The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Larpluck Boonyakom, 2022-05-22 04:23:27

ArtExhibition_2022_E-book

ArtExhibition_2022_E-book

อาจารย์ไพยันต์ บรรจงเกลีย้ ง
Mr. Paiyan Banjongklieng

การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑติ (ประติมากรรม)
บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 2544
Education : M.F.A. (Sculpture), the Faculty
of Painting Sculpture and Graphic Arts,
Silpakorn University, Thailand, 2001

Paiyan Banjongklieng

สมเด็จพระอรยิ วงศาคตญาณ (อัมพร อมพฺ โร) 2022 :
Somdej Phra Ariyawongsakattanayan (Amporn Amparo) 2022

marble carving
w 30 x l 25 x h 40 cm

49

อาจารยอ์ านนั ต์ แซฉ่ ่วั
Mr. Arnun Saechue

การศึกษา : มหาลยั ศิลปกร
Education : Silpakorn university

[email protected]
ArnunSaechue
arnun_saechue

รัชกาลที่ 9 : kingrama 9
Plaster
high 85 cm

แนวความคดิ
ขา้ พเจา้ ตอ้ งการนอ้ มร�ำ ลกึ ถงึ ในหลวงรชั กาลที่ 9 ผเู้ ปน็ แบบอยา่ งใน
การใชช้ วี ติ ของขา้ พเจา้
Concept
This work is a tribute to His Majesty King Rama IX, the
epitome of great magnanimity and a role model for all time.

50

อาจารยส์ ุชน สุจติ
Mr. Suchon sujit

การศึกษา : ป.โท สาขาประติมากรรม
คณะจติ รกรรม ประตมิ ากรรมและภาพพิมพ์
มหาวิทยาลัยศิลปากร

Education : M.F.A: Faculty of Painting,
Sculpture and Graphic Art in Sculpture
major at Silpakorn University

[email protected]
suchon sujit
suchonnn / suchonsculptor_studio

The deep structure of psychology
resin / stainless / sound
200 x 180 x 200 cm

แนวความคดิ
ผมสงสัยต่อความผิดแปลกจากสิ่งที่มองไม่เห็นผ่าน ‘ร่างกาย’
จากพฤติกรรมคนเมืองสู่ปั ญหาทางสุขภาพจิต สะทอ้ นผลกระทบ
จากปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มและมลภาวะทางสงั คม โดยเฉพาะปรากฏการณ์
ความขัดแย้งท่ีนำ�ไปสู่ความรุนแรงในพ้ืนท่ีชุมชนเมือง ผมมงุ่ ต้งั
ขอ้ สังเกตุถึงสิ่งที่ส่งผลให้รปู รา่ ง(มนษุ ย์)บดิ เบย้ี ว แปลกประหลาด
กระทงั้ ลดทอ่ นจนหายไป ในแงข่ องภาวะเชิงอารมณ์และความร้สู ึก
ภายในของผู้คน เชน่ อาการสั บสน อารมณ์แปรปวน ฉุนเฉียว
ไม่มั่นคง จนน�ำ ไปสู่สาเหตขุ องโรคทางสุขภาพจติ ทแ่ี ผห่ ลายสู่ผคู้ น
ในปัจจบุ นั อยา่ งชดั เจน

Concept
I’m questioning the oddities of non-visible signs of the
human body, examining the urban resident’s behavior
and mental health issues caused by their environment
and social problems. In particular, conflict situations
that lead to violence in urban areas. The aim is to
examine irregular shapes and forms of human to the
point of formlessness in terms of internal feelings and
emotions, such as; confusion, aggresstion, emotional
instability and insecurity, leads to mental health issues
of urban residents.

