The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบบันทึกการ Coach

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Watkireewiharn Somdejphrawannarat Auppatham, 2019-06-26 14:39:45

แบบบันทึกการ Coach

แบบบันทึกการ Coach

ชอื่ โครงการ การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิระดบั ชาติ O-NET, NT โดยใช้กระบวนการจ
โมเดล KIREE Model

T = Team (การสรา้ งทมี )
เป็นการรวมกลุ่มบคุ คล เพือ่ ทางานรว่ มกันและส่งเสรมิ กนั

จดั การเรยี นรู้ Active Learning

นในทางบวก

K= KNOWLEDGEABLE (ได้รับความรู้)
เพอ่ื สรา้ งแรงจูงใจในการเรยี น กระบวนการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
สรา้ งองคค์ วามรไู้ ดด้ ้วยตนเอง ด้านครู
- สามารถพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ปรับเปลี่ยนวิธีการสอน

ดา้ นผเู้ รียน
- ลงมือปฏิบัติจากกิจกรรมการเรียนการสอน จนสามารถค้นพบและ

I = IMPLEMENT (นาไปใช้)

ผู้สอนนาไปจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนแบบ Active Learning ส่งผลให้
ครู  ครใู ฝ่สอน (Active Teacher)
ผเู้ รียน  ผเู้ รียนใฝ่เรยี น (Active Learner)
ผลสัมฤทธิ์  ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิระดบั ชาติ O - Net , NT

R = REFLECTIVE (สะท้อนคิด)
หลังจบกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอนทาการวิเคราะห์และสะท้อน

ผลการดาเนินงานของตนเอง โดยใช้กระบวนการ AAR เพอ่ื ทบทวนการปฏบิ ตั ิ ดังนี้
- ทบทวนการปฏบิ ัติทเี่ ป็นจุดดี
- ทบทวนการปฏบิ ตั ิที่เปน็ จุดบกพร่อง
- ส่งิ ท่ตี ้องการพัฒนา
จัดระบบการนิเทศโดยการสังเกตการณ์สอน ให้คาแนะนา ชี้แนะ

และเสนอแนวทาง โดยรูปแบบ 3 ระดบั ดังน้ี
ระดับ 1 เพอื่ นครู (Mentoring)
- สมาชิกทมี ผู้รับการ Coaching ในระดับโรงเรียน และครูผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

ในระดับชนั้ ป.3 และ ป.6
ระดับ 2 ผบู้ ริหาร (Counseling)
- ผู้อานวยการโรงเรียน / หัวหน้าฝ่ายวิชาการ / หัวหน้าฝ่ายวัดและ

ประเมนิ ผล
ระดับ 3 คณะทีป่ รกึ ษา (Coaching teams)
- ทีมคณะ Coaching ของโรงเรยี น

E = EVALUATE (การประเมนิ )

ใช้กระบวนการ PLC โดยการนาผลการสะท้อนคิดจากตัวผู้สอน และ
Coacher ทั้ง 3 ระดับ มาเป็นประเด็นสนทนาในวง PLC ร่วมแลกเปล่ียน เสนอแนวทาง และให้คาปรึกษา
ร่วมกัน ทงั้ นี้ต้องมีการประเมิน 3 ด้าน ดงั น้ี

 บรรลจุ ุดประสงค์การเรยี นรู้
 มีการใช้เคร่ืองมือวัดและประเมินผู้เรียนใกล้เคียงกับการทดสอบจริง
 มีการสรุปผลการประเมินพัฒนาของผู้เรยี น

E = EFFECTIVE (ประสทิ ธภิ าพ)
ผลของกา รพัฒนาตา มกระบว นการตาม รูปแบบ KIREE Model

สง่ ผลให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพ 4 หัวใจหลกั ไดแ้ ก่
หวั ใจดวงท่ี 1 กระบวนการในการพฒั นามปี ระสิทธิภาพ
หัวใจดวงท่ี 2 การสอนของครูมปี ระสิทธิภาพ
หัวใจดวงที่ 3 การจดั การเรยี นการสอนมปี ระสิทธิภาพ
หวั ใจดวงท่ี 4 รูปแบบการ Coaching มปี ระสทิ ธภิ าพ

