The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Larpluck Boonyakom, 2021-08-23 04:38:08

ArtExhibition_2021_E-book

ArtExhibition_2021_E-book

"ระลึกศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี"

สารจากคณบดีคณะศิลปวจิ ิตร

คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เป็นสถาบันการศึกษาด้านทัศนศิลป์และการออกแบบ เปิดสอนหลักสูตรศิลปบัณฑิตสาขาวิชาทัศนศิลป์ท้ังในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท
และหลกั สูตรศิลปบณั ฑติ สาขาวชิ าออกแบบตกแตง่ ภายใน มคี วามพรอ้ มและทนั สมยั ทงั้ ทางดา้ นกายภาพ ส่ิงสนบั สนนุ การเรยี นรู้ เทคโนโลยสี ารสนเทศและนวตั กรรมการศึกษา ท�ำ การสอนโดยคณาจารย์
และผู้ทรงคุณวุฒทิ ่ีมคี วามรู้ความเช่ียวชาญและมีช่อื เสียงในระดับชาตแิ ละนานาชาติ มีสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปน็ บรรยากาศทางศิลปะทเ่ี อ้ือตอ่ การเรยี นรู้ ตลอดจนมีความร่วมมือทางวิชาการกบั หน่วยงาน
และองคก์ รต่างๆในการพัฒนานักศึกษาให้มคี ณุ ภาพ
คณะศิลปวิจิตรมุ่งให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาคุณภาพเชิงวิชาการและทักษะเฉพาะด้านวิชาชีพท่ีเหมาะสมและตรงตามความต้องการ เพ่ือสร้างความพร้อม
แก่ผู้สำ�เร็จการศึกษาในการประกอบอาชีพและดำ�รงชีวิตในสังคมได้ สามารถนำ�ความรู้ความสามารถทางศิลปะไปประยุกต์ใช้ให้เกิดคุณค่าต่อตนเอง สังคมและประเทศชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ในด้านการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะและการนำ�ศิลปะสู่การดำ�รงชีวิต
การแสดงผลงานศิลปกรรมของคณาจารย์เป็นการเผยแพร่ผลงานการสร้างสรรค์ศิลปะท่ีสร้างความเช่ือมโยงระหว่างศิลปะกับสังคม ท่ีจะทำ�ให้นักศึกษาและสาธารณชนเกิดความเข้าใจ
ในคุณค่าของศิลปะต่อการดำ�รงชีวิตในทุกๆด้านท่ีจะนำ�ไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีมีสุนทรีย์และมีความสุขอย่างแท้จริง ซ่ึงคณะศิ ลปวิจิตรได้มีการดำ�เนินการจัดแสดงผลงานศิ ลปกรรม
ของคณาจารย์มาอย่างต่อเน่ื องเป็ นประจำ�ทุกปี
ในปี 2564 น้ี คณะศิลปวิจิตรได้นำ�เสนอผลงานของคณาจารย์ท่ีมีแนวคิดและแรงบันดาลใจจากความรำ�ลึกถึงคุณความดีของท่านศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ผู้วางรากฐานการศึกษา
และการสรา้ งสรรคศ์ ิลปะร่วมสมัยในประเทศไทยและพัฒนาจนมีความเจรญิ ก้าวหนา้ มาจนถงึ ปัจจุบัน โดยจดั แสดงผลงานในชว่ งเดือนกนั ยายน 2564 นี้ ณ หอศิลป์วงั หนา้ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เพ่ือเปน็ การร�ำ ลกึ ถงึ ในโอกาสคล้ายวนั เกดิ ทา่ นศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี โดยมีวัตถุประสงค์สำ�คัญในการเผยแพร่คุณความดีของปูชนียบุคคลและแสดงให้เห็น
คุณค่าแห่งศิลปะท่ีมีต่อมวลมนุษย์ให้ประชาชนได้รับรู้และเรียนรู้ควบคู่กันไปด้วย

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ชยากร เรืองจำ�รูญ
3

ศิลปินรบั เชญิ

ชือ่ ผลงาน : แสมสาร ชลบรุ ี
เทคนคิ : สีน้ำ�
ขนาด : 50 x 70 cm.

อาจารย์กมล สุ วุฒโฑ 4
Mr. Kamol Suwuttho

ทปี่ รกึ ษาสถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์

การศกึ ษา : ศลิ ปมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 2522

อาจารยส์ มศกั ดิ์ เชาวนธ์ าดาพงศ์ ช่ือผลงาน : colourscape
Mr. Somsak Chowtadapong เทคนิค : สี pastel บนกระดาษ
ขนาด : 76 x 56 cm.
[email protected]
Somsak Chowtadapong 5

การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑิต (จิตรกรรม) คณะจติ รกรรมฯ มหาวิทยาลยั ศิลปากร 2522

ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ ปรญิ ญา ตนั ตสิ ขุ
Prof. Em. Parinya Tantisuk

[email protected]

parinya

การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑติ (จิตรกรรม) มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ชื่อผลงาน : ตรงนีต้ อ้ งระวัง Point of Concern
เทคนคิ : สีอะคริลคิ ทองคำ�เปลวบนผ้าใบ acrylic and goldleaf on canvas
แนวความคดิ ขนาด : 90 x 70 cm.
"ศิลปะไมไ่ ดส้ อนใหว้ าดรปู เปน็ แตส่ อนใหร้ ูจ้ กั การใชช้ ีวติ ”
“ตรงน้ีต้องระวัง” เปน็ ช่อื จติ รกรรมชิน้ น้ี การท�ำ งานศิลปะทำ�ใหเ้ กดิ การพิจารณา 6
เกีย่ วกับชีวิตวา่ เปน็ เช่นใด งานชิ้นนน้ี �ำ เสนอการใชช้ ีวิตหรือการดำ�เนนิ ชวี ติ ทีพ่ ึงระวงั