51

อาจารยป์ รานต์ ชาญโลหะ
Mr. Pran Chanloha

การศกึ ษา : ศลิ ปมหาบณั ฑติ ภาพพมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
Education : M.F.A. Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok

[email protected]
Pran Ch
pran_chanloha

COVID 19 : 2 - 2021
23 Layers, Photocopy Transfer
74 x 52 cm

แนวความคดิ
จากการที่ข้าพเจ้าได้พูดคุยกับกลุ่มคนได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ
โรค Covid 19 มที ั้งการสูญเสียบุคคลในครอบครวั การสูญเสียรายได้จากการ
ประกอบอาชพี ผลงานสร้างสรรคช์ ุดนี้ จงึ ตอ้ งการบนั ทกึ กล่มุ บุคคลที่ได้รบั
ผลกระทบ ในสถานการณ์ปัจจบุ ัน

Concept
According to my conversation with people affected by COVID-19
pandemic, the impact includes loss of family members, earnings
and etc. This work visualizes the affected people from the current
situation.

52

ผชู้ ่วยศาสตราจารยม์ ินทรล์ ดา จกั รชัยอนนั ท์
Asst. Prof. Mintlada Jakchaianan

การศึกษา : ปรญิ ญาโท (ศลิ ปมหาบณั ฑติ ) มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
Education : Master's degree
(Master of Fine Arts) Silpakorn University

[email protected]

Impression of Phra Maha Chedi No.8
Screen print
76 x 58 cm

แนวความคิด
สร้างสรรค์ผลงานศิลปะถ่ายทอดความประทับใจในความงดงามขององค์
พระมหาเจดยี ์ สี่รชั กาล ประดิษฐาน ณ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม ทีเ่ ปน็
สัญลักษณ์ของความเช่อื ความศรัทธา และเปน็ ศูนย์รวมแห่งคณุ ความดี

Concept
Create works of art to convey the impression of the beauty
of Phra Maha Chedi Four Reigns, enshrined at Phra Chetuphon
Wimonmangkalaram Temple. which is a symbol of faith, faith and
is the center of virtue

53

อาจารย์พิทวลั สุวภาพ
Ms. Pittawan Suwapab

การศกึ ษา : ศลิ ปมหาบณั ฑติ (ทศั นศลิ ป)์ คณะวจิ ติ รศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่
Education : Master of Fine Arts (Visual Arts), Faculty of Fine Arts
Chiang Mai University

[email protected]
pittawan.su

ตวั ฉนั ทีไ่ ม่สามารถปกปดิ มันได้ : I can't hide it.
digital print
42 x 30 cm

แนวความคดิ
การกา้ วขา้ มขอ้ จ�ำ กดั ของสถานภาพทางเพศ ทถ่ี กู จ�ำ กดั ไวด้ ว้ ยบรบิ ท ของสงั คม วฒั นธรรม
และจารตี ประเพณี
Concept
Overcoming gender limitations that are limited by the context of society
and culture

54

อาจารยธ์ รี านนท์ จักรชยั อนนั ท์
Mr. Thiranon Jakchaianan

การศึกษา : ปรญิ ญาโท (ศิลปมหา
บัณฑิต) มหาวิทยาลัยศิลปากร

Education : Master's degree
(Master of Fine Arts) Silpakorn
University

[email protected]

Visible sound No.3
Screen print

180 x 150 cm

แนวความคดิ
ผู้สร้างสรรค์นำ�เสนอคุณค่าและสุ นทรียะที่ เกิดข้ึนจากรูป
และเสี ยงผ่านเส้ นและสี เพ่ือบันทกึ เสียงจากความรู้สึกศรัทธา
ถา่ ยทอดลงบนผลงานศิลปะ แสดงความรงุ่ เรืองทางจิตวญิ ญาณ
ของชาวพุทธ โดยใช้ระฆังแทนค่าเตอื นสตใิ หต้ ่ืนรู้ เวลา เคล่อื นท่ี
เคล่ือนไหว เกดิ ดับ อยกู่ ับปัจจบุ นั ในหว้ งแหง่ การต่ืนรู้

Concept
Creators present the values and aesthetics that arise
from form and sound through lines and colors. to
record, the sound of faith conveyed in the works of art
showing the spiritual prosperity of Buddhists by using
bells instead of reminders to wake up, to be aware of
time, movement, movement, birth, and death, and stay
in the present in the realm of awakening.

