The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือกล 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือกล 3 (2/2563)

ผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือกล 3

หวั ข้อ/งาน งานกลงึ เรียว
ชื่อรายวชิ า ผลิตชนิ้ ส่วนด้วยเครื่องมือกล 3

2. การกลงึ เรียวดว้ ยการเย้อื งศนู ย์ทา้ ยแท่น ( TAIL STOCK ) เหมาะกบั การกลึงเรยี วท่มี ีขนาดยาวๆ
แต่จะต้องมอี ัตราเรียวนอ้ ยๆ

มขี ้อเสยี คือการประคองของยันศูนยจ์ ะบิดตัวไปทาให้เกิดความไมแ่ ข็งแรง ( ดตู ามภาพ )

3. การกลึงเรยี วดว้ ย ATTACHMENT ทางานไดก้ วา้ งขว้างกว่าการกลึงดว้ ย 2 วธิ ที ีก่ ล่าวมา แต่ก็มี
ขอบเขตการทางานเช่นกนั

ใบเน้อื หา

หัวขอ้ /งาน งานกลึงเรยี ว
ชือ่ รายวชิ า ผลติ ชิ้นส่วนดว้ ยเครอ่ื งมือกล 3

เคร่อื งมือและอุปกรณ์ตรวจสอบเรียว

กรณีท่ีไมต่ ้องใชง้ านคา่ ละเอยี ดมากนัก กใ็ ชเ้ ครื่องมือตรวจสอบพวก TAPER PLUG GAUGE และ
พวก TAPER RING GAUGE

ใชต้ รวจสอบรเู รียว ใชต้ รวจสอบเรียวภายนอก
( Taper plug gauge) ( Taper ring gauge)

กรณงี านที่ตอ้ งการค่าความละเอยี ดสงู จะใชเ้ ครื่องมอื ตรวจสอบพิเศษ

งานกลงึ เรียวนอกจากการกลึงเรียวภายนอกแลว้ ยังสามารถกลงึ เรยี วภายในไดอ้ ีก ซึง่ รูเรยี วน้จี ะต้องโต
พอทดี่ ้ามมีดควา้ นจะเข้าไปทาการตัดเฉือนได้

ใบเน้อื หา

หัวข้อ/งาน งานกลึงเรยี ว
ชอ่ื รายวิชา ผลิตชิน้ สว่ นดว้ ยเครือ่ งมอื กล 3

ส่ิงทีต่ ้องคานงึ ถึงในการกลงึ เรยี ว
ระวงั การชนของ COMPOUND REST กบั หัวจับขณะทางาน ( ดู 2 ภาพลา่ ง ) งานจะหมุนอยเู่ หนอื

COMPOUND REST

ก่อนจะเปดิ เคร่อื งทางาน จะต้องใช้มอื หมนุ หวั จบั ดกู ารหมนุ ของหวั จับวา่ ชนกบั COMPOUND REST
หรือไม่ โดยการหมนุ ดรู ะยะการทางานของมีดกลงึ ทีจ่ ะทาการคว้านภายในทกุ คร้ังที่ลงมือทางาน

ตั้ง COMPOUND RESTใหอ้ ยู่ในตาแหน่งทต่ี อ้ งการ แล้วทาการขันล็อคแนน่ ใหอ้ ยู่กบั ที่โดยใชป้ ระแจ
ปากตายเข้าช่วย

ใบเนอ้ื หา

หัวข้อ/งาน งานกลึงเรียว
ชอ่ื รายวชิ า ผลติ ช้ินสว่ นด้วยเครอ่ื งมอื กล 3

แสดงวธิ กี ารตั้ง COMPOUND REST ในมุมต่าง ๆ

การกลึงเรยี วโดยเยอ้ื งศูนยท์ า้ ยแท่น( OFFSETTING THE TAIL STOCK )
วธิ กี ารนเี้ ป็นการเลื่อนให้ผิวหนา้ ของเรยี ว ขนานกับแนวทางเดนิ ของคมมดี กลงึ วธิ กี ารเล่อื นต้องเล่อื น

ใหถ้ ูกตามอตั ราสว่ นของความยาวเรียว

ใบเน้ือหา

หวั ข้อ/งาน งานกลงึ เรยี ว
ช่ือรายวิชา ผลิตชิ้นส่วนด้วยเคร่อื งมอื กล 3

ระยะทีต่ อ้ งเล่อื น จะต้องเลือ่ นไม่เกนิ 1/50 ของระยะหา่ งระหว่างศูนย์หน้าถึงศนู ย์หลงั โดยเดด็ ขาดจะทา
ให้งานหลดุ ออกจากรเู จาะยันศูนย์ ผวิ สัมผัสของยนั ศูนย์กับรเู จาะจะยดึ ประคองไดไ้ ม่แนน่ พอที่จะทางานได้

ก่อนที่จะลงมือประกอบงานกลงึ ด้วยวธิ เี ย้ืองศูนยท์ า้ ยแท่น ควรจะมกี ารตรวจสอบศูนย์ด้วยนาฬิกาวดั
( DIAL INDICATOR )

จากน้ันทาขยับตง้ั ระยะเยื้องซึง่ สามารถจะวัดระยะเยื้องได้ จากศูนย์ร่วมกัน 2 วธิ ี คอื
1. ใช้นาฬิกาวัด ( DIAL INDICATOR ) ซึง่ จะอา่ นคา่ ไดล้ ะเอยี ดและเที่ยงตรง
2. ใช้บรรทัดทาบวดั ค่า คา่ ท่ไี ดอ้ อกมาจะไมล่ ะเอยี ดมากนกั แต่กใ็ ชไ้ ดด้ ี

ใบเนอ้ื หา

หวั ข้อ/งาน งานกลงึ เรยี ว
ชอ่ื รายวชิ า ผลติ ช้ินสว่ นดว้ ยเคร่ืองมือกล 3

วิธีการเยอื้ งศนู ย์หลงั ( TIAL STOCK )
จะใช้การหมนุ ปรบั ของสกรู ซึ่งจะมอี ยทู่ ้งั สองขา้ งของชุดทา้ ยแทน่ ( TIAL STOCK ) การวัดคา่ จะทา

ไดโ้ ดยใชบ้ รรทดั หรืออา่ นคา่ จากแผน่ สเกลท่ีติดไวว้ า่ จะตอ้ งหมุนปรบั เยอื้ งไปเทา่ ได ซงึ่ ค่านจี้ ะไดจ้ ากการคานวณ
แล้วสามารถตรวจสอบท่ีตวั ศนู ย์โดยใชน้ าฬกิ าวดั ซา้ เพือ่ ความแน่นอนอกี กไ็ ด้

ใบสงั่ งาน

ชื่อรายวชิ า : ผลติ ชน้ิ ส่วนดว้ ยเครื่องมือกล 3
ชือ่ งาน : งานกลึงเรียว

วสั ดุ : St 37  25.4 X 135 mm วสั ดุ / เคร่ืองมืออปุ กรณ์
คาสั่ง : ให้นักศกึ ษา

1. กลึงเรยี วตามแบบงานที่กาหนด
2. เขยี นขน้ั ตอนและเครอื่ งมืออุปกรณ์ที่ใช้
3. ใชเ้ วลาในการฝกึ ปฏบิ ัติไมค่ วรเกิน 6 ชว่ั โมง

ขน้ั ตอนการทางาน

ช่อื : ………………………………………………… ผคู้ วบคุม : ………………………………………………
ห้อง / ชัน้ :………………………………………….. วันที่ : …………………………………………………..

ใบตรวจงาน

ชื่อรายวชิ า : ผลติ ช้ินสว่ นด้วยเคร่อื งมือกล 3
ช่อื งาน : งานกลึงเรยี ว

วัสดุ : St 37  25.4 X 135 mm

คาสั่ง : ให้นักศกึ ษา

1. กลึงเรยี วตามแบบงานทีก่ าหนด

2. เขียนข้นั ตอนและเครือ่ งมืออปุ กรณ์ทีใ่ ช้

3. ใช้เวลาในการฝกึ ปฏิบัติไมค่ วรเกิน 6 ช่วั โมง

จุดพิจารณา ผลการปฏิบัติ หมายเหตุ

ผา่ น ไมผ่ ่าน

1. ขนาดความยาว 132 มม.

2 . ขนาดความโต  24.8 มม.

3 . ขนาดความโต  20.7 มม.

4 . ขนาดความโต  16 มม.

5 . ความยาว 6 มม.

6. ความยาว 92 มม.

7. ขนาดความโต  14 มม..

8. ขนาดความโต  9 มม.

9. ขนาดความโต  10 มม.

10. ผิวงาน

ผลการพิจารณา :

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………

ชื่อ : ………………………………………………… ผู้ควบคมุ : ………………………………………………

ห้อง / ช้นั :………………………………………….. วันที่ : …………………………………………………..

