดยอัตโนมัติและรวดเร็ว เพื่อผลรับที่เป็นไปตาม
เป้าหมายทไี่ ด้ตั้งไว้ของผู้ใช้งาน
1.2 วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อออกแบบระบบบคำนวนอัตโนมตั ิเก่ียวกับการรับประทานในแตล่ ะวัน
2. เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ประสบปัญหาด้านน้ำหนักเกินให้มีทางออกในการแก้ปัญหาที่ถูกวิธีและมีความ
สะดวกสบายต่อการใช้งาน
3. เพื่อปรับเปลี่ยนค่านิยมที่ผิดในการลดน้ำหนักอย่างผิดวิธี คือการกินยาลดความอ้วน ไปเป็นการ
บริโภคอาหารทถ่ี กู ต้องและเหมาะสมกบั ผู้ใช้งาน
4. เพ่ือช่วยในการเลือกรับประทานอาหารท่ีง่ายขึ้นโดยการแนะนำอาหารพร้อมบอกปริมาณแคลอร่ีที่จะ
ได้รับในอาหารม้อื น้ัน เพือ่ ง่ายตอ่ การเลอื กรบั ประทานอาหารของผใู้ ชง้ าน
2
1.3 ขอบเขตของงาน
มีผู้ใช้งานระบบ 1 กลมุ่ คือ
1. ผูใ้ ชง้ านระบบ
- กลมุ่ ผ้ใู ชท้ ว่ั ไป
- ผดู้ ูแลระบบ
มีฟังกช์ ันการใช้งาน 4 ฟังกช์ ัน ดังนี้
1) ตัง้ ค่าเร่มิ ต้น
- ขอ้ มลู ทัว่ ไปของผูใ้ ช้
2) ผู้ใช้งานระบบ
- เข้าสู่ระบบ
- เพ่มิ ลบ แกไ้ ข ขอ้ มลู ผูใ้ ช้
- แสดงขอ้ มลู โปรไฟลข์ องผู้ใช้งานระบบ
3) ฟังก์ชนั เมนอู าหารและจำนวนพลงั งาน
- แสดงจำนวนพลงั งานในแต่ละวนั ทต่ี อ้ งได้รับ
- แสดงจำนวนแคลอรข่ี องอาหารแต่ละรายการ
- แสดงรายการอาหารแต่ละรายการ
- แสดงคา่ BMI
- แนะนำการรบั ประทานอาหารท่เี หมาะสมจากบทความจากแหล่งท่ีมาทีน่ า่ เชื่อถือ
- เลอื กรายการและประเภทของอาหาร
1.4 ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
1. คำนวณคา่ BMI และแสดงแคลอรี่ของแตล่ ะคนว่าควรอยใู่ นปรมิ าณเทา่ ไหรถ่ ึงจะเหมาะสมแกผ่ ้ใู ช้งาน
2. การแสดงค่าแคลอรี่ของอาหารและเครื่องดื่มในแต่ละประเภทเพื่อให้ผู้ใช้ได้รับรู้ปริมาณแคลอรี่ที่
เหมาะสม เพื่อง่ายตอ่ การเลือกรับประทานอาหารของผ้ใู ช้งาน
มีการแจง้ เตือนตา่ งๆ เพ่ือใชผ้ ูใ้ ชส้ ามารถรับรถู้ งึ ความก้าวหน้าในแต่ละวัน และทราบความสำเร็จที่ผู้ใช้
ตง้ั เปา้ หมายไว้
1.5 ผลท่ีจะไดเ้ ม่อื เสร็จส้นิ โครงการ
ได้ระบบคำนวณแคลอรสี่ ำหรบั ผู้ท่มี ีภาวะน้ำหนักเกนิ บนมือถือแบบสำเร็จรูปพร้อมใชง้ าน
1.6 แผนการดําเนินงาน
ในการออกแบบและแอปพลเิ คชันคำนวนแคลอรี่มีขั้นตอนการดำเนนิ งานดงั น้ี
1. กำหนดหัวขอ้ โครงงานท่สี นใจ
3
2. ศึกษาคน้ ควา้ จากเอกสารและแหล่งขอ้ มูล
3. กำหนดขอบเขตและวางแผนการดำเนินงาน
4. วิเคราะหอ์ อกแบบระบบ
5. ออกแบบหนา้ ตาของระบบ
6. ทำการสรา้ งและพัฒนาตัวโมมายแอพพลเิ คชั่นขน้ึ มา
7. ทดสอบการใชง้ านตัวโมมายแอพพลิเคช่นั ดว้ ยโทรศัพท์มือถือระบบปฏบิ ตั กิ าร Android
8. รายงานและสรุปผลโปรเจค
1.7 เครือ่ งมอื ท่ีใช้ในการพัฒนา
ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค ในการพัฒนาระบบ 2 เครื่อง และใช้โทรศัพท์มือถือ ในการทดสอบ
ระบบ 1 เคร่อื ง ดังน้ี
1) คอมพิวเตอร์โนต้ บุค๊ เครื่องที่ 1 มคี ุณลักษณะดังน้ี
- หนว่ ยประมวลผล : Intel Core i5 9300H 2.40 GHz
- กราฟกิ การด์ : NVIDIA GeForce GTX 1650
- หน่วยความจำ : 16 GB DDR4
- ฮาร์ดดสิ ก์ : 1TB HDD,256 GB SSD
2) คอมพวิ เตอร์โน้ตบคุ๊ เครือ่ งท่ี 2 มีคุณลกั ษณะดังน้ี
- หน่วยประมวลผล : Intel Core i5-7200U 2.5 GHz
- กราฟกิ การ์ด : NVIDIA GeForce GTX 950M
- หนว่ ยความจำ : 12 GB DDR4
- ฮารด์ ดสิ ก์ : 1 TB HDD,128 GB SSD
3) โทรศพั ท์มอื ถอื ระบบปฏบิ ตั ิการ Android เวอรช์ ัน 6
software ทใี่ ช้งาน
- Adobe XD เพ่อื ใช้ในการออกแบบตวั UX/UI ของแอปพลิเคชัน
- Figma ใช้ในการออกแบบ User interface ของแอปพลิเคชัน
- Android Studio Emulator ใช้ในการทดสอบโปรแกรม
- Command Prompt ใช้ในการแกไ้ ข เพ่มิ ลด ข้อมูลในการเขยี นแอปพลเิ คชัน
- Visual studio code ใช้ในการออกแบบและพฒั นาแอปพลิเคชัน
- ระบบจดั การฐานขอ้ มูล หรือ DBMS จะใช้ database ของ SQL Lite
- MS Visio สำหรับออกแบบ Diagram ต่าง ๆ
4
- MS Word ใชใ้ นการจดั ทำคูม่ ือการใช้งานและรายงาน
- MS PowerPoint ใชใ้ นการนำเสนอความก้าวหน้าของงาน
- Google Edge ใชใ้ นการคน้ หาข้อมลู
5
ตารางที่ 1.1 รายละเอยี ดการดำเนนิ งาน
ระยะเวลาการดำเนนิ งานปีการศึกษา 2564
รายละเอยี ดการดำเนนิ งาน ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 3
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
1.ศึกษาปัญหาโอกาสและ
เป้าหมาย
- จัดทำ Proposal
- ศึกษารูปแบบและ
ขอบเขตของระบบ
2.จัดเก็บข้อมูลความ
ต้องการของผู้ใช้
3.วเิ คราะห์ระบบ
- กระบวนการทำงานของ
ระบบปัจจบุ ัน
- วิเคราะห์ความต้องการ
ของผูใ้ ช้
4.ออกแบบระบบ
- Database Design
- Input/Output Design
- User Interface Design
5.พัฒนาระบบ
6.ทดสอบระบบ
7.จัดทำเอกสารประกอบ
ระบบ
8.ติดต้งั ระบบ
6
บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
ระบบคำนวณแคลอรี่สำหรับผู้ที่มีภาวะน้ำหนักเกินบนมือถือ Calorie Counting Mobile
Application for Overweight Person น้ันเป็นระบบเพอ่ื ช่วยในการคำนวนแคลอรอ่ี ตั โนมัตลิ ะการแสดง ซง่ึ มี
ทฤษฎที เ่ี ก่ียวขอ้ ง ดงั น้ี