วัตถุประสงค์
1. เพอื่ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิระดบั ชาติ O-NET, NT โดยใชก้ ระบวนการจัดการเรยี นรู้ Active Learning
2. เพอื่ สรา้ งเครอื ข่ายและพฒั นาความร่วมมือในการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน

เปา้ หมาย

1. นักเรียนโรงเรียนวัดคิรีวิหาร(สมเด็จพระวันรัต อุปถัมภ์) ปีการศึกษา 2562 จานวน 44 คน

ประกอบดว้ ย

1.1 นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 จานวน 24 คน

1.2 นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 จานวน 20 คน

2. ครโู รงเรยี นวัดคริ วี หิ าร(สมเด็จพระวันรตั อุปถมั ภ์) ปกี ารศึกษา 2562 จานวน 10 คน

รวมจานวนทั้งหมด 54 คน

แนวทางการดาเนนิ งาน

1. ประชุมวางแผนการดาเนินงาน ตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ O-NET, NT
โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ Active Learning ตามรูปแบบ KIREE Model โดยใช้กระบวนการ
AAR เพ่อื ทบทวนผลการจดั การเรยี นการสอนและการปฏบิ ตั งิ าน

2. จดั การประชุม PLC ของสมาชกิ ทีมระดับโรงเรียน เพ่ือร่วมวางแผนและจัดทาแนวทางการดาเนินงาน
ตามโครงการยกระดับฯ และการกาหนดปฏทิ นิ การดาเนินงาน

3. แต่งต้ังคณะ Coaching Teams ในระดับโรงเรียน เพื่อดาเนินการตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ระดบั ชาติ O-NET, NT โดยใชก้ ระบวนการจัดการเรียนรู้ Active Learning

4. จัดการประชุม PLC ของคณะครูผู้สอนในระดับช้ัน ป.3 และ ป.6 ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องในการยกระดับ
ผลสมั ฤทธริ์ ะดบั ชาติ O-NET, NT เกย่ี วกับการพัฒนาการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning
เพ่ือร่วมกันแลกเปลี่ยนประสบการณ์ วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และร่วมกาหนด สังเคราะห์
แนวทางของกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ท่ีมีประสิทธิภาพ
เพื่อนาสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นระดบั หอ้ งเรียน

5. นาเสนอแผนงานตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ O-NET, NT โดยใช้กระบวนการ
จัดการเรียนรู้ Active Learning ตามรูปแบบ KIREE Model ปฏิทินการดาเนินงาน แผนการนิเทศ
และคูม่ ือเอกสารทเี่ กยี่ วขอ้ งตา่ ง ๆ แกค่ ณะท่ปี รกึ ษา (Coaching teams) ของโรงเรียน

6. ครูผู้สอนท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในระดับชั้น ป.3 และ ป.6 ดาเนินการยกระดับผลสัมฤทธ์ิระดับชาติ
O-NET, NT โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ Active Learning ตามแผนงานโครงการยกระดับ
ผลสัมฤทธ์ิระดับชาติ O-NET, NT โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ Active Learning และปฏิทิน
การดาเนินงาน

7. คณะกรรมการ Coaching ท้ัง 3 ระดับ เข้าสังเกตการณ์สอน ให้คาปรึกษา และเสนอแนวทาง
ในการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ ตามแผนการนเิ ทศตามโครงการ

8. จัดประชุมระหว่างสมาชิกทีม Coaching ระดับโรงเรียน ร่วมกับ ทีม Coaching ของโรงเรียน
โดยใช้กระบวนการ AAR เพือ่ ทบทวนผลการจัดการเรยี นการสอนและการปฏบิ ตั ิงาน จานวน 2 ครัง้

9. ติดตามผลการ Coach โดย Coaching Teams นาเสนอผลการ Coach อุปสรรค ปัญหา
ขอ้ เสนอแนะ