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยอ์ �ำ นวย นวลอนงค์
Asst. Prof. Amnuay Nualanong

[email protected]

การศึกษา : เทคโนโลยเี ซรามิกส์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฎพระนคร ชอื่ ผลงาน : ทว่ งท่า
เทคนิค : เครื่องป้ันดนิ เผาเนอ้ื ดินผสมกระดาษ
แนวความคิด ขนาด : 26 x 27 x 27 cm.
“ทว่ งทา่ ” เปน็ การถา่ ยทอดอารมณ์ ความร้สู ึกผอ่ นคลาย โล่งเบาสบาย มีความสุข

7

อาจารยว์ ศิ ษิ ฐ พมิ พมิ ล
Mr. Wisit Pimpimon

[email protected]

Wisit Pimpimon

การศึกษา : ศิลปกรรมศาสตร์มหาบณั ฑติ (ทัศนศิลป์และการออกแบบ) มหาวทิ ยาลัยบรู พา
ศิลปบณั ฑติ (จิตรกรรม) มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

แนวความคดิ

ภาพการทำ�งานของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ในบรรยากาศห้องทำ�งาน เคร่ืองพิมพ์ดีด และ

แสงที่ส่องมาชัดเจนจากด้านหลัง สร้างความรู้สึกประทับใจกับผมเป็นอย่างมาก อาจารย์ศิลป์

เปน็ ผบู้ กุ เบกิ งานศิลปะสมัยใหม่ของไทย ทง้ั มคี วามเขา้ ใจรากเหงา้ ศลิ ปะของไทยอยา่ งดี ทา่ นแนะน�ำ

ใหล้ กู ศษิ ยล์ กู หาสมยั นนั้ ไดต้ อ่ ยอดจากความเปน็ ไทย มาสงู่ านศลิ ปะสมยั ใหม่ และกอ่ ใหเ้ กดิ คณุ ปู การ ชือ่ ผลงาน : “ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี แสงแหง่ ศิลปะของไทย”
อยา่ งมากมายแกว่ งการศลิ ปะไทยมาจนทกุ วนั น้ี ทา่ นจงึ ถอื เปน็ “แสงสวา่ ง” ทส่ี อ่ งทางใหก้ บั ศลิ ปะรว่ ม เทคนคิ : สีนำ้�มัน (Impasto)

สมยั ของไทยเรา ขนาด : 60 x 50 ซม.

8

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยโ์ กเมศ คนั ธกิ
Asst. Prof. Komes Kuntig

[email protected]

Komes Kuntig

การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑิต (ทัศนศิลป์และการออกแบบ) มหาวทิ ยาลัยบูรพา 2556 ชื่อผลงาน : ต่างแดน

แนวความคิด เทคนิค : เครอื่ งเคลือบดนิ เผา (เตาฟนื )
ตัวตนของเราเปน็ สิ่งทเ่ี กดิ จากความรนุ แรง และขัดแย้งทีเ่ ขา้ มาในชวี ิต
ซ่ึงหลอ่ หลอมให้เราเปน็ เราอยา่ งทกุ วันนี้ “ระลึกถึงศาสตราจารยศ์ ิลป์ พีระศร”ี ขนาด : 65 x 35 cm. , 75 x 45 cm.

9

อาจารยช์ เู กยี รติ สทุ นิ
Mr. Chukiat Sutin

[email protected]

Chukiat Sutin

การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าทัศนศิลป์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ชื่อผลงาน : Echo from Within
ศิลปบณั ฑติ วชิ าเอกศิลปะไทย คณะจิตรกรรม ประตมิ ากรรมและภาพพิมพ์ เทคนคิ : mixed media
มหาวิทยาลัยศิลปากร ขนาด : 60 x 80 cm.

แนวความคิด 10
อาจารย์ศิลป์ พีระศรี เปน็ แรงบนั ดาลใจทางด้านความงาม ความจริง ความดี

อาจารยล์ าภ อ�ำ ไพรตั น์
Mr. Larp Ampairat

[email protected]

ลัด อมั ภัยราบ

การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑติ คณะศิลปวิจติ ร สาขาทศั นศิลป์ สถาบันบัณฑติ พัฒนศิลป์ ชอื่ ผลงาน : ศาสตราจารยศ์ ิลป พีระศรี
ศิลปบณั ฑิต คณะจิตรกรรม เพาะช่าง เทคนิค : วาดเส้นบนกระดาษ
ขนาด : 36 x 26 cm.
แนวความคดิ
ข้าพเจ้ารู้สึกช่ืนชมและศรัทธาท่านศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี ผู้วางรากฐานหลักวิชาการให้กับ
วงการศิลปะเมืองไทย จึงถ่ายทอดความรู้สึกศรัทธาดังกล่าวออกมาในรูปแบบของผลงานศิลปะ
ท่ีข้าพเจ้าถนัด

11

ผู้บริหาร

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยช์ ยากร เรอื งจ�ำ รญู
Asst. Prof. Chayakorn Ruengchamroon

[email protected]

ชยากร เรอื งจ�ำ รูญ

การศึกษา : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต การจดั การออกแบบภายใน มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ 12 ช่ือผลงาน : ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
เทคนิค : ปากกาเคมี
แนวความคิด ขนาด : 60 x 40 cm.
เป็ นงานศิ ลปะแบบลายเส้ น โดยใช้เส้ นปากกาเขียนลักษณะโครงร่าง (OUTLINE)
ศาสตราจารย์ศิ ลป์ พี ระศรี เพ่ื อเป็นการรำ�ลึกถึงอาจารย์ผู้ที่เป็นบุคคลสำ �คัญในการสร้าง
คุณูปการทางด้านศิ ลปะให้กับประเทศไทย

