The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nutzakung333, 2021-03-24 10:41:14

E-Book-กฎหมายการศึกษา-ภานุมาศ-604150619

E-Book-กฎหมายการศึกษา

2

3

1

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยพทุ ธศักราช
2560

4

2

หมวดและมาตราทเ่ี กย่ี วข้องกบั การศึกษา

หมวด 4 หนา้ ท่ีของปวงชนชาวไทย
- มาตรา 50

หมวด 5 หนา้ ท่ีของรัฐ
- มาตรา 54

หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ
- มาตรา 258 จ. ดา้ นการศึกษา

5

3

หมวดและมาตราทเี่ กยี่ วข้องกบั การศึกษา

หมวด 4 หน้าทขี่ องปวงชนชาวไทย

มาตรา 50 บุคคลมีหนา้ ที่ ดงั ต่อไปน้ี
เขา้ รับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบงั คบั

6

4

หมวดและมาตราทเี่ กย่ี วข้องกบั การศึกษา

หมวด 5 หน้าทขี่ องรัฐ

มาตรา 54 รัฐตอ้ งดาเนินการให้เด็กทุกคนไดร้ ับการศึกษาเป็ นเวลาสิบ
สองปี ต้งั แตก่ ่อนวยั เรียนจนจบการศึกษาภาคบงั คบั

รัฐต้องดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพฒั นาก่อนเข้ารับ
การศึกษา ตามวรรคหน่ึง เพ่ือพฒั นาร่างกาย จิตใจ วินยั อารมณ์ สงั คม และ
สติปัญญาให้สมกบั วยั โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องคก์ รปกครองส่วน
ทอ้ งถิ่นและภาคเอกชนเขา้ มีส่วนร่วมในการดาเนินการดว้ ย

การศึกษาท้งั ปวงตอ้ งมุ่งพฒั นาผูเ้ รียนให้เป็ นคนดี มีวินยั ภูมิใจในชาติ
สามารถ เชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตนและมีความรับผิดชอบต่อ
ครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ

เด็กเล็กไดร้ ับการดูแลและพฒั นาตามวรรคสองหรื อ
ให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามวรรคสาม รัฐต้อง
ดาเนินการให้ผูข้ าดแคลนทุนทรัพยไ์ ด้รับการสนับสนุน
ค่าใชจ้ ่าย
ในการศึกษาตามความถนดั ของตน

7

5

หมวดและมาตราทเี่ กยี่ วข้องกบั การศึกษา

หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ

มาตรา 258 จ. ด้านการศึกษา ใหด้ าเนินการปฏิรูปประเทศอยา่ งน้อยในดา้ น
ตา่ งๆ ใหเ้ กิดผล ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. สามารถเริ่มดาเนินการให้เด็กเล็กไดร้ ับดูแลและพฒั นาก่อนเขา้ รับ
การศึกษาตามมาตร 54 วรรคสอง เพื่อให้เด็กเล็กได้รับการพฒั นาร่างกาย
จิตใจ วินัย อารมณ์สังคมและสติปัญญาให้สมกับวยั โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
ใดๆ

2. ให้ดาเนินการตรากฎหมายเพื่อจดั ต้งั กองทุนตามมาตรา 54 วรรค
หก ให้เสร็จภายในหน่ึงปี นบั ต้งั แต่วนั ประกาศใชร้ ัฐธรรมนูญ

3. มีกลไกลและระบบการผลิต คดั กรองและพฒั นาผูป้ ระกอบวิชาชีพ
ครูและอาจารยใ์ หไ้ ดผ้ มู้ ีจิวิญญาณของความเป็นครู

4. ปรับปรุงการจดั การเรียนการสอนทุก ระดับ
เพ่ือให้ผูเ้ รียนสามารเรียนไดต้ ามความถนดั และปรับปรุง
โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ท่ี เ ก่ี ย ว ข้อ ง ใ ห้ บ ร ร ลุ ต า ม
เป้าหมาย

8

6

แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560-2579

9

7

แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560-2579

ความหมาย เป็ นการวางกรอบเป้าหมายและทิศทางการจดั การศึกษา
ของประเทศในการพฒั นาสักยาภาพและขีดความสามารถของคนไทยทุก
ช่วงวยั ให้เต็มตามศกั ยภาพสามารถแสวงหาความรู้และเรียนรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง
อยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ

สภาวการณ์และบริบทแวดล้อมทม่ี ีผลต่อการพฒั นาการศึกษา
ของประเมศ

1. ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารแบบก้าว
กระโดดท่ีส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศภูมิภาคและของ
โลก

- การปฏิวตั ิดิจิทลั ต่อการเปล่ียนแปลงการปฏิวตั ิอตุ สาหกรรม 4.0
- ผลกระทบของการเป็ นประชาคมอาเซียนต่อระบบเศรษฐกิจสังคม
วฒั นธรรมและการเมืองและความมนั่ คง
- สญั ญาประชาโลก
- การปรับเปล่ียนเศรษฐกิจและสงั คมใหพ้ ร้อมรองรับประเทศไทยยคุ
4.0

10

8

แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560-2579

2.การเปลยี่ นแปลงโครงสร้างประชากร

- สถานการณ์สงั คมสูงวยั ในประเทศไทย

3. สภาวการณ์การเปลยี่ นแปลงของโลก

- การเปล่ียนแปลงทางธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มท่ีทวีความรุนแรงมาก
ข้ึน
- แนวโนม้ ความขดั แยง้ และความรุนแรงในสงั คม
- การเปล่ียนแปลงดา้ นการสาธารณสุข
- ความเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยดี ิจิทลั กบั การดารงชีวติ

4. ทกั ษะของประชากรในศตวรรษท่ี 21 : ความต้องการกาลงั คน
ยคุ 4.0

3RS ประกอบด้วย อ่านออก,เขียนได,้ คิดเลขเป็น
8CS ประกอบด้วย ทกั ษะดา้ นการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทกั ษะใน
การแก้ปัญหา,ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์และนวตั กรรม,ทกั ษะด้านความ
เขา้ ใจต่างวฒั นธรรมต่างกระบวนทศั น์,ทกั ษะดา้ นความร่วมมือการทางาน
เป็ นทีมและภาวะผูน้ า,ทกั ษะด้านการส่ือสารสารสนเทศและรู้เท่าทนั สื่อ,
ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร,ทกั ษะ
อาชีพและทกั ษะการเรียนรู้,ความมีเมตตากรุณาวินยั คณุ ธรรมจริยธรรม