10. จดั ทาสรุปและรายงานผล

ปฏทิ นิ การดาเนินงานตามรูปแบบ KIREE Model

สัปดาห์ วนั /เดือน/ปี กจิ กรรม ผู้รบั ผดิ ชอบ หมายเหตุ
ที่
ผู้อานวยการ
1 16 พ.ค. 2562  ประชุมวางแผนการดาเนนิ โครงการ โรงเรยี นและ
และแต่งตั้งคณะ Coaching คณะทมี ผ้รู บั
ระดบั โรงเรยี น การ Coaching
ระดบั โรงเรียน
 จัดทาแนวทางการดาเนนิ งานและ
กาหนดปฏทิ นิ การดาเนนิ งาน ผ้อู านวยการ
และครูผสู้ อน
 จัดประชุม PLC ของ Coaching ระดบั ชนั้ ป.3
ระดบั โรงเรยี น
และ ป.6
2 22 พ.ค. 2562 จดั การประชุม PLC ของคณะครูผ้สู อน
ครผู ูส้ อน
ในระดับชัน้ ป.3 และ ป.6 ทีม่ ีสว่ นเกยี่ วข้อง ระดับชน้ั ป.3
ในการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ระดับชาติ
และ ป.6
O-NET, NT เก่ยี วกับการพฒั นา
การจดั การเรยี นการสอนแบบ นายธรี พล
Active Learning เพยี รเพง็
(Buddy
3 29 พ.ค. – ครผู ูส้ อนในระดับช้นั ป.3 และ ป.6 teacher/
22 ก.ค. 2562 ดาเนินการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ระดับชาติ Mentoring)
O-NET, NT โดยใชก้ ระบวนการจดั การ นายธรี พล
เพียรเพ็ง
เรียนรู้ Active Learning (Buddy
teacher/
วชิ าท่ีสอน ผู้สอน Mentoring)
นางสาวศภุ สตุ า
4 29 พ.ค. 2562 ภาษาองั กฤษ นายพงศธร ซ่อื เสมอ
(Buddy
(ช่วั โมงท่ี 1 ป.6 พุ่มทับทมิ teacher/
Mentoring)
08.30 – 09.30 น.)

5 6 ม.ิ ย. 2562 ความสามารถ นางสาวศภุ สุตา
(ชว่ั โมงที่ 2 ดา้ นคานวณ ป.3 ซอื่ เสมอ

09.30 – 10.30 น.)

6 13 ม.ิ ย. 2562 วิทยาศาสตร์ นางสาวสุนนั สินี
(ชว่ั โมงท่ี 5 ป.6 ชะวาลา

13.30 – 14.30 น.)

สปั ดาห์ วนั /เดือน/ปี กจิ กรรม ผู้รับผดิ ชอบ หมายเหตุ
ที่

7 20 ม.ิ ย. 2562 วิชาทส่ี อน ผู้สอน ผอู้ านวยการ
โรงเรียน
(ชั่วโมงท่ี 4 ความสามารถ นางสาวสนุ นั สนิ ี
ดา้ นภาษา ป.3 ชะวาลา (Counseling)
12.30 – 13.30 น.)
คณติ ศาสตร์ นางสาวศุภสตุ า ทมี คณะ
8 27 มิ.ย. 2562 ป.6 ซ่อื เสมอ ที่ปรึกษาของ 

(ชว่ั โมงท่ี 4 โรงเรยี น
(Coaching
12.30 – 13.30 น.) teams)

9 4 ก.ค. 2562 ความสามารถ นางสาวสนุ นั สนิ ี นางสาวศุภสตุ า
ชะวาลา ซอ่ื เสมอ
(ชว่ั โมงที่ 4 ดา้ นเหตุผล (Buddy
teacher/
12.30 – 13.30 น.) ป.3
Mentoring)
10 10 ก.ค. 2562 ภาษาไทย นางจินตนา
(ชั่วโมงที่ 5 ป.6 สมรา่ ง นางสาวสนุ นั สนิ ี
ชะวาลา
13.30 – 14.30 น.) (Buddy
teacher/
11 19 ก.ค. 2562 ความสามารถ นางสาวศภุ สตุ า
(ชั่วโมงท่ี 3 ด้านคานวณ ซื่อเสมอ Mentoring)