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยน์ รนิ ทร์ อว้ นด�ำ
Asst. Prof. Narin Ouandam

[email protected]

Narin Ouandam

การศึกษา : สถาปัตยกรรมมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ช่อื ผลงาน : อาจารยศ์ ิลปผ์ ู้วางรากฐานศิลปะ
เทคนคิ : โปรแกรม Autocad2007 ปร้นิ ท์บนกระดาษ 100 ปอนด์
แนวความคดิ ขนาด : 64 x 56 cm.
“ศาสตราจารยศ์ ลิ ป์ พรี ะศร”ี ผเู้ ปรยี บเสมอื นบดิ าของวงการศลิ ปะและการออกแบบของมหาวทิ ยาลยั
ศลิ ปากรรวมถงึ สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ ทง้ั ในดา้ นการสอน การวจิ ยั การเผยแพรแ่ ละท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ป 13
วฒั นธรรมรวมถงึ เปน็ ผวู้ างรากฐานการศกึ ษาศลิ ปะของไทยมาจนถงึ ทกุ วนั นี้

อาจารยว์ สิ ทุ ธิ์ ยมิ้ ประเสรฐิ ชื่อผลงาน : ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
Mr.Wisut Yimprasert เทคนิค : เทคนคิ ผสม
ขนาด : 25 X 15 ซม.
[email protected]
WISUT YIMPRASERT 14

การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑติ ประตมิ ากรรม คณะจิตรกรรมฯ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
แนวความคิด
“Ars Longa Vita Brevis”

อาจารยภ์ ทั รพร เลย่ี นพานชิ ช่ือผลงาน : Stillife not true not wrong 2021
Mr.Phattaraporn Leanpanit เทคนิค : watercolor
ขนาด : 38 X 56 ซม.
[email protected]
การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑิต ทัศนศิลป์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั
phattaraporn Leanpanit
แนวความคดิ
Phattaraa "ถา้ นายรกั ฉนั ขอใหน้ ายท�ำ งาน" เปน็ ประโยคทขี่ า้ พเจา้ จดจ�ำ และน�ำ มาปฏบิ ตั สิ รา้ งสรรคง์ านตลอดเวลา
ในการสรา้ งสรรคง์ านทเี่ ปน็ เอกลกั ษณ์ เฉพาะตัวทั้งทางเทคนิค และความรู้สึกที่ถ่ายทอดออกมา
ซ่งึ ทไ่ี มม่ ถี กู ไมม่ ผี ดิ ถา้ หากเราเขา้ ใจและน�ำ มาปฏบิ ตั ิ ตามความรู้สึกในการสร้างสรรค์ ไม่ลองผิด
ก็ไม่รู้ถูกเป็นเช่นไร ดงั ภาชนะทต่ี ง้ั อยหู่ รอื ลม้ ลง ไมร่ สู้ งิ่ ทม่ี า ไมร่ สู้ งิ่ ทอี่ ยขู่ า้ งใน หากเราไมเ่ พง่ พจิ ารณา
จะไมเ่ หน็ ความจรงิ ทเี่ ปน็ นริ นั ดร์

15

อาจารยป์ ระจ�ำ หลักสตู รปริญญาโท

รองศาสตราจารย์ศุภชยั สุกขีโชติ
Assoc. Prof. Supachai Sukkeechote

[email protected]

Supachai Sukkeechote

การศกึ ษา : ศลิ ปมหาบณั ฑติ (จติ รกรรม) คณะจติ รกรรมประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 16 ชอ่ื ผลงาน : "คอรร์ าโด เฟโรชี (Corrado Feroci)"
เทคนิค : สีนำ�้ บนกระดาษ
แนวความคดิ ขนาด : 54 x 39 cm.
"คอรร์ าโด เฟโรชี (Corrado Feroci)"
“พวกเธอตอ้ งเรยี นรคู้ วามเปน็ มนษุ ยก์ อ่ น...แลว้ จงึ เรยี นศลิ ปะ” อาจารยศ์ ลิ ป์ไดก้ ลา่ วกบั นกั เรยี นศลิ ปะ
เขา้ เรยี นทศ่ี ลิ ปากรในวนั แรก แมท้ า่ นมไิ ดอ้ ธบิ ายความเปน็ มนษุ ย์ หากแตพ่ วกเราสามารถเรยี นรไู้ ดจ้ าก
แนวทางการด�ำ เนนิ ชวี ติ และการปฏบิ ตั ติ นของทา่ นทเ่ี ปน็ ไปอยา่ งสมถะเรยี บงา่ ย อนนั ต์ ปาณนิ ท์ ผเู้ ลา่

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เมตตา สวุ รรณศร
Asst. Prof. Dr. Metta Suwanasorn

[email protected]

Metta Da te Glumglin

การศกึ ษา : ปรชั ญาดษุ ฏบี ณั ฑติ สาขาทศั นศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

แนวความคิด

สรา้ งสรรคผ์ ลงานประตมิ ากรรมนมุ่ สอ่ื ผสมดว้ ยเทคนคิ การปะตดิ ผา้ Appliqué ทไี่ ดร้ บั แรงบนั ดาลใจมาจาก

ผลงานวาดภาพของเดก็ ออทสิ ตกิ คอื การผสานผลงานศลิ ปะของเดก็ ออทสิ ตกิ กบั งานหตั ถกรรมการปะตดิ ผา้ ชอ่ื ผลงาน : หมีของดาเต้
เทคนิค : ประตมิ ากรรมนมุ่ ส่ือผสมการปะติดผา้ ดว้ ยเทคนคิ Appliqué
ดว้ ยเทคนคิ Appliqué เกดิ เปน็ ผลงานสรา้ งสรรคท์ ม่ี เี อกลกั ษณเ์ ฉพาะตนและสามารถแสดงออกใหส้ งั คมเหน็ ขนาด : 50 X 60 cm.

