The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานหน่วยอนุรักษ์ฯ 2563

จัดทำโดย หน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดภูเก็ต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานผลการดำเนินงานหน่วยอนุรักษ์ฯ ปี 2563

รายงานผลการดำเนินงานหน่วยอนุรักษ์ฯ 2563

จัดทำโดย หน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดภูเก็ต

Keywords: หน่วยอนุรักษ์,ภูเก็ต

๔๕

๔) อาคาร “ศรีพชั รินทรานสุ ร”
๕) อาคาร “ระนอง”
๖) อาคาร “บุญพฒั น์”

ที่ตั้ง : ท้งั ๓ อำคำรข้ำงตน้ อยภู่ ำยในโรงพยำบำลวชริ ะภเู กต็
ถนนเยำวรำช ตำบลตลำดใหญ่ อำเภอเมอื งภเู กต็ จงั หวัดภูเก็ต
ทั้งนี้ กำรลงพื้นที่สำรวจและรวบรวมข้อมูลแหล่งศิลปกรรมอันควรอนุรักษ์ ภำยใต้หัวข้อ
“องค์ประกอบย่ำนเก่ำภูเก็ต : กำรสำรวจเรือนคหบดี (อังมอหลำว) ในเขตอำเภอเมืองภูเก็ต อยู่ในกำรกำกับ
ดูแลของ ผู้ช่วยสำสตรำจำรย์ ดร.ปัทมำสน์ พิณนุกูล เลขำนุกำรหน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดภูเก็ต และได้รับ
ควำมอนุเครำะห์จำก ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์สมหมำย ปิ่นพุทธศิลป์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้ำนประวัติศำสตร์/โบรำณคดี
ประจำหน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดภเู ก็ต ในกำรรว่ มลงพืน้ ที่สำรวจด้วย
นอกจำกนี้ ยังได้รับควำมอนุเครำะห์สถำนที่จำก นพ.เฉลิมพงษ์ สุคนธผล ผู้อำนวยกำรโรงพยำบำล
วชริระภูเก็ต คุณจรูญรัตน์ ตัณฑวณิช เจ้ำของเรือนและหัวหน้ำพิพิธภัณฑ์บ้ำนชินประชำ และคุณสุ่ยเอี่ยง
ตณั ฑเวส เจำ้ ของบ้ำนหลวงอำนำจนรำรักษ์
หน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดภูเก็ต ได้รวบรวมข้อมูลแหล่งศิลปกรรมอันควรอนุรักษ์ ประเภทเรือนคหบดี
ในเขตอำเภอเมืองภูเก็ต ในรูปแบบของสื่อวีดิทัศน์ เพื่อสำมำรถนำไปเผยแพร่ให้ผู้สนใจได้อย่ำงสะดวก
และกว้ำงขวำงด้วย โดยสำมำรถรบั ชมหรอื ดำวนโ์ หลดได้ทำง QR Code ทีแ่ นบมำพร้อมน้ี

(สอื่ วดี ิทัศนแ์ หล่งศลิ ปกรรมองั มอหลาว)

๔๖

๓.๓.๘ ผลผลติ
๑) ขอ้ มูลเรอื นคหบดี จำนวน ๖ แหง่
๒) สอ่ื วีดิทัศน์ขอ้ มลู เรือนคหบดี

๓.๓.๙ ปญั หา อปุ สรรค และเง่อื นไขความสาเร็จ
กำรสำรวจแหล่งศิลปกรรมอันควรอนุรักษ์ ประเภทเรือนคหบดี พบปัญหำประกำรสำคัญ
คอื เรือนคหบดหี ลำยแห่งในเขตอำเภอเมืองภูเก็ตอยู่ในควำมครอบครองดูแลของเอกชน ทำใหไ้ ม่ได้รับอนุญำต
ให้เข้ำพื้นที่เพื่อทำกำรสำรวจข้อมูล ส่งผลให้จำนวนแหล่งศิลปกรรมที่ กำหนดไว้แต่เดิม ๑๐ แห่ง ลดเหลือ
เพียง ๖ แหง่
๓.๓.๑๐ ขอ้ เสนอแนะ

- ไมม่ ี -
๓.๓ ๑๑ ภาพประกอบการลงพ้ืนที่สารวจ

ภาพที่ ๖๐ : กำรบรรยำยของผู้ทรงคณุ วฒุ ปิ ระจำหนว่ ยอนุรกั ษฯ์

ภาพท่ี ๖๑ : บรรยำกำศกำรถ่ำยทำระหวำ่ งกำรลงพ้ืนท่ี

๔๗

ภาพท่ี ๖๒ : อำคำรบ้ำนพระพิทักษช์ ินประชำ

ภาพท่ี ๖๔ : อำคำรพิพธิ ภณั ฑบ์ ำ้ นชนิ ประชำ

ภาพที่ ๖๓ : อำคำรบำ้ นหลวงอำนำจนรำรกั ษ์

เอกสารประกอบ

49

เอกสารประกอบ
ชุดท่ี ๑

แผนงานท่ี ๑ การบริหารงานหน่วยอนุรกั ษส์ ง่ิ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถ่นิ

50

เอกสารประกอบ
ชุดท่ี ๑.๑

การประชมุ คณะอนกุ รรมการอนุรักษ์ ประจาจังหวัดภเู ก็ต
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

51

52

53

54

ระเบยี บวาระการประชุม
คณะอนุกรรมการอนุรกั ษ์สิ่งแวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมประจาจังหวัดภเู กต็ ครง้ั ท่ี ๑/๒๕๖๓

วันพฤหัสบดที ่ี ๖ สิงหาคม ๒๕๖๓ เวลา ๑๓.๓๐ น.
ณ ห้องประชุมสานกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มจังหวัดภูเกต็

ระเบยี บวาระท่ี ๑ เรอ่ื งทป่ี ระธานฯ แจ้งตอ่ ท่ีประชุม

ระเบียบวาระที่ ๒ เรอื่ งรับรองรายงานการประชุมฯ
- ไม่มี -

ระเบียบวาระท่ี ๓ เร่ืองเพ่ือทราบ
๓.๑ คาสั่งคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ที่ ๓/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เรื่อง แต่งตั้ง
คณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม และคณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถน่ิ ประจาจังหวดั

เรอื่ งเดิม
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (กก.วล.) ในการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๒๙

พฤศจิกายน ๒๕๖๓ มีมติเห็นชอบให้ปรับปรุงองค์ประกอบคณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ
และศิลปกรรม และคณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นประจาจังห วัด
โดยประธานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ได้ลงนามในคาสั่งคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
ที่ ๓/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๓ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ
และศิลปกรรม และคณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นประจาจังหวัด
(เอกสารแนบ ๑.)