10.30 – 11.30 น.) ป.3 นายพงศธร ผ้อู านวยการ
พมุ่ ทบั ทิม โรงเรยี น
12 22 ก.ค. 2562 ภาษาอังกฤษ
(ชั่วโมงที่ 2 ป.6 (Counseling)

09.30 – 10.30 น.) ทมี คณะ
ท่ปี รกึ ษาของ
13 29 – 31 ก.ค. สรุปและประเมินผลการดาเนินงานตาม
2562 โครงการ และผลการ Coaching โรงเรยี น
แลกเปลีย่ นเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ AAR (Coaching
ในรปู แบบการจัดประชุม PLC teams)

ผอู้ านวยการ
โรงเรียนและ
คณะครูทุกคน

หมายเหตุ

 ทมี ทป่ี รึกษาของโรงเรียน (Coaching teams) ระดบั จงั หวัด เข้าตรวจเยย่ี มการนิเทศจานวน 2 ครั้ง

คร้งั ที่ 1 วนั ที่ 27 มิถนุ ายน 2562 ครงั้ ที่ 2 วันที่ 22 กรกฎาคม 2562

แบบบนั ทกึ การ Coach

ครั้งที่ 1 วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 เวลา 15.30 – 17.00 น.

โรงเรยี น วัดคิรีวิหาร(สมเด็จพระวันรตั อุปถัมภ์)

รายชอ่ื ผู้ Coach

1. นายพริ ยิ ะ เอกปิยะกุล ผู้อานวยการโรงเรยี นตราษตระการคุณ

2. นายประธาน ทวีผล ผอู้ านวยการโรงเรยี นเขาน้อยวิทยาคม

3. นายสังคม จนิ ตนาวสาร ผู้อานวยการโรงเรยี นคลองพร้าว

4. นางนิกร ผงทอง ผ้อู านวยการโรงเรียนอนุบาลเกาะกูด

5. นางมาลนิ จินตนาวสาร ศกึ ษานิเทศก์สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตราด

รายช่อื ผู้รับการ Coach / ช้ัน / กลมุ่ สาระ / เรือ่ งทสี่ อน

1. นายธีรพล เพยี รเพง็ ครูประจาชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6

2. นางจินตนา สมรา่ ง ครูผู้ชว่ ยประจาช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6

3. นางสาวสุนันสินี ชะวาลา ครูประจาชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3

ครูผรู้ บั ผดิ ชอบกล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

4. นางสาวศุภสตุ า ซ่อื เสมอ ครูผรู้ ับผิดชอบกล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์

5. นายพงศธร พุ่มทบั ทมิ ครูผรู้ บั ผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ผลการดาเนินการ Coach ตามรูปแบบ TRAT Model

T : Team การสร้างทีม

ดาเนินการอย่างไร

1. วิเคราะห์แผนงานตามโครงการ วตั ถุประสงค์ของโครงการ และกิจกรรม กาหนดผรู้ ับผิดชอบ
เปน็ สมาชกิ ของทีมผู้รับการ Coaching เพื่อดาเนินงานตามโครงการ

2. คัดเลือกสมาชิกของทีมผู้รับการ Coaching โดยกาหนดเกณฑก์ ารคดั เลอื ก ดังน้ี
2.1. เป็นครูประจาชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 6
2.2. เป็นครผู ้รู ับผดิ ชอบประจากลุ่มสาระการเรยี นรู้ทีม่ กี ารทดสอบระดับชาติ O - Net , NT
2.3. เป็นครผู รู้ บั ผดิ ชอบงานฝ่ายวิชาการ/วดั ผลและประเมนิ ผล

