The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Larpluck Boonyakom, 2022-03-29 04:11:32

4 ภาค อ่างทอง

art4d-2565_online

ผ้บู รหิ าร

1

สารจากคณบดคี ณะศิลปวจิ ิตร

ในการสรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะทุกประเภท ศิลปินผู้สรา้ งสรรค์ย่อมแสดงให้เห็นความสนใจเป็นพิเศษ
ในเรื่องใดเร่ืองหน่ึง แล้วเกิดมีทัศนคติ ความรู้สึกนึกคิด หรอื จินตนาการที่มีต่อส่ิงที่สนใจเหล่าน้ัน เกิดพลังอัน
น่าประหลาดใจเป็นแรงผลักดันจากภายใน แสดงออกมาโดยวิธีการใดวิธีการหน่ึงที่ถูกเลือกสรรด้วยความสนใจ
เป็นพิเศษ ทำ�ให้ปรากฏเป็นผลงานศิลปะที่มีนัยยะลุ่มลึกและรูปแบบแปลกใหม่ไม่ซำ้�ใคร ก่อให้เกิดความพึงใจ
และสุขใจของผู้สรา้ งสรรค์และผู้ชมผลงานศิลปะ การสรา้ งสรรค์ผลงานด้านศิลปะจึงมีความหมายมากกว่าการ
แสดงความเช่ียวชาญ แต่เป็นการแสดงออกของการส่งสารแห่งความสุขแก่กันและกัน

การที่คณะศิลปวิจิตรนำ�ผลงานศิลปะสีน้ำ�ของศิลปินแห่งชาติ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์ และอีกหลาก
หลายศิลปินมาจัดแสดงในนิทรรศการรูปแบบออนไลน์คร้ังนี้ เป็นโอกาสที่ผู้ชมจะได้ซึมซับความสุขความยินดี
ในสุนทรยี ะของผลงานศิลปะทั้งหลายในนิทรรศการอีกคร้ังหน่ึง

คณะศิลปวิจิตรขอขอบพระคุณศิลปินแห่งชาติ ผู้ทรงคุณวุฒิ ศิลปินรบั เชิญ ผู้บรหิ าร คณาจารย์
บุคลากร เจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องทุกท่านท่ีรว่ มดำ�เนินงานได้โดยสมบูรณ์ทุกประการ และขออวยพรให้ทุกท่าน
มีความสุขท่ัวกัน

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญพาด ฆังคะมะโน)
รกั ษาราชการแทนคณบดีคณะศิลปวิจิตร

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

2

นิทรรศการโครงการอบรมศลิ ปะบคุ คลทว่ั ไป (สนี ำ้�) ประจำ�ปี ๒๕๖๔
คณะศิลปวิจิตร สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป์

บทความทางวิชาการ เร่ือง ความสนุกและสาระในจิตรกรรมสีนำ้�ของสวัสด์ิ ตันติสุข
โดย ปรญิ ญา ตันติสุข

บทคัดย่อ
นิ ทรรศการโครงการอบรมศิ ลปะบุ คคลท่ั วไป (สี นำ้ �) ประจำ�ปี ๒๕๖๔ โดยคณะศิ ลปวิจิตร
สถาบันบัณฑิตพั ฒนศิ ลป์ เป็นกิ จกรรมท่ี จัดข้ึ นมาอย่ างต่ อเน่ื องยาวนาน พั ฒนามาจากโครงการอบรม
ศิลปะให้แก่บุคคลภายนอกที่จัดขึ้นคร้ังแรกโดยวิทยาลัยช่างศิลป กรมศิลปากร สมัยท่ีสวัสด์ิ ตันติสุข
ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นผู้อำ�นวยการ วิชาหน่ึงในการอบรมต้ังแต่คร้ังแรกจนมาถึงปัจจุบันคือ วิชาจิตรกรรมสีน้ำ�
เพราะเป็นวิชาปฏิบัติพื้นฐานทางทักษะฝีมือ เคร่ืองมือวัสดุหาได้ง่าย สามารถนำ�ไปใช้ได้สะดวกทั้งในและ
นอกสถานที่ และสามารถพัฒนาไปสู่การสร้างสรรค์ศิลปะในระดับสูงได้ด้วย
นอกจากการทำ�หน้าท่ีในฐานะผู้บริหาร สวัสด์ิ ตันติสุข มีบทบาทสำ�คัญยิ่งอีกด้านหน่ึงคือ ศิลปิน
ท่านได้รับเกียรติยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ มีชื่อเสียงใน
ด้านจิตรกรรมสีน้ำ�มันและสีน้ำ� การนำ�จิตรกรรมสีน้ำ�ของท่านมาวิเคราะห์เป็นกรณีศึกษาในด้านต่าง ๆ จึงน่าจะ
เป็นประโยชน์ต่อโครงการน้ี ไม่ว่าจะเป็นผู้เข้ารบั การอบรม ครูอาจารย์ ศิลปินหรอื ผู้รกั และสนใจศิลปะโดยท่ัวไป
สำ�หรบั ในบทความน้ีผู้เขียนเลือกประเด็นความสนุกและสาระในจิตรกรรมสีน้ำ�ของท่านมาศึกษา เพื่อแสดงให้
เห็นถึงความสนุกและสาระท่ีเป็นท้ังจุดเร่ิมต้นและผลสัมฤทธ์ิของการสรา้ งสรรค์ผลงาน ตลอดจนเพ่ือเป็นส่วน
ช่วยให้เกิดความเข้าใจแนวคิด รูปแบบ เทคนิควิธีการท่ีสามารถนำ�มาใช้ประโยชน์ต่อยอดในวงวิชาการและ
การสร้างสรรค์ศิลปะต่อไป
วิธีการศึกษาใช้หลักการโดยการศึกษาบริบทและบันทึกของศิลปินที่ปรากฏในเอกสารต่าง ๆ ประวัติ
ความเป็นมาของการสร้างจิตรกรรมสีน้ำ�ที่เป็นกรณีศึกษาโดยสังเขป การวิเคราะห์ผลทางด้านสุนทรีย์ที่เป็น
สาระและผลสัมฤทธ์ิจากผลงาน เน่ืองจากท่านมีช่ือเสียงและมีผลงานภาพทิวทัศน์อยู่มากกว่าหัวข้อเร่ืองอ่ืน
จึงทำ�การศึกษาจากตัวอย่างจิตรกรรมสีนำ้�ภาพทิวทัศน์ ๓ ภาพ ได้แก่ ภาพทิวทัศน์บกที่เน้นสถาปัตยกรรม
เป็นสำ�คัญ ๑ ภาพ ภาพทิวทัศน์บกที่เน้นธรรมชาติต้นไม้เป็นสำ�คัญ ๑ ภาพ และภาพทิวทัศน์ทะเลที่เน้น
ธรรมชาติเป็นสำ�คัญอีก ๑ ภาพ
ผลส�ำ คญั ทไี่ ดร้ บั และน�ำ เสนอคอื จติ รกรรมสนี �ำ้ ทง้ั ๓ ภาพ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ กระบวนการสรา้ งสรรคจ์ ติ รกรรมสี
น�ำ้ ของทา่ นทเ่ี รม่ิ ตน้ ตง้ั แตค่ วามสนกุ ในวธิ คี ดิ การตคี วามหมาย ระหวา่ งการสรา้ งสรรค์ เชน่ การสรา้ งรูปแบบ การใช้
เทคนิควิธีการต่าง ๆ ของจิตรกรรมสีน้ำ� และสาระหรอื คุณค่าทางศิลปะในด้านต่าง ๆ อนั เปน็ ผลทางด้านสนุ ทรยี ์
ทีเ่ ปน็ ผลสัมฤทธแ์ิ ละแสดงออกจากผลงาน โดยได้อธบิ ายเหตทุ ม่ี า วเิ คราะหส์ ่งิ ที่ปรากฏทางรูปธรรมหรอื กายภาพ
และนามธรรมหรอื อารมณ์ความรูส้ กึ พรอ้ มกับแสดงไวใ้ นรูปแบบตารางเพือ่ ใหส้ ะดวกตอ่ การท�ำ ความเข้าใจ

คำ�ส�ำ คัญ
สวัสด์ิ ตนั ตสิ ุข จิตรกรรมสีน้ำ� ความสนกุ สนุ ทรยี ์ ภาพทิวทศั น์ ภาพทวิ ทัศน์บก ภาพทิวทศั น์ทะเล

3

บทนำ�

ความสำ�คัญและความเป็นมา
นทิ รรศการโครงการอบรมศลิ ปะบคุ คลทว่ั ไป (สนี �้ำ ) ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔ โดยคณะศลิ ปวจิ ติ ร สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์
เปน็ กจิ กรรมทจี่ ัดข้นึ มาอย่างตอ่ เนื่องยาวนาน พฒั นามาจากโครงการอบรมศลิ ปะใหแ้ กบ่ ุคคลภายนอกทีจ่ ัดขน้ึ
ครง้ั แรกโดยวิทยาลัยช่างศิลป กรมศิลปากร สมยั ท่ีสวัสด์ิ ตันติสุข ดำ�รงตำ�แหน่งเปน็ ผอู้ �ำ นวยการ วชิ าหน่ึงในการ
อบรมต้งั แต่ครง้ั แรกจนมาถึงปจั จบุ ันคอื วชิ าจิตรกรรมสีน้ำ� เพราะเปน็ วิชาปฏิบัติพ้ืนฐานทางทกั ษะฝมี อื เครอ่ื งมอื
วสั ดุหาได้งา่ ย สามารถนำ�ไปใช้ไดส้ ะดวกท้งั ในและนอกสถานที่ และสามารถพฒั นาไปสกู่ ารสรา้ งสรรค์ศิลปะใน
ระดบั สงู ไดด้ ว้ ย กจิ กรรมนเ้ี รมิ่ ตน้ ขนึ้ ทว่ี ทิ ยาลยั ช่างศลิ ปทถ่ี นนเจา้ ฟา้ และด�ำ เนนิ การมาโดยล�ำ ดบั พรอ้ มกบั การเพม่ิ
ขยายและเตบิ โตของหนว่ ยงาน จากวทิ ยาลยั ช่างศลิ ปทถ่ี นนเจา้ ฟา้ มาสวู่ ทิ ยาลยั ช่างศลิ ปทเ่ี ขตลาดกระบงั วทิ ยาลยั
ช่างศิลปที่จังหวัดสุพรรณบุรี วิทยาลัยช่างศิลปท่ีจังหวัดนครศรีธรรมราช และคณะศิลปวิจิตรท่ีตำ�บลศาลา
ยา จังหวัดนครปฐม
นอกจากการทำ�หน้าที่ในฐานะผบู้ รหิ าร สวสั ด์ิ ตนั ตสิ ขุ มีบทบาทส�ำ คญั ย่งิ อกี ดา้ นหน่ึงคือ ศิลปนิ ท่านได้
รบั เกียรติยกย่องใหเ้ ปน็ ศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาทศั นศิลป์ (จิตรกรรม) ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ ศิลปนิ ช้ันเยย่ี มจากการ
แสดงศิลปกรรมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๙๘ ราชบัณฑิต สำ�นักศิลปกรรมประเภทวิจิตรศิลป์ สาขาจิตรกรรม ท่าน
มีผลงานจิตรกรรมดีเด่นเป็นที่ยอมรบั ของวงการศิลปะท้ังในอดีตและปัจจุบัน ด้วยการสรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะ
อยา่ งตอ่ เนอื่ งเปน็ เวลายาวนาน (ส�ำ นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๓๕, น. ๓๕)
ตง้ั แตเ่ ปน็ นกั ศกึ ษาอยโู่ รงเรยี นเพาะช่างจนสนิ้ อายขุ ยั ในวยั ๘๔ ปี มชี อ่ื เสยี งในดา้ นจติ รกรรมสนี �ำ้ มนั และสนี �้ำ และ
เปน็ หนง่ึ ในปรมาจารยด์ า้ นการวาดภาพทวิ ทศั นด์ ว้ ยสนี �้ำ ของไทยทย่ี ง่ิ ใหญท่ ส่ี ดุ คนหนง่ึ ( ภาพที่ ๑ )
การนำ�จิตรกรรมสีน้ำ�ของท่านมาวิเคราะห์วิจารณ์เป็นกรณีศึกษาด้วยวิธีจิตวิจารณ์ (Impressionistic
Criticism) และอรรถวิจารย์ (Interpretative Criticism) (ศิลป์ พีระศร,ี ๒๕๔๕, น. ๒๐๖) จึงน่าจะเป็นประโยชน์
ต่อโครงการน้ี ไม่ว่าจะเป็นผู้เข้ารบั การอบรม ครูอาจารย์ ศิลปินหรอื ผู้รกั และสนใจศิลปะโดยท่ัวไป โดยผู้เขียน
เลือกศึกษาใน ๒ ประเด็นจากจิตรกรรมสีนำ้�ของท่าน ได้แก่
๑. ความสนุ ก เพราะการทำ �งานศิ ลปะไม่ ว่ าจะด้ วยเนื้ อหา รู ปแบบหรือเทคนิ คใดก็ ตาม ย่ อมมี
ความสนุกหรือเรียกอีกอย่างว่าความพอใจ ความชอบใจ เป็นองค์ประกอบหน่ึงอยู่ในกระบวนการสร้างสรรค์
ที่ส่งผลไปสู่สมาธิในการทำ�งานจนประสบความสำ�เร็จ โดยเร่ิมต้ังแต่จุดเร่ิมต้นเพราะเป็นส่ิงจูงใจให้ศิลปิน
อยากสร้างสรรค์ผลงาน ระหว่างสร้างสรรค์งานความสนุกก็ทำ�ให้ไม่เกร็ง เครียดหรือกังวลจนเกินไป การ
แก้ไขปัญหาอุปสรรคระหว่างการสร้างสรรค์งานจะเป็นไปด้วยความสดชื่ น ทำ�ให้เกิดสมาธิจิตใจจดจ่อมุ่ ง
ม่ั น คล้ายกับอิทธิบาท ๔ หรือเหตุแห่งความสำ�เร็จ ท่ี เริ่มต้นด้วย “ฉันทะ” หรือความพอใจ ความชอบใจ
น่ั นเอง (สุภีร์ ทุมทอง, ๒๕๕๘, น.๒๗๕) การทำ�งานศิลปะของท่านก็เป็นเช่ นเดียวกันที่ จุดเร่ิมต้น ระหว่าง
การทำ�งาน จนงานศิลปะสำ�เร็จเสร็จสิ้ นมาจากท่ี ท่านสนุกสนานจนเป็นท่ี มาของคำ�ท่ี ท่านพูดบ่อย ๆ ว่า
“เล่นสี” (สวัสด์ิ ตันติสุข, ๒๕๕๑ก, น. ๖๕)