ในการนี้ กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม สานักงาน สผ. ได้ประสานมายัง
หน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดภูเก็ต เพื่อดาเนินการสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิในท้องถิ่น ๓ ด้าน ด้านละ ๑ คน รวมทั้งสิ้น
๓ คน เพ่ือให้สานกั งาน ทสจ.ภูเกต็ เสนอให้ผู้วา่ ราชการจังหวดั ภเู กต็ ในฐานะประธานคณะอนกุ รรมการอนุรักษ์
สง่ิ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมทอ้ งถิ่นประจาจังหวดั พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ

55

ขอ้ เท็จจริง
หน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดภูเก็ต ได้ดาเนินการสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิ ตามขั้นตอนการสรรหา

ของสานักงาน สผ. โดยผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ตลงนามให้ความเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๓
ประกอบดว้ ย

๑) ผูช้ ่วยศาสตราจารย์นติ ญิ า สงั ขนนั ท์ ผทู้ รงคุณวฒุ ดิ า้ นระบบนเิ วศ/ส่ิงแวดลอ้ ม
๒) ผู้ช่วยศาสตราจารยส์ มหมาย ป่ินพทุ ธศิลป์ ผู้ทรงคณุ วุฒิดา้ นประวัตศิ าสตร์/โบราณคดี
๓) ผู้ชว่ ยศาสตราจารยศ์ ิวพงศ์ ทองเจือ ผู้ทรงคณุ วฒุ ดิ ้านศลิ ปวฒั นธรรม/ภมู ิปัญญา
ขอ้ เสนอ
เพอื่ พิจารณารบั ทราบ
มตทิ ีป่ ระชุม

๓.๒ รายงานผลการดาเนินงานหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น จังหวัดภูเก็ต
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

เร่ืองเดิม
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีแนวทางในการปฏิบัติงาน

ให้คณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมซึ่งเป็นคณะอนุกรรมภายใต้คณะกรรมการ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พิจารณาให้ความเห็นชอบต่อการเพิ่มบทบาทของหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ
และศลิ ปกรรมท้องถิน่ (Local Units for Conservation of Natural and Cultural Environment: LUCNCE)
ให้มีบทบาทและหน้าที่ในการดาเนินงานด้านอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติควบคู่กันไปกับการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ซึ่งปัจจุบันมีหน่วยอนุรักษ์สิง่ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมท้องถิ่น มีจานวนทั้งหมด
๗๖ แห่ง ทั่วประเทศ ยกเว้นพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยตั้งอยู่ในโรงเรียน ๔๓ แห่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏ
๓๐ แหง่ และสถาบนั พลศกึ ษา ๓ แห่ง

หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นแต่ละจังหวัด มีการดาเนินงาน
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม ผ่านแผนพัฒนาการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม และแผน
ขับเคลอื่ นงานอนุรักษ์สง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาติและศิลปกรรม ระดบั จงั หวัด ๔ แผนงาน ดงั นี้

56

แผนงานที่ ๑ การบริหารหนว่ ยอนรุ กั ษ์สง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาติและศลิ ปกรรมทอ้ งถน่ิ
แผนงานท่ี ๒ การประกาศเขตอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมศลิ ปกรรม
แผนงานท่ี ๓ การเผยแพรค่ วามรู้เรือ่ งการอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรม
แผนงานที่ ๔ การพฒั นาระบบข้อมลู เพื่อการอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมของประเทศ

ขอ้ เท็จจรงิ

หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น จังหวัดภูเก็ต ได้รับอนุมัติ
งบประมาณเพื่อการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ภายในหน่วยอนุรักษ์ฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ จากการ
เสนอโครงการต่อสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งประกอบไปด้วยแผนงาน
จานวน ๓ แผนงาน โดยสามารถสรปุ ผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ดงั รายละเอียดต่อไปนี้

๕.๑) แผนงานที่ ๑ การบริหารหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น
จังหวัดภูเก็ต ได้รับอนุมัติงบประมาณ จานวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งแสนบาทถ้วน) ในฐานะหน่วยอนุรักษ์ฯ
จังหวัดภูเก็ต เป็นตัวแทนภาคีอนุรักษ์ฯ กลุ่มที่ ๑๗ (อันดามัน) ประกอบด้วยหน่วยอนุรักษ์ ๕ จังหวัด ได้แก่
ภูเกต็ พงั งา กระบี่ ตรัง และระนอง ซึ่งได้ดาเนินงานตามแผนงานดงั ต่อไปน้ี