1. แนวคดิ และทฤษฎเี ก่ียวกับพฤติกรรมการควบคุมนำ้ หนกั
2. แนวคดิ เกีย่ วกบั แรงจูงใจ
2.1 ทฤษฎีท่เี กย่ี วขอ้ ง
2.1.1 แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกบั พฤติกรรมการควบคมุ น้ำหนกั
ปัจจุบันปัญหาด้านสุขภาพมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรครื้อรัง เช่น
โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดนั โลหิตสงู และโรคเบาหวาน สาเหตุสำคญั ที่ทำใหเ้ กิดการเจ็บป่วยด้วยโรค
เรื้อรัง คือ ภาวะอ้วนลงพุง โคยเฉพาะการอ้วนที่บริเวณพุง เนื่องจากเซลล์ไขมนั ในร่างกายเพิม่ ขึ้น ทำให้มีการ
หลั่งฮอร์โมนต่าง ๆ จากไขมันออกสู่กระแสเลือดเพิ่มขึ้น และ เป็นผลให้เกิดโรคเรื้อรังดังกล่าว (วณิชา
กจิ วรพัฒน์ , 2553)
2.1.1.1 การประเมนิ ภาวะน้ำหนกั เกิน
ภาวะน้ำหนักเกิน และภาวะอ้วนหรือโรคอ้วน (Overweight and obesity) โดยองค์การอนามัยโลก
ให้นิยามว่า ภาวะน้ำหนักเกินและภาวะอ้วน หมายถึง ภาวะที่ร่างกายมีการสะสมไขมันในส่วนต่าง ๆ ของ
ร่างกายเกนิ ปกติ จนเปน็ ปจั จยั เสี่ยงหรอื เปน็ สาเหตใุ หเ้ กิดโรคตา่ ง ๆ ทส่ี ง่ ผลถึง
สุขภาพ จนอาจเป็นสาเหตุใหเ้ สยี ชีวิตได้โดยเมื่อมีค่าดัชนีมวลกายควร หนีมวลกาย (Body mass index หรือ
เรียกข่อว่า BMI/บีเอ็มไอ) ตั้งแต่ 25 ขึ้นไป เรียกว่า น้ำหนักเกิน แต่ถ้ามีค่าควรหนีมวลกาย ตั้งแต่ 30 ขึ้นไป
เรยี กวา่ โรคอ้วน
โดยเมอื่ มีค่าดัชนีมวลกาย/ดรรชนีมวลกาย (Body mass index หรือ เรยี กยอ่ วา่ BMI บเี อ็มไอ) ต้ังแต่
25 ข้นึ ไป เรยี กว่า นำ้ หนักเกนิ แตถ่ ้ามีค่าดรรชนีมวลกาย ตั้งแต่ 30 ขนึ้ ไป เรียกวา่
โรคอ้วน ภาวะน้ำหนักเกิน และภาวะอ้วน มีสาเหตุ วิธีวินิจฉัย การดูแลรักษา และปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
ต่าง ๆ เช่นเดียวกันทุกประการ แตกต่างกันที่ความรุนแรงของปัญหาทางสุขภาพใน คนน้ำหนักเกินจะรุนแรง
นอ้ ยกว่าในคนเปน็ โรคอว้ น ดงั น้ันในทางการแพทย์ ทัง้ น้ำหนักเกนิ ซ่ึงค่าดชั นีมวลกายของคนปกติ และคนผอม
ตามนิยามขององคก์ ารอนามยั โลก คอื 18.5 - 24.9 และตำ่ กวา่ 18.5 ตามลำดบั
ดัชนีมวลกาย (BMI) = นำ้ หนกั ตัว(หน่วยกิโลกรมั )
ความสูง²(หน่วยเมตร²)
7
เมื่อคำนวณแล้วมีคา่ BMI มากกว่า 25 ถือว่ามีน้ำหนักเกิน (over-weight) และถ้ามีค่า BMI มากกวา่
30 ถือว่า "อ้วน" (obesity) นอกจากนี้ มีการจำแนกประเภทดัชนีมวลกาย (BMI) ดามเกณฑ์ของ
International Obesity Task Force (101F) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเสี่ยงต่อการเกิดการเจ็บป่วยเมื่อมีค่า
BMI ในระดับต่าง ๆ ดงั ตารางท่ี 1.2
ตารางท่ี 1.2 การจำแนกภาวะโภชนาการตามดัชนีความหนาแนน่ ของรา่ งกายและรอบเอว
ภาวะโภชนาการ ดชั นีความหนาแนน่ ของรา่ งกาย ปจั จัยเสยี่ งทท่ี ำใหเ้ กดิ การเจบ็ ป่วยรว่ มกับสาเหตุอ่นื
(Body Mass Index) (กก./ม.²)
น้ำหนกั ต่ำกว่าเกณฑ์ < 18.50 ตำ่
ปกติ 18.50 – 24.99 ปานกลาง
นำ้ หนกั เกนิ ≥ 25.00 เพมิ่ ขึน้
อว้ น 25.00 – 29.99 ปานกลาง
อว้ นระดับท่ี 1 30.00 – 34.99 ปานกลาง
อ้วนระดบั ท่ี 2 35.00 – 39.00 รุนแรง
อ้วนระดับที่ 3 ≥ 40.00 รุนแรงมาก
ภาวะโภชนาการ ดัชนีความหนาแน่นของรา่ งกาย ปจั จัยเสย่ี งทีท่ ำใหเ้ กิดการเจบ็ ปว่ ยร่วมกับสาเหตอุ ่นื
(Body Mass Index) (กก./ม.²)
ปัจจยั เสีย่ งทที่ ำให้เกิด เสน้ รอบเอว (เซนตเิ มตร)
ความเจบ็ ป่วยร่วมกัน ผู้หญิง ผชู้ าย
ระดับที่ 1 ≥ 80 ≥ 94
ระดับที่ 2 ≥ 88 ≥ 102
ทีม่ า : รงั สรรค์ ต้ังตรงจติ ร และเบญ็ จลกั ษณ์ ผลรตั น์, โรคอ้วน การเปล่ยี นแปลงด้านโภชนาการและชีวเคมี (กรุงเทพมหานคร
: โรงพิมพเ์ จรญิ ดีมน่ั คงการพมิ พ์ , 2550) , 3.
โดยท่ัวไปการประเมินความอว้ นจะใช้ค่าดัชนีความหนาแนน่ ของรา่ งกายที่มีค่าเท่ากับหรือมากกวา่ 30
เปน็ เกณฑต์ ัดสนิ การใช้ค่า BMI มากกวา่ หรือเท่ากับ 30 ตดั สินความอว้ นในชาวเอเชียโดยเฉพาะอย่างยิ่งในคน
ญป่ี ุ่นจะมเี พียงรอ้ ยละ 3 เทา่ นน้ั ทำให้การศึกษาวิจัยในคนอว้ นทีเ่ ปน็ คเอเชียมจี ำนวนนอ้ ยมาก ไมเ่ พียงพอท่ีจะ
ศึกษาวิจยั เพื่อหาความสัมพนั ธ์กับโรคท่ีพบได้บ่อย ๆ ในคนอว้ นดังน้นั จึงได้มกี ารศึกษาวิจัยและกำหนดเกณฑ์
การตัดสนิ ใหม่สำหรบั คนเอเชยี ดงั แสดงไวใ้ นตารางที่ 1.3
8
ตารางที่ 1.3 อัตราความรุนแรงของการเจ็บป่วยที่มคี วามสัมพันธ์กับดัชนีความหนาแน่นของร่างกาย ในระดับ
ต่าง ๆ และเส้นรอบเอวในกลมุ่ ผู้ใหญ่เอเชยี
ภาวะโภชนาการ ดัชนีความหนาแน่นของรา่ งกาย ปจั จัยเสี่ยงร่วมทท่ี ำใหเ้ กดิ ความเจบ็ ปว่ ย
(BMI) (กก./ม.²) เสน้ รอบเอว (เซนตเิ มตร)
น้ำหนกั ต่ำกว่าเกณฑ์ < 18.50 < 90 (ผู้ชาย) ≥ 90 (ผชู้ าย)
< 80 (ผหู้ ญิง) ≥ 80 (ผหู้ ญงิ )
ตำ่ (แตป่ จั จัยเส่ยี งต่ออาการ ปกติ
ทางคลนิ กิ อนื่ ๆสูง)
ระดบั ปกติ 18.51 – 22.99 ปกติ เพิม่ ข้ึน
น้ำหนักเกนิ ≥ 23.00
อว้ น 23.01 – 24.99 เร่มิ ปจั จยั เสี่ยง ปานกลาง
อ้วนระดบั ท่ี 1 25.00 – 29.00 ปานกลาง รนุ แรง
อว้ นระดับท่ี 2 ≥ 30.00 รุนแรง รุนแรงมาก
ทม่ี า : ถาวร มาตน้ , โรคอว้ น:ภยั คกุ คามสขุ ภาพคนไทย (พษิ ณโุ ลก : มหาวทิ ยาลยั นเรศวร , 2553) , 40, 3 . 359.