แบบทดสอบภาคปฏบิ ัติ

ช่ือรายวิชา : ผลติ ช้ินส่วนดว้ ยเคร่อื งมอื กล 3
ชอื่ งาน : งานกลึงเรียว

วสั ดุ : St 37  25.4 X 135 mm วัสดุ / เครอื่ งมืออุปกรณ์
คาสั่ง : ใหน้ กั ศึกษา

1. กลงึ เรยี วตามแบบงานท่กี าหนด
2 . เขยี นข้นั ตอนและเครื่องมืออุปกรณ์ทีใ่ ช้
3. ใช้เวลาในการฝึกปฏบิ ัติไมค่ วรเกนิ 6 ช่วั โมง

ขนั้ ตอนการทางาน

ชอ่ื : ………………………………………………… ผู้ควบคุม : ………………………………………………
ห้อง / ชนั้ :………………………………………….. วันที่ : …………………………………………………..
เวลาเริม่ : …………………….. น. เวลาเสร็จ : ………………………น. ใช้เวลา : ……………………….นาที

ใบประเมนิ ผล

ชื่องาน : งานกลงึ เรยี ว ช้ันปที ่ี : …………………………………..

ชอื่ ผู้สอบ : ……………………………….. เวลาทา : …………………………….. นาที

เวลาเรมิ่ : ……………………น. เวลาเสร็จ : ……………………น. ใชเ้ วลา : …………………… นาที

วัสดุ : St 37  25.4 X 135 mm ผลขนาด ทาได้ ตัวคณู คะแนน คะแนน

จุดพจิ ารณา คะแนน เต็ม ท่ไี ด้

1. ขนาดความยาว 132 มม.
2 . ขนาดความโต  24.8 มม.
3 . ขนาดความโต  20.7 มม.
4 . ขนาดความโต  16 มม.
5 . ความยาว 6 มม.
6. ความยาว 92 มม.
7. ขนาดความโต  14 มม..
8. ขนาดความโต  9 มม.

ผู้ตรวจ : ……………………………………………………………..
วันที่ : ……………………………………………………………….

Task Listing Sheet Resources
ABCDE
ชอ่ื รายวิชา ผลติ ชิน้ สว่ นด้วยเครื่องมือกล 3 /
ช่ืองาน งานกลงึ เยื้องศูนย์ /
/
NO. Task ( Steps) in Performing the Job /
/
1 อา่ นแบบงานเยื้องศนู ย์ /
2 เตรยี มอปุ กรณ์เครอ่ื งมือ /
3 เตรียมชิ้นงาน /
4 จบั ยึดชิ้นงานบนเครอ่ื งกลงึ
5 ปรับเคร่ืองเพอ่ื ทาการกลึงเยอื้ งศนู ย์
6 กลึงเยื้องศูนย์ตามแบบงาน
7 วดั / ตรวจสอบขนาดงานกลงึ เย้ืองศูนย์
8 ทาความสะอาด / เก็บเครอื่ งมอื

Resources A: Having ago yourself
B: Observation of the Job
C: Performer interviews
D: Simulation
E : Questionnaire Techniques

Task Detailing Sheet

ช่อื รายวิชา ผลติ ชิ้นส่วนดว้ ยเคร่อื งมือกล 3
ชื่องาน งานกลงึ เย้อื งศนู ย์

TK TS

Tasks (or Steps) Knowledge N O R A T Skills NO I C A

1. อ่านแบบงาน 1. วิธีการอา่ นแบบ

กลึงเยื้องศนู ย์ งานกลงึ เยือ้ งศนู ย์ / /

2. เตรียมอุปกรณ์ 1. วิธกี ารเตรยี ม
เครอื่ งมอื
อุปกรณ์ เครื่องมอื / /
3. เตรยี มชน้ิ งาน
4. จบั ยดึ ชิน้ งานบน 2. วธิ ีการใชอ้ ปุ กรณ์ /
/
เครื่องกลึง เครื่องมือ /
/
1. วิธีเตรยี มชนิ้ งาน /

1. วธิ ีการจับยดึ 1. จบั ยึดช้นิ งานด้วย
จานพา
ชิ้นงานบน / / /
2. จับยึดชน้ิ งานด้วย
เครอ่ื งกลึง ห่วงพา / /
/ /
5. เตรยี มเครื่องเพอ่ื ทา 1. วธิ ีการเตรยี ม 1. ต้งั มดี กลึง / /
2. ปรบั ความเรว็ รอบ
การกลึงเย้ืองศูนย์ เคร่ืองเพ่อื ทาการ / /
เคร่อื งกลงึ / /
กลึงเยือ้ งศนู ย์ / / 1. ปอ้ นมีดกลึง
/ / 2. เดนิ มีดกลึงเยอื้ ง
6. กลึงเยื้องศนู ย์ตาม 1. วิธีการกลงึ เยือ้ ง ศูนย์

แบบที่กาหนด ศูนย์

Task Detailing Sheet

ชอื่ รายวิชา ผลติ ชิ้นส่วนด้วยเครอื่ งมอื กล 3
ชื่องาน งานกลงึ เยื้องศนู ย์

Tasks (or Steps) Knowledge N O TK Skills TS
RAT NO I C A
7. วัด / ตรวจสอบ
เรยี ว 1. วิธวี ดั / ตรวจสอบ / / 1. วดั งานกลงึ เยือ้ งศูนย์ //

8. ทาความสะอาด / เรยี ว ดว้ ยนาฬกิ าวัด
เก็บเครอ่ื งมอื
1. ขนั้ ตอนการทา / /
ความสะอาด

Objective listing Sheet

ชือ่ รายวชิ า ผลิตชิ้นส่วนด้วยเครอื่ งมือกล 3

หวั ข้อ/งาน งานกลึงเยือ้ งศูนย์

Behavioral Objective ISL PSL Remark
RAT I CA

1. อ่านแบบงานกลงึ เย้ืองศนู ย์ไดถ้ กู ต้อง / /
/
2. เลือกอปุ กรณแ์ ละเคร่อื งมือเพ่อื ใช้งานได้ถูกต้อง /
/
3. ต้งั มีดกลงึ เพื่อกลงึ เยอื้ งศนู ยไ์ ด้ /

4. ปอ้ นมีดกลงึ เพือ่ กลงึ เย้อื งศูนยไ์ ด้

5. กลึงเยอ้ื งศนู ยไ์ ด้ถูกตอ้ งตามแบบงานที่กาหนด

6. ตรวจสอบงานกลึงเย้ืองศูนยโ์ ดยใชน้ าฬกิ าวดั ได้

ISL = Intellectual Skill Level PSL = Physical Skill Level

ใบเนือ้ หา

หัวข้อ/งาน งานเยอ้ื งศนู ย์
ชอ่ื รายวชิ า ผลติ ชน้ิ สว่ นด้วยเครอ่ื งมอื กล 3

การกลงึ เยื้องศูนย์
การกลงึ เยื้องศนู ย์ หมายถงึ การเจาะรูยนั ศูนย์อยู่ในตาแหน่งทตี่ า่ งกนั กับแนวศูนย์กลางเดมิ ของ

ช้ินงาน ซง่ึ การเจาะรูยนั ศนู ย์ ในแนวศูนย์ปกติจะใช้หัวจบั แบบฟนั พร้อม จับงานเจาะได้ แต่ในศูนย์
เยื้องจะกระทาได้โดยอาศัยหัวจับแบบฟันอสิ ระ หรือการจับเจาะบนเคร่อื งเจาะดูที่กลา่ วมาแลว้ ในเรื่อง
การเจาะรูยันศูนย์
ภาพดา้ นซา้ ยมอื

แสดงถงึ การกลงึ เพลาทรงกระบอกธรรมดาท่ีแนวของรูยนั ศนู ย์อยู่ชว่ งกลางของชน้ิ งาน
ภาพดา้ นขวามือ

แสดงให้เหน็ การกลึงแบบเยอ้ื งศนู ย์ งานทกี่ ลงึ ออกมาจะเยื้องศนู ยไ์ ปดา้ นหนึง่ งานกลงึ ประเภท
นี้จะใชก้ งั งานบางประเภทเทา่ นัน้ ที่ร้จู ักมากคือเพลาลกู เบยี้ วในเคร่อื งยนตข์ องรถยนต์ ทีท่ าการอัดฉดี
กระบอกสูบให้เกดิ การขับเคลอ่ื น

การตรวจสอบระยะเยอ้ื งศูนย์
กระทาไดโ้ ดยอาศัย DIAL INDICATOR หมนุ ไปอ่านค่าออกมา เทยี บค่าตรงจุดที่สูงสดุ และจุดที่

ต่าสดุ ของระยะเย้อื ง

ใบเนอ้ื หา

หวั ขอ้ /งาน งานเยื้องศนู ย์
ช่ือรายวชิ า ผลิตชิน้ ส่วนดว้ ยเครื่องมอื กล 3

ในกรณที ่ตี ้องใชห้ นา้ จานจับยึดและชิ้นงานนั้นมีรเู จาะ ( ดูตามภาพ ) ให้ใช้ไมเ้ ขา้ ช่วยในการ
ตรวจสอบหาศนู ย์ของงานเพือ่ สะดวกในการจับยดึ ช้ินงานใหแ้ น่นก่อนทาการตดั เฉอื น