11

9

การศึกษาตามความถนัด

12

10

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐานจัดระดับ
การศึกษาเป็ น 3 ระดบั ดังนี้

1. ระดบั ประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 1-6) มุ่งเนน้ ทกั ษะพ้ืนฐาน
ดา้ นการอ่านการเขียนการคิดคานวณทกั ษะการคิดพ้ืนฐานการติดต่อส่ือสาร

กระบวนการเรียนรู้ทางสงั คมและพ้ืนฐานความเป็นมนุษยก์ ารพฒั นาคุณภาพ
ชีวติ อยา่ งสมบรู ณ์

2. ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น (ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 1 -3) เน้นให้ผเู้ รียน
ไดส้ ารวจความถนดั และความสนใจของตนเองส่งเสริมการพฒั นาบุคลิกภาพ
ส่วนตนมีทกั ษะในการคิดวิจารณญาณคิดสร้างสรรค์และคิดแก้ปัญหามี
ทกั ษะในการดาเนินชีวติ

3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 4-6) เน้นการ
เพิ่มพนู ความรู้และทกั ษะเฉพาะดา้ นตอบสนองความสามารถความถนดั และ
ความสนใจของผเู้ รียนแต่ละคนท้งั ดา้ นวิชาการและวิชาชีพมีทกั ษะในการใช้
วทิ ยาการและเทคโนโลยี

13

11

หมวด 4 แนวทางการจัดการศึกษา

มาตรา 24 การจดั กระบวนการเรียนรู้

1. จดั เน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคลอ้ งกบั ความสนใจและความ
ถนดั ของผเู้ รียน

2. ฝึ กทกั ษะกระบวนการคิดการจดั การการเผชิญสถานการณ์และการ
ประยกุ ตค์ วามรู้

3. จดั กิจกรรมให้ผูเ้ รียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงฝึ กการปฏิบตั ิ
ใหท้ าไดค้ ิดเป็นทาเป็นรักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อยา่ งต่อเนื่อง

4. จดั การเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระดา้ นต่างๆอยา่ งไดส้ ัดส่วน
สมดุลกนั รวมท้งั ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมท่ีดีงาม

5. ส่งเสริมสนบั สนุนผูส้ อนสามารถจดั บรรยากาศสภาพแวดล้อมส่ือ
การเรียนและอานวยความสะดวกเพอ่ื ให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้
6.จดั การเรียนรู้ให้เกิดข้ึนไดท้ ุกเวลาทุกสถานท่ีมีการประสานความร่วมมือ
กบั บิดามารดาผปู้ กครอง

14

12

การจัดการเรียนรู้ทเี่ น้นผ้เู รียนเป็ นสาคัญ

ความหมายด้านผู้เรียน

คือ กระบวนการเรียนรู้ที่ผเู้ รียนมีส่วนร่วมเน้นการปฏิบตั ิจริงไดพ้ ฒั นา
กระบวนการคิดมีอิสระในการเรียนรู้ตามความถนดั และความสนใจสามารถ
สร้างองคค์ วามรู้ไดด้ ้วยตนเองดว้ ยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายนา
ความรู้ประสบการณ์ไปใชใ้ นชีวติ ได้

ความหมายด้านผู้จดั

คือ กระบวนการจดั การเรียนรู้ท่ีคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
การเป็นประโยชน์สูงสุดของผเู้ รียนเป็ นสาคญั การเคารพในศกั ด์ิศรีสิทธิของ
ผเู้ รียนโดยมีการวางแผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้อยา่ งเป็นนระบบ

15

13

ความแตกต่างระหว่างการสอนแบบเดิมกบั การจัดการ
เรียนรู้ทเี่ น้นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง

แบบเดิม

- เนน้ เน้ือหา
- ผสู้ อน บอก สง่ั
- การส่ือสารทางเดียว
- ผเู้ รียนจด จา สอน สืบ
- บรรยากาศปิ ดก้นั ความคิด
- ประเมินเน้ือหา

ผ้เู รียนเป็ นศูนย์กลาง

- เนน้ กระบวนการและผลงาน
- ผสู้ อนสนบั สนุนให้เกิดการเรียนรู้
- การส่ือสารสองทาง
- ผเู้ รียนเรียนรู้ร่วมกนั /คน้ ควา้ ความรู้ผา่ น
- กระบวนการคิด
- บรรยากาศสร้างสรรคค์ วามคิด
- ประเมินกระบวนการและผลงาน

16

14

กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)

17

15

กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา จัดต้ังขึ้นตาม
ข้อเสนอของคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา โดย
ปรากฏในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.2560 มาตรา
54

วตั ถุประสงค์

ประกาศใช้บงั คบั เม่ือวนั ที่ 14 พฤษภาคม 2561 มีวตั ถุประสงค์เพ่ือ
สร้างความเสมอภาคททางการศึกษาช่วยเหลือผูข้ าดแคลนทุนทรัพยล์ ดความ
เหลื่ อมล้ าทางการศึกทรวมท้ังเสริ มสร้างและพัฒนาคุณภาพและ
ประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐเป็ นผูจ้ ดั สรรงบประมาณให้กองทนและมีการ
เรี ทนที่เป็ นอิสระ

สาเหตุของความเหล่ือมลา้ ในการศึกษา

- ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสงั คม
- คุณภาพหรือประสิทธิภาพของครู
- คุณภพหรือมาตรฐานของสถานศึกษา

*ความยากจนทาใหเ้ ด็กไทยมากกวา่ 5 แสนคน หลุดออกนอกระบบไปแลว้ และอีก 2 ลา้ น
คน มีแนวโนม้ ท่จี ะไม่ไดเ้ รียนตอ่

18

16

ภารกจิ ของกสศ.

กสศ. มีภารกิจในการช่วยเหลือดูแลกลุ่มเป้าหมายซ่ึงเป็ นผขู้ าดแคลน
ทุนทรัพยห์ รือดอ้ ยโอกาสนบั ต้งั แต่แรกเกิดจนถึงวยั แรงงานให้ไดร้ ับโอกาส
ทางการศึกษาเพ่ือบรรเทาความยากจนอนั เป็ นรากเหงา้ ของปัญหาอื่น ๆ ซ่ึง
หากแกไ้ ม่ไดป้ ัญหาน้ีจะส่งทอดวนเวียนไปขา้ มชวั่ คนจากพ่อแม่ส่งต่อไปถึง
รุ่นลูกรุ่นหลานไดเ้ พราะมีกลุ่มคนที่เขา้ ไม่ถึงการศึกษาหรือไดร้ ับการศึกษาที่
มีคุณภาพตา่ งกนั

1. สร้างเสริมองค์ความรู้และบริการจดั การเชิงระบบเพ่ือสร้างความ
เสมอภาคทางการศึกษา

2. ลงทุนโดยใช้ความรู้นาเพ่ือช่วยเหลือและสร้างคุณค่าเพ่ิมแก่
กลุ่มเป้าหมาย

3. ระดมการมีส่วนร่วมอยา่ งสร้างสรรคจ์ ากทกุ ภาคส่วน
4.เสนอแนะมาตรการเพ่ือสร้างความเปล่ียนแปลงเขง็ นโยบาย

19

17

วสิ ัยทศั น์ของกสศ.