Basal Metabolic Rate (BMR) คือ อัตราการความต้องการเผาผลาญของร่างกายในชีวิตประจำวัน
หรือจำนวนแคลอรี่ขั้นต่ำที่ต้องการใช้ในชีวิตแต่ละวัน ดังนั้นการคำนวณ BMR จะช่วยให้คุณคำนวณปริมาณ
แคลอรี่ที่ใช้ต่อวันเพื่อรักษาน้ำหนักปัจจุบันได้ และเม่ืออายุมากขึ้นเราจะควบคุมน้ำหนักได้ยากขึ้น เพราะ
BMR เราลดลง การอดอาหารก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ BMR ลดลง วิธีป้องกันคือ “หมั่นออกกำลังกาย” เพ่ือ
เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพของการเผาผลาญ ซึง่ จะทำให้ BMR ไมล่ ดลงเร็วเกนิ ไป
สตู รคำนวณ Basal Metabolic Rate (BMR)
สำหรับผชู้ าย
BMR = 66 + (13.7 x นำ้ หนักตวั เปน็ กก.) + (5 x ส่วนสูงเปน็ ซม.) – (6.8 x อายุ)
สำหรับผูห้ ญิง
BMR = 665 + (9.6 x นำ้ หนักตวั เปน็ กก.) + (1.8 x ส่วนสูงเปน็ ซม.) – (4.7 x อายุ)
ที่มา : โรงพยาบาลเซนตห์ ลุยส์.(2559). Body Metabolic Rate.สบื ค้น 31 มนี าคม 2565. จาก
https://www.saintlouis.or.th/programs/bmr
2.1.2 แนวคิดเก่ยี วกบั แรงจงู ใจ
มนุษย์แต่ละคนมีความแตกต่างกันในเรื่องความต้องการ ความสนใจ ทัศนคติ ค่านิยม
บุคลิกภาพ ฯลฯ จึงเกิดปัญหาว่าควรจะจูงใจทีมงานในองค์การให้ทำงานด้วยรูปแบบใด เพื่อให้ผู้ใช้เหล่านั้น
ทำงานให้แก่องค์การอยา่ งเต็มความสามารถและเกิดความพอใจในงาน รวมทัง้ ขวญั และกำลงั ใจที่ดี ซ่ึงเป็นส่ิง
สำคัญท่ีผูน้ ำจะตอ้ งรู้และเข้าใจถึงวธิ กี ารและรูปแบบ ในการจูงใจ ของทมี งานในองค์การ
9
2.1.2.1 ความหมายของแรงจงู ใจ
โดยทั่วไปความหมายในด้านแรงจูงใจประกอบด้วยคำเหล่านี้ เช่น ความปรารถนา(Desires) ความ
ต้องการ (Wants) ความมุ่งหวัง (Wishes) เป๊าประสงค์ (Aims) เป้าหมาย (Goals) ความต้องการ (Needs)
แรงขบั (Motives or Drives) และส่ิงตอบแทน (Incentives) อยูเ่ สมอ ๆ
Lovell (1980:109) ให้ความหมายของแรงจูงใจว่า เป็นกระบวนการที่ชักนำโน้มน้าวให้บุคคลเกิด
ความมานะพยายามเพอื่ ท่จี ะสนองตอบความต้องการบางประการให้บรรลผุ ลสำเรจ็
Domjan (1996:199) อธิบายว่าแรงจูงใจเป็นภาวะ ในการเพิ่มพฤติกรรมการกระทำกิจกรรมของ
บคุ คลโดยบคุ คลจงใจกระทำพฤตกิ รรมน้นั เพื่อใหบ้ รรถุเป้าหมายท่ีตอ้ งการ
แรงจูงใจ (Motive) เป็นคำที่มาจากคำภาษาละดิน ที่ว่า Movere ซึ่งหมายถึง เคลื่อนไหว(Move)
ดังน้นั คำวา่ แรงจูงใจจงึ มีการให้ความหมายไวต้ า่ ง ๆ กันดงั น้ี
แรงจูงใจ หมายถึง บางสิ่งบางอยา่ งทอี่ ย่ภู ายในตัวของบคุ คลทีม่ ผี ลทำใหบ้ คุ คลต้องกระทำ
หรือเคลอ่ื นไหว หรือมพี ฤติกรรมในลักษณะที่มเี ป้าหมาย (โนว่าแอ็ค, 2550: ออนไลน์ อ้างองิ จาก
Walters, 1978: 218 หรอื กลา่ วอีกนยั หน่ึงก็คอื แรงจงู ใจเปน็ เหตุผลของการกระทำ
2.1.2.2 ความสำคัญของแรงจูงใจ
แรงจูงใจมีอิทธิผลต่อผลของงาน ผลของการศึกษาเล่าเรียน รวมถึงผลของการทำกิจกรรมทุกสิ่งทุก
อย่าง แรงจูงใจจะส่งผลโดยตรงต่อคณุ ภาพและปริมาณของงาน ซึ่งผบู้ ังกบั บัญชา หรือครผู ้ปู กครอง จำเป็นต้อง
รู้ว่า อะไรคือแรงจูงใจ ที่จะผลักดนั หรอื ทำใหพ้ นักงาน นักเรียน หรือผู้ที่ถูกจงู ใจ สามารถปฏิบัตสิ ิ่งเหล่านัน้ ได้
อย่างเต็มความสามารถ การจูงใจไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะคนแต่ละคน ก็มีการตอบสนองต่องานและวิธีการ ท่ี
แตกต่างกันไป การจูงใจจึงถือเป็นสิ่งสำคัญซึ่งเราสามารถสรุปความสำคัญของการถูงใจ ได้ดังนี้ (โนว่าแอ็ค,
2550: ออนไลน์)
พลัง (Energy) เป็นแรงขับเคลื่อนที่สำคัญต่อการกระทำ หรือ พฤติกรรมของมนุษย์ ในการทำงานใด
ๆ ถ้าบุคคลมีแรงจูงใจในการทำงานสูง ยอ่ มทำให้ขยันขนั แข็ง กระตือรือร้นทำใหส้ ำเร็จ ซึ่งตรงข้ามกับบุคคลที่
ทำงานประเภท “เช้าชาม เยน็ ชาม” ท่ีทำงานเพยี งเพ่อื ให้ผา่ นไปวนั ๆ
ความพยายาม (Persistence) ทำให้บุคคลมีความมานะ อดทน บากบั่น คิดหาวิธีการนำความรู้
ความสามารถ และ ประสบการณ์ของตน มาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่องานให้มากที่สุด ไม่ท้อถอยหรือละความ
พยายามง่าย ๆ แม้งานจะมีอุปสรรคขัดขวาง และเมื่องานได้รับผลสำเร็จด้วยดี ก็มักคิดหาวิธีการปรับปรุง
พฒั นาให้ดีขึ้นเร่ือย ๆ
การเปลี่ยนแปลง (Variability) รูปแบบการทำงานหรือวิธีทำงานในบางครั้งก่อให้เกิดการค้นพบ
ช่องทางดำเนินงานที่ดีกว่า หรือประสบผลสำเร็จมากกว่า นักจิตวิทยาบางคนเชื่อว่า การเปลี่ยนแปลง เป็น
เครื่องหมายของความเจริญก้าวหน้าของบุคคลแสดงให้เห็นว่าบุคคลกำลงั แสวงหาการเรียนรู้สิง่ ใหม่ ๆ ให้ชีวิต
บุคคลที่มีแรงจูงใจในการทำงานสูง เมื่อดิ้นรนเพื่อจะบรรลุ วัตถุประสงค์ใด ๆ หากไม่สำเร็จ บุคคลนั้นก็มักจะ
พยายามคน้ หาส่งิ ผิดพลาดและพยายามแก้ไขให้ดขี ึ้นในทุกวิถีทาง ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการทำงาน จน
ในที่สุดทำให้คืนพบแนวทางทีเ่ หมาะสมซ่งึ อาจจะต่างไปจากแนวเดมิ
10
บุคคลที่มีแรงจูงใจในการทำงาน จะเป็นบุคคลที่มุ่งมั่นทำงานให้เกิดความเจริญก้าวหน้า การที่มุ่งมั่น
ทำงานที่ตนรับผิดชอบให้เจริญก้าวหน้า ถือได้ว่าเป็นผู้ที่มีจรรยาบรรณในการทำงาน (Work Ethics) ผู้ที่มี
จรรยาบรรณในการทำงาน จะเป็นบุคคลที่มีความรับผิดชอบ มั่นคงในหน้าที่และมีวินัยในการทำงาน ซึ่ง
ลกั ษณะดงั กล่าว แสดงให้เหน็ ถึงความสมบูรณ์ โดยผูท้ มี่ ลี กั ษณะดงั กล่าวน้ี มักไม่มเี วลาเหลอื พอที่จะคิดและทำ
ในส่งิ ทไ่ี มด่ ี
2.2 เทคโนโลยที ใี่ ช้
เทคโนโลยีที่จะนำมาพัฒนาแอปพลิเคชันจะใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊คมาพัฒนาโมบายแอปพลิเคชัน ขึ้น
พรอ้ มทง้ั ศกึ ษาขอ้ มูลท่เี กย่ี วข้องกบั ภาวะผู้ทมี่ ีน้ำหนักเกินและประเภทของอาหารตา่ งๆ ซ่งึ จะใชโ้ ทรศัพท์มือถือ
ระบบปฏิบัติการ Android ระบบปฏิบัติการเวอร์ชัน 6 ขึ้นไป เพื่อที่ใช้ในการทดสอบระบบคำนวณแคลอร่ี
สำหรับผทู้ มี่ ภี าวะนำ้ หนกั เกนิ บนมือถือ
2.2.1 เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ้ นการพฒั นา
1. Adobe XD เพื่อใช้ในการออกแบบตัว UX/UI ของแอปพลิเคชันที่ใช้งานได้ง่าย และมี
ประสทิ ธภิ าพเป็นอย่างมาก
ข้อดขี อง Adobe XD
1. ใช้งานไดฟ้ รี
2. สามารถเรยี นรูก้ ารใช้งานไดง้ า่ ย
3. มกี ารอัพเดตตวั โปรแกรมใหล้ กู เลน่ เพมิ่ เตมิ อย่างต่อเนื่อง
4. มี Plugins ใหเ้ ลือกใชง้ านอยา่ งหลากหลาย
ขอ้ เสียของ Adobe XD
1. ในปจั จุบนั ลกู เล่นการใช้งาน ของตัวโปรแกรม ยังมีไมเ่ ยอะเทา่ ทค่ี วร
2. Android Studio จะใชใ้ นการพัฒนาโมบายแอปพลเิ คชันข้นึ มาโดยปฏิบัติการ Android
เท่านั้น ซึ่งเป็นเครื่องมือในการเขียนตัวแอปพลิเคชันพร้อมทั้งตัวโปรแกรมจะมี
Emulator เช่น Genymotion ที่เราต้องการในการทดสอบระบบได้อย่างสะดวกโดยไม่
จำเป็นต้องใช้ Smartphone ในการทดสอบระบบ
2. Android Studio ใชใ้ นการออกแบบและพฒั นาแอปพลเิ คชัน
ขอ้ ดีของ Android Studio
2.1. สะดวกในการใชง้ าน
2.2. มีความยดื หยนุ่ ในการใชง้ านดว้ ยใช้ Gradle-based
2.3. การสร้างตวั แปรและการสรา้ งไฟล์ APK ในหลาย ๆ แมแ่ บบ
2.4. ตัวชว่ ยแกไ้ ขรูปแบบ (Layout) ทรี่ องรับการลากและวาง
2.5. การสนับสนุนบิวท์อินสำหรับแพลตฟอร์ม Google Cloud ทำให้มันง่ายต่อการรวม
Google Cloud Messaging และ App Engine
11
ขอ้ เสียของ Android Studio
2.1. การรัน Android Studio จะทำให้มีการดงึ ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์ท่ีสูงเกินไปท้ัง
RAM และ CPU
2.2. ระบบจัดการฐานข้อมูล หรือ DBMS จะใช้ database ของ Firebase ซึ่งเป็นโปรแกรม
ที่จัดการข้อมูลแบบ Relational Database Management System ซึ่งสามารถใช้ในการทำงานได้
หลากหลายระบบปฏบิ ตั ิการท้งั Windows และ Linux
2.3. MS Visio คอื โปรแกรมสำหรับการออกแบบ วางแผน วาดภาพ แผนภาพของงานต่างๆ
เช่น flow chart, ผงั องค์กร หรอื ผังวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์
3. MS Word คือ โปรแกรมประเภท word processor ที่ใช้สำหรับการพิมพ์รายงานและ
จดั ทำค่มู ือการใชง้ าน
4. MS PowerPoint ใช้ในการนำเสนอความก้าวหนา้ ของงาน
5. MSI App Player เปน็ โปรแกรมจำลองระบบปฏบิ ัติการ Android เพือ่ ท่ีจะใชท้ ดสอบระบบ
ในเบอื้ งตน้
ข้อดีของ MSI App Player
5.1 สะดวกในการใช้งาน
5.2 เป็นแพลตฟอรม์ ท่ีสามารถใชง้ านได้ฟรี
5.3 มคี วามลนื่ ไหลตอ่ การใชง้ านและสามารถรบั ไฟล์ APK มาตดิ ตง้ั ไดง้ า่ ยและสะดวก
ขอ้ เสียของ MSI App Player
โปรแกรมยังอยใู่ นการพัฒนาอาจมีบ๊ักในบางสว่ นที่ทำใหม้ ีการหลดุ จากโปรแกรมบ้าง
6. Figma ใช้ในการออกแบบ User interface ของแอปพลิเคชัน
7. Command Prompt ใช้ในการแก้ไข เพิม่ ลด ขอ้ มูลในการเขยี นแอปพลิเคชนั
8. ระบบจดั การฐานขอ้ มูล หรอื DBMS จะใช้ database ของ SQL Lite
9. MS Visio สำหรับออกแบบ Diagram ต่าง ๆ
10. Google Edge ใชใ้ นการค้นหาข้อมูล
11. Visual studio code ใช้ในการออกแบบและพฒั นาแอปพลเิ คชัน
12
2.3 งานวิจัยหรอื ระบบที่ใกลเ้ คียง
Kanjanapan Sukvichai, Warayut Muknumporn, (2019). Development of A Food
Categories and Calories Estimation Full Stack System Based on Multi-CNNs
Structures, 20(1), 38.