งานกลงึ เยอ้ื งศูนย์ หมายถงึ การกลึงท่เี ปลี่ยนระยะแนวศนู ย์กลางของชิ้นงานไปหาระยะแนว
ศูนยใ์ หมซ่ ่งึ ทาให้ศูนย์ใหม่นไ้ี ม่อยตู่ รงกลางของชิน้ งานเม่ือทาการกลึงออกมางานจะเย้ืองไป เปน็ ใน
ลกั ษณะลูกเบย้ี ว มีศนู ย์งานเกิดขนึ้ 2 ศนู ย์

ใบเน้อื หา

หัวขอ้ /งาน งานเย้อื งศูนย์
ชื่อรายวชิ า ผลิตชิ้นสว่ นดว้ ยเคร่ืองมือกล 3

เมื่อทางานออกมาแลว้ ย่อมตอ้ งมีการตรวจสอบเพอ่ื ให้ได้ความถกู ต้อง ซึง่ จะตอ้ งอาศยั อุปกรณ์
การตรวจสอบระยะการเยอ้ื งตัวของแนวศูนย์ โดยใชน้ าฬิกาวัด ( DIALINDICATOR ) หรือเครือ่ งมืออื่นๆ
มาช่วยกไ็ ด้ เพ่อื ให้การตรวจสอบนั้นสมบรู ณแ์ ละไดค้ า่ ท่ีแนน่ อน

ใบสงั่ งาน

ชือ่ รายวิชา : ผลิตช้นิ สว่ นดว้ ยเคร่อื งมือกล 3
ชอื่ งาน : งานกลึงเยอ้ื งศูนย์

วสั ดุ : St 37  45 X 105 mm วัสดุ / เครือ่ งมอื อปุ กรณ์
คาสั่ง : ใหน้ ักศึกษา

1. กลึงเยือ้ งศนู ยต์ ามแบบงานท่กี าหนด
2. เขยี นขัน้ ตอนและเครอื่ งมอื อุปกรณท์ ใ่ี ช้
3. ใชเ้ วลาในการฝึกปฏบิ ัติไมค่ วรเกิน 6 ช่ัวโมง

ข้ันตอนการทางาน

ชอ่ื :…………………………………………………ผู้ควบคมุ ………………………………………….ห้อง / ชน้ั
:………………………………………….. วนั ท่ี :…………………………………………..

ใบตรวจงาน

ชอื่ รายวิชา : ผลติ ชน้ิ ส่วนด้วยเครอื่ งมือกล 3
ชอื่ งาน : งานกลงึ เยื้องศูนย์

วสั ดุ : St 37  45 X 105 mm
คาสงั่ : ให้นักศกึ ษา

1. กลึงเยอื้ งศูนย์ตามแบบงานทีก่ าหนด
2. เขยี นขน้ั ตอนและเครือ่ งมืออปุ กรณ์ที่ใช้
3. ใช้เวลาในการฝึกปฏบิ ัติไม่ควรเกิน 6 ชวั่ โมง

จดุ พิจารณา ผลการปฏบิ ัติ หมายเหตุ

ผา่ น ไม่ผ่าน

1. ขนาดความยาว 40 มม.

2 . ขนาดความโต  38 X 5 มม.

3 . ขนาดความโต  17 X 25 มม.

4 . ระยะเยอื้ งศนู ย์ 19 มม.

6. ผวิ งาน

7. การทาความสะอาดเครอ่ื งจกั ร

ผลการพจิ ารณา :
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
ชือ่ : ………………………………………………… ผคู้ วบคมุ : …………………………………….
ห้อง / ช้ัน :………………………………………….. วันท่ี : ………………………………………….

แบบทดสอบภาคปฏบิ ัติ

ชือ่ รายวชิ า : ผลติ ชน้ิ สว่ นดว้ ยเคร่ืองมอื กล 3 ช้นั ………………………………

ช่ืองาน : งานกลึงเยอ้ื งศูนย์ เวลาท่ีทา………………………..

วสั ดุ : St 37  63.5 X 118 mm วสั ดุ / เคร่อื งมืออปุ กรณ์
คาสง่ั : ให้นกั ศึกษา

1. กลงึ เย้อื งศนู ย์ตามแบบงานที่กาหนด
2. เขยี นขน้ั ตอนและเคร่ืองมอื อปุ กรณท์ ่ใี ช้
3. ใช้เวลาในการฝึกปฏิบัตไิ มค่ วรเกิน 6 ช่วั โมง

ขัน้ ตอนการทางาน

ช่ือ : ………………………………………….. ผ้คู วบคุม : ……………………………………………
ห้อง / ชั้น :…………………………………… วันท่ี : ………………………………………………...
เวลาเร่ิม : ……………..….. น. เวลาเสรจ็ : …………………น. ใช้เวลา : ……………………….นาที

ใบประเมินผล

ช่อื งาน : กลงึ เยอ้ื งศูนย์ ชัน้ ปที ี่ : …………………………………..

ช่ือผ้สู อบ : ……………………………….. เวลาทา : …………………………….. นาที

เวลาเร่ิม : …………….…น. เวลาเสร็จ : …………………น. ใช้เวลา : ………………… นาที

วสั ดุ : St 37  63.5 X 118 mm ผลขนาด ทาได้ ตวั คูณ คะแนน คะแนน
จุดพจิ ารณา
คะแนน เตม็ ทไี่ ด้
1. ขนาดความยาว 115 มม.
2. ขนาดความยาว 40 มม.
3. ขนาดความยาว 5 มม.
4. ขนาดความยาว 25 มม.
5. ขนาดความยาว 15 มม.
6. ขนาด  60 มม.
7. ขนาด  25 มม.
8. ขนาด  20 มม.
9. ขนาดรัศมี R 2 มม.
10. ความเรยี บร้อยของงาน

ผ้ตู รวจ : ……………………………………………………………..
วนั ที่ : ……………………………………………………………….

Task Listing Sheet Resources
ABCDE
ชอื่ รายวิชา ผลติ ช้ินส่วนดว้ ยเครอ่ื งมอื กล 3 /
ชอื่ งาน งานกัดเฟอื งตรง /
/
NO. Task ( Steps) in Performing the Job /
/
1 เตรียมอุปกรณเ์ ครื่องมอื /
2 ตรวจสอบเคร่ืองกดั /
3 ติดตัง้ หัวแบ่ง /
4 นาช้นิ งานมาจบั เขา้ กบั หัวแบง่
5 เลอื กจานแบ่งและต้ังกา้ นหมุนแบง่
6 จบั มดี กดั เฟอื ง
7 เทยี บมดี กบั ช้นิ งาน
8 ตั้งความลกึ ในการกดั ร่องฟัน
9 ต้งั ความเร็วรอบและอตั ราการปอ้ นกนิ งาน
10 เร่ิมกดั รอ่ งฟันแรก
11 กัดร่องฟันทีส่ อง
12 วดั / ตรวจสอบขนาดงานกัดเฟอื งตรง
13 ทาความสะอาด / เกบ็ เครอื่ งมอื

Resources A: Having ago yourself
B: Observation of the Job
C: Performer interviews
D: Simulation
E : Questionnaire Techniques

Task Detailing Sheet

ชอ่ื รายวิชา ผลติ ชนิ้ สว่ นดว้ ยเครอื่ งมอื กล 3
ช่อื งาน งานกัดเฟืองตรง

Tasks (or Steps) TK TS
Knowledge N O R A T Skills N O I C A
1. เตรียมเครอื่ งมือ 1.
อุปกรณ์
2 1. วธิ กี ารเตรียม / / 1. ติดตงั้ คตั เตอร์บน / /
อปุ กรณ์ เครื่องมอื เครอ่ื งกัด / /
3. / /
4. 2. วธิ กี ารใชอ้ ุปกรณ์ 2. ตดิ ต้งั ชดุ หัวแบง่ /
เครอื่ งมือ / /
/ / 1. จับยึดช้ินงานดว้ ยชุด /
1. วธิ ีเตรียมช้ินงาน หวั แบ่ง
1. วิธีการจับยึด / /
2. ตัง้ ชิ้นงานให้ได้
ชน้ิ งานบน ศนู ยก์ ลางกบั คตั
เคร่ืองกดั เตอร์

5. เตรียมเคร่อื งเพอื่ ทา 1. วิธกี ารเตรยี ม / / 1. ประกอบคัตเตอร์กัด / /
การกัดเฟอื งตรง เครอื่ งเพ่อื ทาการ เฟอื งตรง / /
กดั เฟืองตรง
2. ปรับความเร็วรอบ
เคร่ืองกัด

การออกแบบบทเรยี น หน้าท่ี 4

Task Detailing Sheet

ชือ่ รายวชิ า ผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือกล 3
ชอ่ื งาน งานกดั เฟืองตรง

Tasks (or Steps) Knowledge TK Skills TS
NORAT
NO I C A
6. กดั เฟอื งตรงตาม 1. วิธีการกัดเฟอื ง 1. ปอ้ นระยะลึกกดั /
เฟืองตรง
แบบท่กี าหนด ตรง // //
3. หมนุ หัวแบง่ /
4. เล่อื นงานเข้าหาคัต
//
เตอร์