๕.๑.๑) การจัดการประชุมคณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
ประจาจังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ หน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดภูเก็ต ได้ดาเนินการจัดการประชมุ
คณะอนุกรรมการฯ ดังกล่าว ในวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๒ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต เพื่อรายงานผล
การดาเนินงานหน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดภูเก็ต ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ และรายงานข้อเสนอโครงการ
เพื่อขออนมุ ัติงบประมาณสนบั สนนุ การดาเนินงานหน่วยอนรุ กั ษฯ์ จงั หวัดภูเก็ต ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๕.๑.๒) การจัดการประชุมภาคีหน่วยอนุรักษส์ ิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
ท้องถิ่น กลุ่มที่ ๑๗ อันดามัน (ภูเก็ต พังงา กระบี่ ตรัง และระนอง) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ได้ดาเนนิ การจัดการประชุมภาคีฯ กลุม่ ที่ ๑๗ อันดามนั ในวนั ท่ี ๘ สิงหาคม ๒๕๖๒ ณ โรงแรมอ่าวฉลองวิลล่า
อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต เพื่อร่วมกันพิจารณาโครงการเพื่อความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของสานักงาน
นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม (สผ.) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๕.๑.๓) การเข้าประชุมประจาปีภาคีอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
๑๘ กลุ่มจังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ หน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดภูเก็ต ได้เข้าร่วมประชุมสัมมนา
ในโอกาสต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มภาคีเครือข่ายด้านการอนุรักษ์ เพื่อประสานงานและสร้างความร่วมมือ ตลอดจน
เพอ่ื เป็นการติดตาม ตรวจสอบ และพิจารณาแกป้ ัญหาการดาเนินการของหนว่ ยอนุรักษ์ฯ

๕.๑.๔) การสารวจ และรายงานสถานการณ์ส่ิงแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
ท้องถิ่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวดั

57

ภูเก็ต ได้ดาเนินการสารวจสถานการณ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมศาลเจ้าจีนในจังหวัดภูเก็ต จานวน ๒๓ ศาลเจ้า
โดยสารวจสภาพแวดล้อมโดยรอบของอาคารเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์เพื่อหาแนวทาง
การพฒั นาส่งิ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม รวมทง้ั เฝ้าระวังสง่ิ แวดล้อมต่อไป

๕.๒) แผนงานที่ ๓ การเผยแพร่ความรู้เรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ
ศิลปกรรม กิจกรรมอบรมสัมมนา พัฒนาศักยภาพ ได้รบั อนมุ ัติงบประมาณ จานวน ๖๒,๐๐๐ บาท (หกหม่ืน
สองพันบาทถ้วน) โดยได้ดาเนินกิจกรรมอบรมสัมมนา ร่วมกับสานักงานวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ตภายใต้ชื่อ
โครงการเสวนาและนิทรรศการ “การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน สู่การพัฒนาชุนชนคุณธรรม
ต้นแบบและแนวทางการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมศาสนสถาน ชุมชนเชิงทะเล” จัดขึ้นในวันศุกร์ที่ ๒๒ มีนาคม
พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ วัดเชิงทะเล ตาบลเชิงทะเล อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ซึ่งได้รับเกียรติจากคณะวิทยากร
ร่วมเสวนาใหค้ วามรู้ ดังต่อไปนี้

๑) พระครกู ารุญกิจจานุยุต เจา้ อาวาสวัดเชิงทะเล
๒) นางปทั มา รุจีวงศ์ นักวชิ าการวัฒนธรรม ชานาญการพิเศษ
๓) นายนริ มติ ร ชา่ งเหล็ก ประธานศาลเจ้าสา่ มออ๋ งหเู้ ชงิ ทะเล
๔) นางสาวพชั ราวรรณ เก๊อะเจรญิ นักวชิ าการดา้ นสถาปัตยกรรม
๕) นายสุวชิ ชา่ งเหล็ก ผูน้ าชมุ ชนเชิงทะเล

จากการเสวนาในคร้ังนี้ ประชาชนในท้องถิ่นชมุ ชนเชิงทะเล และนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ท่ีเข้าร่วม
โครงการสามารถนาความรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรทางวัฒนธรรมในท้องถิ่นของตน ซึ่งเป็นมรดกภูมิปัญญา
ด้านศิลปกรรมที่มีคุณค่า มาใช้เป็นฐานข้อมูลในการขับเคลื่อนงานด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ
และศิลปกรรมท้องถิ่นในชุมชนของตนอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการสร้างจิตสานึกด้านความสามัคคี
รวมทงั้ จติ สานกึ ในการร้คู ณุ คา่ ของทรัพยากรอย่างยั่งยืน

๕.๓) แผนงานที่ ๔ ระบบข้อมูลเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
ของประเทศ ได้รับอนุมัติงบประมาณ จานวน ๒๐,๐๐๐ บาท (สองหมื่นบาทถ้วน) โดยได้ดาเนินการสารวจ
และรวบรวมข้อมูลแหล่งศิลปกรรมและแหล่งประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต ตามแบบฟอร์มของระบบเพื่อ
การอนุรักษ์สิง่ แวดล้อมธรรมธรรมชาติและศิลปกรรม (CECS) ซึ่งได้กาหนดหัวข้อการจดั ทาฐานขอ้ มูลประจาปี
เป็นการสารวจศาลเจ้าจีนภายในจังหวัดภูเก็ต (สอดคล้องกับการรายงานสถานการณ์ในแผนงานที่ ๑)
จานวน ๕๒ ศาลเจ้า และนาข้อมูลที่ได้จากการสารวจบันทึกลงในระบบฐานข้อมูลแหล่งศิลปกรรมอันควร
อนุรักษ์ (culturalenvi.onep.go.th)

58

นอกจากนี้กิจกรรมในแผนงานที่ ๔ ยังรวมถึงการปรับปรุงเครือข่ายสังคมออนไลน์ภายใต้
การดูแลของหน่วยอนุรักษ์ฯ ให้เป็นปัจจุบัน เพื่อเป็นช่องทางในการนาเสนอกิจกรรม และเป็นสื่อกลาง
ในการประชาสัมพนั ธ์ผลงานของหนว่ ยอนุรกั ษ์ฯ ตลอดจนเพือ่ การเผยแพรข่ ่าวสารของสานกั งาน สผ. ดว้ ย

ข้อเสนอ
เพอื่ พจิ ารณารบั ทราบ และให้ข้อเสนอแนะ

มตทิ ปี่ ระชมุ

๓.๓ การอนุมัตงิ บประมาณสนับสนุนการดาเนนิ งานของหน่วยอนรุ ักษ์สิง่ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
ทอ้ งถิ่นจังหวดั ภูเกต็ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