ก. วัตถุประสงค์
1.) เพอ่ื ศกึ ษาการพฒั นาระบบให้ระบบมคี วามพร้อมในการใชง้ าน
2.) เพื่อศกึ ษาถงึ เครอ่ื งมอื ในการเช่อื มต่อโปรโตคอลระหวา่ งสมาร์ทโฟนกับBackend
3.) ศึกษาขนั้ ตอนในการจำแนกประเภทของอาหารและส่วนผสมของอาหาร
ข. ขนั้ ตอนในการดาํ เนนิ การวจิ ัยจะประกอบไปด้วย 3 ขั้นตอน
1.) เคร่อื งมอื ในการเชื่อมต่อโปรโตคอลคือ RESTful ดว้ ยรปู แบบของ JSON
2.) Convolutional Neural Networks (CNN) เปน็ ระบบที่ใช้ในการจัดการหมวดหมู่ของอาหาร
ส่วนผสม และคำนวณอาหารท่ีเปน็ ประโบชนท์ ไ่ี ด้ตงั้ คา่ ไว้
3.) ไลบรารที ่ีใชใ้ นการจัดเกบ็ รูปภาพท่ีถา่ ยจากสมารท์ โฟนคือ OpenCV
ค. สรุป
1.) ลดข้ันตอนในการพูดคุยกบั นักโภชนาการและลดเวลาทีจ่ ะเสียไปเพ่ือให้มเี วลาว่างในการทจ่ี ะไป
ทำอยา่ งอ่นื ได้
2.) ไดท้ ราบถึงเครื่องมือที่ใชใ้ นการพฒั นา
Drishti P. Ghelani, Lisa J. Moran, Cameron Johnson, Aya Mousa, Negar Nader poor,
(2020). Mobile Apps for Weight Management: A Review of the Latest Evidence
to Inform Practice, 11(412)
ก. วตั ถปุ ระสงค์
1.) การควบคุมน้ำหนกั อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
2.) ความเส่ียงท่ีเปน็ ผลมมาจากการที่มภี าวะน้ำหนกั เกนิ
3.) การศึกษาเทคโนโลยีในการดูแลสุขภาพ
4.) กลุม่ เป้าหมายในการดูแลสุขภาพ
ข. ขน้ั ตอนในการดําเนินการวจิ ัยจะประกอบไปดว้ ย ขั้นตอน
1.) ศกึ ษาการควบคุมนำ้ หนักโดยการควบคมุ อาหารและการออกกำลงั กายจากคนท่ีมีภาวะโรคอ้วน
2.) ความเสยี่ งทจ่ี ะเกิดขน้ึ ตามมามอี ย่หู ลายประการเช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลอื ด โรค
ไขมันพอกตับ ภาวะหยดุ หายใจขณะหลบั จากการอดุ กนั้ ความผดิ ปกติของระบบกลา้ มเนอ้ื และ
กระดูก (เชน่ โรคขอ้ เขา่ เส่ือม) โรคมะเร็ง ซง่ึ โรคท่ีกล่าวมาข้างต้นจะส่งผลเสยี ทำให้คณุ ภาพชวี ิต
ลดลง
13
3.) การใชเ้ ทคโนโลยเี ข้ามาชว่ ยในการดูแลสขุ ภาพมีความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้นเนือ่ งจากปัจจุบัน
เทคโนโลยีเขา้ มามีบทบบาทต่อทกุ คนและเทคโนโลยเี ปน็ สิ่งทใ่ี กลต้ ัวจงึ นำเทคโนโลยมี าพัฒนาเปน็
สงิ่ ทชี่ ว่ ยในการดูแลสขุ ภาพหรือท่ีเรียกว่า สุขภาพอเิ ล็กทรอนิกส์ eHealth
Joshua H West, Lindsay M Belvedere, BScHlthSc; Rebecca Andreasen, Christine
Frandsen, Cougar Hall, Benjamin T Crookston. (2017). How Diet and Nutrition-
Related Mobile. Apps Lead to Behavior Change.1-3. E95
ก. วตั ถปุ ระสงค์
1.) เพือ่ ศกึ ษากลไกการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมท่เี กย่ี วข้องกบั การใช้แอปพลเิ คชันสุขภาพในการ
ควบคมุ น้ำหนกั ท่เี กี่ยวข้องกบั อาหารและโภชนาการ
2.) การเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหาร
3.) สิ่งอำนวยความสะดวกในการลดนำ้ หนกั
ข. ข้ันตอนในการดําเนนิ การวจิ ัยจะประกอบไปด้วย 3 ขน้ั ตอน
1.) การศกึ ษาเกยี่ วกับสง่ิ อำนวยความสะดวกของการใช้เทคโนโลยใี นการลดน้ำหนักผา่ นการคำนวณ
แคลอร่ีและการบนั ทกึ รายการอาหาร
2.) การศึกษาการใชแ้ อปพลเิ คชันทีเ่ กย่ี วข้องกบั อาหารสามารถนำไปสู่การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรม
สุขภาพอาหารและโภชนาการที่ดีข้ึน
3.) การศกึ ษาแสดงให้เหน็ ว่าการใชแ้ อปพลิเคชนั เพอ่ื สุขภาพสำหรับการควบคมุ อาหารสามารถ
นำไปสกู่ ารเปลย่ี นแปลงในเชิงบวกในการควบคมุ นำ้ หนกั ได้สำเรจ็
ค. เครื่องมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย
1.) แอปพลิเคชนั ควบคุมน้ำหนกั
2.) แบบประเมนิ ความพึงพอใจในการควบคุมน้ำหนกั โดยใชแ้ อปพลเิ คชัน
14
ตารางที่ 1.4 ตารางเปรียบเทียบงานวจิ ัยหรอื ระบบใกลเ้ คียง
ลำดับท่ี หวั ข้อการ แคลอร่ี ไดอารี่ ลดน้ำหนกั ภายใน 30 ไดอาร่ีอาหาร Calories Counting
Mobile Application for
เปรยี บเทียบ วัน
Overweight Person
1. ข้ันตอนในการ 1.ศึกษาปัญหา 1.ศกึ ษาปัญหาและความ 1.ศึกษาปัญหาใน 1.ศกึ ษาปัญหาขอผใู้ ช้งาน
พฒั นาโปรแกรม และความต้องการ ต้องการของผู้ใช้งาน การใช้งานแอป 2.จัดเกบ็ ข้อมลู ความ
ของผใู้ ชง้ าน 2.ออกแบบระบบพร้อม พลเิ คชนั ตอ้ งการของผูใ้ ชง้ าน
2.ออกแบบระบบ ตดิ ตั้งแลพทดสอบ 2.ศึกษาพฤติกรรม 3.วิเคราะหร์ ะบบ
3.การพัฒนา การใชง้ าน 4.ออกแบบระบบ
ระบบ 3.ทำแบบสอบถาม 5.พฒั นาระบบ
4.ทดสอบความ ในการใชง้ านระบบ 6.ทดสอบระบบงาน
ถกู ต้องของระบบ 7.จดั ทำเอกสารประกอบ
ระบบ
8. ตดิ ต้ังระบบ
2. การจัดเกบ็ ข้อมลู ไมร่ ะบุ ไมร่ ะบุ ไมร่ ะบุ PhpMyAdmin
3 เครอื่ งมือที่ใชใ้ น ไมร่ ะบุ ไม่ระบุ ไม่ระบุ Adobe XD, Android
การพัฒนา studio, MS Visio, MSI
App Player
ตารางที่ 1.4 ตารางเปรยี บเทียบงานวิจัยหรือระบบใกลเ้ คียง
ระบบงานท่ีใกลเ้ คียง
1. แคลอรี่ ไดอารี่ เปน็ โมบายแอปพลเิ คชนั ผู้ใช้งานสามารถใช้ไดท้ ั้ง IOS และ Android และในปัจจุบัน
ผคู้ นนิยมใช้โมบายแอปพลิเคชนั ตวั น้ีเปน็ อย่างมาก
ฟงั ก์ชนั งานหลักๆมีดงั นี้
1. ต้งั ค่าเรม่ิ ตน้ เปน็ ฟังก์ชันให้ผใู้ ชก้ รอกขอ้ มูลส่วนตัว
2. แสดงขอ้ มลู แคลอรี่
3. บันทกึ รายการเมนูอาหาร
4. ลดน้ำหนักภายใน 30 วัน เปน็ โมบายแอปพลิเคชัน ผใู้ ชง้ านสามารถใชไ้ ด้ทง้ั IOS และ Android ซ่ึงจะ
เนน้ ไปทางการออกกำลังกายเปน็ สว่ นใหญ่ ซึง่ มกี ารแนะนำการออกกำลงั กายในท่าทางตา่ งๆ
15