55

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยส์ พุ รรณกิ าร์ ตริ ณปรญิ ญ์
Asst. Prof. Supannikar Tiranaparin

การศกึ ษา : ศลิ ปมหาบณั ฑติ (การออกแบบเครอ่ื งประดบั )
คณะมณั ฑนศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร, 2559
Education : M.F.A. (Jewelry Design), the Faculty of
Decorative Arts, Silpakorn University, Thailand, 2016

[email protected]

น�ำ้ ให้ชวี ิต 2022 : Water gives life
Ceramics, Hand forming, Raku firing 1,050 oC, Glaze firing 1,200 oC
25 x 40 x 23 cm

แนวความคดิ
น�้ำ นน้ั มคี วามสำ�คญั กบั ทกุ ชวี ติ ไมว่ า่ จะเปน็ ตงั้ แตส่ ิ่งมชี วี ติ ตวั เลก็ ๆ จ�ำ พวก
ส่ิงมชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วไปจนถงึ สัตวห์ รอื ตน้ ไมข้ นาดใหญ่ แมก้ ระทง่ั ตน้ ไมห้ รอื
เมลด็ พันธท์ุ ถี่ กู เผาไหมจ้ ากไฟป่าเมอ่ื ไดร้ บั น�ำ้ กส็ ามารถกลบั มาเจรญิ เตบิ โต
งอกงามมชี วี ติ ไดอ้ กี ครงั้
Concept
Water is important for all living things, from tiny unicellular
organisms to huge animals or trees. Even if trees or seeds
burn in a wildfire, they can grow up again after receiving water.

56

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยจ์ ตรุ พร เทวกลุ
Asst. Prof. Chaturaporn Devakula

การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต (เคร่อื ง
เคลอื บดนิ เผา) มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

Education : MFA (Ceramic)
Silpakorn University

[email protected]

20.22.02
Ceramic

15 x 20 x 10 cm

แนวความคดิ
ลักษณะเฉพาะบุคคลที่หล่อหลอมจากประสบการณ์ถูกแทนค่า
ดว้ ยพ้ืนผวิ ท่ปี รากฏบนผลงาน

Concept
The details of personal identity were recorded as a
journal. Both family inheritance and daily experience
were collected and displayed on my work.

57

ผ้ชู ่วยศาสตราจารยโ์ อภาส นชุ นิยม
Asst. Prof. opas nuchniyom

การศกึ ษา : ศลิ ปมหาบณั ฑติ (เครอ่ื งเคลอื บดนิ เผา)
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

Education : MA, Ceramics, Silapakorn University
[email protected]

ผนั แปร : VARY
ceramics / glaze
35 x 40 x 25 cm

แนวความคดิ
การปรับตัวของสรรพสัตว์ในปั จจุบัน ต้องแปรเปล่ียนไปตาม
สภาวการณ์ อันเกิดจากจำ�นวนประชากรของมนุษย์ท่ีเพิ่มมาก
ข้ึน นัน้ หมายถงึ การใชท้ รพั ยากรธรรมชาติทเ่ี พิ่มข้นึ การทำ�ลาย
สิ่งแวดลอ้ มท่ีมากข้นึ ส่งผลกระทบต่อสิ่ งมีชีวิตในธรรมชาติ
เพ่ื อดำ�รงคงอยู่ของเผ่าพันธุ์

Concept
Growing human population results to exhaustion
of natural resources and gradual destruction of the
environment, thereby affecting the entire cosmos and
endangering the existence of certain species. Animals
of today must therefore adapt in response to these
circumstances.

58

อาจารย์ชนัส คงหิรญั
Mr. Chanut Khonghiran

การศึกษา : สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาบณั ฑติ
Education : Master’s degree of Architecture

[email protected]
ChanutKhonghiran

การออกแบบพนื้ ทกี่ จิ กรรมกลางแจง้ บา้ นเขาใหญ่ :
HARDSCAPE LANDSCAPE & PAVILION KYO-YAI