3. จัดประชุมเพ่ือช้แี จงแนวทางการดาเนินงานและการรวมกลุ่มเป็นสมาชกิ ของทีมผูร้ ับการ Coaching
ในระดับโรงเรียน

ผลเปน็ อยา่ งไร
1. ครทู ่ีเป็นสมาชกิ ของทมี ผู้รบั การ Coaching ทไี่ ดร้ บั การคัดเลือก รว่ มกนั วางแผนและเตรียมความพร้อม

ในการดาเนินการยกระดับผลสัมฤทธิ์ระดบั ชาติ O - Net และ NT
2. รว่ มกันประชุมวิเคราะหผ์ ลการทดสอบ O - Net , NT ย้อนหลัง 2 ปีการศกึ ษา
3. จดั ทาแผนการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ O - Net , NT ในปีการศึกษาปัจจุบัน โดยใช้กระบวนการจัดการเรยี นรู้

Active Learning

ข้ออุปสรรค/ปัญหา
1. ขาดครผู ูส้ อนวชิ าเอกภาษาไทย
2. ผลการทดสอบ O - Net , NT ทไ่ี ดท้ าการวิเคราะห์แล้ว พบว่า ตา่ กวา่ ในระดับเขตพืน้ ทแี่ ละระดับประเทศ
3. ครผู ู้สอนขาดทกั ษะการจัดการเรียนการสอนโดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้ Active Learning

ปจั จยั ความสาเรจ็
1. กระบวนการพฒั นาครูด้วยกระบวนการจดั การเรยี นรู้ Active Learning
2. การจัดทาแผนยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ริ ะดบั ชาติ O-NET, NT

ประโยชน์ของการ Coach
ประโยชนท์ ี่มีต่อผู้ Coach
ทมี Coaching ได้รบั ทราบขอ้ มูล สภาพบริบทของโรงเรยี น ผลการวิเคราะห์ O - Net , NT

และร่วมวางแผนการพัฒนาครูด้วยการจัดการเรยี นร้แู บบ Active Learning
ประโยชน์ท่ีมตี ่อผรู้ ับการ Coach
ครผู ้สู อนนาคาแนะนา เทคนคิ ทีไ่ ดร้ บั จากทีม Coaching ไปปรับใชใ้ นการจดั ทาแผนยกระดับ

ผลสัมฤทธริ์ ะดบั ชาติ O - Net , NT โดยใชก้ ระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning

R : Reflective สะท้อนคิดเพือ่ ใหเ้ ห็นปัญหา โดยใชก้ ระบวนการ AAR

ดาเนินการอยา่ งไร
1. ทีมผู้รบั การ Coaching รว่ มกันจดั ทาแผนยกระดับผลสมั ฤทธิร์ ะดบั ชาติ O - Net , NT โดยใช้กระบวนการ

จดั การเรียนร้แู บบ Active Learning ในปีการศึกษาหน้า
2. จัดประชุมระหว่างทมี Coaching และผ้รู บั การ Coaching นาเสนอแผนยกระดับผลสมั ฤทธิร์ ะดับชาติ

O - Net , NT จากนัน้ ใช้กระบวนการ AAR เพื่อทบทวนผลการปฏิบตั งิ านและแผนยกระดบั ฯ
3. ใชก้ ระบวนการ 5 คาถาม ตามรูปแบบ TRAT Model ดงั นี้

- คาดหวังอะไร
- เปน็ ไปตามท่คี าดหวงั หรือไม่
- มีอะไรที่ไมเ่ ปน็ ไปตามคาดหวัง

- ส่งิ ท่ีเกินความคาดหวงั คืออะไร
- จะทาอะไรเพื่อให้บรรลุสิ่งที่คาดหวัง
4. บันทึกผลการประชมุ AAR และจดั ทาข้อมูลเพ่ือประกอบการปรับปรงุ และพัฒนาแผนยกระดับผลสมั ฤทธิ์
ระดับชาติ O - Net , NT