ความสามารถของเดก็ ออทสิ ตกิ ดา้ นศลิ ปะได้

17

คณาจารย์วิชาเอกศิลปไทย

อาจารย์หน่งึ ฤทัย ย้มิ ประเสรฐิ
Ms. Neungruthai Yimprasert

[email protected]
Neungruthai Puekpean
neungruthai_sagoontala

การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑิต บณั ฑิตวิททยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ชื่อผลงาน : “Reverential”
เทคนคิ : mixed technique
แนวความคดิ ขนาด : 80 x 53 cm.
แนวคิดในการผสมผสานกันระหว่างศิลปกรรมแบบประเพณีของซีกโลกตะวันออกและตะวัน
ตกในประเทศไทย ได้ถือก�ำ เนิดข้ึนโดยอาจารยฝ์ รั่งชาวอิตาลี บดิ าแห่งวงการศิลปะสมยั ใหม่ของ
ประเทศไทย.. “ดว้ ยความเคารพ”

18

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยเ์ ดน่ หวานจรงิ
Asst. Prof. Den Warnjing

[email protected]

Den Warnjing

การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑิต (ศิลปไทย) คณะจติ รกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ ชือ่ ผลงาน : Prof. Corrado Feroci
มหาวทิ ยาลยั ศิลปากรมหาวทิ ยาลัยศิลปากร เทคนคิ : สีนำ�้ มันบนผ้าใบ
ขนาด : 80 x 60 cm.
แนวความคิด
ในอดีตน้ันการสร้างสรรค์ศิ ลปกรรมของไทย มีลักษณะรูปแบบศิ ลปะประเพณี
ที่วิวัฒนาการจากศิ ลปะแบบอุดมคตินิยม และปฏิบัติสื บทอดกันมาหลายยุคหลายสมัย
ในปี พ.ศ.2466 รัฐบาลไทยได้มีความประสงค์จะหาช่างป้ั นจากประเทศตะวันตก
ศาสตราจารย์ศิ ลป์ พี ระศรี ประติมากรชาวอิตาล่ี ได้เข้ามารับราชการและฝึกฝนให้คนไทย
ได้มีความสามารถทางด้านศิ ลปะแบบตะวันตก เม่ือวันที่ 14 มกราคม พ.ศ.2466
ต่อมารัฐบาลได้เห็นความสำ �คัญในการสร้างความเจริญก้าวหน้าจึงได้จัดตั้ ง
โรงเรียนประณีตศิ ลปกรรมข้ึน ในปี พ.ศ. 2476 และภายหลังต่อมายกระดับการจัดการ
ศึ กษาเป็นมหาวิทยาลัยศิ ลปากร
ศาสตราจารย์ศิ ลป์ พี ระศรี ได้นำ�วิธีการศึ กษาศิ ลปะแบบอะเคเดมี จากประเทศ
ตะวันตก ได้แก่การสอนให้ศึกษาจากธรรมชาติ และศึกษาทฤษฏีพ้ื นฐานศิลปะ การสอนให้
รู้ถึงคุณค่าของศิลปะ ท่านได้วางหลักสูตรการสอนในลักษณะการผสานศิลปะแบบตะวันตก
กับการศึกษาคุณค่าความงาม เอกลักษณะเฉพาะจากศิลปะไทยแบบประเพณี จนทำ�ให้เกิด
การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะสมัยใหม่ที่มีลักษณะไทย ข้ึนในประเทศไทยและต่อมาได้พัฒนา
เป็นศิลปะร่วมสมัยในปั จจุบัน

19

คณาจารยว์ ิชาเอกจติ รกรรม

อาจารยบ์ ญุ ฤทธ ์ิ พูนพนชิ
Mr. Boonyarit Poonpanit

[email protected]
บญุ ฤทธ์ิ พูนพนชิ (Boonyarit Poonpanit)
Herqry

การศกึ ษา : ศลิ ปมหาบณั ฑติ (ทศั นศลิ ป)์ คณะจติ รกรรมประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร, 2558 ชอื่ ผลงาน : ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี 2564
เทคนิค : สีอะครลี กิ บนผ้าใบ
แนวความคดิ ขนาด : 40 x 30 cm.
ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เดิมช่ือ คอร์ราโด เฟโรชี (Corrado Feroci) ได้รับการยกย่องว่าเป็น
บิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทย และเป็นผู้วางรากฐานมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยได้สร้างสรรค์
ผลงานประติมากรรมไว้อย่างมากมาย รวมถึงการผลิตศิ ลปิ น ครู อาจารย์ บุคลากรต่างๆ
สร้างสรรค์ให้กับวงการศิ ลปะร่วมสมัยใหม่ของประเทศไทย

20

ช่ือผลงาน : ME & WE
เทคนคิ : สื่อผสม
ขนาด : 200 x 200 x 150 cm.