เดก็ เยาวชนและประชาชนที่ขาดแคลนทนุ ทรัพยห์ รือดอ้ ยโอกาสทุกคน
มีโอกาสพฒั นาตนเองตามศกั ยภาพและเขา้ ถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ

กลุ่มเป้าหมายในการทางานของกสศ.

ผขู้ าดแคลนทนุ ทรัพยแ์ ละเขา้ ไมถ่ ึงโอกาสทางการศึกษา 4.3 ลา้ น

การดาเนินงานใน 3 ปี แรก มุ่งส่งเสริ มให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์
สามารถเขา้ ถึงการศึกษาที่สอดคลอ้ งกบั ความจาเป็ นรายบุคคลตามศกั ยภาพ
ในทุกกลุ่มเป้ามายควบคู่กบั การพฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนและ
หน่วยจดั การเรียนรู้

20

18

ความเหล่ือมลา้ ทางการศึกษาบรรเทาได้ด้วย
แนวทางเสมอภาค

คว า ม เส ม อ ภ าค ( Equity) แ ต ก ต่ าง กับ ค ว า ม เ ท่ า เ ที ย ม

(Equality)เพราะเด็กแต่ละคนมีความจาเป็ นและโอกาสในการเข้าถึง
การศึกษาไม่เท่ากนั โดยความยากจนทาให้เด็กไทยราว 5 แสนคนหลุดออก

นอกระบบไปแลว้ และอีก 2 ลา้ นคนมีแนวโน้มขาดโอกาสทางการศึกษาที่มี
คุณภาพปัญหาน้ีสาคญั เกิดจากครอบครัวของเด็กตอ้ งแบกรับภาระค่าใชจ้ ่าย
ด้านการศึกษาสูงมากเม่ือเทียบกบั รายไดส้ ูงกว่าครอบครัวร่ารวยถึง 4 เท่า
(ขอ้ มูลจากบญั ชีรายจ่ายดา้ นการศึกษาแห่งชาติ 2551-2559)

จากปัญหานี้ ความเท่าเทียมในการจดั สรรทรัพยากรเพ่ือลดความ

เหลื่อมล้าดา้ นการศึกษาจึงไม่อาจเพยี งพอ เช่น นกั เรียนท่ีมีฐานะแตกต่างกนั
แต่ไดร้ ับเงินอดุ หนุนช่วยเหลือจานวนเทา่ ๆ กนั

สาเหตุความเหลื่อมล้า ยงั สืบเนื่องจากความแตกต่างของคุณภาพ

หรือมาตรฐานของสถานศึกษา คุณภาพหรือประสิทธิภาพของครู

21

19

พระราชบัญญตั ิข้อมูลข่าวสาร
ของราชการ พ.ศ.2540

22

20

พระราชบญั ญัตขิ ้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.
2540

เป็ นกฎหมายท่ีรองรับ“ สิทธิได้รู้ "ของประชาชนที่เกี่ยวกับการ
ดาเนินการของรัฐโดยประชาชนไมจ่ าเป็นตอ้ งมีส่วนไดส้ ่วนเสียเก่ียวขอ้ งกบั
ขอ้ มูลขา่ วสารน้นั เม่ือประชาชนไดร้ ู้ขอ้ มลู ขา่ วสาร

หลกั การและแนวคิด

1. ใหป้ ระชาชนมีโอกาสรับรู้ขอ้ มูลข่าวสารเกี่ยวกบั การดาเนินงานต่าง
ๆ ของรัฐ

2. รับรองสิทธิของประชาชนในการเขา้ ถึงขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ
3. เปิ ดเผยเป็ นหลกั ปกปิ ดเป็ นขอ้ ยกเวน้ โดยรัฐไม่ตอ้ งเปิ ดเผยขอ้ มูล
เฉพาะที่มีกฎหมายกาหนดเท่าน้นั

23

21

ประชาชนมีสิทธิพระราชบัญญตั ิข้อมูลข่าวสารของ
ราชการ พ.ศ. 2540

1. สิทธิรับรู้และการเขา้ ถึงขอ้ มูลข่าวสารของราชการการตรวจคน้ ได้
จากราชกิจจานุเบกษาสาหรับขอ้ มลู ข่าวสารที่ตอ้ งเปิ ดเผยโดยวธิ ีการลงพิมพ์
ในราชกิจจานุเบกษาตามมาตรา 7 แห่งพระราชบญั ญตั ิขอ้ มลู ข่าวสารของ
ราชการ พ.ศ. 2540

มาตรา 7 หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสาร
มาตรา 9 หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีข้อมูลข่าวสาร
มาตรา 11 หน่วยงานของรัฐผู้รับผดิ ชอบจดั หาข้อมูล
มาตรา 26 หน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์จะเกบ็ รักษา

ขอ้ มลู ขา่ วสารท่ีหน่วยงานของรัฐไมต่ อ้ งเปิ ดเผย
ม า ต ร า 1 4 ข่ า ว ส า ร ท่ี ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ สี ย ห า ย ต่ อ ส ถ า บัน

พระมหากษตั ริยจ์ ะเปิ ดเผยไมไ่ ด้
มาตรา 15 ขา่ วสารมีลกั ษณะอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหน่วยงานหรือเจา้ หน้าที่

อาจมีคาสงั่ มิใหเ้ ผยก็ได้

24

22

มาตรา 7 หน่วยงานของรัฐตอ้ งส่งขอ้ มูลข่าวสารของราชการอย่าง

นอ้ ยดงั ตอ่ ไปน้ีลงพิมพใ์ นราชกิจจานุเบกษา
1. โครงสร้างและการจดั องคก์ รในการดาเนินงาน
2. สรุปอานาจหนา้ ที่ที่สาคญั และวธิ ีการดาเนินงาน
3. สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับขอ้ มูลข่าวสารหรือคาแนะนาในการติดต่อ