เรื่องเดิม
หน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดภูเก็ต ดาเนินการจัดทาโครงการเพื่อเสนอของบประมาณสนับสนุน

การดาเนินงาน จากสานักงาน สผ. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามแผนขับเคลื่อนงานอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม ระดับจังหวัด จานวน ๓ แผนงาน (ยกเว้นแผนงานที่ ๒ การประกาศเขต
อนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรม)

ขอ้ เท็จจริง
หน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดภูเก็ต มีกิจกรรมตามแผนงานที่ต้องดาเนินการ ตามที่ได้เสนอ

ของบประมาณสนบั สนุน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ดงั ต่อไปน้ี
แผนงานที่ ๑ การบริหารงานหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น

โดยหน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดภูเก็ต ได้รับอนุมัติงบประมาณสนับสนุนการดาเนินงาน จานวน ๑๐๐,๐๐๐
(หนง่ึ แสนบาทถว้ น) ซึ่งมีกาหนดกิจกรรมท่ีต้องดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ดังต่อไปนี้

๑) กิจกรรม การจัดประชุมคณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมประจาจังหวัด
ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ มีข้อกาหนดจากสานักงาน สผ. ให้หน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดภูเก็ต ต้องโอน
งบประมาณในการจัดการประชุม จานวน ๒๕,๐๐๐ บาท (สองหมื่นห้าพันบาทถ้วน) ให้สานักงาน ทสจ. ภูเก็ต
ในฐานะฝ่ายเลขานกุ าร ตามคาสัง้ คณะกรรมการส่งิ แวดล้อมแหง่ ชาติ ที่ ๓/๒๕๖๓

๒) กิจกรรม การเข้าร่วมประชุมภาคปี ระจาปีและภาคีกลุ่มจังหวดั
๓) กจิ กรรม การรายงานสถานการณล์ งในระบบ culturalenvi.onep.go.th

59

๔) กิจกรรม การรายงานความเคลื่อนไหว ข่าวสาร การดาเนินงานของหน่วยอนุรักษ์ ลงใน
เครือขา่ ยสังคมออนไลน์ (Social Network) เช่น Facebook Line เปน็ ตน้

แผนงานที่ ๓ การเผยแพร่ความรู้เรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
โดยหน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดภูเก็ต ได้รับอนุมัติงบประมาณสนับสนุนการดาเนินงาน จานวน ๖๐,๐๐๐ บาท
(หกหมื่นบาทถ้วน) ซึ่งมีกาหนดกิจกรรมที่ต้องดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้แก่ กิจกรรม
การอบรมสัมมนา พัฒนาศักยภาพ

สาหรับในปีนี้ ได้กาหนดชื่อโครงการเสวนาเครือข่ายภาคประชาสังคมเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติของท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ภายใต้หัวข้อการเสวนา “ปลูกจิตสานึกชุมชนเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติแบบมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน” ซึ่งเป็นโครงการเสวนาที่ต่อยอดมาจากปรากฏการณ์
กลุ่มจิตอาสาจากหลายภาคส่วนในภูเก็ต รวมตัวกัน ร่วมแรงร่วมใจ ร่วมทุนทรัพย์ เคลื่อนย้ายต้นยางนายักษ์
(ยางมนั หม)ู ไปปลูกไว้ภายในโรงเรียนบ้านป่าคลอก เพือ่ ตอ้ งการอนุรักษ์ตน้ ยางดังกล่าวไว้ โดยมีกาหนดการจัด
โครงการ ในวันศกุ รท์ ่ี ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๓ ณ โรงเรียนบ้านปา่ คลอก อาเภอถลาง จงั หวดั ภูเกต็

แผนงานที่ ๔ ระบบขอ้ มลู เพื่อการอนุรักษส์ ิ่งแวดล้อมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมของประเทศ
โดยหน่วยอนุรักษ์ฯ จังหวัดภูเก็ต ได้รับอนุมัติงบประมาณสนับสนุนการดาเนินงาน จานวน ๘๑,๕๐๐ บาท
(แปดหมื่นหนึ่งพันห้าร้อยบาทถ้วน) ซึ่งมีกาหนดกิจกรรมที่ต้องดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
ได้แก่ กิจกรรม การจัดทาฐานข้อมูลองค์ประกอบย่านเก่า โดยเลือกจากย่านเก่าในทะเบียนของ สผ.
(ocd.onep.go.th)

สาหรับในปีน้ี ได้กาหนดการดาเนินงานจัดทาฐานข้อมลู ภายใต้หัวข้อ “องค์ประกอบย่านเก่า
ภูเก็ต : การสารวจเรือนคหบดี (อั่งหม่อหลาว) ในเขตอาเภอเมืองภูเก็ต” โดยกาหนดการสารวจเฉพาะอาคาร
เก่า ทเ่ี ป็นเรอื นคหบดี หรอื อัง่ หมอ่ หลาว จานวน ๑๐ แหง่ ท่ีอยู่ในเขตอาเภอเมืองภูเก็ต เพ่ือจัดเก็บเป็นข้อมูล
ไว้ในระบบฐานข้อมูล (ocd.onep.go.th) สามารถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นการอนุรักษ์ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

ข้อเสนอ

เพือ่ พจิ ารณารับทราบ และใหข้ อ้ เสนอแนะ

มติทปี่ ระชุม

60

ระเบียบวาระท่ี ๔ เรอื่ งเพื่อพิจารณา
๔.๑ การดาเนินงานตามมติทีป่ ระชุมคณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิง่ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม ประจา
จังหวัดภูเก็ต เรื่อง “การแต่งตั้งคณะทางานพิจารณา ตรวจสอบ โครงการที่อาจส่งผลกระทบต่อการอนุรักษ์
สิง่ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ภเู กต็ ”