7. วดั / ตรวจสอบงาน 1. วธิ วี ัด / ตรวจสอบ 1. วัดงานกัดเฟอื งตรง
ด้วยเวอร์เนยี วดั
กัดเฟืองตรง งานกัดเฟืองตรง / / ฟันเฟอื ง

/ /

8. ทาความสะอาด / 1. ขั้นตอนการทา

เก็บเครอ่ื งมือ ความสะอาด / /

Objective listing Sheet

ชอื่ รายวชิ า ผลิตชิน้ ส่วนด้วยเครือ่ งมอื กล 3

หวั ขอ้ /งาน งานกดั เฟอื งตรง

Behavioral Objective ISL PSL Remark
RAT I CA

1. อ่านแบบงานกัดเฟอื งตรงไดถ้ กู ต้อง / /
/
2. เลอื กอุปกรณ์และเคร่อื งมือเพื่อใช้งานได้ถกู ต้อง /
/
3. ตดิ ตั้งชุดหัวแบง่ เพ่อื กดั เฟืองตรงได้ /

4. ประกอบคตั เตอร์เพ่ือกัดเฟืองตรงได้

5. กัดเฟืองตรงได้ถกู ตอ้ งตามแบบงานที่กาหนด

6. ตรวจสอบงานกัดเฟอื งตรงโดยใชเ้ วอร์เนยี วดั ฟันฟอื งได้

ISL = Intellectual Skill Level PSL = Physical Skill Level

ใบเนื้อหา

หวั ขอ้ /งาน งานกัดเฟืองตรง
ช่ือรายวิชา ผลติ ช้นิ ส่วนดว้ ยเครื่องมือกล 3
เครอ่ื งกดั แนวนอน ( Horizontal Milling Machine )

อปุ กรณ์เครื่องกัดแนวนอน
1.แกนเพลายึดมดี กดั ชนดิ ตา่ ง ๆ

ใบเนอื้ หา

หวั ขอ้ /งาน งานกัดเฟอื งตรง
ช่ือรายวชิ า ผลติ ชน้ิ ส่วนด้วยเครื่องมอื กล 3

2. ขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลางแกนเพลา

3. แกนเพลายึดมีดกัดของเคร่ืองกัดแนวนอนมี 2 แบบ

ใบเนอ้ื หา

หัวขอ้ /งาน งานกดั เฟืองตรง
ชือ่ รายวชิ า ผลิตช้นิ สว่ นด้วยเคร่อื งมอื กล 3

การถอดเพลามดี กัดนอน

 ตามภาพ เป็นวิธีการถอดท่ีผดิ ทาให้เพลาตกลงกระแทกเสียหาย

 ตามภาพเป็นวธิ กี ารถอดท่ีถกู ตอ้ ง ใช้สองมอื ช่วยกันมือข้างหน่งึ จบั เพลาประคองไว้
อีกข้างจับค้อนตอกออกแรงพอประมาณจนเพลาหลุด

การประกอบเพลามีดกัดนอน

ใบส่งั งาน

ช่อื รายวิชา : ผลติ ชนิ้ สว่ นดว้ ยเครอื่ งมอื กล 3
ชือ่ งาน : งานกัดเฟอื งตรง

วสั ดุ : St 37  63.5 X 15 mm วัสดุ / เครอ่ื งมอื อปุ กรณ์
คาสง่ั : ให้นกั ศึกษา

1. กดั เฟืองตรงตามแบบงานท่กี าหนด
2. เขียนขน้ั ตอนและเครอ่ื งมอื อุปกรณ์ท่ใี ช้
3. ใชเ้ วลาในการฝึกปฏบิ ัติไมค่ วรเกนิ 6 ช่ัวโมง

ข้ันตอนการทางาน

ช่อื :…………………………………………………ผู้ควบคมุ ………………………………………….ห้อง / ชน้ั
:………………………………………….. วนั ที่ :…………………………………………

ใบตรวจงาน

ช่ือรายวชิ า : ผลติ ชน้ิ สว่ นดว้ ยเครอ่ื งมือกล 3
ช่ืองาน : งานกดั เฟืองตรง

วัสดุ : St 37  63.5 X 15 mm
คาสัง่ : ใหน้ กั ศึกษา

1. กดั เฟืองตรงตามแบบงานทีก่ าหนด
2. เขียนขน้ั ตอนและเคร่อื งมอื อุปกรณ์ที่ใช้

3. ใชเ้ วลาในการฝึกปฏิบัติไม่ควรเกนิ 6 ชั่วโมง

จุดพจิ ารณา ผลการปฏบิ ัติ หมายเหตุ

ผ่าน ไม่ผา่ น

1. ขนาดความหนา 12 มม.

2 . ขนาด  60 mm

3 . ขนาด  20 mm

4. ความเรียบร้อยของช้นิ งาน

5. การทาความสะอาดเครอ่ื งจกั ร

ผลการพจิ ารณา :
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

ช่อื : ………………………………………………… ผคู้ วบคมุ : …………………………………….
หอ้ ง / ชั้น :………………………………………….. วันท่ี : ………………………………………….

เฟืองตรง (Spur Cear)

3.1 ลกั ษณะรูปรา่ งและหนา้ ทข่ี องเฟอื งตรง
เฟืองตรงจะมีลกั ษณะเปน็ ลอ้ ทรงกระบอก รอบผิวของล้อทรงกระบอก จะมีฟนั เฟอื ง

โดยรอบ ซี่ ฟันของเฟอื งทุก ๆ ซี่ จะมลี กั ษณะตรงยาวขนานกับแกนของเฟอื ง หรือขนานกบั
แกนเพลาที่เฟืองติดอยู่ เฟอื งตรงจงึ ใช้สาหรบั ส่งกาลงั และถา่ ยทอดการหมุนระหว่างเพลาสองเพลาที่
วางขนานกัน และเฟอื งตรงยังทาหนา้ ท่คี ่กู ับเฟอื งสะพาน (Rack) เพื่อส่งกาลงั จากการหมนุ ให้เปน็
การเคลือ่ นที่แนวเสน้ ตรง

ลกั ษณะของสว่ นโค้งของฟันเฟืองตรงจะเป็นแบบโคง้ อินโวลทู (Involute Curve) ซขี่ อง
ฟันเฟอื งจะทาหน้าที่รบั และส่งกาลงั ขบั ไปยังเฟอื งตัวตอ่ ไปท่ีขบกนั อยใู่ หห้ มนุ ตาม ซงึ่ เฟอื งตวั ตาม
หรอื เฟอื งทจ่ี ะมาขบกนั ไดน้ ั้น จะต้องมีขนาดของฟันคอื ความสูงของฟัน ความหนา และระยะพติ ช์
ของฟนั จะตอ้ งเท่ากัน ความกว้างของเฟอื งทีใ่ ช้งานประเภทเดียวกนั จะต้องเท่ากัน ความกว้างของ
เฟอื งที่ใชง้ านประเภทเดยี วกันจะตอ้ งเทา่ กัน

3.2 สัญลักษณแ์ ละสตู รในการคานวณหาขนาดต่าง ๆ ของเฟืองตรง
ในบทที่ 2 ไดก้ ล่าวถึงสว่ นตา่ ง ๆ ของเฟอื งไว้โดยละเอยี ดแลว้ ในการเรยี นชื่อหรือการ

คานวณขนาดต่าง ๆ ของเฟอื งน้ันจะนิยมใช้สัญลักษณ์แทนการเรียกชอื่ เต็ม ของสว่ นต่าง ๆ ของเฟือง
ตรง สัญลักษณข์ องส่วนตา่ ง ๆ ของเฟอื งตรงจะใช้แทนดว้ ยตัวอกั ษร ภาษาอังกฤษ

3.3 การคานวณหาขนาดต่าง ๆ ของเฟอื งตรง

3.3.1 การคานวณหาขนาดของ m, t, do

ตัวอยา่ งท่ี 1 กาหนดใหเ้ ฟืองมีขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลางพติ ช์เทา่ กับ 100 มม.

จานวนฟันเทา่ กบั 40 ฟนั จงคานวณ m และ t

วิธคี านวณ

do = 100 มม. z= 40 ตอบ
m= do = 100 = 2.5 มม. ตอบ
z 40

t. = m  = 2.5  = 7.85 มม.