4

๒. สาระ เพราะเปน็ ผลสมั ฤทธด์ิ า้ นสนุ ทรยี ข์ องงานศลิ ปะ (ราชบณั ฑติ ยสถาน, ๒๕๔๑, น.๘) หมายถงึ สง่ิ ท่ี
งดงาม มคี วามส�ำ คญั อยา่ งยง่ิ ในการแสดงถงึ คณุ คา่ ทางศลิ ปะ (Value) งานทแ่ี สดงความเปน็ มนษุ ย์ สามารถช่วยยก
ระดบั จติ ใจใหส้ งู ไมใ่ ช่การวดั ดว้ ยมลู คา่ (Price) หรอื ราคางานศลิ ปะ เรอ่ื งนบี้ างครง้ั กท็ �ำ ใหเ้ กดิ ความสบั สน เพราะ
การวดั ทมี่ งุ่ หรอื แฝงไปทร่ี าคา ท�ำ ใหเ้ รอ่ื งทเี่ ปน็ สาระแทห้ รอื คณุ คา่ ทางศลิ ปะลดทอนความส�ำ คญั จงึ อยากน�ำ มาเปน็
ประเดน็ สำ�คญั ในบทความนี้ด้วย โดยวเิ คราะหใ์ ห้เห็นถึงความจรงิ ความดี ความงาม จากจติ รกรรมสีน้ำ�ของท่าน
ท้ังในรูปธรรมหรือด้านกายภาพและนามธรรมหรือด้านความคิด อารมณ์ความรู้สึกท่ีผู้เขียนมองเห็นเป็นกรณี
ศึกษา
จากความสำ�คัญของบุคคล ความโดดเด่นของผลงาน ความเกี่ยวเนื่องผูกพันกับหน่วยงานและกิจกรรม
ที่ท่านมีส่วนรเิ ร่ิมตามที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น การวิเคราะห์ตีความกระบวนวิธีการสรา้ งสรรค์ในเรื่องความสนุกและ
สาระ เปน็ เหตจุ งู ใจใหเ้ ขยี นบทความนขี้ นึ้ นอกเหนอื จากการไดร้ บั เชิญจากคณะศลิ ปวจิ ติ ร สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์
เพอ่ื น�ำ เสนอในนทิ รรศการโครงการอบรมศลิ ปะบคุ คลทว่ั ไป (สนี �้ำ ) ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔ ดงั จะไดอ้ ภปิ รายตามล�ำ ดบั ขนั้
ตอนตอ่ ไป

วัตถุประสงค์
๑. เพื่อศึกษา วิเคราะห์และนำ�เสนอกระบวนการสร้างสรรค์จิตรกรรมสีนำ้�ของสวัสด์ิ ตันติสุข ท่ีแสดง
ความสนุกและสาระ
๒. เพ่ือให้เกิดประโยชน์กับครูอาจารย์ นักเรียน นักศึกษา ศิษย์เก่า ศิลปิน ผู้เข้าร่วมโครงการอบรม
ศิลปะบุคคลทั่วไป ตลอดจนผู้สนใจศิลปะ ท่ีจะเป็นกรณีศึกษาหนึ่งในการทำ�ความเข้าใจ เข้าถึง กระบวนวิธี
การสร้างสรรค์และผลลัพธ์ด้านสุนทรียะท่ีเป็นคุณค่าสาระอยู่ในจิตรกรรมสีนำ้�ของท่าน

ขอบเขตของเร่ือง
หัวข้อเร่ืองที่ท่านนำ�มาสร้างสรรค์จิตรกรรมน้ันมีมากมายหลากหลาย ต้ังแต่ หุ่นน่ิง ภาพสัตว์ ภาพ
กลุ่มคน เหตุการณ์สำ�คัญ แต่เรื่องที่นิยมนำ�มาวาดมากท่ีสุดคือภาพทิวทัศน์ โดยแบ่งหยาบ ๆ ออกเป็น ภาพ
ทิวทัศน์บกที่เน้นธรรมชาติเป็นสำ�คัญ เช่น ต้นไม้ น้ำ�ตก ป่า เขา ภาพทิวทัศน์บกท่ีเน้นสถาปัตยกรรมเป็น
สำ�คัญ เช่น โบราณสถาน วัด อาคารบ้านเรือน ภาพทิวทัศน์ทะเลท่ีเน้นธรรมชาติเป็นสำ�คัญ เช่น พายุฝน ทะเล
กลางคืน ภาพทิวทัศน์ทะเลท่ีเน้นวิถีชีวิตเป็นสำ�คัญ เช่น หมู่ชาวประมงถักอวน ท่าเทียบเรือ หมู่เรือประมง
เป็นต้น ส่วนรูปแบบมีท้ังแบบเหมือนจริง ก่ึงเหมือนจริงและนามธรรม
เพ่ือให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ประกอบกับการนำ�เสนอที่เหมาะสมกับการเป็นบทความสำ�หรบั
โครงการน้ีท่ีมบี ทเรยี นต้องออกไปวาดจติ รกรรมสนี ำ้�ภาพทวิ ทัศน์ จงึ เลือกวิเคราะหจ์ ิตรกรรมสนี ้ำ�ส�ำ คญั จำ�นวน
๓ ภาพใน ๓ เรอ่ื ง เพือ่ เปน็ กรณีศึกษา ได้แก่ ภาพที่ ๑ เปน็ ภาพทิวทศั น์บกทีเ่ น้นสถาปตั ยกรรมเปน็ สำ�คญั ภาพ
ท่ี ๒ เปน็ ภาพทิวทศั น์บกที่เน้นธรรมชาติตน้ ไม้เปน็ ส�ำ คญั และภาพที่ ๓ เปน็ ภาพทิวทัศน์ทะเลทเ่ี น้นธรรมชาติเปน็
ส�ำ คญั

คำ�จำ�กัดความหรือนิยาม
ท่าน หมายถึง สวัสด์ิ ตันติสุข
จิตวิจารณ์ (Impressionistic Criticism) หมายถึง วิจารณ์ในแง่ความรู้สึก

5

อรรถวิจารณ์ (Interpretative Criticism) หมายถึง วิจารณ์ในแง่แปลความหมาย
สนุ ทรยี ์ หมายถงึ คณุ คา่ ของสง่ิ งดงามไมว่ า่ จะเปน็ ของธรรมชาตหิ รอื งานศลิ ปะ ทง้ั ในเชงิ จติ วทิ ยา จรยิ ศาสตร์
สงั คมศาสตร์
ความจรงิ หมายถงึ ผลลพั ธท์ ศี่ ลิ ปนิ มองเหน็ มคี วามคดิ หรอื รสู้ กึ แสดงปญั ญาในแงม่ มุ ตา่ ง ๆ จากตน้ แบบทม่ี า
ความดี หมายถึง ผลลัพธ์ทางอารมณ์ความรู้สึกในแง่ศีลธรรม ความเป็นมนุษย์ คุณค่าของชีวิต การ
ยกระดับจิตใจให้สูงที่ปรากฏรับรู้สึกได้ผ่านงานศิลปะ
ความงาม หมายถึง ผลลัพธ์ทางกายภาพภายนอกและอารมณ์ความรู้สึกภายในท่ีมีความประสาน
กลมกลืนกันของธาตุหรือองค์ต่าง ๆ อย่างมีเอกภาพ ความงามของธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อมและสังคม

เน้ือเร่ือง
เป็นท่ีทราบกันว่าศิลปินเป็นอย่างไร งานศิลปะของเขาก็เป็นอย่างน้ัน ชีวิตกับงานศิลปะของศิลปิน
เดินทางควบคู่กันไปโดยตลอด อุปนิสัย ประสบการณ์ บริบทท่ีบ่มเพาะหรือสังคมส่ิงแวดล้อมตัวศิลปินทำ�ให้
เขาแสดงออกมาเป็นอย่างท่ีเห็น

ภาพท่ี ๑ สวสั ด์ิ ตันตสิ ขุ ศิลปนิ แห่งชาติ ปราณบรุ ี ๒๕๕๒
ท่ีมา: ผู้เขียนบทความ

รากเหง้าและภาพรวมความเป็นตัวตนของท่าน คือ ชาวบ้านระดับคนช้ั นกลางที่เติบโตมากับคลอง
ภาษีเจริญและสวนฝ่ ังธนบุรี ในวัยเยาว์ครอบครัวมีฐานะทางเศรษฐกิจไม่ถึงกับดีนัก มีอาชีพทำ�สวนเก็บ
ผลไม้ไปขาย ไม่ชอบใช้แรงงานทำ�สวน แต่ชอบสนุกจึงหนีไปทำ�อย่างอ่ืน เช่น ตกปลา คิดว่าเป็นการช่วยหา
อาหารเข้าบ้าน ประหยัดแต่ก็กล้าลงทุน รักเพ่ือนรักฝูง ชอบอิสระ ใจดีแต่ใจร้อน มีความรักความก้าวหน้า
ทะเยอทะยาน (“เพาะช่าง ห้องโชว์ ศิลปากร”, ม.ป.ป., น. ๑๙๓) และเราจะมาค้นหาว่าส่ิงต่าง ๆ เหล่าน้ี
แสดงออกถึงความสนุกและสาระในจิตรกรรมสีนำ้�ของท่านอย่างไรบ้าง

6

ภาพท่ี ๒ โบสถเ์ ซ็นปอล เยอรมัน (Saint Paul Chapel, Munich) ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ขนาด ๓๗ x ๒๖ ซม
ท่มี า: ผ้เู ขยี นบทความ

ช่วงปลายจากการได้รับทุนไปศึกษาต่อที่อิตาลี ท่านมีเหตุต้องเดินทางไปร่วมประชุมที่เยอรมนี ทำ�ให้
ได้งานในชุดน้ีมาหลายภาพ ท่านกำ�หนดภาพน้ีเป็นแนวตั้ง ( ภาพท่ี ๒ ) โดยเน้นท่ีตัวโบสถ์เป็นสำ�คัญชัดเจน
ผู้เขียนสันนิษฐานว่าความจริงหรือส่ิงท่ีท่านเห็นและรู้สึกจากโบสถ์นีโอโกธิคหลังนี้คือ ความสงู สง่ ยง่ิ ใหญ่ มี
พลัง เสน้ จากรูปทรงของสถาปตั ยกรรมแบบเยอรมันทีห่ นักแน่นแข็งแรงเปน็ ส่งิ จงู ใจและกระตุ้นใหเ้ กิดความสนกุ
ดา้ นกายภาพจงึ ปรากฏใหเ้ สน้ โครงสรา้ งโบสถเ์ ปน็ พระเอก เสน้ จากฝแี ปรงสนี �้ำ ตาลเขม้ หนาถกู วาดขนึ้ อยา่ งรวดเรว็
แสดงการตดั สนิ ใจอยา่ งเดด็ ขาดฉบั ไว เนอื้ กระดาษสคี รมี ทม่ี ผี วิ หยาบช่วยใหฝ้ แี ปรงสเี ขม้ จากการปาดแหง้ ดว้ ยพกู่ นั
เบอรใ์ หญเ่ กดิ ความกลมกลนื ไดง้ า่ ย และท�ำ ใหว้ าดสนกุ อยา่ งทท่ี า่ นเคยเลา่ เรอ่ื งขอเงนิ จากบดิ าเพอ่ื ลงทนุ ซอื้ กระดาษ
ดมี าใช้วาดภาพประกวดครง้ั ยงั เรยี นอยเู่ พาะช่าง (“เพาะช่าง หอ้ งโชว์ ศลิ ปากร,” ม.ป.ป., น. ๑๙๓) โครงสโี ดยรวมเปน็
สนี �้ำ ตาล เปน็ ภาพเอกรงค์ (Monochrome) มกี ารแตม้ สแี ละน�ำ้ หนกั ตา่ ง ๆ ตามช่องไฟทเ่ี กดิ การแบง่ ตามจงั หวะของ
โบสถ์ เช่น ประตู หนา้ ตา่ ง จวั่ หลงั คา พนื้ ทว่ี า่ งถกู ลบู ดว้ ยสที ถ่ี กู กลบั คา่ น�ำ้ หนกั (Discord) ทงั้ สนี �้ำ ตาล และแซม
ดว้ ยสีน้ำ�เงิน สีแดงและสีเขียวสอดแพลมไว้อย่างน่าดู เป็นภาพหน่ึงท่ีดูสนุกถึงใจ แสดงความศรทั ธาของมนุษย์
ความกล้าหาญ และความงามจากความประสานกลมกลืนของเส้นและจังหวะพ้ืนท่ีว่างอย่างมีเอกภาพ

7

ภาพท่ี ๓ เช้า สะพานข้ามแม่น้ำ�แคว (River Kwai Bridge) ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ขนาด ๔๖ x ๖๑ ซม
ท่มี า: ผเู้ ขยี นบทความ