กบั หน่วยงานของรัฐ
4. กฎมติคณะรัฐมนตรีขอ้ บงั คบั คาสั่งหนงั สือเวียนระเบียบแบบแผน

นโยบายหรือการตีความท้งั น้ีเฉพาะที่จดั ให้มีข้ึนโดยมีสภาพอยา่ งกฎเพ่ือให้
มีผลเป็นการทวั่ ไปตอ่ เอกชนท่ีเก่ียวขอ้ ง

5. ขอ้ มลู ข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกาหนดขอ้ มูลข่าวสารใดที่ได้
มีการจดั พิมพเ์ พ่ือให้เผยแพร่หลายตามจานวนพอสมควรและถ้ามีการลง
พิมพใ์ นราชกิจจานุเบกษาโดยอา้ งอิงถึงสิ่งพิมพน์ ้นั ก็ให้ถือวา่ เป็ นการปฏิบตั ิ
ตามบทบญั ญตั ิวรรคหน่ึงแลว้

25

23

มาตรา 9 ภายใตบ้ งั คบั มาตรา 14 และมาตรา 15 หน่วยงานของรัฐตอ้ ง

จดั ให้มีขอ้ มูลข่าวสารของราชการอย่างน้อยดงั ต่อไปน้ีไวใ้ ห้ประชาชนเขา้
ตรวจดูไดท้ ้งั น้ีตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการท่ีคณะกรรมการกาหนด

1. ผลการพิจารณาหรือคาวินิจฉัยท่ีมีผลโดยตรงต่อเอกชนรวมท้งั
ความเห็นแยง้ และคาสงั่ ที่เก่ียวขอ้ งในการพิจารณาวนิ ิจฉยั ดงั กล่าว

2. นโยบายหรื อการตีความท่ีไม่เข้าข่ายต้องลงพิมพ์ในราชกิจจา
นุเบกษาตามมาตรา 7

3. แผนงานโครงการและงบประมาณรายจ่ายประจาปี ของปี ที่กาลัง
ดาเนินการ

4. คู่มือหรื อคาสั่งเก่ียวกับวิธีปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าท่ีของรัฐซ่ึงมี
ผลกระทบถึงสิทธิหนา้ ท่ีของเอกชน

5. สิ่งพิมพท์ ี่ไดม้ ีการอา้ งอิงถึงมาตรา 7 วรรคสอง
6. สัญญาสัมปทานสัญญาท่ีมีลักษณะเป็ นการผูกขาดตัดตอนหรือ
สญั ญาร่วมทนุ กบั เอกชนในการจดั ทาบริการสาธารณะ
7. มติคณะรัฐมนตรีหรือมติคณะกรรมการที่แตง่ ต้งั โดยกฎหมาย

26

24

8. ขอ้ มลู ขา่ วสารอื่นตามที่คณะกรรมการกาหนดขอ้ มูลข่าวสารที่ไดจ้ ดั
ไวใ้ หป้ ระชาชนเขา้ ตรวจดูไดต้ ามวรรคหน่ึงถา้ มีส่วนท่ีตอ้ งห้ามมิให้เปิ ดเผย
ตามมาตรา 14 หรือมาตรา 15 อยดู่ ว้ ยให้ลบหรือตดั ทอนหรือทาโดยประการ
อ่ืนใดที่ไม่เป็ นการเปิ ดเผยขอ้ มูลขา่ วสารส่วนน้นั

มาตรา 11 นอกจากขอ้ มูลข่าวสารของราชการที่ลงพิมพใ์ นราชกิจจา

นุเบกษาแลว้ หรือท่ีจดั ไวใ้ ห้ประชาชนเขา้ ตรวจดูได้แล้วหรือที่มีการจดั ให้
ประชาชนได้ คน้ ควา้ ตามมาตรา 26 แลว้ ถา้ บุคคลใดขอขอ้ มูลข่าวสารอ่ืนใด
ของราชการและคาขอของผูน้ ้ันระบุขอ้ มูลข่าวสารที่ตอ้ งการในลกั ษณะที่
อาจเขา้ ใจได้ตามควรให้หน่วยงานของรัฐผูร้ ับผิดชอบจดั หาขอ้ มูลข่าวสาร
น้นั ให้แก่ผขู้ อภายในเวลาอนั สมควรเวน้ แต่ผนู้ ้นั ขอจานวนมากหรือบ่อยคร้ัง
โดยไม่มีเหตุอนั ควรขอ้ มูลข่าวสารของราชการใดมีสภาพท่ีอาจบุบสลายง่าย
หน่วยงานของรัฐจะขอขยายเวลาในการจดั หาให้หรือจะจดั ทาสาเนาให้ใน
สภาพท่ีพร้อมจะให้ได้

27

25

มาตรา 26 ขอ้ มูลข่าวสารของราชการที่หน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์

จะเกบ็ รักษาหรือมีอายคุ รบกาหนดตามวรรคสองนบั แต่วนั ที่เสร็จสิ้นการจดั
ให้มีขอ้ มูลข่าวสารน้ันให้หน่วยงานของรัฐส่งมอบให้แก่หอจดหมายเหตุ
แห่ งชาติ กรมศิ ลปากรหรื อหน่ วยงานอื่นของรัฐตามท่ีกาหนดในพระราช
กฤษฎีกาเพ่ือคดั เลือกไวใ้ ห้ประชาชนได้ศึกษาคน้ ควา้ ข้อมูลข่าวสารของ
ราชการตามวรรคหน่ึงให้แยกตามประเภทดงั น้ี

1. ขอ้ มูลข่าวสารของราชการตามมาตรา 14 เม่ือครบเจด็ สิบห้าปี
2. ขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการตามมาตรา 15 เมื่อครบยส่ี ิบปี กาหนดเวลา
ตามวรรคสองอาจขยายออกไปได้
3. หน่วยงานของรัฐยงั จาเป็ นตอ้ งเก็บรักษาขอ้ มูลข่าวสารของราชการ
ไวเ้ องเพื่อประโยชน์ในการใช้สอยโดยตอ้ งจดั เก็บและจดั ให้ประชาชนได้
ศึกษาคน้ ควา้ ตามที่ตกลงกบั หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติกรมศิลปากร
4. หน่วยงานของรัฐเห็นว่าข้อมูลข่าวสารของราชการน้ันยงั ไม่ควร
เปิ ดเผยโดยมีคาสั่งขยายเวลากากบั ไวเ้ ป็ นการเฉพาะรายคาสั่งการขยายเวลา
น้นั ใหก้ าหนดระยะเวลา

28

26

ข้อมูลข่าวสารทหี่ ้ามมใิ ห้เปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารทอ่ี าจก่อให้เกดิ
ความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์พระราชบญั ญตั ิ