ภาพที่ 2.1 ระบบแคลอร่ี ไดอาร่ี
ฟงั กช์ ันงานหลักๆมีดงั นี้
1. ต้ังคา่ เริม่ ตน้
2. แสดงขอ้ มูลแคลอร่ี
3. บนั ทึกรายการเมนูอาหาร
4. แสดงทา่ ทางการออกกำลงั การทีแ่ นะนำ
16
ภาพที่ 2.2 ระบบลดน้ำหนักภายใน 30 วัน
ตารางที่ 1.5 ตารางการเปรียบเทียบระบบงานทใ่ี กล้เคียง 17
รายละเอียดระบบ ระบบที่ 1 ระบบที่ 2 ระบบที่ 3 ระบบท่ี 4
✓ ✓
Calories ✓✓ ✓ ✓
✓ ✓
คำนวณแคลอร่ีที่รบั ประทาน ✓ ✓
✓ ✓
แนะนำอาหารในการรบั ประทานใน ✓ ✓ ✓ ✓
✓ ✓
แตล่ ะม้ือ N/A ✓
แคลอร่ขี องเมนตู า่ งๆ ✓✓ ✓ ✓
✓
คา่ BMI ✓✓
Ranking N/A ✓
Challenge ในการรบั ประทาน N/A N/A
อาหารในแตล่ ะมื้อ
ปฏิทิน N/A ✓
การแจง้ เตือน N/A ✓
หมายเหตุ
- ระบบท่ี 1 หมายถึง แคลอรี่ ไดอาร่ี
- ระบบที่ 2 หมายถึง ลดนา้ หนักภายใน 30 วัน
- ระบบที่ 3 หมายถึง ไดอารอ่ี าหาร
- ระบบที่ 4 หมายถึง Counting Mobile Application for Overweight Person
- N/A หมายถงึ ไมท่ ราบข้อมลู
18
บทที่ 3
การวเิ คราะห์ระบบ
3.1 องค์กรทเ่ี กีย่ วข้อง
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแนะนำการดูแลสุขภาพและการรับประทานอาหารที่มีประ โยชน์ต่อการ
ควบคุมปริมาณน้ำหนักของประชากร กรณีศึกษาตำบลท่าศาลา อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช และ
เสนอการใช้งานระบบอย่างมีประสิทธิภาพ โดยศึกษารวบรวมข้อมลู ดังกลา่ วจากผูใ้ ช้งานระบบและผู้เกี่ยวข้อง
ในการดแู ลสุขภาพและเร่ืองของนำ้ หนัก
3.1.1. แหล่งขอ้ มูลตงั้ ตน้ หรอื หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง
1. แหลง่ ข้อมลู แคลอร่ีอาหาร
- รุ่งเรือง คลองบางลอ. (2562). ตารางแคลอร่ีอาหารไทย อาหารฟาสต์ฟู้ดอาหารจาน
เดยี ว ผลไม้และ ขนมต่างๆ, สบื คน้ เมอื่ 17 พฤศจกิ ายน 2564.
จาก : https://www.kindeediet.com/thai-food-calorie/
- พญ.กรพร สถิตวิทยานนั ท์. (2564). เมนูอาหารและตารางแคลอรี่, สืบคน้ เมื่อ 17
พฤศจิกายน 2564. จาก: https://www.amara-clinic.com/menu-calorie-count/
- Lovefitt. (2562). ตารางพลงั งานในอาหาร,สืบค้นเมอ่ื 17 พฤศจิกายน 2564.
จาก: https://www.lovefitt.com/calorie-tables
2. แหล่งขอ้ มลู การคำนวณพลงั งาน
- พญ.กรพร สถิตวิทยานันท.์ (2564).การคำนวณ BMR, สบื คน้ เมื่อ 17 พฤศจิกายน
2564. จาก: https://www.amara-clinic.com/menu-calorie-count/
- โรงพยาบาลเซน็ ตห์ ลุยส์. (2564). สตู รคำนวณอัตราการเผาผลาญของร่างกาย, สบื คน้
เมื่อ 17 พฤศจกิ ายน 2564. จาก: https://www.saintlouis.or.th/programs/bmr
3. แหลง่ ข้อมลู การคำนวณดัชนีมวลกาย
- ถริ จิต บุญแสน. (ออนไลน)์ .2564.ดัชนีมวลกาย สำคญั อยา่ งไร, สบื คน้ เม่อื 17
พฤศจิกายน 2564.จาก: https://www.si.mahidol.ac.th
4. แหลง่ ขอ้ มลู ไอคอนอาหาร
- Flat icon. (2564). Food icon, สบื คน้ เมอื่ สืบค้นเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2564.จาก:
https://www.flaticon.com/search?word=food&type=icon
19
3.2 วิธกี ารรวบรวมข้อมลู
การวจิ ยั ไดอ้ อกแบบการรวบรวมข้อมูลท่เี กี่ยวกับความคิดเห็นที่ได้มาจากประสบการณ์การใช้งาน
แอปพลิเคชัน โดยทางทีมวิจัยได้ใช้เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล 3 เทคนิค ได้แก่ การศึกษาจากเอกสาร
วิชาการ และเวบ็ ไซต์ การสมั ภาษณ์ และการใชแ้ บบสอบถาม เพื่อเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากผู้ใชง้ านให้เห็นถึง
รูปแบบการใช้งานแอปพลิเคชันตามฟังก์ชันต่างๆที่ได้ใช้งานสำหรับผู้ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน และมีค่าดัชนี
มวลกายเกินทัง้ เพศหญงิ และเพศชาย
3.2.1 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
วตั ถปุ ระสงค์ วิธรี วบรวมข้อมลู
1. เพอ่ื ศึกษารูปแบบและปญั หาการ - สัมภาษณผ์ ้ใู ห้ขอ้ มูลหรอื ผู้ใช้งานระบบ โดยจะสัมภาษณ์
ใหบ้ รกิ ารของแอปพลิเคชนั ผ้ใู ชง้ านระบบทีเ่ ขา้ ข่ายเป็นผู้ทีม่ ีภาวะน้ำหนกั เกิน
2. เพื่อศึกษาฟังก์ชันการใชง้ านของ - สัมภาษณผ์ ใู้ หข้ อ้ มูลหรอื ผู้ใช้งานระบบ โดยจะสมั ภาษณ์
แอปพลเิ คชนั ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ ผูใ้ ช้งานระบบทีเ่ ข้าขา่ ยเป็นผู้ท่มี ีภาวะนำ้ หนกั เกิน
3. เพื่อสอบถามความพึงพอใจในการ - ทำแบบฟอรม์ ออนไลนผ์ ่าน Google form ซง่ึ ประกอบ
ใชง้ านแอปพลิเคชัน ไปดว้ ยข้อมูลเบื้องต้นและคำถามเก่ยี วกับการใชง้ านระบบ
อีกท้ังระดับความพึงพอใจต้งั แต่ พอใจมาก ไปถึง น้อยท่ีสุด
ตารางที่ 1.6 แสดงรปู แบบวตั ถปุ ระสงค์และวธิ ีรวบรวมขอ้ มูล
3.2.2 การสัมภาษณผ์ ู้ใช้งาน
ในการสัมภาษณ์ผู้ใช้งานระบบฯ ทางทีมได้ทำการสัมภาษณ์ผู้ใช้ระบบแบ่งออกเป็น
2ระดบั ดงั นี้
1. ผู้ใช้ท่ัวไป (ผมู้ ภี าวะนำ้ หนกั ปกติ หรือ BMI 18.5 – 22.90 )
2. ผมู้ ภี าวะน้ำหนักสงู กว่าปกติและผู้ทีม่ ภี าวะนำ้ หนักเกนิ (ผู้มภี าวะนำ้ หนักสูงกวา่
ปกติ หรือ BMI ระหว่าง BMI 23 – 24.90 และสูงกวา่ 25 ขนึ้ ไป) (ถิรจติ บุญ
แสน.(ออนไลน์).2562.ดชั นมี วลกาย สำคญั อย่างไร.ค้น
จาก:https://www.si.mahidol.ac.th)
3.2.3 การสัมภาษณ์
1. สัมภาษณค์ รัง้ ท่ี 1
ผูส้ มั ภาษณ์ : นายภาณพุ งศ์ กองสุวรรณ
ผใู้ หส้ ัมภาษณ์ : ผูใ้ ชท้ ว่ั ไป เพศหญิง อายุ 22 ปี
20
ตาํ แหน่ง : กลุ่มผ้ใู ช้ทั่วไปท่มี คี า่ BMI 18.5 – 22.90
วนั ท่ใี นการสัมภาษณ์ : 10 พฤศจิกายน 2564 เวลา 13.00 – 14.00 น.