Computer Graphic
420 x 297 mm

แนวความคิด
โครงการออกแบบปรับปรุงพ้ืนท่ีเพ่ือการพักผ่อนและสันทนาการบนพ้ืนท่ี
ขนาด 6 ไร่ การออกแบบพ้ืนท่ีแห่งน้เี กิดจากการแปลความต้องการของ
เจ้าของพ้ืนที่ผสมผสานกับหลักการออกแบบที่คำ�นึงถึงหลักการวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมและผลกระทบทั้งจากทิศทางแสงแดด ลม ฝน เสียงและ
กลนิ่ รวมถงึ การมองเหน็ ทงั้ จากภายในและภาย นอกอกี ทงั้ การประสานงาน
กบั ผเู้ ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นในส่วน งานระบบตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหพ้ น้ื ทที่ อี่ อกแบบ
นน้ั ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการและการใชง้ านอยา่ งเตม็ ประสิทธภิ าพ

Concept
This is a project on the Renovation and Design of a 6-rai
Leisure and Recreation structure. The design involved a
systematic integration of the specifications set by the owner
and the various principles of design including the principles
of environmental analysis and the internal and external
impacts of sunlight, wind, rain, noise, and smell. The design
also integrates the recommendations of several specialists to
ensure the functional efficiency of the structure.

59

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยช์ ยากร เรืองจำ�รูญ
Asst. Prof. Chayakorn Ruengchamroon

การศกึ ษา : ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ การจดั การออกแบบภายใน มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ
Education : M.A. Interior Design Management Bangkok University

[email protected]

วถิ ีชมุ ชนรมิ น้�ำ วดั สาละวนั : The way of the community by the water at Salwan Temple
Chinese ink and watercolor pens
56 x 43 cm

แนวความคดิ
เพอ่ื เปน็ การศกึ ษา วถิ ชี มุ ชนรมิ น�ำ้ วดั สาละวนั ต�ำ บลศาลายา อ�ำ เภอพุทธมณฑล จงั หวดั นครปฐม โดย
ใชก้ ระบวนการการท�ำ งานทางดา้ นทศั นศลิ ป์ ประเภทงานวาดเสน้ พกู่ นั หมกึ จนี ในการวาดภาพใหเ้ กดิ
โครงสรา้ งรวมของงานและน�ำ สนี �้ำ มาใชเ้ พอ่ื การถา่ ยทอดบรรยากาศ อารมณแ์ ละความรสู้ กึ ชว่ งเวลา
นน้ั เพอ่ื เกบ็ บนั ทกึ การเปลยี่ นแปลงของชมุ ชนในเชงิ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชนนนั้
Concept
For education Community way of the waterfront at Salawan Temple, Salaya Subdistrict,
Phutthamonthon District Nakhon Pathom Province by using the process of working in
the visual arts Type of work of Chinese ink brush strokes in painting to create the overall
structure of the work and use watercolors to convey the atmosphere. emotions and
feelings at that time To keep a record of community changes in terms of improving the
quality of life of people in that community

60

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยน์ รนิ ทร์ อว้ นด�ำ
Asst. Prof. Narin Ouandam

การศึกษา : สถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ
(สาขาวชิ าสถาปัตยกรรมไทย)

Education : Master of Architecture
(Thai Architectural)

[email protected]
Narin Ouandam

รูปตัดโรงอาหารวังหนา้ : Section of Wangna Canteen
Program Computer and Paper Print
420 x 594 mm

แนวความคดิ
เป็นกระบวนการออกแบบที่จะเห็นการใช้สอยภายในอาคาร โดย
คำ�นึงถึงปริมาตรของพ้ืนที่ว่าง ครุภัณฑ์ รวมถึงระบบประกอบ
อาคาร

Concept
a design process that will see the usability inside the
building. taking into account the volume of space,
furniture, and building assembly systems.

61

อาจารยพ์ ิพัฒน์ จรสั เพ็ชร
Mr. Phiphat Jaratphet

การศกึ ษา : สถาปัตยกรรมภายในมหาบัณฑิต

Education : Master of Architecture
(interior Architecture)

[email protected]
Phiphat Jaratphet

บ้านชาวมันนิ : Home of Maniq
pen drawing
420 x 594 mm

แนวความคดิ
“น่ีอาจไม่ใช่บ้านสำ �หรับคุณแต่เป็นบ้านของใครคนนึง”ภาพ
แสดงให้เห็นถึงบ้านชาวป่ าท่ีอาศัยอยู่บนเทือกเขาบรรทัดกว่า
หม่ืนปี ภาพนี้อาจอธิบายความหมายของ “บ้าน” ในลักษณะ
โครงสร้างทางสถาปั ตยกรรมแต่ความหมาย “บ้าน” ของชาว
มันนิท่ีแท้จริงนั้นอาจหมายถึงป่า ครอบครัว หรือชาติกำ�เนิด

Concept
“This may not be a home for you, but it is for someone
else.” The picture shows a forest dwelling on the Banthat
mountain range some ten thousand years ago. The image
may meet the architectural & structural definition of a
“house.” But for the Manni people who lived here, this
forest is their birthplace, their family their “home.”