กาหนดว่าจะเปิ ดเผยมิได้น่ันหมายถึงว่าถ้ามีข้อมูลข่าวสารท่ีมีข่าย
ลกั ษณะตามขอ้ น้ีหน่วยงานของรัฐหรือเจา้ หนา้ ที่ของรัฐจะตอ้ งไม่เปิ ดเผยไม่
มีขอ้ ยกเวน้ ให้ไปพิจารณาใชด้ ุลพนิ ิจชงั่ น้าหนกั ท้งั สิ้นท้งั น้ีเป็นไปตามมาตรา
14 แห่งพระราชบญั ญตั ิขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 กล่าวคือ

มาตรา 14 ขอ้ มูลขา่ วสารของราชการท่ีอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อ

สถาบนั พระมหากษตั ริยจ์ ะเปิ ดเผยไม่ได้ ขอ้ มูลข่าวสารท่ีอาจมีคาสั่งมิให้
เปิ ดเผยเพื่อให้หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐซ่ึงมีหน้าท่ีในการ
ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญตั ิข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ได้มี
แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนในการพิจารณาว่าข้อมูลข่าวสารใดเป็ นข้อมูล
ขา่ วสารที่อาจมีคาสง่ั มิให้เปิ ดเผยหรือสมควรสงวนไวย้ งั มีให้เปิ ดเผยรวมท้งั
ประชาชนผู้ใช้สิทธิตามกฎหมายก็ได้ทราบถึงแนวทางหรือหลกั เกณฑ์
ดงั กล่าว

29

27

มาตรา 15 ขอ้ มูลข่าวสารของราชการท่ีมีลกั ษณะอย่างหน่ึงอย่างใด

ดงั ตอ่ ไปน้ีหน่วยงานของรัฐหรือเจา้ หนา้ ที่ของรัฐบาลอาจมีคาสง่ั มิให้เปิ ดเผย
ก็ ไ ด้โ ด ย ค า นึ ง ถึ ง ก าร ป ฏิ บ ัติ ห น้ า ท่ี ต า ม ก ฎ ห ม า ย ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ข อ ง รั ฐ
ประโยชนส์ าธารณะและประโยชนข์ องเอกชนที่เกี่ยวขอ้ งประกอบกนั

1. การเปิ ดเผยจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมน่ั คงของประเทศ
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศหรือความมนั่ คงในทางเศรษฐกิจหรือการคลงั
ของประเทศ

2. การเปิ ดเผยจะทาให้การบังคบั ใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ
หรื อไม่อาจสาเร็จตามวตั ถุประสงค์ได้ไม่ว่าจะเกี่ยวกับการฟ้องคดีการ
ป้องกนั การปราบปรามการทดสอบการตรวจสอบหรือการรู้แหล่งท่ีมาของ
ขอ้ มลู ข่าวสารหรือไมก่ ต็ าม

3. ความเห็นหรือคาแนะนาภายในหน่วยงานของรัฐในการดาเนินการ
เร่ืองหน่ึงเร่ืองใด แต่ท้งั น้ีไม่รวมถึงรายงานทางวิชาการรายงานขอ้ เท็จจริง
หรือข้อมูลข่าวสารที่นามาใช้ในการทาความเห็นหรื อคาแนะนาภายใน
ดงั กล่าว

4. การเปิ ดเผยจะก่อให้เกิดอนั ตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภยั ของ
บคุ คลหน่ึงบุคคลใด

30

28

5. รายงานการแพทยห์ รือขอ้ มูลข่าวสารส่วนบุคคลซ่ึงการเปิ ดเผยจะ
เป็ นการรุกล้าสิทธิส่วนบคุ คลโดยไมส่ มควร

6. ขอ้ มูลข่าวสารของราชการท่ีมีกฎหมายคุม้ ครองมิให้เปิ ดเผยหรือ
ขอ้ มูลข่าวสารท่ีมีผูใ้ ห้มาโดยไม่ประสงค์ให้ทางราชการนาไปเปิ ดเผยต่อ
ผอู้ ื่น

7. กรณีอื่นตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา

คาส่ังมิให้เปิ ดเผยขอ้ มูลข่าวสารของราชการจะกาหนดเง่ือนไขอยา่ ง

ใดก็ได้แต่ต้องระบุไวด้ ้วยว่าท่ีเปิ ดเผยไม่ได้เพราะ เป็ นข้อมูลข่าวสาร
ประเภทใดและเพราะเหตุใดและให้ถือวา่ การมีคาส่ังเปิ ดเผย ขอ้ มูลข่าวสาร
ของราชการเป็นดุลพินิจ โดยเฉพาะของเจา้ หน้าที่ของรัฐตามล าดบั สายการ
บงั คบั บญั ชาแต่ผขู้ ออาจอุทธรณ์ ต่อ คณะกรรมการวินิจฉยั การเปิ ดเผยขอ้ มูล
ข่าวสารไดต้ ามท่ีกาหนดในพระราชบญั ญตั ิ

31

29

การจัดการศึกษา
ทเ่ี น้นผู้เรียนเป็ นสาคญั

32

30

การจัดการศึกษาทเ่ี น้นผ้เู รียนเป็ นสาคญั

ความหมาย การจดั การเรียนการสอนให้ผูเ้ รียนมีบทบาทสาคญั ใน

การเป็ นผูเ้ รียนรู้โดยพยายามจดั กิจกรรมให้ผูเ้ รียนได้สร้างความรู้ได้มี”
ปฏิสัมพนั ธ์กบั บุคคลส่ือและสิ่งแวดลอ้ มต่าง ๆ โดยใชก้ ระบวนการต่าง ๆ
เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และนกั เรียนมีโอกาสนาความรู้ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น
สถานการณ์อื่น

เทคนิคการจดั การเรียนรู้การสอนทเ่ี น้นผ้เู รียนเป็นสาคญั 3
ประเดน็ คือ

1. เทคนิคการจดั กิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผเู้ รียนสร้างความรู้ดว้ ยตวั เอง
2. เทคนิคการจดั กิจกรรมท่ีส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนไดท้ างานร่วมกบั คนอ่ืน
3. เทคนิคการจดั กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผูเ้ รียนนาความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้
ในชีวติ ประจาวนั

33

31

องค์ประกอบและตัวบ่งชี้

การบริหารจัดการ
1. การกาหนดเป้าหมายในการพฒั นาที่มีจุดเน้นการพฒั นาคุณภาพ

นกั เรียนอยา่ งชดั เจน
2. การกาหนดแผนยทุ ธศาสตร์สอดคลอ้ งกบั เป้า
3. การกาหนดแผนการดาเนินงานในทุกองค์ประกอบของโรงเรียน