ชอ่ื ภาพ ( ภาพท่ี ๓ ) นไี้ มไ่ ดเ้ นน้ ไปทค่ี วามเปน็ ทวิ ทศั นธ์ รรมชาตแิ ตเ่ นน้ ไปทช่ี อื่ สง่ิ กอ่ สรา้ งและเปน็ สญั ลกั ษณห์ นง่ึ ที่
ส�ำ คญั ของจงั หวดั กาญจนบรุ ี กลบั กนั วา่ เมอื่ มองดภู าพนคี้ รง้ั แรกเรากลบั เหน็ ตน้ ไมใ้ หญ่ ๓-๔ ตน้ ทโี่ นม้ กง่ิ ไขวม้ าขดั กนั โดย
เฉพาะ ๓ ตน้ ใหญท่ ไี่ ขวม้ าจากซา้ ย ขวาและสอดระหวา่ งกลาง จากนน้ั จงึ ไปเหน็ ดวงอาทติ ยแ์ ละสะพานอยอู่ ยา่ งเลอื นราง
บรเิ วณกลางภาพ
จึงเกดิ ค�ำ ถามขน้ึ วา่ ทา่ นตอ้ งการวาดภาพทิวทัศน์ธรรมชาติตน้ ไม้หรอื วาดภาพทวิ ทัศน์ส่งิ กอ่ สรา้ งกนั แน่
เปน็ ไปได้ไหมว่าท่านคิดแผลง นอกจากสนกุ กบั การวาดต้นไมย้ งั คดิ สนกุ กบั การเล่นความคดิ ดว้ ย น่ันคือ
จบงานวาดภาพทิวทัศน์ต้นไม้น้ีเพ่ือดึงดูดให้คนดูคิด (วาดภาพ วาดมโนภาพ) และไปจบที่สะพานสำ�คัญนี้
จึงทำ�ให้ท่านต้ังช่ื อภาพน้ีไปท่ีสะพานสัญลักษณ์แห่งสันติภาพ อย่างที่ท่านเคยกล่าวว่า จบอย่างแฝงไว้ให้
คิด (สวัสด์ิ ตันติสุข, ๒๕๕๑ค, ๗๐)
ภาพนเ้ี ปน็ แนวนอน กลมุ่ หญา้ สเี ขยี วดา้ นลา่ งทม่ี เี สน้ เฉยี งสนี �ำ้ เงนิ พงุ่ น�ำ สายตาไปสกู่ ลมุ่ ตน้ ไมท้ ม่ี ลี �ำ ตน้ ใหญ่
โนม้ เอยี งขดั เขา้ หากนั โดยเฉพาะตน้ ใหญจ่ ากฝ่ งั ซา้ ยและขวาทงั้ ๒ ตน้ ตดั กนั เปน็ รปู กากบาท ชวนใหน้ กึ ถงึ ความ
ขดั แยง้ การตอ่ สู้ รอบ ๆ มตี น้ ไมอ้ น่ื ขนาดเลก็ กวา่ อยปู่ ระปราย ในช่องทขี่ ดั กนั ของ ๒ ตน้ ใหญม่ ตี น้ ไมใ้ หญอ่ กี ตน้ หนง่ึ
อยรู่ ะหว่างกลางโน้มไปยังสะพานที่เห็นไกลออกไปอยู่ราง ๆ เหนือข้ึนไปเป็นดวงอาทิตย์ท่ีออกแสงสีเหลืองส้ม
เรืองเร่ือ แสงนี้ลูบไล้มาสู่สายน้ำ�ด้วยรอยแต้ม รอบ ๆ ด้านบนภาพปกคลุมด้วยพุ่มไม้ที่ใช้เทคนิคการแต้มและ
เล่นสะบัดสีอย่างสนุก หยดเป็นรอยเป็นดวงซำ้�แล้วซำ้�เล่า ตำ�แหน่งของสะพานและดวงอาทิตย์นั้นอยู่กลาง
ภาพเป็นตำ�แหน่งเด่นท่ีสุด
การจดั องคป์ ระกอบภาพกบั ประวตั ศิ าสตรค์ วามเปน็ มาของสะพานและบรเิ วณโดยรอบ ท�ำ ใหอ้ ดคดิ ไมไ่ ดว้ า่
ทา่ นซง่ึ มปี ระสบการณช์ ีวติ ในขณะเกดิ สงครามโลกครง้ั ที่ ๒ โดยตรง ไดม้ องตน้ แบบคอื สะพานและบรเิ วณโดยรอบ
แหง่ นใี้ นเช้าเดอื นมกราคมปนี นั้ เปน็ เชิงสญั ลกั ษณ์ ความจรงิ ทที่ า่ นมองเหน็ คอื ความเปน็ ไปตามกฎธรรมชาตขิ องคู่
ขดั แยง้ หรอื คตู่ รงขา้ ม เช่น การประหตั ประหาร สงคราม แตก่ ม็ คี วามหวงั ของชีวติ ทป่ี รากฏผา่ นแสงอาทติ ยท์ เ่ี รอื ง
รองไลล้ บู ทอ้ งฟา้ ผวิ น�ำ้ และสะพาน ทา่ นอาศยั หลกั คตู่ รงขา้ ม (Contrast) สรา้ งสรรคค์ วามงดงามทปี่ ระณตี ในแงค่ ดิ
เนอื้ หา ดว้ ยการใช้ฝแี ปรงและการตดั กนั ของน�้ำ หนกั และสอี ยา่ งเดด็ ขาด สอดคลอ้ งกบั ค�ำ กลา่ วทว่ี า่ “สมอง (ความ
คดิ ) กบั มอื (ฝมี อื ) ไปดว้ ยกนั ” (สวสั ด์ิ ตนั ตสิ ขุ , ๒๕๕๑ข, น. ๑๐๑)

8

ภาพท่ี ๔ ประกายนำ้� (Glittering on the Sea) ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ขนาด ๓๗ x ๔๕ ซม
ที่มา: ผเู้ ขยี นบทความ

ภาพทวิ ทศั นส์ ว่ นใหญน่ ยิ มเปน็ ภาพแนวนอน ไมว่ า่ ภาพวาดหรอื ภาพถา่ ย เพราะความรสู้ กึ จากการมองไปทาง
กวา้ ง ความเปน็ ทะเลกใ็ หค้ วามรสู้ กึ กวา้ งใหญไ่ พศาลอยแู่ ลว้ เวลาแสงสวย เชน่ ชว่ งเชา้ หรอื บา่ ยคลอ้ ยทพี่ ระอาทติ ย์
ก�ำ ลงั ขน้ึ หรอื ก�ำ ลงั ตก เราจะเหน็ สแี ละประกายระยบิ ระยบั ทเ่ี ปน็ สว่ นผสมของแสงทสี่ อ่ งกระทบผวิ คลนื่ เปน็ ภาพพราว
ตาของทอ้ งทะลและทอ้ งฟา้ ทส่ี นั นษิ ฐานเชน่ กนั วา่ ทา่ นมองเหน็ เปน็ ชวี ติ ทเ่ี คลอ่ื นไหวโลดเตน้ อยู่ ณ เวลานน้ั
ทา่ นรกั ธรรมชาติ ทา่ นกลา่ ววา่ ธรรมชาตมิ ชี วี ติ ความงาม และใหค้ วามรสู้ กึ อนั หลากหลาย ครง้ั หนง่ึ ทา่ นตอ้ ง
ประคองแฟม้ กระดาษสนี �ำ้ ทก่ี �ำ ลงั วาดหลบฝน ละอองฝนทตี่ กลงมามากท�ำ ใหท้ า่ นเปยี ก แตก่ ลบั ท�ำ ใหท้ า่ นยนิ ดเี มอื่ เหน็
ผลทปี่ รากฏบนกระดาษสนี �้ำ ละอองฝนท�ำ ใหเ้ กดิ เปน็ ดอก ดวง เปน็ จดุ ท�ำ ใหภ้ าพดนู มุ่ ฉมุ่ ชำ่� ซ่ึงทำ�ให้ท่านนำ�กลับ
มาใช้ประโยชน์อีกหลายคร้ัง และคุยสนุกว่า “ผมดีใจที่เทวดาพระพิรุณท่านได้ช่วยผมเขียนด้วย” (สวัสด์ิ ตันติ
สุข, ๒๕๓๘, น. ๑๑)
ภาพน้ีก็เช่นกัน ( ภาพที่ ๔ ) ท่านส่ือสารชีวิตท่ีงดงามผ่านโครงสีเหลืองอรา่ ม ใช้ความเช่ียวชาญด้วย
การแต้มแต่งด้วยเทคนิคต่าง ๆ ของการวาด การระบาย การหยด การจุด อย่างแพรวพราว ดูสนุกบันเทิงใจ การ
ควบคุมปรมิ าณส่วนผสมมากน้อยระหว่างน้ำ�กับสี และถ้าค่อย ๆ พินิจให้ดีเราจะค้นพบว่าท่านจัดองค์ประกอบ
ภาพน้ีออกมาอย่างง่ายและน้อยมาก ได้แก่ ส่วนพ้ืนที่ท้องฟ้า ส่วนพื้นท่ีทะเลสีเหลืองซ้ายขวาที่มีปรมิ าณมาก
ท่ีสุด และพ้ืนที่เว้นเน้ือกระดาษเป็นแนวขาวสว่างสะท้อนจากแสงของดวงอาทิตย์ ท่ีอาจเรยี กได้ว่าพอจะดูเป็น
รูปทรงอยู่เพียงหน่ึงเดียว ด้วยความท่ีกลมกลืนอยู่ในบรรยากาศท้ังหมด การแบ่งพื้นที่ภาพเช่นน้ีทำ�ให้ท่านเล่น
สนุกกับเทคนิคแต่งแต้ม พรมนำ้�และสี เป็นดอกเป็นดวงได้อย่างอิสระ ความงามของสีสันแพรวพราวท่ีเกิดข้ึน
จากใจและมือของศิลปินผู้มากด้วยทักษะและประสบการณ์ ภาพประกายน้ำ�นี้ทำ�ให้เราเข้าถึงปรากฏการณ์ของ
ชีวิตท่ีเคล่ือนไหวไปมาอยู่ตลอดเวลา เป็นชีวิตที่ผ่องใส มีความสุข มีความรุ่งเรอื ง มีอิสระเสรี

9

สว่ นสรปุ
จากการอภิปรายวิเคราะห์จิตรกรรมสีน้ำ�ของสวัสด์ิ ตันติสุข โดยเจาะไปท่ีความสนุกในการสรา้ งสรรค์
ของศิลปิน ในแง่ของความคิดและการแสดงออก เช่น การตีสัญญะความหมาย รูปแบบและเทคนิคการสร้าง
ท่ีสุดท้ายแล้วประมวลมาสู่ผลลัพธ์ทางด้านสุนทรีย์ซ่ึงเป็นสาระหรือคุณค่าทางศิลปะ เพื่อให้เป็นกรณีศึกษา
หน่ึงในการสร้างความเข้าใจเข้าถึงจิตรกรรมสีน้ำ�ของท่าน และขอสรุปในรูปแบบตารางเพ่ือสะดวกต่อการ
ทำ�ความเข้าใจ ได้แก่ ตารางท่ี ๑ ความสนุก ที่มองเจาะไปท่ีเน้ือหาเร่ืองราว รูปแบบ และเทคนิค ตารางที่ ๒
สาระ ท่ีมองเจาะไปที่ผลลัพธ์ทางด้านสุนทรีย์ ดังนี้

ตารางท่ี ๑ ความสนกุ

จิตรกรรมสนี ำ้�ของสวัสด์ิ ตนั ตสิ ขุ / ภาพท่ี ๑ โบสถเ์ ซน็ ปอล เยอรมนั ภาพท่ี ๒ เชา้ สะพานขา้ มแมน่ �ำ้ แคว ภาพท่ี ๓ ประกายน�้ำ
ความสนกุ

เน้ือหา จงั หวะของเสน้ และพน้ื ทว่ี า่ ง คูต่ รงขา้ ม การตัดกัน รอ่ งรอย
รปู แบบ ความศักดส์ิ ทิ ธ์ิ ความยง่ิ ใหญ่ การต่อสู้ ความหวงั ชีวติ เสรี

เทคนิค เปน็ ภาพเอกรงค์ วรรณะสสี ่วนรวมเปน็ สเี ขียวน้ำ�เงนิ วรรณะสสี ว่ นรวมเปน็ สเี หลอื ง
ค่านำ้�หนัก ค่าน้ำ�หนัก เขม้ คา่ น้ำ�หนัก สวา่ ง
กลางค่อนขา้ งเข้ม แสดงรูปทรงและโครงสรา้ งด้วย มีความเรยี บงา่ ย
แสดงรูปทรงและโครงสรา้ ง มวลสี น้ำ�หนัก เสน้ พน้ื ทว่ี า่ งกินเน้ือทมี่ าก
ด้วยเส้นอย่างเปน็ เด่น ลดทอนรายละเอยี ด มีรูปทรงพอเห็นเลก็ น้อย
โฉบไล้ระบายสอี อ่ นในพน้ื ที่ว่าง ใช้การตดั กันระหวา่ งคา่ นำ้�หนัก
ลดทอนรายละเอยี ด เช่น มืดกบั สว่าง และสี เช่น เขยี ว
เขม้ กับเหลืองส้ม

ปา้ ยแหง้ ระบาย แต้ม บน ปา้ ยฉ�่ำ น�้ำ ระบาย แตม้ สะบดั หยด จดุ ปา้ ยฉ่ำ�น้ำ� ระบาย แต้ม สะบดั
กระดาษท่หี ยาบมาก
เว้นพื้นทก่ี ระดาษบางสว่ น เวน้ พน้ื ท่กี ระดาษบางส่วน หยด จดุ

เวน้ พนื้ ท่ีกระดาษบางสว่ น

ตารางท่ี ๒ สาระ

จติ รกรรมสนี ้ำ�ของสวัสด์ิ ตันติสขุ / ภาพท่ี ๑ โบสถเ์ ซน็ ปอล เยอรมนั ภาพท่ี ๒ เชา้ สะพานขา้ มแมน่ �้ำ แคว ภาพท่ี ๓ ประกายน�ำ้
สนุ ทรยี ์

ความจรงิ ความยง่ิ ใหญ่ กฎธรรมชาตทิ มี่ ใี นลกั ษณะคตู่ รงขา้ ม ประกายระยบิ ระยบั พราวตา
ความดี มีกำ�ลงั
ความงาม สูงสง่ การตอ่ สู้ ชีวิตทเ่ี คลอื่ นไหว

ความศรทั ธา ความหวงั ชีวิตทผ่ี ่องใส มคี วามสุข มคี วาม
ความกลา้ หาญ รุง่ เรอื ง มีอสิ ระเสรี

ความประสานกลมกลืนกนั ของ ความงามของการใชห้ ลกั คตู่ รงขา้ ม รูปแบบทเี่ รยี บง่าย
เสน้ ฝีแปรงและจงั หวะพื้นท่วี ่าง การใชฝ้ แี ปรงและการตดั กนั ของ สีสันทส่ี ดใสสวา่ ง
ความมีเอกภาพ น�ำ้ หนกั และสี ความมีเอกภาพ
ความมเี อกภาพ

10

ผลลพั ธจ์ ากการศึกษา วเิ คราะหแ์ ละนำ�เสนอกระบวนการสรา้ งสรรค์จิตรกรรมสีน้ำ�ของสวสั ด์ิ ตนั ตสิ ขุ ที่
แสดงความสนกุ ความพอใจ สาระทางด้านสุนทรยี ์ ด้านความจรงิ ความดี ความงามที่ปรากฏออกมาในดา้ นตา่ ง ๆ
คงสามารถใหป้ ระโยชนต์ อ่ การท�ำ ความเขา้ ใจเขา้ ถงึ ตน้ แบบ การตคี วามหมาย เทคนคิ กระบวนวธิ ใี นการสรา้ งสรรค์
จติ รกรรมสนี �ำ้ ของสวสั ด์ิ ตนั ตสิ ขุ ทง้ั สว่ นทนี่ �ำ มาเปน็ กรณศี กึ ษาหรอื กบั ผลงานชน้ิ อน่ื ๆ ของทา่ น หรอื น�ำ ไปประยกุ ต์
ใช้เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจเขา้ ถงึ ในศลิ ปะอน่ื ๆ โดยเฉพาะประโยชนก์ บั ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการอบรมศลิ ปะบคุ คลทว่ั ไปใน
ครง้ั นี้ อยา่ งไรกด็ ขี อ้ คดิ เหน็ ตา่ ง ๆ มไิ ดเ้ ปน็ หลกั การหรอื สงิ่ ส�ำ คญั ทที่ กุ คนจะตอ้ งเหน็ พอ้ งดว้ ย อาจมแี นวคดิ หรอื หลกั
การอนื่ ๆ ทส่ี มบรู ณช์ ัดเจนกวา่ นอี้ กี กไ็ ด้