การกดั เฟอื งด้วยเครื่องกัด
หลกั การก็คือ การนาเอามีดกบั เฟอื ง (Gear Cutter) ซง่ึ เป็นมีดกดั ท่มี ีรูปทรงเหมือนร่อง

ของฟนั เฟอื ง มาจบั แกนเคร่ืองกดั แทนทีจ่ ะจับด้วย Cutter แบบอน่ื ๆ เชน่ ในการกดั งานทั่ว ๆ ไป
แลว้ จับชน้ิ งานเฟืองทเี่ รยี กว่า Gear Blank ซ่งึ ไดก้ ลา่ วสาเรจ็ รปู มาเรียบรอ้ ยเข้ากับหวั แบง่ ที่สามารถ
ทาการแบง่ ใหไ้ ด้ฟันเฟอื งทมี่ ีขนาดเทา่ ๆ กนั แล้วให้ชิ้นงานเฟอื งเคลื่อนที่ผา่ น Cutter ทีก่ าลงั หมุน
อยู่ มีดกดั เฟืองกจ็ ะกัดเนื้อโลหะ ออกไปเป็นรปู ร่องฟนั เฟือง จนส่วนเน้ือโลหะทีเ่ หลอื อยู่จะ
กลายเปน็ รปู รา่ งของฟนั เฟอื ง ซง่ึ อยโู่ ดยรอบ Gear blank

3.4.1 อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการกัดเฟอื งดว้ ยเคร่ืองกัด อุปกรณ์ต่าง ๆ ทีจ่ ะใชใ้ นการกัดเฟอื ง
นอกจากเคร่ืองเครือ่ งกดั (Milling Machine) แลว้ ได้แก่

1) หัวแบ่ง (Indexing Head)
2) จานแบง่ (Indexing Plate)
3) แกนกัด (Mandrel)
4) ศนู ย์หลัง (Dead Center)
5) มดี กดั เฟือง (Gear Cutter)
6) เกจเทยี บศูนย์ (Dial Indicator)
3.4.2 การคานวณก่อนกัดเฟือง กอ่ นจะทาการกัดเฟือง จะต้องคานวณหาสว่ นตา่ ง ๆ
ของเฟอื งทจี่ าเป็น ซึง่ จะตอ้ งนาคา่ ทคี่ านวณได้น้นั ไปใช้ในการกดั เฟอื ง และการตรวจสอบขนาดเฟอื ง
เพื่อให้ไดข้ นาดของเฟอื งทต่ี อ้ งการ
เฟืองทจ่ี ะทาการกัดได้ตอ้ งทราบค่าตา่ ง ๆ ท่ีจาเป็นดงั นี้
1) โมดูลของเฟือง (m)
2) จานวนฟันของเฟือง (z)
3) ความกว้างของฟัน (b)
4) ความลกึ ของฟันเฟอื ง (h2)
5) ขนาดเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางยอดฟนั (dk)
จากขอ้ 1) และ 2) เปน็ คา่ ท่ีผูอ้ อกแบบกาหนดวา่ จะทาเฟอื งขนาดโมดลู เท่าใดและมี
จานวนฟนั กี่ฟนั แล้วจงึ นาค่าจาก 1) และ 2) ไปคานวณหาขนาดของ 3), 4) และ 5) โดยใช้
สูตรจากหนา้ 3 – 2
3.4.3 การคานวณหมนุ แบง่ เพ่อื กัดเฟอื งแต่ละฟัน ในการกัดเฟืองตรง เพื่อใหไ้ ดข้ นาดฟัน
จานวนฟันท่ีเทา่ ๆ กันและครบจานวนตามท่ีตอ้ งการ จาเป็นที่จะตอ้ งอาศยั หวั แบ่ง (Indexing
Head) ใชใ้ นการหมุนแบง่ แตล่ ะฟนั และคานวณหาจานวนรอบในการหมุนกา้ นแบ่ง ตลอดจนการ
ปฏบิ ตั ิการแบ่งทีถ่ ูกต้องด้วย
วิธคี านวณและการหมนุ แบ่งไดอ้ ธบิ ายรายละเอยี ดไวแ้ ลว้ ในบทท่ี 1

3.5 การต้ังกัดเฟืองบนเคร่อื งกัด
ในการตรวจสอบเครอื่ งกดั ท่ีจะใชส้ าหรบั กดั เฟอื งนั้น จะตอ้ งตรวจสอบวา่ เครอื่ งจักรนัน้ อยู่

ในสภาพพร้อมทจ่ี ะใชง้ านได้หรือไม่ และยังมีความเทย่ี งตรงสงู อยหู่ รือไม่เชน่ ระบบการทางานต่าง
ๆ การเคลอ่ื นที่ของแทน่ ตง้ั (Column) ขึ้น – ลง ไดส้ ะดวกหรือไมแ่ ละการหมนุ ของเพลาเครื่องกัดมี
แรงบิด (torque) พอเพียงหรอื ไม่ ถ้าเครอ่ื งกดั อยู่ในสภาพทดี่ ี ก็สามารถใช้ทาการกดั เฟอื งได้

เครื่องกดั ที่จะใชก้ ดั เฟืองตรงไดด้ สี ว่ นใหญ่ จะใชเ้ คร่ืองกดั 2 แบบ คอื
1. เครื่องกดั ราบ (Plain Milling Machine)
2. เครื่องกัดเอนกประสงค์ (Ueniversal Millig Machie)

เครอื่ งกัดเอนกประสงค์จะใชง้ านได้กวา้ งขวางกว่าเครื่องกดั ราบเพราะสามารถเอยี งโตะ๊ งาน
ใหท้ ามมุ กบั แนวการเคล่อื นทขี่ องโต๊ะงานได้

ขั้นท่ี 2 ตดิ ต้ังหวั แบ่ง
ในการตดิ ตงั้ หัวแบ่งใหป้ ฏบิ ัติตามลาดบั ดงั น้ี
1) ตรวจสอบหัวแบ่งว่าอยูใ่ นสภาพพร้อมทจี่ ะใชง้ านได้
2) นาหัวแบง่ ขึน้ ตดิ ตงั้ บนโต๊ะเครอื่ งกดั ถา้ เป็นเครอ่ื งของ Brown and Sharp ให้ติดตงั้
ทางดา้ นซา้ ยมือของโต๊ะงาน
ถ้าเปน็ เครือ่ งของ Cincinnati ใหต้ ดิ ตัง้ ไว้ทางด้านขวามือของโต๊ะทางาน
3) ใช้สลักเกลยี วหัวตัวทีทีส่ าหรบั จับยดึ ในร่อง ตัวท่ี (T Slot) ยดึ หวั แบง่ ให้แน่น
ดงั รูปท่ี 3.2

ขั้นท่ี 3 นาชนิ้ งานมาจบั เข้ากบั หวั แบง่ การจบั ช้นิ งาน ให้ปฏิบตั ติ ามลาดับขั้น ดังนี้
1) นาชิ้นงานที่จะกดั เฟอื งอัดเข้ากับแกนอัด (Mandrel)
2) นาชิ้นงานที่อัดเข้ากับแกนนา แล้วไปจบั กบั หัวแบง่ แล้วยนั ศนู ยด์ ้วยศนู ย์ท้ายแท่น
(Foot Stock) ดังรปู ท่ี 3.3
3) ตรวจสอบการจับช้ินงาน ให้ไดร้ ะดบั และได้ศนู ย์
- ตรวจสอบการจบั ได้ระดับ โดยใช้เกจเทยี บศูนย์ (Dial IndiCator) ดังรูปท่ี 3.4
- ตรวจสอบการหมุนใหไ้ ดศ้ ูนย์ ของช้ินงาน โดยหมุนแทน่ แบ่งไปเร่อื ย ๆ ให้ช้ินงาน
หมุนตาม ใช้ Dial In dicator ตรวจสอบวา่ หมุนได้ศูนยห์ รอื ไม่ ถา้ งานหมนุ ได้
ศูนย์ เขม็ ทอง Dial Indicator จะไมก่ ระดกิ หรอื หมนุ ไปทางซา้ ยหรอื ขวา
4) ใชเ้ หล็กพา (Lathe Dog) จบั ยดึ ชิน้ งานใหแ้ นน่

ขั้นที่ 4 เลือกจานแบ่งและตั้งก้านหมนุ แบ่ง
เราจะทราบว่าในการหมุนแบง่ กัดแต่ละฟันนั้นจะใช้จานแบ่งเบอรอ์ ะไรซงึ่ ขึ้นอยกู่ บั จานวนรู

ในวงกลมที่จานแบ่งน้ันมีอยู่ นาจานแบ่งท่เี ลือกแลว้ เข้าติดกบั แกนก้านแบ่ง แล้วตง้ั แขนหมุนแบ่ง
(Sector Arms) ใหถ้ กู ตอ้ งตามที่คานวณศึกษาเพิ่มเติมจากข้อ 1 ในบทที่ 1

ขนั้ ท่ี 5 จบี มดี กดั เฟอื ง

กอ่ นทาการกดั เฟือง ก็จะต้องหาขนาดและนัมเบอรข์ องมีดกดั เฟืองก่อน การหาหรอื การ
เลือกนัมเบอรข์ องมีดกัดเฟือง ไดอ้ ธิบายไว้ในหัวข้อ 2.8 บทที่ 2 แล้วการปฏบิ ัตกิ ารจับมีดกัดเฟือง
มีดงั นี้

1) ถอดทย่ี ึดและรองรับเพลา (Arbor Support) ออกจากตาแหน่งโดยคลายสกรูลอ๊ ค
ดงั รปู ที่ 3.7

2) คลายแปน้ เกลียวล๊อค ปลอกสวมกบั แกนเพลามีดกัด (Arbor) ออกแลว้ ดึงปลวกสวม
ออกมา ดงั รปู 3.7

3) นามดี กัดเฟอื งที่จะใช้ สวมเข้ากบั เพลามีดกดั ให้คมตัดของมีดกัดหนั ไปทางท่ีเพลามดี
กัดหมนุ ดงั รูปท่ี 3.8