เรือ่ งเดิม

ตามที่ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ธรรมชาติและศิลปกรรม และคณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมประจาจังหวัด
ตามคาสั่งที่ ๖/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน
คณะอนุกรรมการ ซึ่งคณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมประจาจังหวัดภูเก็ต
ไดจ้ ดั การประชมุ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏภเู ก็ต เมอื่ วนั ที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๒
เพ่ือรายงานผลการดาเนินงานของหน่วยอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมท้องถิ่นจังหวดั ภูเก็ต

ข้อเทจ็ จริง

ในระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ที่ประชุมมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
ในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับการดาเนินงานของหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมทอ้ งถิ่นจังหวดั
ภูเก็ต ซึ่งที่ประชุมมีมติมอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการจัดทา (ร่าง) คาสั่งคณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมประจาจังหวัดภูเก็ต เพือ่ แต่งตงั้ คณะทางานเพ่ือปฏิบตั ิงานด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ธรรมชาติและศิลปกรรม ในการกลั่นกรอง และให้คาแนะนาโครงการหรือแผนงาน โดยเฉพาะของท้องถิ่น
ทอี่ าจสง่ ผลกระทบต่ออาคารเกา่ ในจังหวัดภเู ก็ต

ฝ่ายเลขานุการ ได้จัดทา (ร่าง) คาสั่งคณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ
ศลิ ปกรรมประจาจังหวดั ภเู ก็ต เรือ่ ง แตง่ ตั้งคณะทางานพิจารณา ตรวจสอบ โครงการทีอ่ าจสง่ ผลกระทบ ตอ่
การอนรุ ักษส์ ่งิ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมในพ้ืนทจ่ี ังหวัดภูเก็ต โดยไดจ้ ดั สง่ (ร่าง) คาสัง่ ฉบับน้ี พร้อม
แบบเสนอความคิดเห็น ไปยังอนุกรรมการทุกท่าน เพื่อร่วมกนั พจิ ารณา

คณะอนุกรรมการฯ ส่งแบบเสนอความคิดเห็น กลับมายังฝ่ายเลขานุการ จึงได้จัดทา
(ร่าง) คาสั่งคณะอนุกรรมการฯ จากข้อเสนอความคิดเห็นของคณะอนุกรรมการฯ แล้วแจ้งวาระเวียน
เพื่อขอความอนุเคราะห์คณะอนุกรรมการฯ พิจารณาลงมติให้ความเห็นชอบ (ร่าง) คาสั่งคณะอนุกรรมการฯ
ดังกลา่ ว

คณะอนุกรรมการฯ ส่งแบบลงมติให้ความเห็นชอบ กลับมายังฝ่ายเลขานุการ รวม ๑๔ ฉบับ
ซึ่งมากกว่ากึ่งหนึ่งของคณะอนุกรรมการฯ ทั้งหมด ๒๑ คน จึงได้นาส่ง (ร่าง) คาสั่งคณะอนุกรรมการฯ

61

ฉบับสมบูรณ์ (เอกสารแนบ ๑.)เพื่อเสนอให้ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ตในฐานะประธานคณะอนุกรรมการ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมประจาจงั หวัดภูเกต็ พิจารณาลงนามตอ่ ไป

เมื่อแจ้งผลการดาเนินการ และเสนอต่อผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ตลงนามนั้น มีข้อแนะนา
ให้ฝ่ายเลขานุการฯ นา (ร่าง) คาสั่งคณะอนุกรรมการฯ ดังกล่าวเสนอให้คณะอนุกรรมการฯ พิจารณารายชื่อ
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อีกครั้ง และให้ระบุรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิให้ชัดเจน
พร้อมแนบประวตั ิผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน เพือ่ แจ้งใหผ้ ู้ว่าราชการจังหวัดภเู ก็ต ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการฯ
ทราบและพิจารณาลงนามในคาสงั่ ตอ่ ไป

ขอ้ เสนอ
เพื่อพิจารณา (ร่าง) คาสั่งคณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม

ประจาจังหวัดภูเกต็ เรื่อง แต่งตั้งคณะทางานพิจารณา ตรวจสอบ โครงการที่อาจส่งผลกระทบ ต่อการอนุรักษ์
ส่งิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมในพืน้ ที่จงั หวัดภเู กต็

มตทิ ีป่ ระชมุ

๔.๒ การกาหนดกรอบระยะเวลาการประชุมของคณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ
ศิลปกรรมท้องถ่นิ ประจาจงั หวัดภเู กต็

มตทิ ี่ประชุม

ระเบียบวาระท่ี ๕ เรอ่ื งอน่ื ๆ (ถ้ามี)
มติท่ีประชมุ

รายงานการประชมุ 62

คณะอนกุ รรมการอนรุ กั ษสิ่งแวดลอมธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมประจำจงั หวดั ภูเก็ต คร้ังที่ 1/2563

วันพฤหัสบดที ี่ 6 สิงหาคม 2563 เวลา 13.30 น.

ณ หองประชุมสำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอมจังหวัดภเู กต็ อำเภอเมืองภเู กต็ จงั หวัดภเู กต็