ผลเป็นอย่างไร
ผู้รับการ Coach ตอบคาถามสะท้อนคิดจากกระบวนการ AAR ด้วย 5 คาถาม ตามรูปแบบ

TRAT Model ดังนี้
- คาดหวังที่จะพัฒนาการสอนของตนเองตามกระบวนการ Active Learning ให้สามารถจัดการเรียน
การสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ
และเกดิ องค์ความรู้ ส่งผลให้นกั เรยี นในทกุ ระดับช้นั มผี ลสัมฤทธ์ทิ เ่ี พ่มิ มากข้ึน
- สมาชิกในทีมผู้รับการ Coach ร่วมกันวางแผนในการพัฒนาการสอนของตนเองและของครูผู้สอน
ที่เกี่ยวข้อง โดยมีความเห็นร่วมกันว่า การเตรียมความพร้อมของครูในการพัฒนาการสอนตาม
กระบวนการ Active Learning และความเอาใจใส่ในการสอนของครู จะทาให้ไดผ้ ลตามทีค่ าดหวงั
- ส่ิงที่ไม่เป็นไปตามคาดหวัง อาจเกิดจากปัจจัยแทรกซ้อนหลายปัจจัย เช่น การวางแผนการสอน
ไม่เปน็ ไปตามเปา้ หมาย เวลาเรียน สภาพการเรยี นรู้ของนักเรยี น
- สิ่งที่เกินความคาดหวัง คือ จากผลการทดสอบระดับชาติ NT ในระดับชั้น ป.3 ปีการศึกษา 2561
ที่ผา่ นมา มนี ักเรียนบางส่วน ท่สี ามารถทาคะแนนในบางรายวิชาได้เกินกวา่ รอ้ ยละ 50
- สงิ่ ที่จะดาเนินการต่อเพ่ือให้บรรลุสง่ิ ท่ีคาดหวงั คือ การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการทดสอบระดับชาติ
O - Net , NT ให้นกั เรยี นทุกคนมคี ะแนนเกินร้อยละ 50
โดยภาพรวมในการจัดประชุม AAR ร่วมกันระหว่าง ผู้รับการ Coach และทีม Coaching

พบวา่ ผู้รับการ Coach สามารถตอบคาถามสะทอ้ นการคิดได้ขัดเจน มกี ารกาหนดความคาดหวังกระบวนการ
และผลลพั ธ์ตามสง่ิ ทีค่ าดหวงั

ขอ้ อุปสรรค/ปญั หา
พบปัญหาในการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ เชน่ เชื้อชาติของนักเรียน วิธกี ารสอนของครู สภาพความเปน็ อยู่

ของนักเรียน/สภาพชมุ ชน ซ่ึงมผี ลต่อการยกระดับของครู

ปจั จัยความสาเร็จ
1. ปรบั เปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้เขา้ กับสภาพแวดลอ้ มของชมุ ชน
2. ศึกษาแนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ O - Net , NT โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้

Active Learning

ประโยชน์ของการ Coach
ประโยชน์ท่ีมตี อ่ ผู้ Coach รบั ทราบปัญหา สาเหตุ อปุ สรรค ในการยกระดับผลสมั ฤทธริ์ ะดับชาติ

O - Net , NT โดยใช้กระบวนการจัดการเรยี นรู้ Active Learning
ประโยชนท์ ่ีมีตอ่ ผู้รับการ Coach ไดน้ าเสนอข้อมูลทเี่ ป็นข้อเท็จจริงในการประกอบจัดทาแผน

ยกระดับผลสัมฤทธริ์ ะดับชาติ O - Net , NT

A : Action ลงมอื ปฏบิ ัติ โดยการมีส่วนร่วม (Plan/Do/See) และการเป็นพี่เลย้ี ง

ดาเนนิ การอยา่ งไร
1. วางแผนการยกระดับผลสมั ฤทธร์ิ ะดับชาติ O - Net , NT โดยใชก้ ระบวนการจดั การเรียนรู้ Active
Learning