62

นางสาวกมลรส ชัยศรี
Ms. Kamonros Chaisri

การศึกษา : : ศิลปมหาบณั ฑิต (ทศั นศิลป์)
คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

Education : Master of Arts
(Visual Arts), Faculty of Fine Arts,
Bunditpatanasilpa Institute

[email protected]
Kamonros Giveforyou
givemetofly

“Memorie of Happiness 2”
Inkjet, Water-based paint, Acrylic paint

120 x 140 cm

แนวความคดิ
ผูส้ ร้างสรรคต์ ้องการแสดงออกใหเ้ หน็ ถงึ จินตนาการ ดว้ ยการน�ำ
แนวคิดภาวะคดิ ถึงบ้าน (Homesick) โหยหาความรัก ความอบอุน่
จากครอบครวั มีการพัฒนาแนวคิดรูปแบบผลงานการจัดวาง
องค์ประกอบ และอิรยิ าบถที่ตา่ งออกไปจากเดิม โดยนำ�ภาพถ่าย
ครอบครัวเม่อื ครั้งเปน็ วัยเยาว์ และนำ�กาน้ำ�ชาซ่ึงเป็นอุปกรณ์ใน
การดำ�รงชีพของครอบครวั รา้ นกาแฟโบราณ มาจดั องคป์ ระกอบ
และการใช้สีสัน ใหเ้ สมือนอยู่ในความฝัน ท�ำ ใหผ้ ลงานมแี ตค่ วามสขุ
ความอบอนุ่ ในการฝันถงึ ครอบครวั ในช่วงวัยเยาวใ์ นอดีต

Concept
Creators want to express their imagination. By applying
the concept of homesickness (Homesick) yearning for
love, warmth from family There has been a development
of the concept of the work style of the composition. and
different gestures from the original by bringing family
photos when they were young and bring a teapot, which
is the family's living equipment antique coffee shop
Let's arrange the composition and use of color. to be in
a dream Makes the work full of happiness and warmth
in dreaming about the family in childhood in the past.

63

อาจารยส์ ักชาติ ศรีสุข
Mr. Sakachart Srisuk

การศึกษา : กำ�ลังศึกษา ศาสนศาสตร์
ดษุ ฎบี ัณฑิต (พุทธศาสนาและปรัชญา)
มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย

Education : Studying Doctor of
Theology (Buddhism and Philosophy)
Mahamakut Rajabhat University

[email protected]
สักชาติ ศรสี ุข

ธรรมสะทอ้ น สะทอ้ นธรรมชาติ : Dharma Reflex Natural Reflections
Black pencil and powdered pencil filling on paper
38 x 56 cm

แนวความคดิ
มนุษย์กับธรรมชาติและสัญญะทางพระพุทธศาสนา การสะทอ้ น
สจั ธรรมวถิ ใี นธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ การมองถึงธรรมชาติด้วยหลัก
ธรรมทีถ่ ่ายทอดผ่านสุนทรียภาพทางศิลปะ ดังหลักพุ ทธศาสนา
คือหลักความจริงท้ังหลายท้ังปวง พุทธศาสนาจึงมุ่งเน้นหลัก
ของความปราณีตและสภาวะของการไม่เบียดเบียน ในสรรพส่ิง
คุณค่ากับการขัดเกลาจิตวิญญาณ ดว้ ยสัญญะทางธรรมชาตทิ ่ี
ส่ือถงึ คตธิ รรมหลกั จรยิ วถิ แี หง่ ความจรงิ ทปี่ ระจกั ษท์ ง้ั ในขนั้ พน้ื ฐาน
และเชงิ ลกึ กบั การด�ำ เนนิ ชวี ติ ของมนษุ ยน์ นั้ ผา่ นสอ่ื ทางทศั นศลิ ป์