4) แลว้ เอาปลวกสวมอัดสวมเขา้ ไปใหม่แล้วล๊อคดว้ ยแป้นเกลียวใหแ้ นน่
5) เอาทีย่ ดึ รองรบั เลาสวมเข้าไปใหม่แลว้ ยดึ ใหแ้ นน่ ดงั รูปที่ 3.9

ขนั้ ที่ 6 เทยี บมดี กดั กับช้ินงาน

ประการแรกกเ็ ทียบมีดกัดใหก้ ่งึ กลางของมีดกัด อยู่ตรงก่ึงกลาง (Center) ของชนิ้ งาน

พอดี โดยใชว้ ิธีดังน้ี

- ใช้ฉากเทียบผวิ ขา้ งของงาน ให้อยตู่ รงแนวเดียวกับผวิ ขา้ ง ของมีดกดั โดยเทียบตาม d2k

แนวดิ่ง ดังรปู 3.10 วัดขนาดความหนาตัวมีดกดั แล้วหารด้วย 2 แลว้ นาไปลบออกจากค่า
จะไดค้ า่ Y คอื ระยะทจี่ ะเลื่อนชน้ิ งานออกมาให้มดี กดั อยตู่ รงศนู ย์กลางช้ินงานพอดี

จากรปู Y dk  tc
2 2

dk = Outside dia. ชนิ้ งานเฟือง
tc = ความหนาของมีดกัด
- เล่อื นโต๊ะงานออกมาให้ชิน้ งานเคลื่อนทอ่ี อกมาเทา่ กบั ระยะ Y มดี กัดจะอยตู่ รงก่งึ กลาง
ของชิน้ งานพอดี ดงั รปู ท่ี 3.11

หลงั จากเทียบมดี กดั ให้ได้ศนู ย์กลางของช้ินงานแล้ว ก็ทาการตั้งชน้ิ งานและปรับให้คมของ
มีดกัดอยู่ตรงแนวเดียวกบั ชิน้ งาน นนั่ คอื คมมีดกัดพรอ้ มท่จี ะกดั ผิวงาน ถ้าหากเพิ่มความลกึ ในการ
กัดอยตู่ รงแนวเดียวกับชนิ้ งาน น่นั คอื คมมีดกัดพรอ้ มท่ีจะกัดผิวงาน ถ้าหากเพิ่มความลึกในการกดั
งานของมดี เขา้ ไปอกี นดิ เดียว (สมมตุ ิประมาณ 0.01 มม.) มดี กดั กจ็ ะกนิ งานทันที หมายความว่า
ขณะนั้นระยะลกึ ในการกัดของมีดกดั เท่ากบั ศูนย์ (0 มม.) ดังรปู 3.12

วิธกี ารตงั้ ศูนย์ (0 มม.) ใชก้ ระดาษบาง ๆ วางบนผิวงาน เพ่อื คั่นระหว่างคมตัดกับ
ผิวชิ้นงาน แล้วเล่ือนโต๊ะงานข้ึนไปให้ผวิ งานเกอื บจะชดิ กับคมตดั แล้วเปิดสวทิ ซ์ของเคร่อื งกัดให้
เพลามีดกดั หมุนช้า ๆ (ประมาณ 60 รอบตอ่ นาที) แล้วเคลือ่ นโต๊ะงานขึน้ ไปอกี เลก็ นอ้ ย ใหค้ มตดั มี
กัดหมุนกัดผวิ กระดาษพอดี ก็แสดงวา่ ขณะนต้ี งั้ คมตดั ชิดงานท่สี ุด แลว้ จงึ เลื่อนโตะ๊ งานไปใหช้ นิ้ งาน
ถอยห่างออกจากมดี กดั เพ่ือเตรยี มเริ่มกดั ฟันแรก ดังรปู ท่ี 3.13

ข้นั ท่ี 7 ตง้ั ความลึกในการกดั ร่องฟนั
กอ่ นจะทาการกดั จะตอ้ งตัง้ ระยะการกินลกึ ของคมมดี กัดเพือ่ ใหเ้ กิดร่องฟันและ

ฟนั เฟอื ง ระยะทต่ี ง้ั กินลกึ จะเทา่ กับชว่ งความสงู ของฟันเฟือง hz คือ ขนาด hz ตามท่ีคานวณไวก้ อ่ น
การตง้ั ระยะกนิ ลึกของคมมดี กัดใหห้ มุนแกนหมนุ ของแทน่ เล่อื นตามเข็มนาฬิกาแท่นเล่ือน

จะเล่ือนข้นึ จนได้ระยะ hz ที่ต้องการ กใ็ หด้ ูจากสเกลของแกนหมนุ ของแทน่ เลื่อนโดยท่ีสเกลจะบอก
ระยะท่ีเลอ่ื นขนึ้ เมอ่ื หมุนแกนหมนุ รอบมสี เกลละเอยี ด แบง่ ไวเ้ พื่อให้สามารถต้ังค่าไดล้ ะเอียด ตาม
ความตอ้ งการ และจะไดค้ ่าความลกึ hz ท่ลี ะเอียดเท่ียงตรงแสดงไว้ ดังรูปที่ 3.14

ขน้ั ที่ 8 ต้ังความเร็วรอบและอัตราการป้อนกินงาน
กอ่ นทาการเปิดสวิทซก์ ็ต้องต้ังความเรว็ รอบของเพลงมีดท่จี ะใช้ในการกดั ใหเ้ หมาะสมกับ

ชนดิ ของวัสดุท่จี ะที่ทาการกัด และเลอื กตง้ั ความเร็วป้อนกนิ งานของโตะ๊ งานให้เหมาะสม การ
คานวณหาความเรว็ รอบและอัตราป้อน ดูจากหวั ข้อที่ 3.6

ขอ้ ท่ี 9 เริม่ กัดรอ่ งฟนั แรก
เปิดวิทซ์เคร่ืองกัดให้เพลามีดกดั หมุนให้ถกู ทิศทางแลว้ ตัง้ อตั โนมัติงานเคลื่อนที่ปกตเิ พลามดี

กดั จะหมนุ ตามเข็มนาฬกิ า โตะ๊ งานจะเคล่อื นที่จากซา้ ยไปขวา เมือ่ มีดกัดรอ่ งฟนั เฟืองจนตลอดแล้ว
กใ็ หเ้ ล่ือนโตะ๊ งานกลับไปทางซ้าย เพอื่ ทาการกัดร่องฟนั ท่สี องต่อไป

ข้ันที่ 10 กดั รอ่ งหนั ที่สอง

เม่ือกดั ร่องฟนั แรกเสร็จแลว้ ก็ทาการหมนุ กา้ นแบง่ ไปเทา่ กบั จานวนรอบ ตามที่คานวณไว้
ก่อนทาการกดั แล้วล๊อคแกนหมุนของหัวแบง่ กอ่ น แลว้ จงึ ทาการกดั รอ่ งฟันทีส่ อง โดยปฏิบัติตาม
ขั้นตอนท่ี 9 ไปเรื่อย ๆ จนครบทกุ ฟัน กจ็ ะได้ฟันเฟอื งโดยรอบตามตอ้ งการ

3.6 การคานวณหาความเรว็ รอบของเพลามีดกัด

ในการตั้งความเร็วรอบของเพลงมดี ใหห้ มนุ เทา่ ไรน้นั จะขน้ึ อยกู่ บั องคป์ ระกอบต่าง ๆ ได้แก่

ขนาดความโตผา่ ศนู ย์กลางของมีดกดั เฟอื ง ลักษณะของมีดกัดเฟอื ง (ปกติใช้ตามมีดกัดเซารอ่ ง)

ชนิดของวัสดุ (จะใหค้ ่าความเร็วตัด)

การคานวณหาความเรว็ รอบ n ของเพลงมดี กัด คานวณได้จากสูตร ดงั นี้

m  1000.V
πd

เมอื่ n = ความเรว็ รอบ รอบ/นาที

v = ความเรว็ ตัดของวัสดุช้นิ งาน เมตร/นาที

d = ความโตผ่าศูนย์กลางของมีดกันเฟอื ง

ตวั อยา่ ง ถา้ มีดกนั เฟืองโต 50 มม. ความเร็วตัดวัสดุช้ินงานเท่ากบั 20 เมตร/นาที

ใชค้ วามเร็วรอบเทา่ ไร

วธิ ีคานวณ 1000.V
π.50
n =

121 รอบ/นาที

เลือกใช้ความเร็วจากจากเคร่ืองท่ีมีค่าน้อยกวา่ 121 rpm.