คณะอนุกรรมการทม่ี าประชมุ นนุ ชูคนั ธ รองผูว า ราชการจงั หวัดภเู กต็ (ประธานอนกุ รรมการฯ)
๑. นายวงศกร ปญญาบุญ แทน อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏภูเก็ต
๒. ดร. ราชรถ (รองประธานอนุกรรมการฯ)
หัวหนาหนวยอนุรักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม
๓. นายปริญญา จรยิ หัตถะกิจ ทอ งถน่ิ จังหวัดภูเก็ต
๔. นายนิพิฐ เจริญการ แทน นายกองคการบริหารสว นจังหวดั ภูเกต็
๕. นางจิราภรณ ภมู ิงาม แทน นายกเทศมนตรนี ครภูเก็ต
๖. พ.ต.ท. ยศพัฒน สวุ รรณสิทธิ์ แทน ทองเทีย่ วและกีฬาจงั หวัดภูเก็ต
๗. นายวญิ ญ สิทธเิ ชนทร แทน ผูบังคับการตำรวจภธู รจังหวัดภูเกต็
๘. นายกลุ พฒั น ฤกษจำนง ทอ งถิน่ จงั หวดั ภเู ก็ต
๙. นางสาวณฐั ฐิกา ลัภนาเคนทร แทน โยธาธิการและผังเมืองจังหวดั ภเู ก็ต
๑๐. นายดำรง ชทู อง แทน เจาพนกั งานท่ีดนิ จังหวดั ภเู ก็ต
๑๑. นางวิมลรัตน ชูคนั หอม แทน ธนารกั ษพ น้ื ท่ีภเู ก็ต
๑๒. นางพมิ พวรชั ญ รอดจิตต แทน วฒั นธรรมจังหวดั ภูเกต็
๑๓. นางบุษยา ใจเปย ม ผูอำนวยการสำนักงานพระพทุ ธศาสนาจงั หวดั ภเู กต็
๑๔. นางสาวนภคั มน ทองเฝอ ประชาสัมพันธจงั หวัดภูเกต็
๑๕. ผศ. นติ ญิ า สังขนันท แทน ผูอ ำนวยการสำนักศิลปากรท่ี 12 นครศรธี รรมราช
๑๖. ผศ. สมหมาย ปน พทุ ธศลิ ป ผทู รงคณุ วุฒใิ นทอ งถิน่ ดานระบบนเิ วศ/สง่ิ แวดลอ ม
๑๗. ผศ. ศวิ พงศ ทองเจอื ผทู รงคณุ วฒุ ใิ นทอ งถิน่ ดานประวัตศิ าสตร/โบราณคดี
๑๘. นายณฐั กฤษณ พลเพชร ผทู รงคุณวฒุ ิในทอ งถนิ่ ดา นศลิ ปวัฒนธรรม ภูมิปญญา
แทน ผอู ำนวยการสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติ
๑๙. นายณฐั พงศ ชมุ นูรกั ษ และส่งิ แวดลอ มจงั หวัดภเู ก็ต
นักวชิ าการสง่ิ แวดลอ มปฏิบตั กิ าร
๒๐. นายธิบด์ิ เซซงั สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ มจงั หวัดภูเกต็
เจาหนาท่ีหนว ยอนรุ กั ษสิง่ แวดลอมธรรมชาติ
และศลิ ปกรรมทองถิน่ จังหวัดภเู ก็ต

เรมิ่ ประชมุ เวลา 13.30 น.

/ระเบยี บ...

- หนา 2 จาก 12 หนา - 63

ระเบยี บวาระที่ ๑ เร่อื งทีป่ ระธานฯ แจงตอ ทีป่ ระชมุ

ประธานฯ เนื่องจากนายณ รงค วุน ซิ้ว ผูวาราชการจังหวัดภูเก็ต ติดภารกิจสำคัญ

จึงมอบหมายใหนายวงศกร นุนชูคันธ รองผูวาราชการจงั หวดั ภูเก็ต เปน ประธานการประชุมฯ

มติทีป่ ระชมุ รับทราบ

ระเบียบวาระท่ี ๒ เรอ่ื งรบั รองรายงานการประชุมฯ
ไมม ี เนอ่ื งจากประชุมครง้ั แรก

มตทิ ป่ี ระชมุ รับทราบ

ระเบียบวาระที่ 3 เรือ่ งเพ่อื ทราบ

3.1 คำสั่ งคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแห งชาติ ท่ี 3/2563 ลงวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2563

เรื่อง แ ต งต้ั งค ณ ะอนุ กรรมการ อนุ รักษ ส่ิงแ วด ล อม ธรรม ช าติแ ล ะศิล ป กรรม

และคณะอนกุ รรมการอนุรกั ษส ิ่งแวดลอ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ งถ่นิ ประจำจงั หวดั

รองประธานฯ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) ไดป ระสาน

มายังหนวยอนุรักษส่ิงแวดลอมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมทองถิ่นจังหวัดภูเก็ต ใหดำเนินการสรร

หาผูทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ทาน เพ่ือใหสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมจังหวัด

ภูเก็ต (ทสจ.ภูเก็ต) เสนอผูวาราชการจังหวัดภูเก็ต ในฐานะประธานอนุกรรมการอนุรักษ

ส่ิงแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรมประจำจังหวัดภูเก็ต พิจารณาเห็นชอบ เม่ือวันท่ี 11

มีนาคม 2563 ประกอบดว ย

(1) ผูชวยศาสตราจารย นิติญา สังขนันท ผูทรงคุณวุฒิดานระบบนิเวศ/ส่ิงแวดลอม

(2) ผูชวยศาสตราจารย สมหมาย ปนพุทธศิลป ผูทรงคุณวุฒิดานประวตั ศิ าสตร/

โบราณคดี

(3) ผูชวยศาสตราจารย ศิวพงศ ทองเจือ ผูทรงคุณวุฒิดานศิลปวัฒนธรรม

ภมู ิปญญา

ผศ. สมหมายฯ ผูท รงคณุ วฒุ ิ เมื่อปที่ผานมา ผมไดทำหนาที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมของศูนยวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต
พบวาปญหาดานสิ่งแวดลอมบริเวณรอบพ้ืนท่ีศิลปกรรม ไมสามารถจัดการแกไขปญหาได
ประกอบกบั กฎหมายไมครอบคลุมมากนัก ปจ จบุ ัน สผ. ไดจัดตง้ั หนว ยอนุรักษฯ ขน้ึ ท่ัวประเทศ
โดยจังหวัดภูเกต็ ประสบความสำเรจ็ เรื่องสถาปต ยกรรมบรเิ วณถนนถลาง

ผศ. ศวิ พงศฯ ผูทรงคุณวฒุ ิ อำนาจหนา ท่ีของคณะอนุกรรมการฯ คอนขางจะครอบคลุมทวั่ ท้ังจงั หวัด ซ่งึ ผมไดม ี
โอกาสเปนคณะอนุกรรมการอนุรกั ษและพัฒนาเมืองเกาภูเก็ตดวย เพราะฉะน้ัน อำนาจหนาท่ี
นาจะครอบคลุมทั้งดานประวัติศาสตร โบราณคดี ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม รวมท้ัง
ใหความคดิ เหน็ เก่ยี วกับโครงการกอ สรา งทอ่ี าจสง ผลกระทบตอ ส่งิ แวดลอ มศลิ ปกรรมในพน้ื ท่ี

/ฝา ยเลขานกุ ารฯ...