สอดคลอ้ งกบั เป้าหมายและเป็ นไปตามแผนยทุ ธศาสตร์หมาย
4. การจดั ใหม้ ีระบบประกนั คุณภาพภายใน
5. การจดั ทารายงานประจาปี เพ่ือรายงานผูเ้ กี่ยวขอ้ งและสอดคลอ้ งกบั

แนวทางการประกนั คุณภาพจากภายนอก

การจัดการเรียนรู้

1. การเรียนรู้เป็ นงานเฉพาะบุคคลทาแทนกันไม่ไดค้ รูท่ีต้องการให้
ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้

2. การเรียนรู้เป็นกระบวนกรทางสติปัญญาที่ตอ้ งมีการใช้กระบวนการ
คิดสร้างความเขา้ ใจ

3. การเรียนรู้เป็ นกระบวนการทางสงั คมเพราะในเร่ืองเดียวกนั อาจคิด
ไดห้ ลายแง่

34

32

5. การเรียนรู้เป็นงานต่อเนื่องตลอดชีวติ ขยายพรมแดนความรู้ไดไ้ ม่มีที่
สิ้นสุดครูจึงควรสร้างกิจกรรมท่ีกระตุน้ ใหเ้ กิดการแสวงหาความรู้ไมร่ ู้จบ

6. การเรียนรู้เป็ นการเปล่ียนแปลงเพราะไดร้ ู้มากข้ึนทาให้เกิดการนา
ความรู้ไปใชใ้ นการเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆ

การเรียนรู้ของผู้เรียน

1. การเรียนรู้อย่างมีความสุขจากการจดั การเรียนรู้ท่ีคานึงถึงความ
แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล

2. การเรียนรู้จากการไดค้ ิดและลงมือปฏิบตั ิจริงหรือกล่าวอีกลกั ษณะ
หน่ึงคือ "เรียนดว้ ยสมองและสองมือ"

3. การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายและเรียนรู้ร่วมกบั บุคคลอื่น
4. การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายและเรียนรู้ร่วมกบั บุคคลอื่น
เป้าหมายสาคญั ดา้ นหน่ึงในการจดั การเรียนรู้ที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั
5. ผูจ้ ัดการเรี ยนรู้ท่ีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญว่าทุกคนเรียนรู้ได้และ
เป้าหมายท่ีสาคญั คือพฒั นาผเู้ รียนให้มีความสามารถท่ีจะแสวงหาความรู้ได้
ดว้ ยตนเองผจู้ ดั การเรียนรู้จึงควรสงั เกต
และศึกษาธรรมชาติ

35

33

บทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอน

บทบาทในฐานะผู้จดั การและผู้อานวยความสะดวก

1. วางแผนการจดั การเรียนรู้ ซ่ึงประกอบดว้ ย
1.1 การวางแผนอานวยความสะดวก เป็ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลของ

ผเู้ รียน
1.2 การวงาแผนการเรียนรู้ รวมถึงบริหารช้นั เรียน
1.3 การวางแผนการจดั การเรียนรู้ในแตล่ ะคร้ังท่ีมีข้นั ตอนสาคญั

2. กาหนดบทบาทของตนเองโดยเฉพาะการเป็ นตวั กลางท่ีจะทาให้เกิด
การเรียนรู้ เช่น การสร้างความสมั พนั ธ์เชิงบวกกบั ผเู้ รียน การเป็ นแบบอยา่ ง
ท่ีดี การสร้างสภาพแวดลอ้ มท่ีเก้ือกูลต่อการเรียนรู้ และการประพฤติปฏิบตั ิ
ของผูเ้ รียน การสร้างระบบและการสื่อสารกบั ผูเ้ รียนให้ชดั เจน การสร้าง
ระบบควบคุม กากบั ดูแล ดว้ ยความเป็นธรรมและประชาธิปไตย

36

บทบาทในฐานะผ้จู ัดการเรียนรู้ 34

1. การเตรียมการสอน ครูควรเตรียมการสอนดงั นี้ 37

1.1 วเิ คราะห์ขอ้ มูลของผเู้ รียน
1.2 วิเคราะห์หลกั สูตรเพือ่ เชื่อมโยง
1.3 เตรียมแหล่งเรียนรู้ ห้องเรียน
1.4 วางแผนการสอนควรเขียนใหค้ รอบคลุม

1.4.1 กาหนดเรื่อง
1.4.2 กาหนดวตั ถุประสงคใ์ ห้ชดั เจน
1.4.3 กาหนดเน้ือหาให้เพียงพอ
1.4.4 กาหนดกิจกรรมท่ีไดค้ ิดและลงมือ
1.4.5 กาหนดวิธีการประเมินตาม
1.4.6 กาหนดส่ือ วสั ดุอุปกรณ์

2. การสอน ครูควรคานึงถงึ องค์ประกอบต่างๆดงั นี้

2.1 สร้างบรรยากาศที่เอ้ือตอ่ การเรียนรู้
2.2 กระตุน้ ให้ผเู้ รียนร่วมกิจกรรม
2.3 ดูกิจกรรม
2.4 ใหก้ ารเสริมแรง
2.5 การประเมินผลการเรียน

35

กฎหมายและระเบยี บข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา

38

36

พระราชบญั ญตั ริ ะเบียบราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา พ.ศ. 2547

มาตรา 1 พระราชบญั ญตั ิน้ีเรียกว่า“ พระราชบญั ญตั ิระเบียบขา้ ราชการครู

และบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547

มาตรา 4 ในพระราชบญั ญตั ิน้ี

ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา หมายความว่าบุคคลซ่ึงไดร้ ับ
การบรรจุและแตง่ ต้งั ตามพระราชบญั ญตั ิน้ีให้รับราชการโดยไดร้ ับเงินเดือน
จ า ก เ งิ น ง บ ป ร ะ ม า ณ แ ผ่ น ดิ น บุ ค ล า ก ร ท่ี จ่ า ย ใ น ลัก ษ ณ ะ เ งิ น เ ดื อ น ใ น
กระทรวงศึกษาธิการกระทรวงการท่องเที่ยว

ข้าราชการครู หมายความว่าผูท้ ่ีประกอบวิชาชีพซ่ึงทาหน้าท่ีหลัก
ทางดา้ นการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของผูเ้ รียนด้วยวิธีการต่าง
ๆ ในสถานศึกษาของรัฐ