ในการเลอื กความเร็วตดั สาหรบั วัสดุชิ้นงาน ใหเ้ ลือกจากตารางความเรว็ ตัดงานกดั ที่ทาการ
กัดดว้ ยมีดเซาะรอ่งแทนรอ่ งแทนมีดกดั เฟือง เนอ่ื งจากมดี กดั เฟืองไมไ่ ดร้ ะบไุ ว้ในตารางดังกล่าว
เชน่ เดยี วกนั การกัดด้วยมดี กัดฟอร์มอื่น ๆ

3.7 การเลือกอตั ราป้อนกดั
ในการกัดเฟอื ง อัตราปอ้ นจะมคี วามสาคญั มาก เพราะการเลอื กใช้อัตราป้อนจะมีผลต่อ

อายกุ ารใชง้ านของมดี กดั มผี ลตอ่ ผวิ งานกัด การกัดเฟืองตอ้ งการผวิ ของฟันเฟืองทเี่ รยี บและมดี กดั
เฟอื งตอ้ งใชง้ านไดน้ าน เพราะมรี าคาแพงมาก ดังนน้ั ในการกดั เฟืองจงึ จาเป็นอยา่ งยิง่ ท่จี ะต้องเลอื ก
ค่าอัตราป้อนให้ถกู ตอ้ งและเหมาะสมกับชนิดของวัดสุช้ินงาน

จากตาราง 3.1 และ 3.2 ในการเลือกใช้อัตราป้อน ใหเ้ ลอื กตามค่าความเรว็ ตัดของวัสดุ
ชน้ิ งานและเลือกค่าอตั ราป้อนท่ีต่าในตารางเสมอ

เชน่ วัสดุเปน็ เหล็กไม่ผสม 700 นิวตัน /มม2 กัดละเอียดควรเลอื กค่า u = 25 มม.
ตอ่ นาที หรอื ค่า sz = 0.05 มม./ฟัน หรือวัสดุเป็นเหล็กหล่อ กัดละเอยี ดควรเลือก คา่ u = 30
มม./นาที sz = 0.07 มม. / ฟนั

3.8 ขอ้ ควรระวังในการกัดเฟือง
1. ต้องจบั ช้ินงานใหไ้ ด้ระดบั และชิ้นงานหมุนไดศ้ ูนย์ มิฉะนั้นจะไดฟ้ นั เฟืองท่เี อยี งและมี
ความลกึ ของฟนั ไมเ่ ท่ากัน
2. ต้องจับงานใหแ้ น่นและม่ันคง หากชิน้ งานหมนุ ตาม หรือเคลอื่ นท่ีขณะทาการกดั จะทา
ให้ฟนั เฟอื งเสยี หายได้
3. กอ่ นจะทาการกัดตอ้ งแนใ่ จวา่ เลือกนมั เบอร์มีกัดเฟอื งถกู ตอ้ งแล้ว
4. ต้องแนใ่ จวา่ ได้ตงั้ จานแบง่ กา้ นหมุนแบง่ ตามจานวนรูปในวงกลมทถ่ี กู ต้องแลว้
5. ต้องระมดั ระวงั ในการทาการหมนุ แบง่ เพ่อื กัดฟันต่อ ๆ ไป หากเกิดการผิดพลาดใน
การหมนุ จะทาให้ฟนั ของเฟอื งมคี วามหนาไม่เทา่ กนั
6. การตงั้ ความลกึ หากต้ังความลึก ลึกกวา่ ความลึกจริงจะทาใหร้ อ่ งฟนั ลกึ เกนิ ไป
ฟันเฟอื งทไ่ี ดจ้ ะบาง ไมแ่ ข็งแรง เวลาใชข้ บกันจะคลอนได้
7. ระวังการใชค้ วามเร็วรอบในการกดั การเลือกใช้ความเร็วรอบในการกัดไมเ่ หมาะสมจะ
ทาใหเ้ กิดผลเสียตอ่ มีดกดั ได้ เชน่ อาจทาให้มีดบ่ินแตกเสียหายได้ เช่นการกัดเหลก็
แขง็ จะตอ้ งใชค้ วามเร็วรอบตา่ ๆ ถ้าเหล็กออ่ น กใ็ ชค้ วามเร็วรอบสูง ๆ ตอ้ งคานวณหา
ความเร็วรอบก่อนเสมอ
8. การป้อนกินงานท่ีใช้อตั ราป้อนเรว็ เกินไป จะมผี ลเสียตอ่ มดี กดั ทาใหม้ ดี กัดบ่ินและ
เสยี หายได้
9. เมื่อกัดฟันแรกเสรจ็ แล้ว ต้องตรวจสอบขนาดของฟนั ท่ไี ด้กอ่ นเสมอวา่ ได้ขนาดถกู ต้อง
ตามแบบแล้ว

จากเหตุผลข้างตน้ น้ี จงึ ตอ้ งสร้างมีดกดั เฟอื ง (Gear Cutter) ทมี่ ขี นาดโมดลู ต่าง ๆ และ
จัดเปน็ ชุด ๆ แต่ละโมดูล เพ่ือกัดเฟืองที่มจี านวนฟันต่าง ๆ กนั

มดี กัดเฟอื งชดุ หน่งึ หรอื โมดลู หนง่ึ ๆ จะมี 8 ตวั สาหรับกัดเฟือง ท่ีมขี นาดโมดูลไม่เกนิ 9
มลิ ลิเมตร ดังน้ี

ตาราง 2.2

หมายเลข 1 2 3 4 5 6 7 8
นมั เบอร์

จานวน 135

ฟนั เฟืองทีก่ ัด 12..13 14..16 17..20 21..25 26..34 35..54 55..134 ถึงเฟือง

สะพาน

ตาราง 2.3 สว่ นมีดกดั สาหรบั กัดเฟืองท่มี ีขนาดโมดลู โตเกนิ 9 มม. ชุดหน่งึ ๆ จะมี 15 ตัว ดังนี้

หมายเลข 1 11 2 21 3 31 4 41
นมั เบอร์ 2 2 2 2

จานวน 12 13 14 15..16 17..18 19..20 21..22 23..25
ฟนั เฟอื งทีก่ ัด

หมายเลข 5 51 6 61 7 71 8
นมั เบอร์ 2 2 2

จานวน 26..29 30..34 35..41 42..54 55.79 80..134 135…เฟืองสะพาน
ฟนั เฟอื งทกี่ ัด

แบบฝึกหดั ท่ี 3

จงเติมคาหรอื ขอ้ ความลงในชอ่ งวา่ งใหส้ มบูรณ์

1. ลักษณะของ Spur ge ar คอื ………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………….

2. จงกาหนดสัญลักษณ์ของสว่ นตา่ ง ๆ ตอ่ ไปน้ี

ชอ่ื สว่ นตา่ ง ๆ Pitch Pitch dia Ou tsidedia No.of Adde ndu
teeth m

สัญลักษณ์

3. จงบอกสูตรของสว่ นต่าง ๆ ต่อไปนี้

ช่ือส่วนตา่ ง ๆ Pitch dia Outside dia Center Tooth De de
สูตร distance Thicknes ndu m
s

4. เฟืองตัวขบั ขนาด 48 ฟัน Module = 4 มม. สง่ กาลงั ไปยงั เฟืองตัวตามดว้ ยอัตรา
ทด 1 : 3 จงคานวณหาส่วนตา่ ง ๆ ดงั น้ี

เฟืองขบั Z1 เฟอื งขับ Z2

Z1 = 48 Z1 = ……………………………….

do1 = ……………………………. do2 = ……………………………….

dk1 = ……………………………. dk2 = ……………………………….

df1 = ……………………………. df2 = ……………………………….

t1 = ……………………………. t2 = ……………………………….

tz1 = ……………………………. hz2 = ……………………………….

hk1 = ……………………………. hk2 = ……………………………….

hf1 = ……………………………. hf2 = ……………………………….

a1 = ……………………………. b = ……………………………….

5. ตอ้ งการกัดเฟอื ง Module = 2 มม. z = 44 มม. do = 88 มม. dk. = 92
มม. Gear cutter เป็น HSS หนา 7 มม. dia. = 55 มม. คานวณเตรยี มกดั เฟอื ง
ดงั นี้

ความกว้าง (b) มม.
ใช้เคร่ืองกดั แบบใด
มม.
การหมนุ แบง่ มม.
เครื่องมือในการตรวจสอบ

การจบั ชิน้ งาน
ระยะ Set Y
ระยะ hz
ความเร็วรอบ n
วสั ดุ v = 20 /นาที
อตั ราการปอ้ นกดั

u

Task Listing Sheet Resources
ABCDE
ช่อื รายวิชา ผลติ ชิน้ สว่ นดว้ ยเครือ่ งมือกล 3 /
ช่ืองาน งานเจียระไนราบ /
/
NO. Task ( Steps) in Performing the Job /
/
1 อ่านแบบงานเจียระไนราบ /
2 เตรยี มอุปกรณเ์ ครอื่ งมือ /
3 เตรยี มชน้ิ งาน /
4 จับยึดชนิ้ งานบนเคร่อื งเจียระไนราบ
5 ปรบั เครอื่ งเพือ่ ทาการเจียระไนราบ
6 เจยี ระไนราบตามแบบงาน
7 วัด / ตรวจสอบขนาดงานเจียระไนราบ
8 ทาความสะอาด / เก็บเคร่ืองมือ

Resources A: Having ago yourself
B: Observation of the Job
C: Performer interviews
D: Simulation
E : Questionnaire Techniques