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยด์ วงหทยั พงศป์ ระสทิ ธ์ิ การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑิต (จติ รกรรม) มหาวิทยาลยั ศิลปากร
Asst. Prof. Dounghatai Pongprasit
แนวความคิด
[email protected] ผู้สร้างสรรค์ต้องการสะท้อนมุมมองผ่านบรรยากาศของสั งคม วิถีชีวิต ของสังคมออนไลน์
Dounghatai Pongprasit โลกท่ีผสมผสานความจริง ความไมจ่ รงิ โดยการสรา้ งสรรคผ์ ลงานโดยใชแ้ สง สี เสียง และวดี ที ศั น์
เขา้ มาประกอบการน�ำ เสนอผลงานรปู แบบ ศิลปะการจัดวางและส่ือผสม โดยใช้สุนทรียภาพในการ
21 แสดงออกของศิลปะ ให้ผู้คนเกิดประสบการณ์สุนทรที ่ีให้ตัง้ ค�ำ ถามหรอื ฉกุ คิดตอ่ การตกอย่ภู ายใต้
อิทธพิ ลของสังคมออนไลน์ ยอ้ นทวนถงึ การด�ำ เนนิ ชวี ติ ทมี่ คี ณุ คา่ และเหน็ ถงึ ความสขุ ทแ่ี ทจ้ รงิ

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยส์ ทุ ธาสนิ ยี ์ สวุ ฒุ โฑ
Asst. Prof. Sutthasinee Suwuttho

[email protected]

Sutthasinee Suwuttho

Sutthasinee_Suwuttho

การศกึ ษา : ศลิ ปมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าจติ รกรรม คณะจติ รกรรมประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ชือ่ ผลงาน : Love in a Box
เทคนิค : ผสม
แนวความคิด ขนาด : 90 x 70 cm.
งานสรา้ งสรรค์ชน้ิ น้เี กิดจากการน�ำ เอาภาพวาดของลกู ชายวยั 6 ขวบ มาวาดภาพต่อเติมจินตนาการ
และเร่ืองราวท่ีสะทอ้ นสภาวะความสุข ความรัก ความห่วงใย และผกู พันของขา้ พเจ้าท่ีมีตอ่ ลกู

22

อาจารยก์ ติ ติ บญุ มี ชอื่ ผลงาน : อาจารย์ศิลป์ พีระศรี
Mr. Kitti Boonmee เทคนคิ : Drawing-watercolor on Arches paper 300g
ขนาด : 76 x 56 cm.
[email protected]
กิตติ บุญมี 23

การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต สาขาจติ รกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
แนวความคดิ
ผลงานวาดเส้นภาพเหมอื นสรา้ งสรรค์ แรงบนั ดาลใจจากศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี

อาจารยณ์ นั ธา สดชน่ื ชื่อผลงาน : นกกนิ ปลี
Ms. Nunta Sodchuen เทคนิค : สีน้�ำ บนกระดาษ
ขนาด : 29 x 42 cm.
[email protected]
การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑติ สาขาทศั นศิลป์ (จิตรกรรม) สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้า
Nunta Sodchuen คุณทหารลาดกระบงั

24

อาจารยว์ สิ ตู ร แสงศริ ิ ชื่อผลงาน : Silpa Bhirasri
Mr. Wisud Sangsiri เทคนคิ : Custom paint
ขนาด : 50 x 30 cm.
[email protected]
Wisud sangsiri 25
Got_WS

การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าทัศนศิลป์ สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศิลป์

คณาจารย์วิชาเอกประตมิ ากรรม

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยจ์ รี ะชน บญุ มาก
Asst. Prof. Jerachon Boonmak

[email protected]

จีระชน บญุ มาก

การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑิต บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร คณะจิตรกรรม ชือ่ ผลงาน : space in the shadows 2563
สาขาวชิ าประตมิ ากรรม ปี 2547 เทคนิค : Crayon
ขนาด : 60 x 80 cm.
แนวความคิด
ความงามของรูปทรงทีเ่ กดิ จากระนาบของเงา

26

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยบ์ ญุ พาด ฆงั คะมะโน ช่ือผลงาน : ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
Asst. Prof. Boonpard Cangkamano เทคนิค : Stiacciato Bas Relief หลอ่ ปูนปลาสเตอร์
ขนาด : เส้นผ่าศูนย์กลาง 50 เซนติเมตร
[email protected]

การศกึ ษา : Diploma (Sculpture) Shinshu University, Nagano, Japan : ปี 2545
ศลิ ปมหาบณั ฑติ (ประตมิ ากรรม) คณะจติ รกรรมประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร : ปี 2543

27

อาจารย์ไพยนั ต์ บรรจงเกลย้ี ง
Mr. Paiyan Banjongklieng

Paiyan Banjongklieng

การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะจิตรกรรม สาขาวิชา ชอ่ื ผลงาน : ศิลป พีระศรี
ประติมากรรม ปี 2544 เทคนิค : หินอ่อน White Carrara, Italy
ขนาด : 29 x 27 x 53 cm.
แนวความคิด
ระลึกถงึ อาจารย์ ผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรมู้ ากมายรวมถงึ อาจารย์สนัน่ ศิลากร ผปู้ ้ันตน้ แบบ
รปู ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี จนนำ�มาซ่ึงเปน็ ต้นแบบสำ�หรบั แกะสลกั หนิ ออ่ นชิ้นนเ้ี พ่ือศึกษาและ
ถ่ายทอดวชิ าแดน่ กั ศึกษาและผู้สนใจ

28

คณาจารยว์ ิชาเอกภาพพิมพ์

อาจารยป์ รานต ์ ชาญโลหะ ชอื่ ผลงาน : “Thinking”
Mr. Pran Chanloha เทคนิค : Photocopy Transfer, Collage
ขนาด : 40 x 50 cm.
[email protected]
การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑติ ภาพพิมพ์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร
Pran Ch ศิลปบณั ฑิต ภาพพิมพ์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร
แนวความคิด
pran_chanloha รำ�ลกึ 129 ปี อาจารยศ์ ิลป์

29

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยม์ นิ ทรล์ ดา จกั รชยั อนนั ท์
Asst. Prof. Mintlada Jakchaianan

[email protected]

การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ชือ่ ผลงาน : Impression of Phra Maha Chedi No.8
เทคนคิ : Screen print
แนวความคิด ขนาด : 76 x 58 cm.
สร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะถ่ายทอดความประทับใจในความงดงามขององค์พระมหาเจดีย์สี่ รัชกาล
ประดิษฐาน ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ท่ีเป็นสัญลักษณ์ของความเช่ือ ความศรัทธา และ
เป็นศูนย์รวมแห่งคุณความดี

30

อาจารยพ์ ทิ วลั สวุ ภาพ
Ms. Pittawan Suwapab

[email protected]

pittawan.su

การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑิต (ทัศนศิลป์) คณะวจิ ติ รศิลป์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ชอ่ื ผลงาน : พรงุ่ นกี้ ็สายเสียแล้ว
เทคนิค : ภาพพิมพ์บนกระดาษสา
แนวความคิด ขนาด : 60 x 40 cm.
“พรุง่ นก้ี ส็ ายเสียแลว้ ” ค�ำ วา่ พรุ่งนคี้ อื ส่ิงทไี่ มส่ ามารถมองเห็น จบั ต้องได้ จงทำ�ตงั้ แตว่ ันน้เี สียเวลา
ให้กับวนั เวลา

31

อาจารยธ์ รี านนท์ จกั รชยั อนนั ท์ ชื่อผลงาน : Visible sound No.2
Mr. Thiranon Jakchaianan เทคนคิ : Screen print
ขนาด : 90 x 70 cm.
[email protected]
Jak chaianan 32

การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

คณาจารย์วชิ าเอกเครอื่ งเคลือบดินเผา

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยส์ พุ รรณกิ าร์ ตริ ณปรญิ ญ์
Asst. Prof. Supannikar Tiranaparin

[email protected]

การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑติ (การออกแบบเครอ่ื งประดบั ) คณะมณั ฑนศิลป์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

แนวความคิด ชอ่ื ผลงาน : 129 Silpa Bhirasri
การเดนิ ทาง...ของเหลา่ ชาวศลิ ป์...ทจ่ี ติ มงุ่ หมาย...มอบมวลดอกไม.้ ..แดท่ า่ นอาจารย.์ ..ดว้ ยความระลกึ ถงึ ... เทคนิค : Ceramics, Wheel throwing, Underglaze painting, 1200 oC

ศาสตราจารยศ์ ลิ ป์ พรี ะศร.ี ..ครบรอบ 129 ปี ขนาด : 26 x 26 x 2 cm.

33

คณาจารย์วิชาเอกออกแบบตกแตง่ ภายใน

อาจารยช์ นสั คงหริ ญั ชื่อผลงาน : RENDER 2
Mr. Chanut Khonghiran เทคนคิ : คอมพิวเตอร์กราฟฟกิ
ขนาด : 60 x 80 cm.
[email protected]
การศึกษา : สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพ
Chanut Khonghiran
แนวความคดิ
การสรา้ งสรรคผ์ ลงานบนพน้ื ฐานความตอ้ งการของผใู้ ชง้ าน ผสมผสานกบั องคค์ วามรทู้ างดา้ นทศั นศลิ ป์
กายรยศาสตร์ วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ เพ่ือสร้างผลงานออกแบบท่ีตอบสนองต่อ
สุนทรียศาสตร์และความต้องการในการใช้งาน โดยนำ�เสนอภาพการออกแบบห้องพั กผู้ป่ วย
ในโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ ศรีบุรินทร์ จังหวัดเชียงราย ท่ีผู้สร้างสรรค์เป็นผู้ออกแบบและ
ก่อสร้างจริง เพอ่ื แสดงภาพรวมในการสรา้ งสรรคก์ ารออกแบบภายในหอ้ งพกั ผปู้ ว่ ยทงั้ หมดของโครงการ

34

อาจารยป์ ฏกิ าร เลก็ อทุ ยั ชอื่ ผลงาน : พระทน่ี งั่ เวหาศจ�ำ รญู ,
Mr. Patikarn Lek-utait แบบทางสถาปัตยกรรมประกอบ
บทความ
[email protected] เทคนคิ : พกู่ นั และหมกึ จนี บนกระดาษ
ขนาด : 50 x 70 cm.
Chez Ptaklek
การศึกษา : ประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรม มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
ptaklek
แนวความคดิ
สถาปั ตยกรรมแบบจีนท่ีปรากฏในพระที่นั่งเวหาศจำ�รูญ เป็นรูปแบบพิเศษท่ีได้รับการยกย่อง
จากผู้ท่ีได้เคยพบเห็นว่ามีความพิเศษ แต่รูปแบบท่ีได้ถูกอธิบายมาน้ัน เป็นการขยายความจาก
องค์ประกอบทางสถาปั ตยกรรม ซ่ึงในบทความช้ินนี้จะอธิบายบนขอบเขตของระเบียบวิจัยทาง
ประวัติศาสตร์ทางสถาปั ตยกรรม

35

บุคลากรคณะศลิ ปวิจิตร

อาจารยก์ มลรส ชยั ศรี
Ms. Kamonros Chaisri

[email protected]

Giveme Kamonros

givemetofly

การศึกษา : ศิลปบณั ฑติ (สาขาจติ รกรรม) คณะศิลปวจิ ิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ชือ่ ผลงาน : รำ�ลึกถงึ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
เทคนิค : สีน�้ำ บนกระดาษ ภาพถา่ ยปริ้นเตอร์ (watercolor on paper photo printer)
แนวความคดิ ขนาด : 29.7 x 21 cm.
เป็นผลงานที่รำ�ลึกถึงศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ผู้ให้ความรู้วางรากฐานท่ีเข้มแข็งให้กับวงการ
ศิลปะของไทยอย่างแท้จริง ทำ�ให้ผู้สร้างสรรค์ได้รับแรงบันดาลใจในการสร้างผลงานศิลปะจาก 36
แนวคิดของศาสตราจารย์ศิลป์ พี ระศรี โดยนำ�ต้นไม้ (ต้นบอน) ท่ีมารดาของผู้สร้างสรรค์ปลูก
ด้วยความรัก ความเอาใจใส่ ของผู้เป็นแม่ นำ�มาสร้างสรรค์ผลงานร่วมกัน