กติ ตกิ รรมประกาศ
กราบขอบพระคุณ สวัสด์ิ ตันติสขุ ผเู้ ปน็ บดิ าที่มีความรกั ความเมตตาตอ่ ลูกและครอบครวั ปูชนียศลิ ปินผู้
เปน็ ครูอาจารยต์ ้นแบบ ผสู้ รา้ งสรรค์ศลิ ปะอย่างมงุ่ ม่นั ศรทั ธาและให้ความสำ�คัญกับคณุ ภาพและคณุ คา่ ทางศลิ ปะ
จนนำ�มาสกู่ ารใช้ประโยชน์ในดา้ นตา่ ง ๆ จากผลงานของท่านในแวดวงวชิ าการและการสรา้ งสรรคศ์ ิลปะ การเขยี น
บทความนี้ท�ำ ให้ผ้เู ขยี นได้กลบั มาศกึ ษางานของท่านอกี ครง้ั หน่ึง และท�ำ ใหพ้ บว่าส่งิ ต่าง ๆ ทที่ า่ นสรา้ งสรรคแ์ ละ
บนั ทึกไว้นั้นมคี วามลกึ ซ้ึงเปน็ อย่างย่งิ ไมว่ ่าจะเปน็ ดา้ นชีวติ หรอื ศลิ ปะ
ขอบพระคณุ คณะศลิ ปวจิ ติ ร สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ กระทรวงวฒั นธรรม ทใ่ี หเ้ กยี รตเิ ชญิ เขยี นบทความและ
รว่ มแสดงงานในนทิ รรศการโครงการอบรมศลิ ปะบคุ คลทว่ั ไป (สนี �ำ้ ) ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔ ท�ำ ใหม้ โี อกาสไดส้ รา้ งงานทเี่ กยี่ วกบั
บดิ าของผเู้ ขยี นไวด้ ว้ ยความร�ำ ลกึ ถงึ
ขอบใจ สชุ าดา ตนั ตสิ ขุ ปรชั ญา ตนั ตสิ ขุ และ ดร. น�ำ้ ใส ตนั ตสิ ขุ ผใู้ หข้ อ้ มลู ขอ้ สงั เกตและขอ้ ทว้ งตงิ อนั เปน็ ประโยชน์
ตอ่ การเขยี นเนอื้ หาและการเผยแพรบ่ ทความทางวชิ าการในครง้ั นจี้ นเปน็ ทส่ี �ำ เรจ็

รายการเอกสารอา้ งองิ
ราชบณั ฑติ ยสถาน. (๒๕๔๑). พจนานกุ รมศพั ทศ์ ลิ ปะ องั กฤษ-ไทย ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒.
กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พค์ รุ สุ ภา.
ศลิ ป์ พรี ะศร.ี (๒๕๔๕). “การวจิ ารณง์ านศลิ ป.” บทความ ขอ้ เขยี น และงานศลิ ปกรรมของศาสตราจารยศ์ ลิ ป์ พรี ะ
ศร.ี พระยาอนมุ านราชธน, ผแู้ ปล. กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตง้ิ แอนด์ พบั ลชิ ชง่ิ , น. ๒๐๖-๒๐๗.
“เพาะชา่ ง หอ้ งโชว์ ศลิ ปากร.” (ม.ป.ป.). ทรี่ ะลกึ นายสวสั ด์ิตนั ตสิ ขุ . กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตง้ิ แอนด์ พบั ลชิ ชง่ิ , น.
๑๙๓-๑๙๗.
สวสั ด์ิ ตนั ตสิ ขุ . (๒๕๕๑ก). “การศกึ ษา สรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะ.” นทิ รรศการพเิ ศษเพอื่ เชดิ ชเู กยี รตศิ ลิ ปนิ อาวโุ ส
ประจ�ำ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑: ศลิ ปกรรมยอ้ นหลงั สวสั ดิ์ ตนั ตสิ ขุ ศลิ ปนิ แหง่ ชาต.ิ กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทรพ์ รนิ้ ตง้ิ แอนด์ พบั ลชิ
ชง่ิ , น. ๖๕-๖๖.
สวสั ด์ิ ตนั ตสิ ขุ . (๒๕๕๑ข). “ศพั ทศ์ ลิ ป.” นทิ รรศการพเิ ศษเพอื่ เชดิ ชเู กยี รตศิ ลิ ปนิ อาวโุ ส ประจ�ำ ปพี ทุ ธศกั ราช
๒๕๕๑: ศลิ ปกรรมยอ้ นหลงั สวสั ด์ิ ตนั ตสิ ขุ ศลิ ปนิ แหง่ ชาต.ิ กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตง้ิ แอนด์ พบั ลชิ ชง่ิ , น. ๑๐๑-๑๐๒.
สวสั ด์ิ ตนั ตสิ ขุ . (๒๕๕๑ค). “เสนห่ ์ คณุ คา่ สนี �ำ้ และสนี �้ำ มนั .” นทิ รรศการพเิ ศษเพอ่ื เชดิ ชเู กยี รตศิ ลิ ปนิ อาวโุ ส ประจ�ำ
ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑: ศลิ ปกรรมยอ้ นหลงั สวสั ด์ิ ตนั ตสิ ขุ ศลิ ปนิ แหง่ ชาต.ิ กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตง้ิ แอนด์ พบั ลชิ ชง่ิ , น.
๖๙-๗๒.

11

สวสั ด์ิ ตนั ตสิ ขุ . (๒๕๓๘). ปาฐกถาศลิ ป์ พรี ะศรี ครง้ั ท่ี ๑: เรอ่ื ง “บนั ทกึ -สรา้ งสรรค”์ โดย สวสั ด์ิ ตนั ตสิ ขุ . กรงุ เทพฯ:
อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตง้ิ แอนด์ พบั ลชิ ชง่ิ .
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๓๕). ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ ๒๕๓๔. กรงุ เทพฯ:
อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตง้ิ แอนด์ พบั ลชิ ชง่ิ .
สภุ รี ์ ทมุ ทอง. (๒๕๕๘). สมั มปั ปธาน ๔ อทิ ธบิ าท ๔. กรงุ เทพฯ: ฟรมี ายด์ พบั ลชิ ชง่ิ

12

สนี ้ำ�ในอากาศ Watercolor in the Air
โดย รองศาสตราจารย์ สรรณรงค์ สงิ หเสนี

ชื่อของบทความนี้ได้รับความบันดาลใจมาจากเพลง Love is in the Air* เพลงฮิตยุค Disco ในปี
1977 ของนักร้องชาวออสเตรเลีย John Paul Young ท่ีผู้เขียนชื่นชอบท้ังเน้ือร้องและจังหวะ เพลงยังทันสมัย
ฟังได้จนถึงทุกวันน้ี เพลงไม่ได้มีอะไรเกี่ยวข้องกับสีน้ำ�เลยเพียงแต่เอาชื่อเพลงมาปรับให้เข้ากับเรื่องของสีนำ้�
โยงให้เห็นว่าภาพเขียนสีน้ำ�ในปัจจุบันเราสามารถพบเห็นได้ง่าย เผยแพร่กันทุกวันทางส่ือ Internet Online
อยู่ใน Social Media Platform ต่าง ๆ เสมือนหนึ่งว่าภาพเขียนสีน้ำ�เหล่านี้ล่องลอยอยู่ในอากาศ สามารถไขว่
คว้าติดตามชมจากส่ือออนไลน์ได้ตลอดเวลา ในท่ีน้ีจะกล่าวถึงศิลปินสีน้ำ�และผลงานสีน้ำ�ที่หยิบยกตัวอย่าง
มาจาก Facebook ส่ือท่ีครองอันดับหน่ึงท่ีมีผู้ใช้มากท่ีสุดในโลก ศิลปินสีนำ้�เหล่าน้ีเป็นเพียงส่วนหน่ึงในบรรดา
ศิลปินสีน้ำ�จากท่ัวโลก แต่ละคนมีผลงานน่าติดตาม ทำ�งานเขียนรูปอย่างสมำ่�เสมอและมีผลงานใหม่ ๆ ลงให้ชม
มาโดยตลอด มีผู้ติดตามเป็นจำ�นวนมาก ศิลปินจากเอเชีย ยุโรปและอเมรกิ าท่ีนำ�ผลงานมากล่าวถึงในบทความ
น้ี ผู้ เขี ยนรู้ จั กเป็ นการส่ วนตั วจากการท่ี เคยมี ส่ วนร่วมในการจั ดแสดงงานมหกรรมสี นำ้ �โลกที่ กรุ งเทพฯในปี
พ.ศ.2557 (World Watermedia Exposition 2014, Bangkok, Thailand) ยกเว้น Jansen Chow ที่รู้จัก
กันในงาน Fabriano in Acquarello 2018 ท่ีเมืองฟาบริอาโน อิตาลี ศิลปินแต่ละคนที่หยิบยกมามีคุณภาพ
ระดับนานาชาติ มีเทคนิคและรูปแบบเฉพาะตัวที่น่าสนใจนำ�ไปศึกษาเป็นแบบอย่างหรือสร้างความบันดาลใจ
ให้อยากทดลองเขียนดูบ้าง

ท่ีมา :* https://www.youtube.com/watch?v=58T0NlhNweA

13

1. Chien Chung-Wei

ภาพท่ี 1. Chien Chung-Wei “The Town of Chiufen”2021, 36 x 27 cm.

ท่มี า : https://www.facebook.com/search/top?q=chien%20chung-wei

เชียน ชุง เหว่ย ศิลปินสีนำ้�ชาวไต้หวันท่ีมีฝีมือในการเขียนภาพทิวทัศน์ ภาพคนและภาพหุ่นน่ิงแบบ
เหมือนจรงิ มากท่ีสุดคนหน่ึงในวงการสีนำ้�รว่ มสมัยในระดับนานาชาติ เขาอยากจะเป็นช่างเขียนต้ังแต่อายุ 10
ขวบ เรยี นปรญิ ญาโททางศิลปะจาก National Taiwan Normal University เป็นศิลปินสีน้ำ�ชาวไต้หวันคนแรก
ท่ีได้รบั การคัดเลือกแสดงงานประจำ�ปีคร้ังที่ 147 ของสมาคมสีน้ำ�อเมรกิ ัน American Watercolor Society
(AWS)และงานแสดงประจำ�ปีคร้ังที่ 94 ของสมาคมสีน้ำ�แห่งชาติ National Watercolor Society (NWS)
ประเทศสหรั ฐอเมริ กา งานสีน้ำ�ของเขาแสดงออกในเรื่องของบรรยากาศที่ดูเหมือนจะไม่บอกช่วงเวลาว่าเช้า
สาย บ่าย เย็น เน้นการตัดกันของน้ำ�หนัก แสงเงา นิยมเขียนโครงสีท่ีออกเป็นเอกรงค์ เช่นขาว เทา ฟ้า ดำ� นำ้�ตาล
และมักจะมีจุดเด่นในภาพที่ใช้สีอื่นที่สว่างโดดเด่นตัดกับพ้ืนหลังที่ขมุกขมัวเช่นสีส้ม อันเป็นลักษณะเฉพาะตัวที่
เห็นในงานได้ชัดเจน มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรบั ท้ังในอเมรกิ าและยุโรป ชอบเขียนภาพทิวทัศน์ แต่ก็เขียนหุ่นน่ิงและ
ภาพคนเหมือนได้ดีทีเดียวในรูปแบบ Romantic ที่เขาได้รบั อิทธิพลมาจากศิลปินรุ่นเก่าในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 19
เช่น J.M.W. Turner, John Sell Cotman, Winslow Homer และ John Singer Sargent เป็นต้น งานของเขามี
เสน่ห์มีความคมชัดท้ังในรูปทรงและพื้นผิวหยาบกระด้างขณะเดียวกันก็มีความพร่ามัวของการควบคุมเทคนิค
สีน้ำ�ชุ่ม ๆ ได้อย่างยอดเย่ียม

ทีมา : https://www.tuttartpitturasculturapoesiamusica.com/2016/10/Chien-Chung-Wei.html

14

2. Jansen Chow

ภาพท่ี 2. Jansen Chow “The Beauty of Santorini” 2021, 38 x 56 cm.

ท่มี า : https://www.facebook.com/search/top?q=jansen%20chow

แจนเซน เชาว์ ผเู้ ขยี นไดพ้ บและรจู้ กั กนั ในงาน Fabriano in Acquarello 2018 ทเี่ มอื ง Fabriano, Italy
เปน็ ศลิ ปนิ สนี �้ำ ชาวมาเลยเ์ ซยี นทม่ี ผี ลงานโดดเดน่ ในรปู แบบกง่ึ นามธรรม ใช้การตดั ทอน เพม่ิ ลดรปู ทรง สี และเรอื่ ง
ราว โดยมที ง้ั ทเ่ี ขยี นจากสถานทจี่ รงิ และเขยี นจากการตดั ตอ่ รปู ถา่ ยหลายๆภาพเพอ่ื สรา้ งรปู ทรงอยา่ งงา่ ยๆ เช่น ใช้
ทอ้ งฟา้ จากรปู นี้ ใช้สถาปตั ยกรรมจากรปู นน้ั ใช้พน้ื หนา้ จากอกี รปู หนงึ่ ประมวลเปน็ ภาพใหมข่ น้ึ มา เขามกั จะสรา้ ง
องคป์ ระกอบใหม่ ๆ ขนึ้ ในงานรวมถงึ การใช้สเี พยี งไมก่ สี่ ที ม่ี คี วามเปน็ สว่ นตวั มากกวา่ ทจี่ ะองิ สจี ากของจรงิ เขาเชอื่ วา่
เพยี งการใช้สไี มก่ ส่ี สี ามารถสรา้ งพลงั สที แี่ ขง็ แกรง่ ขน้ึ ในภาพได้ มคี วามชำ�นาญในการใช้พกู่ นั แบนและแปรงแบนหนา้
กวา้ ง ปา้ ยสอี อ่ น-แกท่ บั กนั ไปมาสรา้ งปรมิ าตรรปู ทรง จงั หวะ แสงเงาและทง้ิ รอ่ งรอยของแสงบนพน้ื ขาวบางสว่ นไว้
เปน็ เสนห่ ท์ นี่ า่ สนใจ เขามชี อื่ เสยี งและเปน็ ทยี่ อมรบั ในวงการสนี �้ำ รว่ มสมยั ทว่ั โลก เรยี นจบจาก The Art Students
League of New York, USA.ศกึ ษาสนี �้ำ กบั Mario Cooper ศลิ ปนิ สนี �้ำ ชาวอเมรกิ นั รว่ มแสดงงานมาตง้ั แตป่ ี ค.ศ.
1992 ชนะการประกวดสนี �ำ้ มากกวา่ 60 รางวลั ไดร้ บั รางวลั ท่ี 1 จาก 9 ประเทศ เปน็ สมาชิกของสมาคมสนี �ำ้ อเมรกิ นั
American Watercolor Society (AWS), The National Watercolor Society (NWS) ไดร้ บั เชิญรว่ มแสดงงานสี
น�้ำ รวมถงึ ไดร้ บั แตง่ ตง้ั ใหเ้ ปน็ กรรมการตดั สนิ งานประกวดสนี �้ำ ระดบั นานาชาติ และไดร้ บั การแตง่ ตง้ั ใหเ้ ปน็ ตวั แทน
ของผลติ ภณั ฑส์ นี �้ำ ชอ่ื ดงั ของอเมรกิ าแดนเนยี นสมทิ ( The Global Brand Ambassador of Daniel Smith.)