Concept
Humans and nature and Buddhist symbols, reflections
on the truth in human nature. Looking at nature
with principles conveyed through artistic aesthetics
Buddhism is the principle of all truths. Buddhism
therefore focuses on the principles of refinement and
the state of non-persuasion. In all things valued with
spiritual polish, with natural symbols that convey the
principles of truth, manifested both in basic and in-
depth with human life through visual arts.

64

อาจารยณ์ ัฐวฒุ ิ แตง่ วัฒนไพบูลย์
Mr. Nutthawoot Tangwattanaphiboon

การศึกษา : ปรญิ ญาโท ทศั นศลิ ป์ สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์
Education : Degree Master of Visual Arts
Program in Visual Arts

[email protected]
Nutthawoot Tangwattanaphiboon

พื้นฐาน : Basic
Oil on canvas
110 x 180 cm

แนวความคดิ
การศึกษาท�ำ ความเข้าใจขัน้ พ้ืนฐาน เปน็ สิ่งสำ�คญั ในการเริ่มตน้ อยา่ งถกู ต้อง
Concept
Studies on Basic Understanding is Essential to be able to Start
Right

65

ขอขอบคุณ

นางนภิ า โสภาสัมฤทธิ์ อธกิ ารบดสี ถาบนั บณั ฑิตพัฒนศิลป์

คุณสมบตั ิ วฒั นไทย กรรมการผ้จู ดั การสมบตั ิเพิ่มพูนแกลเลอรี่

ดร.วิมลลกั ษณ์ ชชู าต ิ ผอู้ ำ�นวยการสำ�นักงานศิลปวฒั นธรรมร่วมสมยั

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยอ์ ำ�นวย นวลอนงค์ รองอธิการบดสี ถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป์

นายวชั รินทร์ อา่ วสินธ์ศุ ิริ รองอธิการบดสี ถาบันบณั ฑติ พัฒนศิลป์

รองศาสตราจารย์วรินทรพ์ ร ทบั เกตุ รองอธกิ ารบดสี ถาบนั บัณฑติ พัฒนศิลป์

ผ้ชู ่วยศาสตราจารยป์ ระวีนา เอี่ยมยส่ี ุ่น รองอธิการบดสี ถาบันบณั ฑติ พัฒนศิลป์

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์พหลยทุ ธ กนิษฐบตุ ร รองอธิการบดสี ถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยบ์ ญุ พาด ฆังคะมะโน คณบดีคณะศิลปวจิ ิตร

นายจรัญ หนองบวั ผอู้ �ำ นวยการวทิ ยาลัยช่างศิลป

นางขวัญใจ พิมพิมล ผู้อำ�นวยการวทิ ยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี

นายศุภชยั ระเหด็ หาญ ผอู้ �ำ นวยการวทิ ยาลัยช่างศิลปนครศรธรรมราช

นายพงศพัศ บวั แก้ว รองคณบดีคณะศิลปวิจิตร

นายวสิ ุทธิ์ ยม้ิ ประเสริฐ รองคณบดคี ณะศิลปวจิ ิตร

หอศิลป์รว่ มสมยั ราชด�ำ เนนิ

กระทรวงวฒั นธรรม

สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์

คณาจารย์ และผ้เู ก่ยี วขอ้ ง คณะศิลปวจิ ิตร สถาบันบัณฑติ พัฒนศิลป์

บรรณาธิการ : นายวสิ ุทธ์ิ ย้ิมประเสริฐ และ นายภทั รพร เลยี่ นพานชิ
ออกแบบรปู เล่ม : นางสาวลาภลัคน์ บุณยาคม
รวบรวมข้อมลู : นางสาวธนาภรณ์ โพธเ์ิ พชร
บันทึกภาพ : นายณฐั วุฒิ แต่งวฒั นไพบลู ย์
แปลภาษาองั กฤษ : Fernie Villanueva Bucang