บุคลากรทางการศึกษา หมายความว่า ผูบ้ ริหารสถานศึกษาผูบ้ ริหาร
การศึกษารวมท้งั ผูส้ นับสนุนการศึกษาซ่ึงเป็ นผูท้ าหน้าที่ให้บริการหรือ
ปฏิบตั ิงานเกี่ยวเนื่องกบั การจดั กระบวนการเรียนการสอน

39

37

มาตรา 7 ให้มีคณะกรรมการบริหารงานบุคคลของขา้ ราชการครูและ

บคุ ลากร ทางการศึกษาคณะหน่ึง เรียกวา่ “คณะกรรมการขา้ ราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษา” เรียกโดย ยอ่ วา่ “ ก.ค.ศ. ”

มาตรา 27 ใหผ้ บู้ ริหารสถานศึกษาเป็นผบู้ งั คบั บญั ชาของขา้ ราชการครูและ

บคุ ลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาและมีอานาจและหนา้ ท่ี

มาตรา 31 อตั ราเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจาตาแหน่งของ

ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วย
เงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจาตาแหน่งขา้ ราชการครูและบคุ ลากร
ทางการศึกษา

เงนิ วทิ ยฐานะ
ชานาญการ : 3,500 บาท
ชานาญการพเิ ศษ : 5,600 + 5,600 บาท
เชี่ยวชาญ : 9,900 + 9,900บาท
สถานศึกษาของรัฐเชี่ ยวชาญพิเศษ : 13,000/15,600 +
13,000/15,600

40

38

มาตรา 33 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอาจได้รับเงินเพ่ิม

สาหรับ ตาแหน่งท่ีมีเหตุพิเศษตามระเบียบที่ ก.ค.ศ. กาหนดโดยความ
เห็นชอบของคณะรัฐมนตรี

หมวด 3 การกาหนดตาแหน่ง วิทยฐานะ และการให้ไดร้ ับเงินเดือน เงิน

วิทยฐานะ และเงินประจาตาแหน่ง
ข้าราชการครู
- ผปู้ ระกอบวิชาชีพ : ซ่ึงทาหนา้ ที่หลกั
- ทางดา้ นการเรียนการสอน
- ส่งเสริมเรียนรู้
บุคลากรทางการศึกษา
- ผบู้ ริหารสถานศึกษา
- ผบู้ ริหารการศึกษา
- ผสู้ นบั สนุนการศึกษา
- การนิเทศ
- ผทู้ าหนา้ ที่ใหบ้ ริการหรือปฎิบตั ิงาน
- การบริหารการศึกษา
- ปฎิบตั ิงานอ่ืน

41

39

มาตรา 42 ให้ ก.ค.ศ. จดั ทามาตรฐานตาแหน่ง มาตรฐานวิทยฐานะและ

มาตรฐานตาแหน่งทางวิชาการของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ไวเ้ ป็ นบรรทดั ฐานทกุ ตาแหน่งทุกวทิ ยฐานะเพอ่ื ใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน

การย้ายสายครูผ้สู อน 3 ประเภท

เขียนคาร้องขอยา้ ย ได้เพียง 1 คร้ัง : ภายใน เดือน มกราคม ของปี :
แบง่ ออกเป็ น 3 ประเภท ดงั น้ี

1. การยา้ ยกรณีปกติ
2. การยา้ ยกรณีพเิ ศษ
3. การยา้ ยกรณีเพื่อความเหมาะสมและประโยชน์ของทาง
ราชการ

การลาบ่อยคร้ัง

ขา้ ราชการในสถานศึกษา : ลาไมเ่ กิน 6 คร้ัง
ขา้ ราชการใน สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา : ลาไมเ่ กิน 8 คร้ัง

42

40

ลกั ษณะของวนิ ัยของข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา

1. ใชเ้ ฉพาะขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
2. ไมม่ ีอายคุ วาม
3. บิดา มารดา ร้องแทนได้
4. ถอนคาร้อง : ไม่มีผลระงบั การดาเนินการทางวินยั
5. ยอมความกนั ไมไ่ ด/้ ไมอ่ าจชดใชด้ ว้ ยเงิน
6. วินัยไม่ร้ายแรง : ตาย/ลาออก/เกษียณ : งด วินัยร้ายแรง : ตาย/
ลาออก/เกษียณ : ไม่งด
7. ความผดิ ชดั แจง้ : ไม่ตอ้ งต้งั กรรมการสอบก็ได้
8. รับสารภาพ : ไมเ่ ป็ นเหตลุ ดหยอ่ น

มาตรา 61 การเล่ือนตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาซ่ึงเป็ นตาแหน่งท่ีมิได้

กาหนดให้มีวิทยฐานะเพื่อให้ไดร้ ับเงินเดือนในระดบั ท่ีสูงข้ึน ให้กระทาได้
โดยการสอบแข่งขนั สอบคดั เลือก คดั เลือก หรือประเมินดว้ ยวธิ ีการอ่ืน

ผ้ปู ระสงค์จะลาออก ยน่ื ต่อ ผอ. เพ่อื ให้มีอานาจตามมาตรา 53 พิจารณา
อนุญาต (ผมู้ ีอานาจ ยบั ย้งั ไม่เกิน 90 วนั

43

41

พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ฉบับท่ี 2พ.ศ. 2551

หมวด 1

มาตรา 7 ให้มีคณะกรรมการบริหารงานบุคคลของขา้ ราชการครูและ

บุคลากรทางการศึกษาคณะหน่ึง เรียกว่า “คณะกรรมการขา้ ราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา” เรียกโดยยอ่ วา่ “ก.ค.ศ.”

หมวด 2

มาตรา 31 อตั ราเงินเดือน เงินวทิ ยฐานะ และเงินประจาตาแหน่งของ

ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วย
เงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจาตาแหน่งขา้ ราชการครูและบคุ ลากร
ทางการศึกษา

หมวด 3

มาตรา 38 ตาแหน่งขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามี 3

ประเภท ดงั น้ี
ก. ตาแหน่งซ่ึงมีหน้าที่เป็ นผูส้ อนในหน่วยงานการศึกษา คือ ครูและ

ครูผชู้ ่วย
ข. ตาแหน่งผบู้ ริหารสถานศึกษาและผบู้ ริหารการศึกษา
ค. ตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน

44

42

หมวด 4

มาตรา 53 การบรรจแุ ละแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหน่งรองผอู้ านวยการ

สถานศกึ ษา ตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศึกษา ใหผ้ ูอ้ านวยการสานกั งาน
เขตพืน้ ที่การศึกษาเป็นผูม้ ีอานาจส่งั บรรจุและแต่งตงั้ โดยอนมุ ตั ิ อ.ก.ค.ศ.
เขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา

มาตรา 59 การยา้ ยขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาผใู้ ด

ไปดารงตาแหนง่ ในหนว่ ยงานการศกึ ษาอื่นภายในส่วนราชการหรือภายใน
เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาหรอื ตา่ งเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา ตอ้ งได้ รบั อนมุ ตั ิจาก อ.ก.ค.
ศ.