ทม่ี า : https://watercolorium.com/index.php/ru/experts/17-jansen-chow

15

3. Joe Francis Dowden

ภาพท่ี 3. Joe Francis Dowden “Surreyhills” 2021.

ท่มี า : https://www.facebook.com/joe.dowden.3

โจ ฟรานซิส ดาวเดน ศิลปินสีนำ้�อาชีพชาวอังกฤษที่มีความเช่ียวชาญในการเขียนภาพทิวทัศน์บกและ
ทิวทัศน์ทะเลในรูปแบบเหมือนจริง งานของเขาเต็ มไปด้ วยรายละเอี ยดปลีกย่อยตั้งแต่ด้านหน้าไปจนถึง
ด้านหลัง ในภาพจะแสดงโครงสีและบรรยากาศทิวทัศน์ชนบทของอังกฤษ แสดงโครงสรา้ งของต้นไม้ ก่ิงไม้ ผืน
ดินผืนหญ้าละเอียดยิบและท่ีขาดไม่ได้ในภาพคือผืนน้ำ� ระลอกนำ้� เงาสะท้อนในน้ำ�ท่ีพลิ้วส่ันไหว มีการใช้โครง
สีที่ดูอบอุ่นกลมกลืนกัน การใช้นำ้�หนักและการลงแสงเงาไดย้ อดเย่ียม โจ ดาวเดนชอบเขยี นภาพยอ้ นแสงท่ยี ัง
สามารถมองเห็นสีและรายละเอยี ดตา่ งๆในสว่ นของเงาไดอ้ ยา่ งชัดเจน มักจะเขียนฉากหลังด้วยสีสว่างเช่น เหลือง
ส้ม เขียว แล้วตัดกับรูปทรงของต้นไม้ก่ิงไม้เป็นเงาดำ�ย้อนแสง ทำ�ให้งานดูมีพลังของบรรยากาศแบบชนบท ใน
อดีตเขาเคยทำ�งานก่อสรา้ งมาก่อนจนอายุได้ 23 ก็เลิก หันมาเขียนรูปสีน้ำ�และทำ�งานเช็ดกระจกตามตึกต่าง ๆ
เป็นงานพารต์ ไทม์ ด้วยการทำ�งานเช็ดกระจกบนตึกสูงๆน่ีเองที่ทำ�ให้เขาสังเกตุเห็นทิวทัศน์ป่าละเมาะในที่ราบ
ลำ�นำ้�ที่สวยงาม และพ้ืนที่รกรา้ งว่างเปล่าในเบ้ืองล่างของภูมิประเทศอังกฤษตอนใต้ อันเป็นความบันดาลใจใน
การเขียนภาพสีน้ำ�ของเขาน่ั นเอง เขาได้รบั การยกย่องว่าเป็นมาสเตอรข์ องสีนำ้�จัดแสดงผลงานเผยแพรไ่ ปทั่ว
ประเทศอังกฤษและต่างประเทศ จัด Workshops และ Demonstrations ตลอดปีรวมท้ังการเปิดช้ันเรยี นเพื่อ
สอนเทคนิคการเขียนสีนำ้�ในแบบฉบับของเขาด้วย โจ ดาวเดน มารว่ มแสดงงานนิทรรศการสีน้ำ�และรว่ มสาธติ
การเขยี นสีนำ้�ดว้ ยเทคนิคของเขาท่ปี ระเทศไทยถงึ สองครง้ั ในปี ค.ศ. 2014 ที่หอศลิ ปร์ ว่ มสมยั ราชดำ�เนิน กรุงเทพฯ
(World Watermedia Exposition 2014, Bangkok, Thailand) และในปี ค.ศ. 2016 ที่ Hua Hin Bluepot

ท่มี า : https://watercolourjourney.com/favourite-artists/joe-francis- dowden/?doing_wp_cron=1634106936.1209030151367187500000

16

4. John Salminen

ภาพท่ี 4. John Salminen “East Broadway,NYC” 2021.
First Place Award in the 53rd International Watercolor West Juried Exhibition.

ท่มี า : https://www.facebook.com/search/top?q=john%20salminen

จอหน์ ซลั มเิ นน ไดร้ บั การยกยอ่ งใหเ้ ปน็ Master of the Urban Landscape เปน็ ศลิ ปนิ ทม่ี คี วามชำ�นาญในเขยี น
ภาพทวิ ทศั นใ์ นเมอื ง มผี ลงานเปน็ ทป่ี รากฏตามสอ่ื ตา่ ง ๆ มากมาย เปน็ สมาชิกของสมาคมสนี �้ำ อเมรกิ นั American
Watercolor Society (AWS), The National Watercolor Society, The Transparent Watercolor Society
of America เปน็ ตน้ จอหน์ ซลั มเิ นน ชนะรางวลั มากกวา่ 230 รางวลั จากงานประกวดในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ
จากการแสดงงานสนี �ำ้ ทว่ั โลก แสดงเดยี่ ว 33 ครงั้ และไดร้ บั เกยี รตใิ หเ้ ปน็ ศลิ ปนิ รบั เชิญเดนิ ทางไปรว่ มแสดงงานและ
สาธติ ในตา่ งประเทศ 54 ครง้ั รวมถงึ งาน World Watermedia Exposition 2014, Bangkok, Thailand ณ หอศลิ ป์
รว่ มสมยั ราชด�ำ เนนิ กรงุ เทพฯ อกี ดว้ ย งานของจอหน์ ซลั มเิ นน มรี ปู แบบเหมอื นจรงิ แตก่ เ็ ปน็ ในลกั ษณะทเี่ ขาปรบั แตง่
โครงสขี น้ึ ใหมต่ ามแบบฉบบั ของเขาเอง แสดงใหเ้ หน็ ถงึ รายละเอยี ดเรอ่ื งราวทวิ ทศั นใ์ นเมอื งใหญๆ่ เช่นนวิ ยอรค์ รถรา
ทวี่ ง่ิ ขวกั ไขวบ่ นทอ้ งถนนมแี สงสะทอ้ นความมนั วาวของกระจกรถและตวั ถงั รถ ในภาพเราจะเหน็ ตกึ สงู อาคารสง่ิ ปลกู
สรา้ งทเ่ี รยี งแถวจากใกลไ้ ปหาไกล จากใหญไ่ ปหาเลก็ ตวั อาคารเตม็ ไปดว้ ยช่องประตหู นา้ ตา่ ง ปา้ ยรา้ นคา้ ตลอดจน
เสาไฟฟา้ และธงทวิ โคมไฟประดบั ประดาตา่ งๆ รายละเอียดถ่ี ยิบ งานสนี �ำ้ ของเขามาจากภาพถา่ ยทเี่ ขาถา่ ยไวเ้ อง
แลว้ น�ำ มาขยายลงบนกระดาษแลว้ เขยี นดว้ ยสนี �้ำ สรา้ งบรรยากาศใหมด่ ว้ ยโครงสมี ว่ ง ๆ สม้ อมชมพู เทา ๆ ด�ำ ๆ เนน้
จดุ สนใจดว้ ยสสี วา่ งตามปา้ ยและโคมไฟเสมอเช่นเหลอื ง สม้ แดง และสว่ นทสี่ วา่ งสดุ ในงานดว้ ยการเนน้ จงั หวะของ
สขี าว มเี อกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั ทเ่ี หน็ กจ็ �ำ ไดท้ นั ที แมจ้ ะชอบท�ำ งานในสตดู โิ อแตบ่ างครงั้ กช็ อบออกไปเขยี นภาพนอก
สถานทเ่ี หมอื นกนั งานเขามที ง้ั แบบเหมอื นจรงิ และแบบตดั ทอนกงึ่ นามธรรม จอหน์ อายุ 76 ปี จบการศกึ ษาระดบั
ปรญิ ญาโทจาก the University of Minnesota , ปจั จบุ นั อาศยั และท�ำ งานวนั ละ 6 ถงึ 10 ชวั่ โมงในสตดู โิ อทบี่ า้ น
Log cabin ทส่ี รา้ งเองทา่ มกลางปา่ สน บนพนื้ ท่ี 40 เอเคอรใ์ นเมอื ง Duluth, Minnesota. ประเทศสหรฐั อเมรกิ า

ท่มี า : https://wooarts.com/john-salminen/

17

5. Ong Kim Seng

ภาพท่ี 5. Ong Kim Seng “Bhaktaphur” 1988, 57 x 73 cm.
Auctioned by Sotheby’s in Hong Kong, October 28,1993 for HK$ 120,000.00

ท่มี า : https://www.facebook.com/ong.k.seng.71

ออง คมิ เซง ศลิ ปนิ ชาวสงิ คโปรผ์ เู้ รยี นรศู้ ลิ ปะดว้ ยตนเอง (Self-taught Artist) โดยไมเ่ คยผา่ นสถาบนั
ศลิ ปะใด ๆ เร่ิมทำ�งานศิลปะแบบเต็มตัวต้ังแต่ปีค.ศ.1985 เขารว่ มแสดงงานเดยี่ วและงานกลมุ่ ในประเทศสงิ คโปร์
สหรฐั อเมรกิ า จนี องั กฤษ ญปี่ นุ่ ออสเตรเลยี เยอรมนั ฝรง่ั เศส ตะวนั ออกกลาง ไตห้ วนั ฮอ่ องกงและกลมุ่ ประเทศ
อาเซยี น เปน็ ศลิ ปนิ ชาวสงิ คโปรค์ นแรกและคนเดยี วทชี่ นะ 6 รางวลั จากสมาคมสนี �้ำ อเมรกิ นั American Watercolor
Society (AWS) ทม่ี อี ายถุ งึ 138 ปแี ละเปน็ ศลิ ปนิ จากอาเซยี นคนเดยี วทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั ใหเ้ ขา้ เปน็ สมาชิกของ AWS
ออง คมิ เซง เรยี นจบชน้ั มธั ยมจาก Pasir Panjang Secondary School ออกจากโรงเรยี นในปี 1962 ท�ำ งานอนื่ ๆ อกี
หลายอยา่ งจนในปี ค.ศ. 1986 เขาจงึ ตดั สนิ ใจท�ำ งานศลิ ปะอยา่ งเตม็ ตวั เรยี กตวั เองวา่ เปน็ Full-time Professional
Artist ภาพเขยี นสนี �ำ้ ของเขามลี กั ษณะเหมอื นจรงิ ชอบเขยี นภาพทวิ ทศั นท์ มี่ สี ถาปตั ยกรรมสวย ๆ ดโู ดดเดน่ ออกมา
จากบรรยากาศทม่ี แี สงแดดจดั เงาจดั ตวั สถาปตั ยกรรมแสดงเรอื่ งราวของปรมิ าตรและพน้ื ผวิ ของผนงั อฐิ ก�ำ แพง
พนื้ ถนนและตน้ ไมด้ อกไม้ เช่น ภาพวดั ทเ่ี กาะบาหลี เนปาล และธเิ บต ตกึ และอาคารในสงิ คโปร์ ผลงานของเขามอี อก
มาอยา่ งสม�ำ่ เสมอจดั แสดงและมกี ารซอ้ื ขายสะสมกบั บคุ คลส�ำ คญั มากมาย ไดร้ บั การยอมรบั จากศลิ ปนิ และสมาคม
สนี �ำ้ ทว่ั โลกวา่ เปน็ Watercolor Master คนหนงึ่ ในยคุ นี้ ภาพผลงานทน่ี �ำ มาลงไดร้ บั การประมลู จดั โดย Sotheby’s
ในราคาสงู สดุ ทฮ่ี อ่ งกงในปี 1993 ดว้ ยราคา 120,000 เหรยี ญฮอ่ งกง ปจั จบุ นั ออง คมิ เซง อายุ 76 ปี อาศยั และ
ท�ำ งานอยทู่ ป่ี ระเทศสงิ คโปร์ ผเู้ ขยี นกบั ออง คมิ เซง รจู้ กั และเปน็ เพอ่ื นกนั มายาวนานตง้ั แตเ่ มอื่ ครง้ั ทศ่ี ลิ ปนิ สนี �ำ้ กลมุ่
ไวท์ The White Group (Thailand Contemporary Watercolourists) จากประเทศไทย ไดร้ ว่ มแสดงงานของสมา
พนั ธส์ นี �้ำ อาเซยี น (Asian Watercolour Confederation) ทก่ี รงุ กวั ลาลมั เปอร์ มาเลเซยี เมอ่ื ปี ค.ศ.1988 และในกลมุ่
ประเทศอาเซยี นอกี หลายปตี อ่ มา

ทม่ี า : https://en.wikipedia.org/wiki/Ong_Kim_Seng

18

6. Michal Jasiewicz

ภาพท่ี 6. Michal Jasiewicz “Town on the escarpment” 2021.