คำถามทใี่ ช้ในการสัมภาษณ์
1. ในการใช้ระบบควบคมุ อาหารในปัจจุบนั ได้พบปญั หาอะไรบ้าง
2. ส่ิงทอ่ี ยากให้มีเพิ่มเติมจากระบบควบคมุ อาหารท่ีได้ใช้มา
3. ในการใช้ระบบควบคุมแคลอร่ีในปัจจบุ ันได้พบปญั หาอะไรบ้าง
4. ส่ิงทอี่ ยากใหม้ ีในระบบควบคุมแคลอรปี่ ัจจบุ ัน
คำตอบจากการสัมภาษณ์
ปัญหาแรงจูงใจในการใช้งานระบบที่น้อยและได้มีการถูกจำกัดสิทธิในการเข้าใช้
ระบบบางฟังก์ชัน เหตุผลเพราะ ต้องสมัครเป็นสมาชิกของแอปพลเิ คชันก่อน และมีการจ่าย
ค่าบริการเป็นรายเดือนเพื่อจะได้เข้าถึงฟังก์ชันที่ต้องการใช้งาน สิ่งที่อยากให้มีเพิ่มเติมจาก
ระบบปัจจบุ นั ที่เคยไดใ้ ชม้ าคือ อยากให้ระบบมีฟังก์ชนั การถ่ายรูปเพื่อเพ่ิมความสะดวกสบาย
ในการใช้งานและมีรปู ภาพอาหาร
2. สมั ภาษณ์ครัง้ ที่ 1
ผู้สัมภาษณ์ : นายยทุ ธภมู ิ สนาน้อย
ผใู้ หส้ ัมภาษณ์ : ผู้ใชท้ ่วั ไป เพศชาย อายุ 21 ปี
ตําแหนง่ : กล่มุ ผู้ใช้ทัว่ ไปท่ีมคี า่ BMI 29.86
วนั ท่ใี นการสมั ภาษณ์ : 13 พฤศจกิ ายน 2564 เวลา 12.00 – 13.00 น.
คำถามท่ใี ชใ้ นการสัมภาษณ์
ปญั หาท่ีพบเจอระหวา่ งใช้งานแอปพลเิ คชันควบคุมแคลอร่ีมีอะไรบ้าง
คำตอบจากการสมั ภาษณ์
1. ความยุ่งยากในการใช้งานระบบ
- การจดั วางองคป์ ระกอบทใ่ี ช้งานไดย้ าก
- การวางปุ่มกดในตำแหน่งทใี่ ช้ได้ยาก
- การเลือกใช้สีที่ไม่ถูกต้อง เช่น ใช้สีฟ้าในปุ่มกดยกเลิกทำให้เกิดความเข้าใจ
ผิดวา่ เปน็ ปุม่ กดยนื ยัน
- ตำแหน่งปุ่มที่ไม่มีความสม่ำเสมอ เช่น การเปลี่ยนตำแหน่งปุ่มในหน้าอื่นๆ
สลับไปมาทำให้เกิดความสับสน
2. จำกัดสิทธใิ นการเขา้ ใช้ฟังกช์ ันบางฟงั ก์ชนั ทส่ี ำคัญ
- การสมัครสมาชิกพรีเมี่ยมเพื่อรับสิทธิในการเขา้ ถึงฟงั ก์ชนั
21
3. เขา้ ใจไดย้ ากและไม่มกี ารแนะนำการใชง้ าน
- ไม่มกี ารอธบิ ายฟังกช์ นั การใชง้ าน
3.2.4 การใช้แบบสอบถาม
การทำแบบสอบถามออนไลน์ผ่าน Google form เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลที่ผู้ใช้
ต้องการโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการใช้แอปพลิเคชันในการควบคุมอาหารของผู้ที่มี
ภาวะน้ำหนักเกิน หรือผู้ทมี่ ีคา่ ดัชนีมวลกายมากกว่า 25 ( BMI > 25 ) เนื่องจากปัจจุบันการ
ควบคุมน้ำหนักมีการควบคุมที่ผิดหลักและไม่ถูกวิธี ซึ่งการพัฒนาแอปพลิเคชันขึ้นมาจะมา
ช่วยแก้ไขในส่วนของคนที่มีภาวะน้ำหนักเกินและผู้ที่ต้องการดูแลสุขภาพ และสร้างความ
สะดวกสบายต่อการใช้งาน โดยการนำแบบสำรวจการใช้แอปพลิเคชันควบคุมอาหารเพื่อไป
หาปัญหาพร้อมทั้งสำรวจกลุ่มผู้ตอ้ งการใชต้ ัวแอปพลิชันโดยการนำข้อมูลสว่ นตัวบางสว่ นไป
วิเคราะห์เป็นสถิติซึ่งจะทำให้ทราบถึง เพศ ช่วงอายุ หรือทราบถึงความต้องการหลักๆที่ผู้ใช้
นั้นต้องการที่จะให้เกิดขึ้นต่อการพัฒนาแอปเคชัน ประกอบด้วยข้อมูล 3 ส่วน ได้แก่ ข้อมูล
ส่วนบุคคล ข้อมูลระดับความรู้ในการเลือกบริโภคอาหาร และข้อมูลระดับพฤติกรรมในการ
บริโภคอาหาร ดงั นี้
ภาพท่ี 3.1 วัตถุประสงคข์ องแบบสอบถาม
22
1. ขอ้ มลู สว่ นบุคคล
ข้อมูลทั่วไปซึ่งจะประกอบด้วย เพศ อายุ ส่วนสูง น้ำหนัก และ ค่าดัชนีมวลกาย หรือ BMI
พร้อมทั้งบอกสูตรการคำนวณค่าดัชนีมวลกาย (BMI) และเว็บไซต์คำนวณหาค่าดัชนีมวลกาย (BMI)
ของโรงพยาบาลกรุงเทพ
ภาพท่ี 3.2 ข้อมูลสว่ นบุคคล
2. ระดบั ความรู้ในการเลือกบรโิ ภคอาหาร
สอบถามความรู้เบ้ืองต้นในการบรโิ ภคอาหารซึ่งจะประกอบไปด้วยการควบคุมปริมาณแคลอ
รี่ในรา่ งกาย หรือการดมื่ เครอ่ื งด่ืมต่าง ๆ เปน็ ตน้
ภาพที่ 3.3 ระดบั ความรใู้ นการเลอื กบรโิ ภคอาหาร
23
3. ระดับพฤตกิ รรมในการบรโิ ภคอาหาร
สอบถามพฤติกรรมในการบริโภคอาหารซึ่งจะประกอบไปด้วย รับประทานอาหารมากกว่า 3
ม้ือต่อวัน รับประทานเครื่องดม่ื ที่มนี ้ำตาลสูง รบั ประทานอาหารท่ีมีเส้นใย เปน็ ตน้
ภาพที่ 3.4 ระดบั พฤตกิ รรมในการบรโิ ภคอาหาร
3.3 การทำงานของระบบปัจจบุ ัน
จากการเก็บข้อมูลเนื่องจากการลดน้ำหนักโดยวิธีปกติทำให้เกิดการลดน้ำหนักแบบ
ผิดวิธีทางกลุ่มผู้จัดทำเลยคิดหาวิธีการลดน้ำหนักโดยมุ่งเน้นให้เกิดความสะดวกสบายและ
ง่ายต่อผู้ใช้งานระบบ จึงได้จัดทำแอปพลิเคชันคำนวณแคลอรี่สำหรับผู้ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน
เพอื่ มุ่งเนน้ ให้ผู้ใชง้ านได้ทำการควบคุมอาหารและรับประทานอาหารท่ีถูกหลักอนามัยและอยู่
ในเกณฑ์การรับประทานอาหารในแต่ละวนั และยังมีวิดีโอแนะนำการดูแลสขุ ภาพ และหม่ัน
จดบันทึกการรับประทานอาหารในแต่ละคร้ัง
3.3.1 กระบวนการทำงานของระบบปัจจบุ ัน
ระบบการทำงานแบบ Manual โดยการคำนวณค่าดัชนีมวลกายท่ไี ด้ทำการศึกษามา
จากเว็บไซต์ของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลจากบทความของ อ.ดร.พญ.ถิรจิต บุญ
แสน ในหัวของดัชนมี วลกาย สำคญั อย่างไร โดยสามารถแปลผลคา่ BMI ไดด้ ังน้ี
24
ภาพท่ี 3.5 Flow แสดงการทำงานระบบปัจจบุ นั
(ถิรจิต บุญแสน.(ออนไลน์).2562.ดชั นีมวลกาย สำคัญอยา่ งไร.คน้ จาก : https://www.si.mahidol.ac.th)
ภาพท่ี 3.5 อธบิ ายการทำงานของระบบปัจจุบนั มีดงั น้ี
เริ่มต้นการใช้งานระบบให้ผู้ใช้กรอกข้อมูลน้ำหนักและส่วนสูง และจะไปคำนวณหาค่า BMI
(Body mass index) หลงั จากคำนวณหาคา่ BMI แลว้ กม็ าตรวจสอบคา่ BMI ว่าอยู่ในระดบั ใดและจะ
บอกค่าในระดับ ตามลำดบั
25
3.3.2 ปัญหาของระบบ
ภาพที่ 3.6 fish bone diagram แสดงปญั หาของระบบปัจจบุ ัน
ภาพท่ี 3.6 อธิบายการทำงานของระบบปัจจบุ ันมดี ังน้ี