อาจารยศ์ ศธิ ร หตั ถกจิ
Ms. Sasithorn Hattakit

[email protected]

Sasi Hattakit

การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑติ (ทศั นศิลปศึกษา) มหาวิทยาลยั ศิลปากร ชื่อผลงาน : Silpa Bhirasri
เทคนิค : Drawing by my son and me.
แนวความคิด ขนาด : 29.7 x 21 cm.
ผลงานสร้างสรรคร์ ะหวา่ งลูกชายของข้าพเจ้า และตัวข้าพเจ้าเอง ผ่านวธิ กี ารวาดเส้นของลกู ตาม
จนิ ตนาการของเด็กชายวัย 2 ขวบคร่งึ ผสมผสานกับลายเส้นของแมใ่ ห้เกดิ การทบั ซ้อนตามรูปทรง
Portrait ของอาจารยศ์ ิลป์ พีระศรี ตามแบบเฉพาะของขา้ พเจา้

37

อาจารยธ์ นาภรณ์ โพธเ์ิ พชร
Ms. Thanaporn Phophet

[email protected]
Thanaporn Phophet

การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑติ (ทัศนศิลปศึกษา) มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ชือ่ ผลงาน : รอคอย 2021 (await 2021)
เทคนิค : Photo media
แนวความคดิ ขนาด : 45 x 22 cm.
ผู้สร้างสรรค์ต้องการส่ืออารมณค์ วามร้สู ึกทเ่ี กดิ จากการสูญเสีย ทีซ่ ่อนอยู่ภายใตจ้ ติ ใจ โดยการใช้
สัญลกั ษณ์ของดอกไม้กบั โทนสีขาวดำ� ซ่งึ แทนค่าความร้สู ึกของการโหยหาสิ่งที่จากไป

38

อาจารยก์ ติ ตพิ งษ์ ทมุ กง่ิ
Mr. Kittipong Toomking

[email protected]
โก๋ พู่กันไม้

การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทศั นศิลป์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ช่ือผลงาน : สัจจะ สังขาร
เทคนคิ : แกะสลกั อิฐมวลเบา
แนวความคิด ขนาด : 60 x 40 cm.
ผลงานอันแสดงถึงซ่ึงความจริงแท้แห่งชีวิต ว่าชีวิตนั้นไม่จีรัง แต่ส่ิงต่างๆอันเป็นความดีงาม
สร้างสรรค์นั้นจะคงอยู่ได้ยืนยาว ดังคำ�สอนของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ที่ว่า"ศิลปะยืนยาว
ชีวิตสั้ น"

39

อาจารยส์ กั ชาติ ศรสี ขุ
Mr. Sakachart Srisuk

[email protected]

การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าทัศนศิลป์ สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศิลป์ ช่ือผลงาน : “สัมมาสต ิ สัมมาสมาธิ”
เทคนคิ : สีน�ำ้ และเส้นปากกา บนกระดาษ
แนวความคดิ ขนาด : 39 X 27 cm.
“สัมมาสติ สัมมาสมาธ”ิ
หลกั แนวคดิ ทศั นวลขี อง ศาสตราจารยศ์ ิลป์ พีระศรี “พวกเธอตอ้ งเรยี นรคู้ วามเปน็ มนษุ ย์
กอ่ น...แลว้ จงึ เรยี นศิลปะ” ทเี่ ปน็ แรงดาลใจในการสรา้ งสรรค์ สะทอ้ นนยั ยะแหง่ การด�ำ เนนิ ชวี ติ วถิ ี
ไมใ่ ชเ่ พียงการสรา้ งศิลปะวาดรปู ใหเ้ ปน็ (แตเ่ ปน็ การเรยี นรธู้ รรมชาตทิ อี่ ยภู่ ายในตวั มนษุ ยน์ นั้ )

40

ชอ่ื ผลงาน : จดุ เรม่ิ ตน้
เทคนคิ : สนี �ำ้ มนั บนผา้ ใบ
ขนาด : 100 x 120 cm.

อาจารยณ์ ฐั วฒุ ิ แตง่ วฒั นไพบลู ย์ การศึกษา : ศิลปมหาบณั ฑิต สาขาวิชาทศั นศิลป์ สถาบันบณั ฑติ พัฒนศิลป์
Mr. Nutthawoot Tangwattanaphaiboon ศิลปบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์
แนวความคดิ
[email protected] การสรา้ งสรรคผ์ ลงานศิลปะจะตอ้ งผา่ นการฝกึ ฝนอยา่ งสม�่ำ เสมอ การเรียนรู้จากรูปทรงขั้นพ้ืนฐาน
Nutthawoot Tangwattanaphiboon จึงเป็นส่วนสำ�คัญของการเรียนรู้และการทำ�ความเข้าใจในเบ้ืองต้น เพ่ื อใช้ต่อยอดพัฒนาทักษะ
ต่อไป ข้าพเจ้าเช่ือว่า "พ้ื นฐานสำ�คัญเสมอ"
41