ท่มี า : https://www.facebook.com/profile.php?id=100000720400168

ไมเคลิ จาเซวคิ เกดิ เมอ่ื ปี ค.ศ.1977 ทเี่ มอื ง Nowy Sacz, Poland เขาเป็นท้ังศิลปินสีน้ำ�และสถาปนิกโดย
อาชีพในเวลาเดียวกัน ผลงานสนี �ำ้ แนวโรแมนตกิ เหมอื นจรงิ ทดี่ มู เี อกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั ในงานทม่ี กั แฝงโครงสรา้ งของ
สถาปตั ยกรรมในเมอื งและชนบทสอดแทรกไปกบั ทวิ ทศั นช์ นบท ปา่ ไม้ ภเู ขาและล�ำ ธาร บรรยากาศในภาพทมี่ กั จะมี
แสงแดดจดั สอ่ งตรงไปทต่ี วั สง่ิ กอ่ สรา้ งอาคารตวั สถาปตั ยกรรม แวดลอ้ มไปดว้ ยธรรมชาติ ตน้ ไม้ ปา่ ไม้ ภเู ขาทดี่ ฟู งุ้
กระจาย มที ง้ั เมฆและหมอกควนั การใชส้ ที เี่ ปน็ แบบอยา่ งเฉพาะตวั ของเขาโดยใชส้ โี ทนทไ่ี มน่ า่ จะเขา้ กนั ได้ เชน่ สนี �ำ้ เงนิ
คอ่ นขา้ งเยอะคกู่ บั โทนน�ำ้ ตาล เชน่ Cobalt Blue ,Ultramarine, Payne’s Grey, Black และมกั จะใชส้ โี ทนน�ำ้ ตาลสม้
มาชว่ ยขบั ใหง้ านดมู รี ะยะหนา้ ทส่ี วา่ ง เชน่ Raw Sienna, Burnt Sienna รวมไปถงึ การใชส้ นี �้ำ ทบึ แสงสขี าว Titanium
White เขา้ มาชว่ ย ใชเ้ ทคนคิ การเขยี นทง้ั เปยี กชมุ่ และแปรงแหง้ เขากลา่ ววา่ เทคนคิ สนี �้ำ ยากทจี่ ะคาดเดาไดว้ า่ ผลจะ
ออกมาอยา่ งไรเขามกั จะปลอ่ ยใหเ้ ทคนคิ เปน็ ตวั ชว่ ยน�ำ พาไปในงานกวา่ ครง่ึ งานของเขาจะเปลย่ี นไปเรอื่ ย ๆ ขน้ึ อยกู่ บั
ตน้ แบบทจี่ ะเขยี น อารมณค์ วามรสู้ กึ และความบงั เอญิ ก�ำ้ กงึ่ ระหวา่ งรปู แบบเหมอื นจรงิ และรปู แบบฝนั ๆ มภี าพทวิ ทศั น์
หลายชน้ิ ทเ่ี ขยี นถงึ ปา่ เขาล�ำ เนาไพรลว้ น ๆ ไมม่ สี ง่ิ ปลกู สรา้ งใด ๆ มาแทรกสวยงามนมุ่ นวลชวนฝนั มาก เนอ้ื หาหมนุ เวยี น
ไปตามฤดกู าล หนา้ รอ้ นทแี่ ดดจดั จา้ น หนา้ หนาวทเ่ี หน็ หมิ ะขาวโพลนไปทง้ั ภเู ขา และบางภาพทเี่ ตม็ ไปดว้ ยโครงสรา้ ง
ของงานสถาปตั ยกรรมลว้ น ๆ ทแ่ี สดงความแมน่ ย�ำ ในการเขยี นโครงสรา้ งดว้ ยสชี มุ่ ๆ ผสมแปรงแหง้ ตดั เสน้ คม ๆ ดว้ ย
พกู่ นั ปลายแหลมเลก็ ๆ ปจั จบุ นั เขามงี านแสดง จดั Workshop สาธติ และสอนสนี �ำ้ Online ทง้ั ในประเทศโปแลนดแ์ ละ
ตา่ งประเทศ ผลงานสะสมอยทู่ ปี่ ระเทศจนี ยโุ รปและสหรฐั อเมรกิ า

ทม่ี า : http://www.michaljasiewicz.com

19

7. Stanislaw Zoladz

ภาพท่ี 7. Stanislaw Zoladz

ท่มี า : https://www.facebook.com/stanislaw.zoladz.5

สแตนสิ ลอว์ โซลาดซ์ ชาวโปแลนด์ เปน็ ศลิ ปนิ สนี �ำ้ แนวเหมอื นจรงิ ทมี่ ฝี มี อื เปน็ ทยี่ อมรบั อกี คนหนง่ึ จากวงการสี
น�้ำ ทว่ั โลก เขาเกดิ เมอ่ื ปี ค.ศ. 1952 ประเทศโปแลนด์ เรยี นศลิ ปะจาก The Academy of Fine Arts, Krakow และยา้ ย
มาอยทู่ ปี่ ระเทศสวเี ดน ในปี 1978 งานของสแตนสิ ลอว์ โซลาดซ์ เปน็ การเขยี นภาพสนี �้ำ ในเรอ่ื งราวทวิ ทศั นธ์ รรมชาติ
จากสถานทจ่ี รงิ เขาสนใจการเขยี นภาพกอ้ นหนิ นอ้ ยใหญร่ มิ หาดทม่ี ที ง้ั สว่ นทอ่ี ยบู่ นบกและสว่ นทอี่ ยใู่ นน�้ำ สามารถ
เขยี นใหเ้ หน็ ถงึ ความใสของน�้ำ ทม่ี องผา่ นลงไปเหน็ กอ้ นหนิ ทอี่ ยใู่ นน�ำ้ ไดอ้ ยา่ งสวยงามชัดเจน เขามกั จะไปเขยี นทเี่ ดมิ ๆ
ครง้ั แลว้ ครง้ั เลา่ เพอื่ คน้ หาความแตกตา่ งเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ ของแสง สี และบรรยากาศ ในภาพดา้ นบนเราจะมองเหน็ ถงึ สี
ทใี่ สสะอาดสวา่ งของแสงแดดจดั ทสี่ อ่ งลงมายงั กอ้ นหนิ กอ้ นเลก็ กอ้ นใหญแ่ ละสขี องเงาทใี่ สมองเหน็ ไดถ้ งึ รายละเอยี ดใน
เงา ในสว่ นดา้ น ลา่ งของภาพมกั จะเปน็ สว่ นของชายหาดและน�้ำ ทม่ี คี ลนื่ ซดั เปน็ ระลอกแลเหน็ ประกายแดดสอ่ งสะทอ้ น
ระยบิ ระยบั ขณะเดยี วกนั กจ็ ะแลเหน็ กอ้ นหนิ นอ้ ยใหญท่ อี่ ยใู่ ตน้ �้ำ ทมี่ รี ายละเอยี ดชดั เจนมองเหน็ แมก้ ระทงั่ ตะไครน่ �ำ้ ทจี่ บั
อยบู่ นกอ้ นหนิ การใหส้ คี วามแตกตา่ งของหนิ กอ้ นทเ่ี ปยี กและหนิ กอ้ นทแ่ี หง้ ท�ำ ไดด้ มี าก แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความชำ�นาญ
ในการอา่ นคา่ และผสมสอี อ่ นแกอ่ อกมาไดอ้ ยา่ งแมย่ �ำ เขาเคยไดร้ บั รางวลั จากการประกวด “Our World in the Year
2000” จดั โดย Winsor & Newton โดยไดร้ บั รางวลั นจี้ ากเจา้ ฟา้ ชายชาลส์ ณ พระราชวงั เซนตเ์ จมส์ กรงุ ลอนดอน
เมอื่ 17 กมุ ภาพนั ธ์ 2000 ไดร้ บั รางวลั Excellence Prize at Shenhzen Watercolor Biennial China 2013-
2014 และเปน็ ศลิ ปนิ รบั เชิญเขา้ รว่ ม Workshop และแสดงผลงานในงาน World Watermedia Exposition 2014,
Bangkok, Thailand ทก่ี รงุ เทพฯ นอกจากแสดงงานในประเทศสวเี ดนแลว้ เขายงั ไดร้ ว่ มแสดงงานในนทิ รรศการ
ส�ำ คญั ๆ ตามประเทศตา่ ง ๆ เช่น รสั เซยี อติ าลี แมกซโิ ก จนี เกาหลี ไตห้ วนั เปน็ ตน้ สง่ิ ส�ำ คญั ทเี่ ขายดึ ถอื ปฏบิ ตั ใิ นการ
เปน็ ศลิ ปนิ สนี �ำ้ กค็ อื การฝกึ สเกต็ ช์ภาพ การหดั ผสมสที มี่ คี วามแตกตา่ งกนั เลก็ นอ้ ยและการเขยี นรปู ทกุ วนั

ทม่ี า : https://wooarts.com/stanislaw-zoladz/

20

8. Yuko Nagayama

ภาพท่ี 8. Yuko Nagayama “Cosmos” 2021

ท่มี า : https://www.facebook.com/yuko.nagayama.7

ยโู กะ นากายามา เกดิ เมอ่ื ปี ค.ศ.1963 ทกี่ รงุ โตเกยี ว จบการศกึ ษาดา้ นจติ รกรรมทง้ั ปรญิ ญาตรแี ละปรญิ ญา
โทในปี 1978 จาก the School of Arts Department Satoru, Tokyo และในปี 1985 จาก National University
of Fine Arts and Music ยโู กะ นากายามา เปน็ ศลิ ปนิ หญงิ ชาวญป่ี นุ่ ทปี่ จั จบุ นั กา้ วขน้ึ มาอยแู่ ถวหนา้ ของศลิ ปนิ สี
น�ำ้ จากทว่ั โลกคนหนง่ึ มฝี มี อื ในการเขยี นภาพหนุ่ นงิ่ ประเภทดอกไมผ้ ลไมโ้ ดยมวี ตั ถปุ ระกอบอน่ื ๆ เช่นถว้ ยชาม แจกนั
เครอ่ื งเคลอื บทม่ี ลี วดลายโบราณหรอื แจกนั แกว้ ใส หรอื วตั ถโุ ลหะมนั วาว รวมถงึ เขาสตั ว์ แทง่ เทยี นทจ่ี ดุ ไฟไว้ เปน็ ตน้
งานของยโู กะมเี สนห่ ์ ชวนหลงใหล ดว้ ยรปู ทรงทเ่ี หมอื นจรงิ ในขณะเดยี วกนั กส็ อดแทรกฉากหลงั ฝนั ๆ ที่ดูเหมือนรอย
คราบด่างดวงรอยหยดหยอดของสีท่ีดูเหมือนเกิดข้ึนอย่างไม่ต้ังใจ ใช้สที กุ สไี ดส้ ะอาดสดใสตง้ั แตว่ ตั ถดุ า้ นหนา้ ไป
จนถงึ ฉากหลงั ไมม่ สี ขี นุ่ มวั หรอื สกปรกเลย ส่ิงหน่ึงที่สังเกตเห็นได้ชัดคือความชำ�นาญในการจัดวางองค์ประกอบ
ในภาพท่ีมักจะจัดวางองค์ประกอบภาพในลักษณะท่ีสองข้างไม่เท่ากัน เขียนเกบ็ เฉพาะรายละเอยี ดตรงจดุ สนใจ
ในภาพเท่านั้นซ่ึงมกี ารกนั พน้ื ขาวดว้ ยกาวยางไวก้ อ่ นแลว้ กลบั มาเก็บรายละเอยี ดทหี ลงั ฉากหลงั จะใช้เทคนคิ สนี �้ำ
แบบสสี ดชมุ่ สรา้ งใหเ้ กดิ รอ่ งรอยคราบดา่ งดวงหรอื ฟกู่ ระจายกลนื หายไปสง่ ผลใหจ้ ดุ สนใจลอยเดน่ ออกมา นอกจาก
ภาพดอกไม้ผลไม้หุ่นนิ่งแล้วเธอยังสามารถเขียนภาพทิวทัศน์และเขียนคนและภาพร่างนางแบบเปลือยอย่าง
เรว็ ๆ ดว้ ยลายเสน้ หมกึ ด�ำ ลงสนี ้ำ�ปาดหยาบๆไดด้ ีอกี ดว้ ยโดยใช้เวลาเพียงไมก่ นี่ าที ในการเปิ ดงานแสดงแต่ ละ
คร้ั ง ยูโกะ มักจะแสดงการเขียนภาพหุ่นน่ิงแบบสดๆให้ได้ชมกัน เมอ่ื คราวทม่ี ารว่ มงานมหกรรมสนี �้ำ ทกี่ รงุ เทพฯ
(World Watermedia Exposition 2014, Bangkok, Thailand) เธอกไ็ ดส้ าธติ การเขยี นภาพดอกไมใ้ หไ้ ดช้ มกนั เธอ
ไดร้ บั เชิญใหเ้ ปน็ กรรมการตดั สนิ งานสนี �้ำ และไดร้ บั เชิญเขา้ รว่ มแสดงงานสนี �้ำ ในระดบั นานาชาตอิ กี มากมาย ภาพสี
น�้ำ ของเธอมผี กู้ ดถกู ใจถงึ ระดบั พนั รวมถงึ ภาพทล่ี งนมี้ ผี กู้ ดถกู ใจถงึ 1.3 พนั

ทม่ี า : https://www.tuttartpitturasculturapoesiamusica.com/2014/09/Yuko-Nagayama.html

21

9. La Fe

ภาพท่ี 9. La Fe “1 Red Rose to Fabriano 2021 Italy”

ท่มี า : https://www.facebook.com/orm2512
: https://www.youtube.com/watch?v=10jTpIIQEUU