ปัญหาการใชง้ านระบบปัจจุบนั มคี วามยาก
1. ระบบ
- การเขา้ ใช้งานระบบมีความช้า
- แคลอรี่ของอาหารไม่ตรงกับมาตรฐาน เช่น จากแอปพลิเคชันที่ไดร้ ีวิว เส้นใหญ่
ราดหน้าหมูมีแคลอรี่ 405 Kcal ซึ่งมาตรฐานคือ 397 Kcal อ้างอิง กอง
บรรณาธิการHD. (2564). ตารางแคลอรี่ในอาหารไทย, สืบค้นเมื่อ 17
พฤศจิกายน 2564. จาก. https://hd.co.th/table-of-calories-in-food-
types
- ความน่าเชอ่ื ถือ ไมม่ แี หล่งอ้างอิงของขอ้ มลู
2. การออกแบบ UI
- ขนาดของปมุ่ ไม่มีความสมั พันธก์ บั หน้าจอแสดงผล
- สที ใี่ ช้ในการออกแบบ
- ไม่มีสัญลักษณ์บง่ บอกที่แน่ชดั
3. ผใู้ ชง้ าน
- ทกั ษะการใชง้ านแอปพลเิ คชนั
- ความสนใจในการใช้แอปพลิเคชนั
26
4. ความไม่สะดวกในการใช้งานระบบ
- ไม่มีการแนะนำการใชง้ านระบบ
- ใชภ้ าษาไดแ้ ค่ภาษาเดยี ว
- รองรับเฉพาะผู้ใชท้ เ่ี ปน็ สมาชิก
จากปัญหาที่ได้พบเจอใน fish bone diagram จะเป็นปัญหาที่ทำให้ผู้ใช้ทำงานได้อยากรำ
บาคทัง้ ระบบท่ีชา้ การจดั องค์ท่เี ขา้ ใจยาก หรอื อนื่ ๆ ซงึ่ ระบบท่จี ะพฒั นาขึ้นมานั้นจะทำใหต้ วั ของแอป
พลิเคชันมีประสิทธิภาพและการตอบสนองที่รวดเร็วพร้อมการออกแบบ User Interface ที่สามารถ
เข้าใจได้งา่ ยและสะดวกตอ่ ผใุ้ ช้
3.3.3 วิเคราะหฟ์ ังกช์ ันงานของระบบปัจจบุ นั
ภาพท่ี 3.7 กระบวนการทำงานของแอปพลเิ คชนั คำนวณแคลอรี่
จากท่ี 3.7 อธิบายได้วา่ กระบวนการทำงานของแอปพลิเคชนั คำนวณแคลอรรี่ ะบบปจั จุบันมี ดงั น้ี
1. เร่มิ ต้นการใชง้ านแอปพลิเคชันด้วยการเข้าสรู่ ะบบหรอื สร้างบญั ชีผใู้ ช้งานใหม่
2. กรอกขอ้ มลู ส่วนตัว เช่น น้ำหนัก สว่ นสูง เพศ เป็นตน้ จากนนั้ จะมใี ห้ใส่เป้าหมายนำ้ หนัก
ท่เี ราต้องการจะลด
27
3. คำนวณค่า Body mass index (BMI) โดยใช้
สตู รการคำนวณดังน้ี BMI= น้ำหนัก
ส่วนสูง2
4. แสดงขอ้ มูลแคลอรี่ของแตล่ ะคนซ่งึ จะเพม่ิ หรอื ลดแคลอรี่ของตนเองได้
5. แสดงรายการเมนูอาหารท่รี บั ประทานในมื้อน้ันๆเพื่อนำไปคำนวณหักล้างกบั ค่าแคลอร่ีท่ี
ไดก้ ำหนดไว้ โดยค้นหาจากรายชอื่ อาหารและค้นหาจากหมวดอาหารได้
หน้าจอแสดงความก้าวหน้าในแต่ละมื้ออาหารสื่อให้เห็นถึงความพัฒนาในการควบคุม
การรับประทานอาหารและควบคุมแคลอรี่ภายในรา่ งกาย
3.4 การวิเคราะหค์ วามต้องการของผใู้ ช้
เกบ็ รวบรวมข้อมลู ที่ได้ศกึ ษารูปแบบและปัญหาของการใชง้ านระบบโดยเก็บจากผู้ใช้งาน
ระบบจริง และนำข้อมูลทั้งหมดที่ได้เก็บรวบรวมมาทำการวิเคราะห์และแก้ไขให้ระบบเกิด
ความสมบูรณ์พรอ้ มทจี่ ะใชง้ านมากยง่ิ ขึน้ ดังน้ี
3.4.1. กลมุ่ ของผู้ใช้งาน
กลุ่มกรณีศึกษากลุ่มคนทั่วไปจาก ตำบลท่าศาลา อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช
ทตี่ อ้ งการเขา้ ถึงการใช้งานแอปพลิเคชันอยา่ ง เช่น นักศึกษา อาจารย์ พ่อค้าแม่ค้า เป็นต้น ที่
ต้องการความสะดวกสบายในการควบคุมอาหารและได้รับทราบข้อมูลต่างๆที่น่าเชื่อถึงการ
รับประทานอาหาร ทำใหม้ ผี ลต่อการตดั สนิ ใจเลือกรับประทานอาหารตา่ งๆ ไดง้ า่ ยข้นึ
3.4.2. User requirement
1. ผูใ้ ช้งานทั่วไป
- กล่มุ คนทั่วไปทต่ี อ้ งการใชง้ านแอปพลเิ คชนั ในการควบคุมอาหารโดยเฉพาะ
- กลุ่มเสี่ยงภาวะนำ้ หนักเกินท่ตี ้องการควบคมุ การรบั ประทานอาหาร
- รับรู้ข้อมลู ตา่ งๆ ในการควบคมุ อาหารท่ถี ูกตอ้ งจากแหลง่ ท่ีมาทน่ี า่ เช่อื ถอื
2. ประสทิ ธภิ าพของแอปพลเิ คชัน
การคำนวณจำนวนแคลอรแี่ บบอตั โนมตั ิพร้อมแสดงจำนวนแคลอร่ีในเมนูอาหารเพิ่ม
ความสะดวกสบายให้กับผู้ใช้งานและมีการแสดงผลความสำเร็จให้ผู้ใช้ทราบถึงเปา้ หมายท่ี
ผู้ใชก้ ำหมดเอาไว้
3.4.3. Functional
- การคำนวณค่าดัชนีมวลการพร้อมการแสดงข้อมูลอาหารพร้อมบอกจำนวนแคลอรี่เพื่อ
ประกอบการตดั สนิ ใจการเลอื กรบั ประทานอาหารของผใู้ ชง้ าน
28
- แสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับในการรับประทานอาหารให้ผู้ใช้งานศึกษาเพื่อเป็นความรู้
เพิม่ เตมิ ในการควบคุมการรบั ประทานอาหาร
- การคำนวณแคลอรี่อตั โนมัตใิ นแตล่ ะวันท่ีเหมาะกบั ผู้ใช้งานะบบ เพ่ือการควบคุมปริมาณ
การรับแคลอรเ่ี ข้าสรู่ ่างกายให้เหมาะสมและมปี ระสทิ ธิภาพทส่ี ุด
- รายงานผล
3.4.4 Non-Functional
- การแนะนำแหล่งขอ้ มูลเพ่ิมเติมในการรับประทานอาหารเพื่อใหข้ ้อมูลความรูแ้ ก่ผู้ใชง้ าน
ระบบ
- แนะนำเมนูอาหารในแต่ละวันให้กับผู้ใช้ระบบ
29
บทที่ 4
การออกแบบระบบ
4.1 สถาปัตยกรรมของระบบใหม่
เป็นขั้นตอนการออกแบบที่นำมาใช้ในระบบคำนวณแคลอรี่สำหรับผู้ที่มีภาวะน้ำหนักเกินบนมือถือ
โดยการใช้สถาปัตยกรรมของตัวโมบายแอปพลิเคชัน (Mobile application) ซึ่งจะทำหน้าที่ในส่วนของการ
การแสดงผลข้อมูล การรับข้อมูล การประมวลผลข้อมูล และการจัดเก็บข้อมูล ซึ่งจะตัดเก็บข้อมูลไว้ภายใน
ทั้งสิ้น เพื่อการใช้งานที่สะดวกตอนอยู่ในสถานะแบบออฟไลน์ทำให้ผู้ใช้งานระบบสามารถใช้งานได้อย่าง
ตอ่ เนอ่ื งและสะดวกต่อการใชง้ าน โดยการจัดเก็บขอ้ มลู ไวบ้ น Firebase เปน็ ตัวของฐานขอ้ มลู (Database)
ภาพท่ี 4.1 สถาปตั ยกรรมซอฟตแ์ วร์
จากภาพท่ี 4.1 แสดงสถาปัตยกรรมของระบบคำนวณแคลอร่สี ำหรับผ้ทู ม่ี ีภาวะน้ำหนักเกนิ บนมอื ถอื
มกี ลุม่ ผู้ใช้งานอยู่ 3 กลุม่ ซึง่ จะแสดงโครงสรา้ งการทำงานของระบบคำนวณแคลอรส่ี ำหรับผทู้ ่ีมีภาวะน้ำหนัก
เกินบนมือถือ
30
4.1.1 ออกแบบสถาปัตยกรรม (Architecture Design) แบบ library C