- หนา 3 จาก 12 หนา - 64

ฝา ยเลขานุการฯ ขอหารือที่ประชมุ ตามอำนาจหนา ทข่ี อ (๒) พิจารณากลนั่ กรองแผนงาน/โครงการที่
มีผลกระทบ และผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นตอการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรมใน
พ้ืนท่ี จะคลายกับคณะอนุกรรมการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาภูเก็ต ซ่ึงจะนำโครงการท่ีมี
ผลกระทบตอเมืองเกามาเขารับการพิจารณา เพ่ือรวมกันพิจารณาใหคำแนะนำและความเห็น
โดยประสานงานกับเทศบาลนครภูเก็ต แตคณะอนุกรรมการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและ
ศิลปกรรมทองถ่ินประจำจังหวัดภูเก็ต มีอำนาจหนาท่ีครอบคลุมท้ังจังหวัด จะทำอยางไรให
โครงการทจี่ ะกอ สรางนำมาใหค ณะอนุกรรมการฯ ชุดนไ้ี ดพ จิ ารณากอ น

ประธานฯ คณะอนุกรรมการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาภูเก็ต มีการตีเสนขอบเขตเมืองเกา
ท่ีชัดเจน เพราะฉะน้ันหากจะกอสรางในเมืองเกา จะตองนำมาเขารับการพิจารณา แตขอบเขต
ของคณะอนุกรรมการอนุรักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรมทองถ่ินประจำจังหวัดภูเก็ต
เปนส่ิงกอ สรางทีเ่ ปน ศิลปกรรมท่มี คี ุณคา ที่ตองสำรวจและขน้ึ ทะเบยี นกอน

ฝายเลขานุการฯ จุดประสงคค อื
(1) อาคารใดท่ีมีคุณคาทางสถาปตยกรรม ซ่ึงไมไดต้ังอยูเฉพาะในเมืองเกาภูเก็ต
เทาน้นั แตมีอยทู ั่วทง้ั จงั หวัด
(2) การใหความรูของคณะอนุกรรมการฯ ไปยงั องคก รปกครองสว นทองถ่ิน (อปท.)
ในฐานะที่เปนหนว ยงานผูอนุญาต กรณีทีม่ ีการกอสรางในพื้นที่และอยูใกลอาคารที่มีคุณคาทาง
ประวัติศาสตร ขอใหสงเร่ืองใหทางคณะอนุกรรมการฯ เพ่ือใหคำแนะนำและความเห็น
ประกอบการพิจารณาอนญุ าต

รองประธานฯ คณะอนุกรรมการฯ มีบทบาทคือเสนอขอมูลเพ่ือพิจารณาและประสานงาน
เปนกระบอกเสียงสงไปท่ี สผ. จากน้ัน สผ. จึงประสานงานมาตามลำดับ เพื่อสงอำนาจผาน
หนวยงานตางๆ เพ่ือระงับและแกไขปญหา การทำงานของ สผ. ในป 2564 - 2566
จะมุงเนนเก่ียวกับเรื่องการศึกษาการอนุรักษยานเมืองเกา ลักษณะของสถาปตยกรรมพื้นถิ่น
ในแตละจังหวัด แตอำนาจสวนนี้เกิดจากทองถิ่น ท่ีตองมารวมกันนำเสนอและยกราง เพราะ
คณะอนุกรรมการฯ เปนเพียงหนวยที่สะทอนขอมูล เพ่ือใหเกิดการเปลยี่ นแปลงและเหมาะสม
กับอัตลักษณท างวฒั นธรรม

ประธานฯ ทางสำนักศิลปากรท่ี 12 นครศรีธรรมราช ไดขึ้นทะเบียนโบราณสถานในจังหวัด
ภูเก็ตบางหรือไม

ผูแทน ผอ.สำนักฯ 12 นศ. จังหวัดภูเก็ตข้ึนทะเบยี นโบราณสถานไว จำนวน 10 แหง ประกอบดว ย
(1) อาคารศาลากลางจงั หวดั ภูเกต็
(2) อาคารศาลจังหวดั ภเู ก็ต
(3) สำนักงานขายประจำประเทศไทย ภาคใตตอนบน บริษัทการบินไทย จำกัด

(มหาชน)

/(4) อาคาร...

- หนา 4 จาก 12 หนา - 65

(4) อาคารสำนกั งานทีด่ นิ จงั หวดั ภูเกต็
(5) ท่ีทำการไปรษณียโทรเลข (หลงั เกา )
(6) วัดมงคลนมิ ติ ร (วัดกลาง)
(7) พพิ ธิ ภัณฑโรงเรียนภูเก็ตไทยหัว
(8) วัดพระนางสราง
(9) บา นพระยาวชิ ิตสงคราม (เมอื งถลางเกา )
(10) อาคารพพิ ธิ ภัณฑสถานแหงชาติถลาง

ประธานฯ เม่ือเจาของโครงการจะกอสรางใกลพ้ืนที่โบราณสถาน จำนวน 10 แหงนี้ เจาของ
โครงการ จะตองใหขอมูลกับ อปท. ท่ีมีอำนาจในการพิจารณาอนุญาต โดยมีความเห็นจาก
คณะอนุกรรมการฯ ประกอบการพิจารณา เปนการดูแลสิ่งแวดลอมศิลปกรรมในพ้ืนที่ แตใน
ดานสิ่งแวดลอมธรรมชาตมิ ีหนวยงานใดดแู ล