La Fe หรอื ศรทั ธา หอมสวสั ด์ิ ศลิ ปนิ ไทยในปจั จบุ นั ทมี่ ชี อ่ื เสยี งเปน็ ทยี่ อมรบั ในวงการสนี �้ำ ทงั้ ในประเทศไทย
และในระดบั นานาชาติ ดว้ ยการเขยี นภาพดอกกหุ ลาบเพยี งดอกเดยี วเตม็ แผน่ กระดาษ ทม่ี าของชอื่ “La Fe” นน้ั
มคี วามหมายเดยี วกบั ค�ำ วา่ ศรทั ธาในภาษาไทย ลาเฟ เรยี นจบจากวทิ ยาลยั ช่างศลิ ป และจบการศกึ ษาจากคณะ
จติ รกรรมประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร เปน็ ศลิ ปนิ สนี �ำ้ คนไทยทส่ี รา้ งชอ่ื เสยี งใหป้ ระเทศไทยไดเ้ ปน็ ท่ี
รจู้ กั ทง้ั ในเอเชยี ยโุ รปและรสั เซยี เปน็ ทย่ี อมรบั กนั ในเรอื่ งของฝมี อื เทคนคิ เฉพาะตวั และแนวคดิ ในการท�ำ งาน กอ่ นหนา้ นเี้ ขา
เขยี นภาพเรอ่ื งราวตา่ ง ๆ โดยทว่ั ไป เชน่ ทวิ ทศั น์ ภาพเหมอื นคนแก่ คนขายลกู ชน้ิ ป้งิ ทม่ี คี วนั โขมง เดก็ ๆ ผชู้ ายเลน่ โดดน�้ำ
เขาช�ำ นาญในรปู แบบเหมอื นจรงิ ความบนั ดาลใจทท่ี �ำ ใหเ้ ขามาเขยี นดอกกหุ ลาบเปน็ เพราะรปู กหุ ลาบสขี าวทเ่ี ขาตงั้ ใจ
เขยี นใหก้ บั เจา้ สาวของเขา ซง่ึ เขาไดพ้ ยายามอยา่ งสดุ ฝมี อื ทจ่ี ะถา่ ยทอดอารมณค์ วามรสู้ กึ ภายในออกมาในงานซง่ึ
กไ็ ดร้ บั ความพงึ พอใจจากเจา้ สาวและตวั เขาเองกม็ คี วามสขุ ไปดว้ ย หลงั จากนน้ั ลาเฟกห็ นั มาทมุ่ เทใหก้ บั การเขยี นดอก
กหุ ลาบอยา่ งจรงิ จงั ตามความคดิ ของเขาทต่ี อ้ งการใหภ้ าพดอกกหุ ลาบเปน็ ตวั แทนของอารมณใ์ นแงข่ องความสขุ แกท่ กุ ๆ
คน สง่ิ ทน่ี า่ สนใจในแตล่ ะชน้ิ งานหรอื ดอกกหุ ลาบแตล่ ะรปู มกี ารใชเ้ ทคนคิ เฉพาะตวั ทศี่ ลิ ปนิ มคี วามช�ำ นาญเปน็ อยา่ งยง่ิ ใน
การทจ่ี ะขนึ้ รปู ดอกกหุ ลาบดว้ ยสสี ดๆดว้ ยพกู่ นั แบนโดยปราศจากการรา่ งภาพดว้ ยดนิ สอไวก้ อ่ น เรม่ิ ตน้ จากท�ำ กระดาษให้
เปยี กชมุ่ น�้ำ จากนน้ั จงึ ลงสแี ดงหรอื ชมพดู ว้ ยสี ๆ เดยี ว สรา้ งใหเ้ กดิ รปู ทรงภายนอก คอ่ ย ๆ คดั น�ำ้ หนกั ออ่ นแกข่ องสี ๆ เดยี ว
ใหไ้ ดร้ ปู ทรงของดอกกหุ ลาบ ซง่ึ เขามกั จะเขยี นจากตน้ แบบดอกกหุ ลาบของจรงิ จากนน้ั จะคอ่ ยๆใชพ้ กู่ นั แหง้ ๆ เชด็ สใี น
ภาพออก ตามน�ำ้ หนกั ขาวจดั ตามปลายกลบี จนทว่ั แลว้ จงึ เพม่ิ น�ำ้ หนกั เขม้ สดุ ลงไปในสว่ นเงาโคนกลบี รวมถงึ ปลายกลบี
ดอกและใบ ดว้ ยความช�ำ นาญในการควบคมุ ความชน้ื ของกระดาษใหส้ มั พนั ธก์ บั การเขยี นสชี มุ่ ๆ ลงสไี ปทลี ะชน้ั ดว้ ยการ
เชด็ สอี อก เพม่ิ สเี ขา้ จนไดน้ �้ำ หนกั ออ่ น กลาง แก่ ตามตอ้ งการ ควบคมุ รปู ทรง สี องคป์ ระกอบ รายละเอยี ดแสงเงาของดอก
และใบจนเสรจ็ สมสมบรู ณ์ ดอกกหุ ลาบของลาเฟมากมายไดเ้ ดนิ ทางไปรว่ มแสดงงานสนี �ำ้ ทว่ั โลก เปน็ ศลิ ปนิ รบั เชญิ และได้
รบั แตง่ ตง้ั ใหเ้ ปน็ กรรมการรว่ มตดั สนิ งานประกวดสนี �้ำ รวมไปถงึ การรบั เชญิ ไปสาธติ การเขยี นดอกกหุ ลาบโดยปราศจาก
การรา่ งภาพไวก้ อ่ นทว่ั ทง้ั เอเชยี จนี ญป่ี นุ่ อนิ เดยี เกาหลี ยโุ รป องั กฤษ อลั บาเนยี และรสั เซยี เปน็ ตน้ งานของเขาเปน็ แบบ
อยา่ งทดี่ ขี องการฝกึ ฝนอยา่ งหนกั เพอื่ ไปใหถ้ งึ จดุ มงุ่ หมายทตี่ ง้ั ไว้ เขาไดร้ บั รางวลั มากมายและเขา้ รว่ มกบั กลมุ่ สมาคมสนี �้ำ
นานาชาติ เปน็ ผกู้ อ่ ตง้ั กลมุ่ สมาคมสนี �้ำ ในประเทศไทย IWS Thailand (International Watercolor Society Thailand)
เพอ่ื ใหส้ มาชกิ ศลิ ปนิ สนี �ำ้ ไทยไดม้ โี อกาสเขา้ รว่ มแสดงงานสนี �ำ้ ในระดบั นานาชาตจิ นถงึ ทกุ วนั น้ี

ทมี่ า : “LaFe and his watercolor roses” The Bratec Lis Gallery, Moscow.28/10/2015
: https://gallerix.org/invited/201510/lafe-i-ego-akvarelnye-rozy/

22

ผู้เขียนหวังว่าบทความและตัวอย่างนี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจสีนำ้� ผู้ที่กำ�ลังเร่ิมต้นและผู้ที่สามารถ
เขียนสีนำ้�ได้แล้ว โดยต้องไม่ลืมว่าทักษะเหล่าน้ีกว่าจะมาถึงจุดน้ีได้ต้องผ่านการฝึกฝนมาอย่างหนักลองผิดลอง
ถูกและทุ่มเทให้กับสีน้ำ�อย่างจรงิ จังเราก็จะประสบความสำ�เรจ็ ได้เช่นกัน โดยเฉพาะในยุคแห่งโลกดิจิทัลนี้ความ
รู้สามารถไขว่คว้าได้จากในอากาศเฉกเช่น “Watercolour in the Air”

รายการอ้างอิง
• https://www.youtube.com/watch?v=58T0NlhNweA
• https://www.facebook.com/search/top?q=chien%20chung-wei
• https://www.tuttartpitturasculturapoesiamusica.com/2016/10/Chien-Chung-Wei.html
• https://www.facebook.com/search/top?q=jansen%20chow
• https://watercolorium.com/index.php/ru/experts/17-jansen-chow
• https://www.facebook.com/joe.dowden.3
• https://watercolourjourney.com/favourite-artists/joe-francis- dowden/?doing_wp_cron=16

34106936.1209030151367187500000
• https://www.facebook.com/search/top?q=john%20salminen
• https://wooarts.com/john-salminen/
• https://www.facebook.com/ong.k.seng.71
• https://en.wikipedia.org/wiki/Ong_Kim_Seng
• https://www.facebook.com/profile.php?id=100000720400168
• http://www.michaljasiewicz.com
• https://www.facebook.com/stanislaw.zoladz.5
• https://wooarts.com/stanislaw-zoladz/
• https://www.facebook.com/yuko.nagayama.7
• https://www.tuttartpitturasculturapoesiamusica.com/2014/09/Yuko-Nagayama.html
• https://www.facebook.com/orm2512
• https://www.youtube.com/watch?v=10jTpIIQEUU
• https://gallerix.org/invited/201510/lafe-i-ego-akvarelnye-rozy/

23

บทความ: ศิลปะ+วทิ ยาศาสตร์

รองศาสตราจารย์ศุภชัย สุกขีโชติ

ปรชั ญาและความหมายทางศิลปะ เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อมทางสังคม เทคโนโลยี และการ
ส่ือสาร Aristotle ปราชญ์ในยุคกรกี โบราณ นิยามความหมาย ของศิลปะว่า ศิลปะคือการเลียนแบบธรรมชาติ
Leo Tolstoy นักประพันธ์ที่มีชื่อเสียงชาวรสั เซีย นิยาม ความหมาย ของศิลปะ ว่า ศิลปะคือการถ่ายทอดความ
รู้สึกของมนุษย์
ศิลปะกับวทิ ยาศาสตรเ์ กื้อหนนุ ส่งเสรมิ ซ่ึงกันและกนั มาโดยตลอด ต้งั แตใ่ นอดตี Leonardo da Vinci เปน็
ผรู้ ูร้ อบดา้ นชาวอติ าลีแหง่ ยคุ ฟ้ นื ฟูศลิ ปวิทยาช้ันสงู ท่ีมบี ทบาทเปน็ จิตรกร, วศิ วกร, นักวิทยาศาสตร,์ นักทฤษฎี,
ประตมิ ากรและสถาปนิก Michelangelo เปน็ ท้งั ประติมากร จติ รกร กวี และสถาปนิกเอกแหง่ สาธารณรฐั ฟลอเรน
ผลงานของเขามีท้งั งานประตมิ ากรรม จิตรกรรม สถาปตั ยกรรม งานออกแบบตกแตง่ ภายใน Marcel Duchamp
เปน็ จิตรกร ประติมากร นักเลน่ หมากรุก และนักเขยี นชาวอเมรกิ ันฝรง่ั เศส ซ่ึงผลงานของเขาเกี่ยวข้องกับ Cubism,
Dada และศลิ ปะแนวความคดิ ผู้ปฏิวตั ิศลิ ปะด้วย Readymade Art ความหลากหลายความรูแ้ ละทกั ษะของคน
เหลา่ น้ีเปน็ ปจั จยั สำ�คัญทที่ �ำ ใหบ้ คุ คลเหลา่ น้ีประสบความส�ำ เรจ็
ทักษะทางศิลปะ การรา่ งภาพด้วยมือ การวาดภาพจิตรกรรมด้วยมือ การป้ ันรูปประติมากรรมด้วย
มือ การพิมพ์ภาพพิมพ์ด้วยมือ รูปแบบการสื่อสารและการนำ�เสนอในแบบจารตี ด้ังเดิม การสังเกต การทดลอง
ลงมือทำ� จินตนาการ ความฝัน ปรชั ญา จิตใต้สำ�นึก ความรู้สึก
ทกั ษะทางวทิ ยาศาตร์ การค�ำ นวณ การสรา้ งภาพดว้ ยวสั ดสุ อื่ ทผ่ี ลติ จากกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ
อตุ สาหกรรม การสรา้ งภาพดว้ ยกระบวนการเคมี การสรา้ งภาพดว้ ยกระบวนการทางอเี ลก็ ทรอนกิ ส์ การสรา้ งภาพ
ดว้ ยกระบวนการทางกลศาสตร์ การสอ่ื สารดว้ ยระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การจดั การระบบอนิ เตอรเ์ นต็ และโซเชยี ลเนต็ เวริ ก์
การใชต้ รรกะหลกั เหตผุ ล การสงั เกต การคาดคะเน การทดลองตรวจสอบ
ความรู้และทักษะทางศิลปะและวิทยาศาสตร์ทำ�ให้ศิลปิน เช่น Cai Guo Qiang, Olafur Eliasson,
Damien Hirst, ประสบความสำ�เร็จ ปรัชญา คุณค่าและนิยามทางศิลปะ ถูกปรับเปล่ียนขยายความออกไป
กว้างขวางมากข้ึน นับตั้งแต่วันที่ Marcel Duchamp นำ�โถสุขภัณฑ์ ชื่ อ“Fountain” ท่ีสมาคมศิลปินอิสระ
ในนิวยอร์ก (Society of Independent Artists) จัดแสดงในนาม ‘R.Mutt’ เม่ือปี ค.ศ. 1917 แสดงในห้อง
นิทรรศการศิลปะ ต้ังคำ�ถามถึงคุณค่าท่ีแท้จริงของงานศิลปะ ทักษะในการสร้างผลงานศิลปะก็ขยายกว้าง
ออกไปเช่นกัน จากผลงานศิลปะที่ต้องใช้ความสามารถในการ เขียนภาพ ป้ ันภาพและพิมพ์ภาพด้วยมือ มี
ทิศทางเปลี่ยนไปสู่ศิลปะท่ีใช้ แนวความคิดใหม่ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและวัสดุอุปกรณ์หรือ
ผลผลิตจากโรงงานอุตสาหกรรม รูปแบบและการนำ�เสนอทางศิลปะใหม่
Cai Guo Qiang เปน็ ศลิ ปนิ จนี ทคี่ น้ พบการเขยี นภาพดว้ ย ดนิ ปนื ฝนุ่ พลุ ปะทดั เขาใช้กระดาษตดั เปน็ แบบ
หรอื วสั ดอุ น่ื ๆในการปดิ บงั และสรา้ งรปู รา่ งตามทต่ี อ้ งการ โรยดว้ ย ดนิ ปนื ฝนุ่ พลุ ประทดั ตอ่ สายชนวน จดุ ไฟเผาไหม้
เกดิ เปน็ รอ่ งรอยเขมา่ ควนั จากการเผาไหมค้ ลา้ ยการวาดเสน้ ดว้ ยดนิ สอหรอื พกู่ นั เขาสรา้ งผลงานดว้ ยการใช้พลใุ น
ชดุ “Sky Ladder” ที่ Quanzhou, 2015 ไดเ้ ปน็ ผอู้ อกแบบและจดั การพธิ เี ปดิ กฬี าโอลมิ ปคิ Opening Ceremony
Beijing Olympics,2008

24

“Creation of Gunpowder Drawings :Sky Radder Los Angeles”, 2012. by Cai Guo Qiang,
California, United States.

ท่ีมา: https://youtu.be/c-QIj7E6CR8

“Sky Ladder Quanzhou”, 2015. by Cai Guo Qiang.
ที่มา: https://youtu.be/wrG4Nqs-K5g

“Opening Ceremony Beijing Olympics”,2008. by Cai Guo Qiang.
ที่มา: https://youtu.be/wrG4Nqs-K5g

25

Olafur Eliasson ศิลปินชาวเดนมารก์ ใช้การหักเหของแสงสี การสะท้อนภาพและสรา้ งภาพลวงตา การสะท้อน
แสงสี การจัดการบรรยากาศแสงสีและสภาพแวดล้อม เช่น ผลงาน “The Weather Project” ที่ พิพิธภัณฑ์ศิลปะ
Tate Modern London ใช้การสะท้อนแสงและสี สรา้ งภาพเสมือนพระอาทิตย์ดวงใหญ่ เปล่งแสงสว่างให้ความ
รู้สึกอบอุ่นข้ึนในพิพิธภัณฑ์ ผลงาน “Reality projector” ท่ี Marciano Art Foundation, Los Angeles การ
ใช้แสงจาก projector ฉายผ่านโครงสรา้ งอาคารบางอย่าง ประกอบกับเสียงดนตรจี ากเปียโนเหมือนเสียงวัตถุ
ขนาดใหญ่เคล่ือนตัวอย่างช้าๆ สีจาก projector ทำ�ให้เกิดแผ่นระนาบสีต่างๆในห้องแสดงผลงานขนาดใหญ่
สรา้ งประสบการณ์ลึกลับบางอย่าง เป็นผลงานแบบนามธรรมท่ีมีการเคลื่อนไหว เปล่ียนแปลงรูปทรงอยู่ตลอด
เวลา ด้วยการหักเหของแสง ผลงาน “The Parliament of Possibilities” ที่ Leeum, Samsung Museum of
Art Seoul เขาพ่นละอองน้ำ�ข้ึนในห้องแสดงงาน สรา้ งแสงสีรุ้งด้วยการฉายแสงจาก projector ผ่านละอองนำ้�
สรา้ งประสบการณ์ใหม่กับผู้ชมในห้องแสดงผลงาน

“The Weather Project”, 2003. by Olafur Eliasson, at tate modern, London.
ที่มา: https://youtu.be/IsT9vEpfNq4