66

Acknowledgments

Mrs. Nipha Sophasamrith, President of Bunditpatanasilpa Institute
Ms. Sombat Wattanathai, Director SombatPermpoon Gallery
Dr. Wimonluck Chuchat, Director of the Office of Contemporary Art and Culture
Asst. Prof. Amnuay Nualanong, Vice President of Bunditpatanasilpa Institute
Mr. Watcharin Aowsinsiri, Vice President of Bunditpatanasilpa Institute
Assoc. Prof. Warinporn Tubket, Vice President of Bunditpatanasilpa Institute
Asst. Prof. Praweena Iam Yi Shun, Vice President of Bunditpatanasilpa Institute
Asst. Prof. Phaholyuth Kanithabutr, Vice President of Bunditpatanasilpa Institute
Asst. Prof. Boonpard Cangkamano, Dean of Faculty of Fine Arts, Bunditpatanasilpa Institute
Mr. Jarun Nongbua, Director of the College of Fine Arts, Bunditpatanasilpa Institute
Mrs. Kwanjai Pimpimon, Director of Suphanburi College of Fine Arts, Bunditpatanasilpa Institute
Mr. Supachai Rahethan, Director of Nakhon Si Thammarat College of Fine Arts, Bunditpatanasilpa Institute
Mr. Pongsapak Buakwae, Deputy Dean of Faculty of Fine Arts, Bunditpatanasilpa Institute
Mr. Wisut Yimprasert, Deputy Dean of Faculty of Fine Arts, Bunditpatanasilpa Institute
Ratchadamnoen Contemporary Art Center
The Ministry of Culture, Thailand
Bunditpatanasilpa Institute
Instructor and staff of the Faculty of Fine Arts, Bunditpatanasilpa Institute

Book Editor : Mr. Wisut Yimprasert, Mr. Phattaraporn Leanpanit

Design by : Ms. Larpluck Boonyakom

Data Compiler : Ms. Thanaporn Phophet

PhoTo By : Mr. Nutthawoot Tangwattanaphiboon

Translated by : Fernie Villanueva Bucang

67

คณะศิลปวิจิตร

เปน็ คณะวชิ าหน่ึง ในสถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม
มหี นา้ ท่ีผลิตศิลปนิ นักวชิ าการ นักบรหิ ารจดั การ ดา้ นศิลปไทย ศิลปกรรม และออกแบบตกแตง่ ภายใน

เปดิ สอนในระดบั ปรญิ ญาตรีหลกั สูตรศิลปบัณฑติ เปดิ สอนในระดบั ปริญญาตรี (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2565)
(หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ.2565) โดยเปดิ สอนใน 2 สาขา หลกั สูตรศิลปบณั ฑติ 1 สาขาวชิ า ดงั น้ี
วชิ า ดังน้ี 1. สาขาวชิ าคอมพิวเตอรก์ ราฟิกและส่ือสรา้ งสรรค์
1. สาขาวิชาทศั นศิลป์ ประกอบไปด้วย และปัจจบุ นั ไดเ้ ปดิ สอนในระดับปริญญาโท
- วิชาเอกศิลปไทย หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต ภายใตก้ ารดแู ลของ
- วิชาเอกจิตรกรรม โครงการบัณฑติ ศึกษา สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์
- วชิ าเอกประติมากรรม โดยเปดิ สอนใน 1 สาขาวชิ า ดงั นี้
- วิชาเอกภาพพิมพ์ 1. สาขาวิชาทศั นศิลป์
- วชิ าเอกเคร่อื งเคลือบดินเผา
2. สาขาวชิ าออกแบบตกแตง่ ภายใน

ศิลปไทย จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ เคร่อื งเคลอื บ ออกแบบ คอมพิวเตอร์ ศลิ ปมหาบณั ฑติ
ดนิ เผา ตกแตง่ ภายใน กราฟิก website

ทอี่ ยู่ : คณะศลิ ปวจิ ติ ร สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ 119/10 หมู่ 3 ต.ศาลายา อ.พทุ ธมณฑล จ.นครปฐม 73170 Facebook
โทร : 0 2482 2186, 88

68




Click to View FlipBook Version