มาตรา 80 ให้มีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการ

ศึกษาก่อนแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหน่งบางตาแหน่งและบางวิทยฐานะ เพ่ือ
เพ่ิมพูนความรู้ ทักษะ เจตคติท่ีดี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ
วชิ าชีพที่เหมาะสม

45

43

พระราชบญั ญตั ริ ะเบียบราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. 2553

มาตรา 5 ใหก้ รรมการ ก.ค.ศ. ในส่วนของกรรมการผแู้ ทนขา้ ราชการ

ครูและบุคลากรทางการศึกษาตามมาตรา 7 (5) ซ่ึงปฏิบตั ิหน้าท่ีอยใู่ นวนั ท่ี
พระราชบญั ญตั ิน้ีใช้บงั คบั ปฏิบตั ิหน้าท่ีต่อไปจนกว่าจะได้มีการเลือกต้งั
กรรมการผแู้ ทนขา้ ราชการครู

มาตรา 6 ให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนท่ีการศึกษาที่มีอยู่ในวันที่

พระราชบัญญตั ิน้ีใช้บังคับทาหน้าที่เป็ น อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาตามพระราชบญั ญตั ิน้ี

มาตรา 7 การใดอยรู่ ะหว่างดาเนินการหรือเคยดาเนินการตามอานาจ

หน้าท่ีของ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนที่การศึกษา ในวนั ท่ีพระราชบญั ญตั ิน้ีใช้บงั คบั
เฉพาะเรื่องการบริหารงานบุคคล การดาเนินการทางวินยั และการอุทธรณ์ที่
เก่ียวกบั ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

46

44

พระราชบัญญัตริ ะเบียบราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2562

มาตรา 1 พระราชบัญญัติน้ีเรี ยกว่า “พระราชบัญญัติระเบียบ

ขา้ ราชการครูและบคุ ลากร ทางการศึกษา (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2562 ”

มาตรา 2 พระราชบญั ญตั ิน้ีใหใ้ ชบ้ งั คบั ต้งั แต่วนั ถดั จากวนั ประกาศใน

ราชกิจจานุเบกษา เป็ นตน้ ไป

มาตรา 3 ให้ยกเลิกความในมาตรา 102 แห่งพระราชบญั ญตั ิระเบียบ

ขา้ ราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และให้ใชค้ วามต่อไปน้ี
แทน

มาตรา 102 ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผใู้ ดซ่ึงออกจาก

ราชการอนั มิใช่เพราะเหตุตาย มีกรณีถูกกล่าวหาเป็ นหนังสือก่อนออกจาก
ราชการว่า ขณะรับราชการได้กระทาหรือละเว้นกระทาการใด อันเป็ น
ความผดิ วินยั อยา่ งร้ายแรง ถา้ เป็ นการกล่าวหาต่อผบู้ งั คบั บญั ชาของผูน้ ้นั หรือ
ตอ่ ผมู้ ีหนา้ ท่ีสืบสวน สอบสวนหรือตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของ
ทางราชการ

47

45

การดาเนินการทางวินยั ตามวรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคสาม ถา้ ผล
การสอบสวนพิจารณาปรากฏวา่ ผูน้ ้นั กระทาผิดวินัยไม่ร้ายแรงกใ็ ห้งดโทษ
ความในมาตราน้ีมิใหใ้ ชบ้ งั คบั แก่ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาซ่ึง
ถูกสง่ั ให้ออกจากราชการไวก้ ่อนตามมาตรา 103

มาตรา 4 ให้เพ่ิมความต่อไปน้ีเป็ นมาตรา 102/1 แห่งพระราชบญั ญตั ิ

ระเบียบขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547

มาตรา 102/1 ในกรณีที่คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการ

ทุจริตแห่งชาติ หรือ คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตใน
ภาครัฐมีมติช้ีมูลความผิดขา้ ราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาผูใ้ ดซ่ึง
ออกจากราชการแลว้ การดาเนินการทางวินยั และส่งั ลงโทษแก่ขา้ ราชการครู
และ บุคลากรทางการศึกษาผูน้ ้นั ให้เป็ นไปตามหลกั เกณฑแ์ ละเงื่อนไขที่
ก า ห น ด ไ ว้ใ น ก ฎ ห ม า ย ป ร ะ ก อ บ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ว่ า ด้ว ย ก า ร ป้ อ ง กัน แ ล ะ
ปราบปรามการทุจริตหรือกฎหมายว่าด้วยมาตรการของฝ่ ายบริหารในการ
ป้องกนั

48

46

ระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของ
ข้าราชการ พ.ศ.2555

49

47

ความเป็ นมา

ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ. 2555
ได้ประกาศใช้บงั คบั เป็ นระยะเวลาหน่ึง และได้เพิ่มเติมสิทธิการลาของ
ขา้ ราชการรวม 2 ประเภท ไดแ้ ก่ การลาไปช่วยเหลือภริยาท่ีคลอดบุตร และ
การลาไปฟ้ื นฟูสมรถภาพด้านอาชีพ เนื่องจากไดม้ ีการปรับปรุงระเบียบว่า
ดว้ ยการลาของขา้ ราชการให้มีความหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั การปฏิบตั ิ
ราชการ ท่ีขา้ ราชการไดร้ ับนอกเหนือจากเงินเดือนซ่ึงเป็นค่าตอบแทนในการ
ปฏิบตั ิงาน และใชร้ ะเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยการลาของขา้ ราชการ
พ.ศ. 2555 เป็ นขอ้ บงั คบั ในการดาเนินการ เพ่ือความสะดวกในการปฏิบตั ิ
ของขา้ ราชการ หรือผูป้ ฏิบตั ิงานหน่วยงานราชการต่างก็มีแนวทางปฏิบตั ิที่
แตกต่างกนั และระเบียบดงั กล่าวมีผลต่อเน่ืองถึงการจ่ายเงินเดอื น ตลอดจน
การจา่ ยเงินบาเหน็จบานาญให้แก่ขา้ ราชการเมื่อพน้ จากส่วนราชการ

50


Click to View FlipBook Version