“Realiity projector”, 2016. by Olafur Eliasson, Marciano Art Foundation, Los Angeles.
ที่มา: https://youtu.be/tXF3usSfMxk

26

"The Parliament of Possibilities”, 2016. by Olafur Eliasson, Leeum, Samaung Museum of Art Seoul.
ทมี่ า: https://youtu.be/FaBl2JKM-Fo

Damien Hirst ศิลปินชาวอังกฤษ ที่ถูกเรียกขานว่าเป็นศิลปินผู้ค้าความตาย ซากฉลามเสือ วัว หมู และสัตว์
อ่ืนๆไปจนถึงผี้เสื้อ ซากสัตว์ถูกนำ�มาผเชิญหน้ากับผู้ชม แสดงสัจธรรมแห่งความตายต่อหน้าผู้ชมอย่างใกล้
ชิด ในรูปแบบเดียวกับการเก็บรักษาซากสัตว์ไว้ในตู้ดองด้วยฟอร์มัลดีไฮด์ ในตู้กระจกใส เพ่ือการศึกษาของ
แพทย์ เป็นความจริง ตรงไปตรงมากับความตาย ซากฉลามเสือขนาดใหญ่ ผู้ชมจะเผชิญหน้ากับความตาย
จากเค้ียวฟันของฉลาม ถูกนำ�มาใส่ตู้กระจก เช่นผลงาน “The physical Impossibility of Death in the
Mind of Someone Living” ศิลปินดูสนุกสนานกับการนำ�ซาก ความตายของสัตว์มาเล่น หรือต้องแสดง
สัจธรรมแห่งชีวิต ในผลงาน “This Little Piggy Went to Market, This Little Piggy Stayed at Home”
ตู้2ใบใส่ซากหมูผ่าคร่ึงตัวต้ังแต่หัวไปจรดหาง แยกออกเป็น 2 ซีก ซีกละตู้ วางชิดกันให้ด้านซี่โครงท่ีถูกตัดผ่า
เข้าหากัน ตู้2ใบนี้สามารถเคล่ือนท่ีสลับไปมาได้ และผลงาน “A Thousand Years” ซากหัววัวเน่า แมลงวัน
ตอมอยู่ในตู้ ส่วนบนเป็นแผงไฟฟ้าดักจับแมลงวัน ตอมซากหัววัวแล้ววางใข่ เกิดเป็นหนอนแมลงวัน เติบโต
เป็นแมลงวัน บางส่วนไปชนกับดับดักแมลงวันตาย หมุนเวียนเช่นนี้ไปเป็นวัฏจักรชีวิตของแมลงวัน

“The physical Impossibility of Death in the Mind of Someone Living”, 1991. by Damien Hirst,
2154 x 5142 x 1884 mm | 84.9 x 202.4 x 74.2 in Glass, painted stainless steel, silicone, monofilament, tiger shark

and formaldehyde solution.
ทมี่ า: https://damienhirst.com/the-physical-impossibility-of

27

“This Little Piggy Went to Market, This Little Piggy Stayed at Home”, 1996. by Damien Hirst,
Two parts, each: 1200 x 2100 x 600 mm | 47.2 x 82.7 x 23.6 in Glass, pig, painted steel, silicone, acrylic, plastic

cable ties, stainless steel, formaldehyde solution and motorised painted steel base.
ทมี่ า: https://damienhirst.com/this-little-piggy-went-to-mark

"A Thousand Years”, 1990. by Damien Hirst,
Steel, glass, flies, maggots, MDF, insect-o-cutor, cow’s head, sugar, water 84″ x 168″ x 84″ Gagosian Gallery.
ทม่ี า: https://islandlass.wordpress.com/2008/11/20/damien-hurst-one-of-the-bad-boys-of-the-art-world/

28

เกดิ อะไรขน้ึ เมอ่ื วทิ ยาศาตรร์ วมกบั ศลิ ปะ “Imagination is more important than knowledge.
Knowledge is limited. Imagination encircles the world.” “จนิ ตนาการส�ำ คญั กวา่ ความรู้ เพราะความรนู้ น้ั มี
จ�ำ กดั แตจ่ นิ ตนาการมอี ยทู่ กุ พน้ื ทบ่ี นโลก” Albert Einstein เปน็ ประโยคทแี่ สดงใหเ้ หน็ ไดช้ ัดเจนจากนกั วทิ ยาศาสตร์
ผยู้ ง่ิ ใหญท่ ถี่ กู ยกยอ่ งใหเ้ ปน็ อจั ฉรยิ ะ ศลิ ปะและวทิ ยาศาตรม์ คี วามส�ำ คญั และท�ำ งานควบคกู่ นั มาตลอดจนิ ตนาการ
ความฝนั ความรสู้ กึ การใช้หลกั เหตผุ ลทางวทิ ยาศาตร์ การสอื่ สารในรปู แบบสอ่ื ใหม่ รปู แบบใหมท่ างศลิ ปะ Mixed
Media Art, Digital Arts, อน่ื ๆอกี มากมาย และรปู แบบใหมใ่ นอนาคต ผลงานศลิ ปะไมไ่ ดเ้ กดิ ขน้ึ ดว้ ยฝมี อื ของศลิ ปนิ
แตเ่ พยี งผเู้ ดยี วอกี ตอ่ ไปแลว้ การตคี วามคณุ คา่ ความหมาย ความงาม ของผลงานศลิ ปะแผก่ วา้ ง ขยายขอบเขตออก
ไปมากมาย งานศลิ ปะถกู ผลติ ขน้ึ ดว้ ย วสั ดชุ นิ้ สว่ น จากกระบวนการทางอตุ สาหกรรม กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
กระบวนการทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละเทคโนโลยใี หม่ ศลิ ปะจะพฒั นาไปจนดดู กลนื สงั คมสง่ิ แวดลอ้ มมนษุ ย์ เปน็ อนั
หนง่ึ อนั เดยี วกนั หรอื ไม่ เรารไู้ ดอ้ ยา่ งไร อะไรเปน็ ผลงานศลิ ปะ อะไรเปน็ ผลงานคดิ คน้ ทางวทิ ยาศาตร์ ศลิ ปนิ Olafur
Eliasson สรา้ งผลงานศลิ ปะทใ่ี หค้ วามรสู้ กึ อบอนุ่ และภาพเสมอื นดวงอาทติ ยข์ น้ึ สามารถจ�ำ ลองสภาพอากาศดว้ ย
การสรา้ งรงุ้ กนิ น�ำ ใ้ หเ้ กดิ ขน้ึ ในหอ้ งแสดงศลิ ปะ หรอื Damien Hirst น�ำ ฉลามเสอื ขนาดยกั ษม์ าใสต่ ดู้ อง น�ำ หมทู งั้
ตวั ผา่ ซกี จากหวั จรดเทา้ เช่นเดยี วกบั การดองศพของนกั ศกึ ษาแพทย์ องคค์ วามรทู้ ี่ Cai Guo Qiang ตอ้ งใช้ส�ำ หรบั
การใช้ดนิ ปนื ในการสรา้ งผลงานศลิ ปะ การค�ำ นวณสดั สว่ น สว่ นผสมดนิ ปนื ทศิ ทางความเรว็ ลม และเวลาในการจดุ
ระเบดิ ทตี่ อ้ งมคี วามสมั พนั ธต์ อ่ เนอื่ ง เพอ่ื สรา้ งสแี ละรปู ทรงในการจดุ ระเบดิ แตล่ ะครง้ั ทแี่ สดง เมอ่ื ศลิ ปะไดก้ �ำ ลงั เขา้
ควบรวมกบั วทิ ยาศาสตรห์ รอื ในทางกลบั กนั ศลิ ปนิ ทย่ี งั คงใช้มอื ในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะ ยง่ิ ท�ำ ใหเ้ พม่ิ มลู คา่
และความนา่ สนใจมากขน้ึ ดว้ ย

29

ศิลปนิ รบั เชิญ

ศลิ ปินรับเชิญ

“ทะเลระยอง”
เทคนิค สีน�ำ้ บนกระดาษ
ขนาด 50 x 70 cm.

อาจารย์กมล สุวุฒโฑ

ทป่ี รึกษาอธิการบดีสถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์

30

ศลิ ปินรบั เชญิ

"แสงในทวิ ทศั น"์ "Light in landscape"
เทคนิค สีนำ�้ บนกระดาษ ปี 2558(2015)
ขนาด 51 x 66 cm.

อาจารย์สมศกั ด์ิ เชาวนธ์ าดาพงศ์

ศลิ ปินแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2560 สาขาทศั นศลิ ป์ (จติ รกรรม)

31

ศลิ ปินรับเชิญ

คนื หนง่ึ มหาสารคาม ๒๕๖๐ Night, Mahasarakham, 2017
เทคนคิ สนี �้ำ บนกระดาษ
ขนาด 20 x 20 cm.

ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ ปรญิ ญา ตนั ตสิ ขุ

ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๖๑ สาขาทัศนศลิ ป์
ประเภทวจิ ิตรศลิ ป์ (จติ รกรรม)

[email protected]
parinya tantisuk

32

ศิลปนิ รับเชญิ

“Summer Hill” 2021.
เทคนิค สีน้ำ�บนกระดาษ
ขนาด 38 x 56 cm.

รองศาสตราจารยส์ รรณรงค์ สงิ หเสนี

[email protected]
asnnarong singhaseni

33

ศิลปินรบั เชญิ

รองศาสตราจารย์ศภุ ชยั สุกขีโชติ "แอบซ่อนบนั ทกึ "
เทคนิค สนี �้ำ บนสมดุ บนั ทกึ
[email protected]
ขนาด 150 x 20 cm.
34

ศิลปนิ รับเชญิ

ปราสาทเมืองสิงห์
เทคนคิ สีน�ำ้
ขนาด 30.48x 38.10 cm.

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยเ์ ฉลมิ ศกั ด์ิ รตั นจนั ทร์
35

ศลิ ปินรบั เชิญ

ฝนตกหนัก
เทคนคิ สนี ำ�้ บนกระดาษ
ขนาด 30 x 40 cm.

ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์สุมาลี เอกชนนิยม

[email protected]
Sumalee Ekachonniyom

36

ศิลปนิ รบั เชิญ

ภาพหนา้ ตกึ ยามเช้า
เทคนิค สนี ้ำ�
ขนาด 31 x 41 cm.

นายจรูญ นราคร

อดีตผตู้ รวจราชการกระทรวงวฒั นธรรม

37

ศิลปนิ รับเชญิ

หนุ่ นงิ่
เทคนคิ สนี ำ�้ บนกระดาษ
ขนาด 31 x 41 cm.

นางสาวมณทิพย์ เทพวารนิ ทรามาศ

อดตี ผวู้ า่ การไลออนส์สากลภาค 310 ดี ประเทศไทย

38

ศิลปินรบั เชญิ

Bubble
เทคนิค Underglaze
ขนาด Diameter 15 x 22 cm.

อาจารย์จรัญ หนองบวั

ผอู้ ำ�นวยการวิทยาลยั ชา่ งศิลป

39

ศลิ ปินรับเชิญ

“Girl”
เทคนคิ สนี ำ้�
ขนาด 38 x 56 cm.

อาจารย์วศิ ษิ ฐ พิมพิมล

ครูช�ำ นาญการพเิ ศษ วทิ ยาลัยชา่ งศิลปสุพรรณบุรี
[email protected]
wisit1007

40

ศลิ ปนิ รบั เชิญ

“พวงหยก”
เทคนคิ สอี ะครลิ คิ
ขนาด 30 x 40 cm.

อาจารย์ขวัญใจ พิมพิมล

ผอู้ �ำ นวยการวิทยาลยั ช่างศิลปสุพรรณบรุ ี

41

ผูบ้ รหิ าร

Imigination from stillife 2021
เทคนิค watercolor and chinese ink
ขนาด 38 x56 cm.

อาจารยภ์ ทั รพร เล่ยี นพานิช

อาจารย์ประจ�ำ คณะศิลปวจิ ติ ร
รกั ษาการในต�ำ แหน่งรองคณบดีคณะศลิ ปวิจติ ร
สถาบันบณั ฑติ พฒั นศิลป์

42

ผบู้ รหิ าร

นาบวั ลงุ แจม่
เทคนิค สีน้�ำ บนกระดาษ
ขนาด 19 x 28 cm.

อาจารยว์ ิสทุ ธ์ิ ย้มิ ประเสรฐิ

อาจารย์ประจำ�คณะศลิ ปวิจิตร
รักษาการในตำ�แหนง่ รองคณบดคี ณะศลิ ปวจิ ติ ร
สถาบันบณั ฑติ พฒั นศิลป์

[email protected]
WISUT YIMPRASERT

43

ศลิ ปินรบั เชญิ

ทะเลจันทรา
เทคนคิ สีนำ�้ บนกระดาษ
ขนาด 27.5 x 37.5 cm.

นายนเรนทร์ กรินชัย

นายกสมาคมศษิ ย์เกา่ ศิลปศึกษา-ช่างศิลป
[email protected]
Oakzx Krinchai

44

ศิลปินรับเชญิ

Mr.Robert
เทคนคิ Watercolor on Canvas
ขนาด 50 x 60 cm.

ผ้ชู ่วยศาสตราจารยอ์ นศุ รณ์ ศริ ปิ ่ิน

[email protected]
Anusorn Opil Siripin
Anusorn Opil Siripin

45

คณาจารย์

คณาจารย์

Evening time in the water season ยามเย็นในฤดนู ำ้� Year 2021
เทคนิค สนี �ำ้ บนกระดาษ
ขนาด 39 x 54 cm.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์เด่น หวานจริง

[email protected]
Den Warnjing

46

คณาจารย์

ก่อนทีม่ ันจะหายไป
เทคนคิ สีน้�ำ บนกระดาษ
ขนาด 29.7 x 42 cm.

ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ชยากร เรืองจ�ำ รูญ
47

คณาจารย์

ทุง่ เมืองชล
เทคนิค สีน�ำ้ บนกระดาษ
ขนาด 21 x 36 cm.

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยด์ วงหทยั พงศป์ ระสทิ ธ์ิ

[email protected]
Dounghatai Pongprasit

48

คณาจารย์

“ลกู ไม้วนั นี้” 2021
เทคนิค Water color on Arches paper 280g
ขนาด 56 x 38 cm..

อาจารยก์ ิตติ บญุ มี

[email protected]
กิตติ บุญมี

49

คณาจารย์

หุน่ นิ่ง กนั ยายน 2564
เทคนคิ สนี ำ้�บนกระดาษ
ขนาด 35 x 53 cm.

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์สุทธาสนิ ีย์ สวุ ฒุ โฑ

[email protected]
Sutthasinee Suwuttho
Sutthasinee_Suwuttho

50


Click to View FlipBook Version