Task Detailing Sheet

ชอื่ รายวิชา ผลติ ชิ้นส่วนดว้ ยเคร่อื งมือกล 3
ชอ่ื งาน งานเจียระไนราบ

Tasks (or Steps) Knowledge TK Skills TS
NORAT NO I C A

1. อ่านแบบงาน 1. วิธกี ารอา่ นแบบ /
เจียระไนราบ งานเจยี ระไนราบ /

2. เตรียมอุปกรณ์ 1. วธิ กี ารเตรยี ม 1. ตดิ ตั้งแทน่ จบั ยึด
ชิ้นงานแมเ่ หลก็
เคร่อื งมือ อปุ กรณ์ เคร่ืองมอื / / ชัว่ คราว
/ /
2. วิธกี ารใชอ้ ปุ กรณ์ / / / /

เครอ่ื งมือ / / /

3. เตรยี มชิน้ งาน 1. วิธเี ตรียมชิน้ งาน /
/
4. จับยดึ ชนิ้ งานบน 1. วิธีการจับยดึ 1. จบั ยดึ ช้ินงานบน /

เครื่องเจียระไนราบ ชนิ้ งานบนเครอ่ื ง แทน่ จับยึดชน้ิ งาน

เจยี ระไนราบ แมเ่ หลก็ ช่วั คราว /

2. ติดตง้ั ชดุ แต่งหน้าลอ้

หนิ เจยี ระไนบนแท่น

แมเ่ หล็กช่ัวคราว

/

5. เตรยี มเครื่องเพือ่ ทา 1. วธิ กี ารเตรยี ม 1. แตง่ หน้าลอ้ หิน
การเจียระไนราบ เครื่องเพื่อทาการ
เจียระไนราบ เจยี ระไน /

/ / 2. ปรับความเร็วรอบ

เคร่อื งเจียระไน /

ราบ

Task Detailing Sheet

ชือ่ รายวชิ า ผลิตชิน้ สว่ นดว้ ยเครอ่ื งมือกล 3
ชอ่ื งาน งานเจียระไนราบ

Tasks (or Steps) Knowledge TK Skills TS
NORAT NO I C A
//
6. เจียระไนราบตาม 1. วิธีการเจียระไน 1. ปอ้ นระยะเจยี ระไน //
ราบ
แบบทีก่ าหนด ราบ //
2. เลื่อนงานเข้าหาล้อ
หนิ เจยี ระไน

7. วดั / ตรวจสอบงาน 1. วธิ ีวัด / ตรวจสอบ 1. วดั งานเจียระไนราบ
ด้วยไมโครมิเตอร์ /
เจยี ระไนราบ งานเจยี ระไนราบ / / /

8. ทาความสะอาด / 1. ขั้นตอนการทา

เก็บเครอื่ งมอื ความสะอาด / /

Objective listing Sheet

ช่อื รายวิชา ผลิตช้ินสว่ นดว้ ยเครอื่ งมือกล 3

หัวขอ้ /งาน งานเจยี ระไนราบ

Behavioral Objective ISL PSL Remark
RAT I CA

1. อา่ นแบบงานเจยี ระไนราบได้ถกู ต้อง / /
/
2. เลือกอุปกรณ์และเคร่ืองมอื เพือ่ ใช้งานได้ถูกต้อง /
/
3. ติดตั้งแท่นจบั ยดึ ช้นิ งานแม่เหลก็ ชว่ั คราวได้ /
/
3. ตดิ ตง้ั ชดุ แต่งหน้าล้อหินเจยี ระไนได้

4. แตง่ หน้าล้อหินเจยี ระไนได้

5. เจียระไนราบช้ินงานไดถ้ ูกต้องตามแบบงานทก่ี าหนด

6. ตรวจสอบงานเจยี ระไนราบโดยใชไ้ มโครมิเตอร์ ได้

ISL = Intellectual Skill Level PSL = Physical Skill Level

ใบเนอ้ื หา

หัวข้อ/งาน งานเจียระไนราบ
ช่อื รายวชิ า ผลติ ชิน้ ส่วนด้วยเครอื่ งมือกล 3
เครอ่ื งเจียระไนราบ ( Surface grinding )

 ตามภาพ แสดงส่วนตา่ ง ๆ ของเครอื่ งเจียระไนราบ

 เครอื่ งเจียระไนราบควบคมุ ด้วยมอื และไฮดรอลกิ ส์

ใบเนือ้ หา

หวั ขอ้ /งาน งานเจยี ระไนราบ
ช่ือรายวิชา ผลติ ชน้ิ ส่วนดว้ ยเครือ่ งมือกล 3
การประกอบลอ้ หินเจยี ระไน

 ตามภาพ แสดงการตรวจสอบลอ้ หินเจียระไนดว้ ยการใชไ้ มเ้ คาะ

 ตามภาพ แสดงการประกอบแปน้ ยึดลอ้ หินกับหนิ เจยี ระไน

 ตามภาพ แสดงการติดตง้ั ล้อหินบนชุดต้งั ความสมดุล

ใบเนอื้ หา

หัวข้อ/งาน งานเจยี ระไนราบ
ชื่อรายวิชา ผลติ ช้ินส่วนด้วยเครอ่ื งมือกล 3

 ตามภาพ แสดงการประกอบลอ้ หนิ เจยี ระไนเขา้ กบั เคร่ือง

 ตามภาพ แสดงการแตง่ หน้าล้อหินดว้ ยหวั เพชร

ใบเนื้อหา

หัวข้อ/งาน งานเจียระไนราบ
ช่อื รายวิชา ผลติ ชนิ้ สว่ นดว้ ยเครื่องมือกล 3

อปุ กรณจ์ บั ยึดชิ้นงาน

 ตามภาพ แมเ่ หลก็ ชว่ั คราว ( Electromagnetic Chuck )
ขั้นตอนการเจยี ระไน

 ทาความสะอาดโตะ๊ แม่เหล็กช่ัวคราว  ตบแตง่ ขอบชิ้นงาน

 ต้งั ระยะการเคลือ่ นทตี่ ามแนวยาวของช้ินงาน

ใบเนื้อหา

หัวข้อ/งาน งานเจียระไนราบ
ชือ่ รายวิชา ผลิตชน้ิ ส่วนด้วยเคร่อื งมือกล 3

กฎความปลอดภยั ในการทางานเจียระไนราบ
1. ไมใ่ ช้ล้อหินท่จี ับยึดไมแ่ ข็งแรง/แตกรา้ ว
2. ตอ้ งแน่ใจว่าลอ้ หนิ และช้นิ งานจะไมก่ ระทบกันทันทที ี่เริ่มเดนิ เคร่อื งเจยี ระไน
3. กอ่ นเปดิ เคร่อื งให้ล้อหินหมุน/โต๊ะงานเคล่ือนท่ี อยา่ งลืมโยกคนั โยกให้

magnetic Chuck ทางานก่อนเสมอ
4. ควรปดิ วาลว์ ควบคมุ การเคลอ่ื นที่ของโต๊ะงาน ก่อนเปดิ เครื่องให้ลอ้ หนิ หมุนเสมอ
5. เครอ่ื งปอ้ งกันอันตราย( Safety Guard ) ของเคร่อื งเจียระไน ตอ้ งติดต้งั ไว้ทุกครั้งท่ใี ช้

เครือ่ งเจียระไนราบ
6. ตอ้ งมกี ารหลอ่ เย็นตลอดระยะเวลาในการทางาน เพอ่ื สขุ ภาพของผู้ปฏบิ ัติงาน
7. ไมป่ อ้ นลอ้ หินให้กนิ งานลกึ มากเกนิ ไป เพราะอาจทาให้ลอ้ หนิ แตกรา้ วได้
8. สวมแวน่ ตาป้องกันเสมอ
9. ความเร็วขอบของลอ้ หิน ต้องไม่เกนิ ค่าท่ยี อมให้ใชไ้ ดจ้ ากฉลากของล้อหิน
10. หา้ มแตะตอ้ งทุกส่ิงทกุ อยา่ งบนโต๊ะงาน จนกว่าล้อหนิ จะหยดุ หมุน
11. หากเป็นไปได้ ควรสวมถงุ มือขณะทางานด้วย
12. หลงั เจยี ระไนเสร็จแล้ว ต้องลบคมช้ินงาน เพื่อป้องกันคมของขอบงานบาดมือ

ใบสง่ั งาน

ชื่อรายวิชา : ผลิตชิน้ สว่ นดว้ ยเครอื่ งมือกล 3
ชอ่ื งาน : งานเจยี ระไนราบ

วสั ดุ : ใชช้ ้ินงานจาก หนว่ ยเรยี นที่ 2.1 (งานไสมมุ ) รายวิชาเทคนิคการผลติ ชน้ิ สว่ นเครอ่ื งมือกล 2
คาส่ัง : ให้นักศึกษา

1. เจยี ระไนราบตามแบบงานทีก่ าหนด
2. เขียนข้นั ตอนและเคร่ืองมอื อปุ กรณ์ทใ่ี ช้
3. ใชเ้ วลาในการฝกึ ปฏบิ ัตไิ ม่ควรเกิน 3 ชว่ั โมง

ขั้นตอนการทางาน วัสดุ / เครื่องมืออปุ กรณ์

ชอ่ื :…………………………………………………ผคู้ วบคุม…………………………………..ห้อง / ช้ัน
:………………………………………..วันท่ี:…………………………………………


Click to View FlipBook Version