1.1 ศึกษาตัวชี้วัดจาก Test Blueprint
1.2 ออกแบบ แบบวัดผลสมั ฤทธริ์ ะดบั ชาติ O - Net, NT
1.3 ศึกษาผลสัมฤทธิร์ ะดับชาติ O - Net, NT
1.4 ออกแบบแผนการสอนตามตัวชีว้ ัดทไี่ ด้รับการวิเคราะห์ผลแลว้ ควรแกไ้ ขปรบั ปรุง

ผลเปน็ อยา่ งไร
-

ข้ออุปสรรค/ปัญหา
-

ปจั จัยความสาเร็จ
การจัดทาแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ระดบั ชาติ O - Net , NT โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ Active

Learning

ประโยชนข์ องการ Coach
ประโยชนท์ ี่มตี อ่ ผู้ Coach สามารถให้คาแนะนา ชแี้ นะในการวางแผนยกระดับผลสมั ฤทธ์ิระดบั ชาติ

O - Net , NT โดยใชก้ ระบวนการจัดการเรียนรู้ Active Learning
ประโยชนท์ ี่มีต่อผูร้ ับการ Coach พฒั นา ปรบั เปลย่ี นการจัดการเรียนการสอนในเชงิ รูปธรรม

T : Test ตรวจสอบ ด้วยกระบวนการ PLC (เรียนรู้ แบง่ ปนั เปดิ ใจ ใหค้ วามสาคัญกับผลลพั ธ)์
และ AAR

ดาเนินการอยา่ งไร
1. ร่วมมือกนั ระหวา่ งผู้ Coach และผ้รู ับการ Coach โดยใช้กระบวนการ PLC สองกลมุ่ ย่อย เน้นการวิเคราะห์
นาเสนอปญั หา แลกเปลย่ี นเรียนรู้เทคนคิ วิธีการจัดการเรยี นการสอนยกระดับผลสมั ฤทธ์ิระดับชาติ O - Net ,
NT โดยใช้กระบวนการจดั การเรียนรู้ Active Learning

ผลเปน็ อยา่ งไร
-

ข้ออุปสรรค/ปัญหา
-

ปจั จยั ความสาเร็จ
มีกระบวนการทางานเปน็ ทีม

ประโยชน์ของการ Coach
ประโยชน์ที่มีต่อผู้ Coach สามารถให้คาปรึกษาในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการ PLC
ประโยชน์ที่มีตอ่ ผูร้ ับการ Coach ได้รบั คาแนะนาและวิธีการในการดาเนนิ การยกระดับผลสมั ฤทธิ์

ระดบั ชาตจิ ากกระบวนการ PLC

Care and Share การดูแลและแบ่งปนั

บคุ คลทรี่ ว่ มการดแู ลและแบง่ ปนั
ครโู รงเรยี นวัดคิรวี หิ าร(สมเด็จพระวนั รตั อุปถัมภ์)

เรอ่ื งทด่ี ูแลและแบ่งปนั
กระบวนการเรยี นการสอน วิธกี ารเรียนการสอน การพฒั นาครูด้านการจดั การเรยี นการสอนแบบ

Active learning

ดาเนินการอยา่ งไร
จัดอบรมเพิม่ ความรทู้ กั ษะการสอนด้วยกระบวนการ Active Learning

ผลเปน็ อยา่ งไร
ทุกคนได้รบั คาแนะนาและแบ่งปันประสบการณก์ ารจดั กจิ กรรมเพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ระดบั ชาติ

O - Net , NT

ข้ออุปสรรค/ปัญหา
-

ประโยชน์ของการ Care and Share
ประโยชน์ท่ีมีต่อผู้ Coach ไดแ้ บง่ ปนั ประสบการณ์การจดั กิจกรรมเพื่อยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ระดับชาติ

O - Net , NT
ประโยชน์ที่มตี ่อผู้รับการ Coach ไดเ้ กบ็ ข้อมูลการจดั กจิ กรรมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ริ ะดับชาติ

O - Net , NT จากทีม Coaching


Click to View FlipBook Version