ขอขอบคุณ

นางนิภา โสภาสัมฤทธิ์ อธกิ ารบดีสถาบนั บณั ฑิดพัฒนศิลป์

นายพิชยั นิรันต์ ศิลปนิ แหง่ ชาติ สาขาทศั นศิลป์

ศาสตราจารยก์ ดิ ติคุณก�ำ จร สุนพงษ์ศรี ผู้ทรงคณุ วุฒดิ า้ นทศั นศิลป์

ศาสตราจารย์วบิ ูลย์ ลี้สุวรรณ ราชบัณฑิต ผ้ทู รงคณุ วุฒิด้านทัศนศิลป์

ศาสตราจารยก์ ิตติคณุ เสรมิ ศักดิ์ นาคบัว ศิลปนิ แหง่ ชาติ สาขาทัศนศิลป์

นายกมล สุวุฒโท ท่ีปรึกษาอธิการบดสี ถาบันบณั ฑติ พัฒนศิลป์, ผู้ทรงคณุ วุฒดิ า้ นทัศนศิลป์

นายสมศักด์ิ เชาวน์ธาดาพงศ์ ศิลปนิ แหง่ ชาติ สาขาทศั นศิลป์

ศาสตราจารย์เกียรติคุณปริญญา ตนั ติสุข ผทู้ รงคณุ วฒุ ิด้านทศั นศิลป์

พลต�ำ รวจตรสี ุรศักดิ์ สุทธารมณ์ ผทู้ รงคณุ วฒุ ดิ ้านทศั นศิลป์

รองศาสตราจารย์ประเสริฐ พิชยะสุนทร ผเู้ ชย่ี วชาญด้านทศั นศิลป์

นายจรญู นราคร อดดี ผูต้ รวจราชการกระทรวงวฒั นธรรม

รองศาสตราจารยส์ รรณรงค์ สิงหเสนี ผเู้ ชย่ี วชาญด้านทศั นศิลป์

รองศาสตราจารยศ์ ุภชยั สุกขีโชติ ผู้เชย่ี วชาญด้านทศั นศิลป์

นายจิรพจน์ จึงบรรเจิดศักดิ์ รองอธิการบดีสถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์

ผู้ช่วยศาสตราจารยอ์ �ำ นวย นวลอนงค์ รองอธิการบดีสถาบันบณั ฑติ พัฒนศิลป์

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์จลุ ชาติ อรณั ยะนาค รองอธกิ ารบดสี ถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป์

ผชู้ ่วยศาสตราจารยพ์ หลยุทธ กนษิ ฐบตุ ร รองอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

ผู้ชว่ ยศาสตราจารยป์ ระวีนา เอ่ยี มยี่สุ่น รองอธิการบดสี ถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป์

ดร.สุรัตน์ จงดา ผู้ชว่ ยอธิการบดสี ถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป์

ผู้ช่วยศาสตราจารยภ์ ูริ วงศ์วิเชยี ร ผ้ชู ่วยอธกิ ารบดสี ถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป์

นางสาวสาริศา ประทีปวง ผู้ช่วยอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

ผ้ชู ่วยศาสตราจารยเ์ ด่น หวานจริง ผู้ช่วยอธิการบดีสถาบันบณั ฑติ พัฒนศิลป์

นายวชั รนิ ทร์ อ่าวสินธศุ์ ิริ ผอู้ ำ�นวยการกองนโยบายและแผน สถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป์

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ชยากร เรืองจ�ำ รญู คณบดีคณะศิลปวจิ ติ ร

รองศาสตราจารย์จินตนา สายทองค�ำ คณบดคี ณะศิลปนาฏดรุ ิยางค์

นางสาวศิรลิ ักษณ์ ฉลองธรรม คณบดคี ณะศิลปศึกษา

นายจรัญ หนองบัว ผอู้ �ำ นวยการวทิ ยาลยั ชา่ งศิลป

นางขวญั ใจ พิมพิมล ผูอ้ ำ�นวยการวทิ ยาลัยช่างศิลปสุพรรณบรุ ี

นางอารีย์ ลลี าพันธุ์ ผอู้ ำ�นวยการวทิ ยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช

ผอู้ �ำ นวยการวทิ ยาลยั นาฏศิลป และผู้อ�ำ นวยการวทิ ยาลยั นาฏศิลปส่วนภูมภิ าคทกุ แหง่

ผชู้ ่วยศาสตราจารย ดร.เมตตา สุวรรณศร อาจารย์ประจ�ำ หลักสูตรศิลปมหาบณั ฑิต สาขาทศั นศิลป์

ผู้ชว่ ยศาสตราจารยน์ รนิ ทร์ อว้ นด�ำ รองคณบดีคณะศิลปวิจิตร

นายวสิ ุทธ์ิ ยม้ิ ประเสรฐิ รองคณบดคี ณะศิลปวจิ ิตร

นายภทั รพร เล่ียนพานิช รองคณบดีคณะศิลปวจิ ติ ร

กระทรวงวัฒนธรรม

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

หัวหนา้ สาขาวิชา, คณาจารย์และบคุ ลากร ศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบนั จากคณะศิลปวจิ ิตรและเจ้าหนา้ ท่จี ากสถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์

ผปู้ ระสานงานและประชาสัมพันธ์โครงการ : นายภทั รพร เลย่ี นพานชิ และนางสาวธนาภรณ์ โพธิ์เพชร
ออกแบบและจดั รปู เล่ม : นางสาวลาภลคั น์ บุณยาคม

42

พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2 ปที พี่ มิ พ์ 2564

หา้ มจ�ำ หนา่ ย

บรรณาธกิ าร
นายภทั รพร เลยี่ นพานชิ
กองบรรณาธกิ าร
นางสาวธนาภรณ์ โพธเ์ิ พชร
พสิ จู นอ์ กั ษร
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยบ์ ญุ พาด ฆงั คะมะโน
ปกและรปู เลม่
นางสาวลาภลคั น์ บณุ ยาคม
โครงการแสดงนทิ รรศการศลิ ปกรรมของคณาจารย์
คณะศลิ ปวจิ ติ ร สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์

43

ffa-bpi.com E-Book

44


Click to View FlipBook Version