สถาปัตยกรรมที่ใชจ้ ะเปน็ ของ Firebase เปน็ ฐานข้อมูลเชิงสัมพนั ธท์ เี่ ขา้ กนั ได้กบั SQL ซึ่งจะ
ไม่เหมือนกับระบบที่ใช้ SQL อื่นๆ เช่น MySQL และ PostgreSQL เพราะ Firebase ไม่ได้ใช้สถาปัตยกรรม
แบบไคลเอนต-์ เซริ ์ฟเวอร์ โปรแกรมท้งั หมดมีอยใู่ นไลบรารี C ซ่ึงจะอยู่ฝงั่ เดียวกับแอปพลิเคชันซึ่งเป็นการเก็บ
ข้อมูลไวภ้ ายในแอพลเิ คชันนน้ั เอง
4.2 การออกแบบกระบวนการ
การออกแบบกระบวนการของระบบใหมจ่ ะใช้ลำดับขน้ั ตอนในการออกแบบของ Context Diagram
และ Data flow Diagram Level 0 เป็นแผนในการออกแบบ
4.2.1 แผนลำดับขน้ั ตอนกระบวนการ
จากการศึกษาและวเิ คราะห์ถึงความต้องการของผู้ใชง้ านระบบคำนวณแคลอรสี่ ำหรบั ผู้ที่มี
ภาวะน้ำหนกั เกนิ บนมือถือ สามารถวเิ คราะห์แผนกระบวนการโดยการใช้แผนลำดับขัน้ ตอนกระบวนการ
เพือ่ ให้สามารถเหน็ ภาพรวมต่างๆของระบบได้
ภาพท่ี 4.2 แผนผังลำดับขน้ั ตอนการกระบวนการ ระบบคำนวณแคลอรี่สำหรบั ผทู้ มี่ ภี าวะนำ้ หนกั เกินบนมอื ถอื
31
4.2.2 Context Diagram
แสดงการไหลของข้อมลู (Context Diagram) แสดงโครงสร้างของระบบคำนวณแคลอรี่
สำหรบั ผู้ท่มี ีภาวะน้ำหนกั เกนิ บนมือถือ ซ่งึ จะแบ่งการทำงานออกเปน็ สว่ นๆ ดังน้ี
4.2.2.1 ผู้ใชง้ าน
- กรอกข้อมูลสว่ นตัว เพศ อายุ สว่ นสงู
- สามารถกรอกขอ้ มูลอาหารทรี่ ับประทานในแต่ละวัน
- สามารถค้นหาเมนูและประเภทอาหารได้
- สามารถตง้ั เปา้ หมายในการควบคมุ น้ำหนักหรือแคลอรไี่ ด้
4.2.2.2 ระบบ
- สามารถคำนวณคา่ BMI ทรี่ ับคา่ มาจากการกรอกของผ้ใู ช้
- สามารถคำนวณคา่ แคลอรี่ได้
- สามารถเพ่ิมข้อมลู อาหารได้
ภาพท่ี 4.3 แสดงแผนภาพกรแสขอ้ มลู ระดับสงู สุด (Context Diagram) ระบบแอพลเิ คชนั คำนวณแคลอร่ี
สำหรบั ผู้ท่ีมภี าวะน้ำหนกั เกนิ บนมอื ถือ
32
จากแผนภาพบรบิ ทจะแสดงใหเ้ หน็ วา่ มีการแบง่ กลุ่มผใู้ ชง้ านเปน็ 2 กลมุ่ ผู้ใชท้ ัว่ ไปและผู้ใช้ท่ี
มภี าวะน้ำหนักเกิน ผูด้ แู ลระบบ ลูกค้าโดยกลุ่มผูใ้ ช้แตล่ ะกลุ่มจะมสี ทิ ธิ์ในการใชง้ านระบบทแี่ ตกต่าง
กนั ไป สามารถแบ่งไดด้ งั นี้
ก. ผู้ใชท้ ั่วไป
1) กรอกขอ้ มูลสว่ นตวั เพศ อายุ ส่วนสงู
2) กำหนดเปา้ หมายน้ำหนัก
3) แกไ้ ขข้อมลู สว่ นตัว
4) ค้นหา เลอื ก เพมิ่ ลบ รายการอาหาร
ข. ผู้ดแู ลระบบ
1) นำเขา้ ข้อมลู อาหาร
2) นำเขา้ ข้อมลู ขา่ วสาร
3) เรียกดรู ายละเอียดผใู้ ช้งาน
4) ทำการตรวจสอบความผดิ พลาดของระบบ
4.2.3 level1 Data Flow Diagram
Data Flow Diagram ประกอบด้วย 4 Process ดงั น้ี
4.2.3.1 เขา้ สรู่ ะบบ
ก. ผู้ใช้งานระบบจะต้องทำการเข้าระบบ โดยการใช้รหสั ผ่านท่ีได้จากการสมัคร
บญั ชี
ข. ผูใ้ ช้งานระบบทำการกรอกขอ้ มูลส่วนตัว โดยทำการกรอกข้อมูล อายุ น้ำหนัก
สว่ นสงู
4.2.3.2 การจัดการข้อมลู
ก. ผดู้ แู ลระบบสามารถทำการบันทึกและแก้ไขรายการอาหารได้
ข. ผดู้ แู ลระบบสามารถเพม่ิ ลด ขอ้ มลู ขา่ วสารได้
ค. ผดู้ ูแลระบบสามารถติดต่อสื่อสารกับผูใ้ ชง้ านระบบได้
4.2.3.3 คำนวณดัชนีมวลกาย
ก. ผูใ้ ช้งานต้องทำการกรอกข้อมูลส่วนตวั เพอื่ ทำการคำนวณค่าดัชนีมวลกาย BMI
เพื่อให้ทราบวา่ ตัวผ้ใู ชง้ านระบบอยู่ในเกณฑ์ใด
4.2.3.4 การออกแบบรายงาน
ก. ผู้ดแู ลระบบได้ทราบถงึ แนวโน้มท่นี ำ้ หนักของผู้ใช้งานระบบลดหรือเพิ่มมากน้อย
เพยี งใด
33
Data Flow Diagram Level 0
ภาพท่ี 4.4 Data Flow Diagram Level 0 ระบบแอปพลิเคชนั คำนวณแคลอร่ีสำหรบั ผทู้ ม่ี ภี าวะนำ้ หนกั เกินบนมือถอื
แผนภาพ Data Flow Diagram Level 0 ระบบแอปพลิเคชนั คำนวณแคลอรี่สำหรบั ผทู้ ่ีมภี าวะ
น้ำหนกั เกินบนมือถอื มีกระบวนการทำงานดังน้ี
ก. กระบวนการท่ี 1 เข้าสรู่ ะบบ
กระบวนการนเ้ี ปน็ กระบวนการเร่มิ ต้นการใชง้ าน เมือ่ ผ้ใู ช้งานระบบทำการสมัครสมาชกิ
เป็นท่ีเรียบร้อยแล้วเม่ือผใู้ ช้งานระบบใชง้ านครั้งถัดไป สามารถเขา้ ใชร้ ะบบไดเ้ ลย
ข. การจดั การข้อมูล
กระบวนการน้เี ป็นกระบวนการการจดั ข้อมูลต่างๆท้ังหมดทอ่ี ยูภ่ ายในแอปพลิเคชัน โดย
ผดู้ แู ลระบบสามารถเพมิ่ ลบ แกไ้ ขข้อมลู อาหาร ข่าวสารและแคลอรี่อาหาร ได้
ค. คำนวณดัชนีมวลกาย
กระบวนการนเ้ี ป็นกระบวนการในการคำนวณคา่ ดัชนมี วลกายเพ่ือเอามาเปรยี บเกณฑว์ า่
อยู่ในเกณฑร์ ะดับใด
ง. การออกรายงาน
34
กระบวนการน้เี ป็นกระบวนการจดั ทำรายงาน โดยจะมีรายงานการใช้งานแอพลิเคชนั ตอ่
ผดู้ ูแลระบบว่าผูใ้ ช้งานระบบใช้งานแอปพลิเคชนั แล้วมแี นวโน้มที่น้ำหนักลดหรือเพ่ิมมาก
นอ้ ยเพียงใด
Data Flow Diagram Level 1 Process 1 เข้าสรู่ ะบบ
ภาพที่ 4.5 Data Flow Diagram Level 1 กระบวนการท่ี 1
Data Flow Diagram Level 1 Process 2 การจดั การข้อมูล
ภาพท่ี 4.6 Data Flow Diagram Level 1 กระบวนการที่ 2
35
Data Flow Diagram Level 1 Process 3 การออกรายงาน
ภาพที่ 4.7 Data Flow Diagram Level 1 กระบวนการที่ 3
4.3 การออกแบบฐานขอ้ มลู
ใชก้ ารออกแบบฐานข้อมลู เชงิ สัมพันธ์ (Relational Database) ในการออกแบบระบบฐานข้อมลู การ
พฒั นาระบบเพ่ือจัดการข้อมูลให้ออกมาในรูปแบบของตาราง ซ่งึ จะจัดเก็บข้อมูลโดยใชฐ้ านขอ้ มูลภายในหรือ
SQLite ในการบันทึกและจัดเก็บข้อมลู ไว้ภายในเครื่องโดยไม่ต้องใช้เซิรฟ์ เวอรภ์ ายนอก เพ่ือการใชง้ านท่ี
สะดวกในขณะท่ีเคร่ืองของผใู้ ช้อยใู่ นสถานะไม่ไดเ้ ชือ่ มตอ่ อินเทอร์เนต็ หรือ สถานะ Offline
การออกแบบฐานข้อมลู เชิงสัมพันธ์ (Relation Database System) การจัดการข้อมลู ต่างๆใหอ้ ย่ใู น
รปู ตารางฐานขอ้ มลู ดงั นี้