รองประธานฯ หนวยอนุรักษฯ มีหนาท่ีสะทอนปญ หาหรือพ้ืนท่ีเสี่ยงตอการเสื่อมโทรม
ประสานงานกับพืน้ ที่ 2 สว น คอื

(1) พื้นท่ีทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ยกตัวอยาง แหลมพรหมเทพ ขอมูล
ในอดีตและปจจุบัน และรายงานไปยัง สผ. และ สผ. จะสงปญหานกี้ ลับไปทบทวนเพื่อวางเปน
แนวทางแกไ ข

(2) ยานเมืองเกา ซึ่งปญหาในยานเมอื งเกาไมไดม ีเฉพาะในจังหวัดภูเก็ต นนั่ คือเมื่อ
เปนสถานที่ทองเที่ยวคนพื้นถ่ินยายออก คนตางถิ่นยายเขามาแทน จะมีแนวทางดำเนินการ
ระเบียบในการแกไขปญหาดานสถาปตยกรรมอยางไร ตองศึกษารูปแบบท่ีชัดเจนในการ
กอสราง ซึ่งอำนาจในการหยุด ระงับ ตอรอง และการปลูกสรางเปนภาคทองถ่ินรวมกับ
สวนกลาง รวมถึง สผ. ดวย

ประธานฯ ทางสำนกั ศิลปากรฯ สามารถเสนอโบราณสถานเพิม่ ไดหรือไม

ผูแทน ผอ.สำนกั ฯ ท่ี 12 นศ. นอกเหนือจากโบราณสถานท่ีข้ึนทะเบียนไว จะมีโบราณสถานอื่นๆ ท่ีประกาศ
รายชื่อไว อยูในขั้นตอนการพิจารณาขึ้นทะเบียนโบราณสถาน รายละเอียดเพ่ิมเติม สำนัก
ศลิ ปากรฯ จะสง ขอมูลให ทสจ.ภเู ก็ต ภายหลัง

ผศ. สมหมายฯ ผทู รงคุณวฒุ ิ ผมเคยหารือกับรองอธิบดกี รมศิลปากร วาใหจ ดั ลำดบั ความสำคญั ของโบราณสถาน
ไดหรือไม ทานรองอธิบดีฯ บอกวาตองแกพระราชบัญ ญัติ ซ่ึงเปนเร่ืองท่ีแกไขยาก
สวนส่ิงแวดลอ มธรรมชาติในบริเวณทีไ่ มม กี ฎหมายอนื่ ดแู ล มีทีใ่ ดบา ง

ประธานฯ ดานส่ิงแวดลอมศิลปกรรมคอนขางชัดเจน สวนดานส่ิงแวดลอมธรรมชาติ
มอบหมายใหฝายเลขานุการฯ หารือไปยัง สผ. วาแนวทางตรงน้ีจะกำหนดอยางไร และมีการ
บังคับอยา งไรใหองคก รปกครองสวนทองถ่ินทุกแหงปฏบิ ตั ติ ามได

/มติทปี่ ระชมุ ...

- หนา 5 จาก 12 หนา - 66

มตทิ ี่ประชมุ รบั ทราบ

3.2 บทบาทหนา ท่ีของหนวยอนรุ ักษส ่ิงแวดลอ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมทองถ่นิ จงั หวดั ภูเก็ต
รองประธานฯ บทบาทหนา ที่ของหนว ยอนุรักษฯ ที่ทำหนาท่ีรวมกับ สผ. จะเปนสถาบันการศึกษา

ที่ทำหนาที่ศึกษา และสะทอนสถานการณดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และ
สถาปตยกรรมพ้ืนถ่ิน ในพ้ืนที่ที่เกิดความเสี่ยงและประสานงานกับ ทสจ.ภูเก็ต โดยหนวย
อนุรักษฯ จะเปนผูรายงานผลไปยัง สผ. เพื่อนำมาเปนแนวทางในการจัดการตอไป และหนวย
อนุรักษฯ มีอีกแผนงานหน่ึงคือการใหความรู เวทีเสวนาสรางความตระหนักและนำผลการ
ดำเนินงานไปตอยอดในระดบั ทองถ่ินตอไป

มตทิ ป่ี ระชมุ รบั ทราบ

3.3 รายงานผลการดำเนินงานหนวยอนุรักษสิ่งแวดลอ มธรรมชาติและศิลปกรรมทองถิ่นจังหวัด

ภูเก็ต ประจำปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

รองประธานฯ หนวยอนุรักษฯ มีการดำเนินงานการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม

ประกอบดวย 3 แผนงาน

(1) แผนงานที่ 1 การบริหารหนวยงานอนุรักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม

ทองถิ่นจังหวัดภูเก็ต ไดรับอนุมัติงบประมาณ จำนวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ซ่ึงไดดำเนินงานตาม

แผนงานดังตอไปนี้

(1.1) การจัดการประชุมคณะอนุกรรมการอนุรกั ษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและ

ศิลปกรรมประจำจังหวดั

หนวยอนุรักษฯ ไดดำเนินการจัดการประชุมคณะอนุกรรมการฯ

ดังกลา ว เม่ือวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๒ ณ มหาวิทยาลัยราชภฏั ภูเก็ต ตำบลรัษฎา อำเภอเมือง

ภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต เพ่ือรายงานผลการดำเนินงานหนวยอนุรักษฯ ประจำปงบประมาณ พ.ศ.

๒๕๖๑ และรายงานขอเสนอโครงการเพ่ือขออนุมัตงิ บประมาณสนับสนุนการดำเนินงานหนวย

อนุรกั ษฯ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

(1.2) การจัดการประชุมภาคีหนวยอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและ

ศิลปกรรมทองถ่ิน กลุมท่ี ๑๗ อันดามัน (ภูเก็ต พังงา กระบี่ ตรัง และระนอง) ประจำป

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ไดดำเนินการจัดการประชุมภาคีฯ กลุมท่ี ๑๗ อันดามัน เม่ือวันที่ ๘

สิงหาคม ๒๕๖๒ ณ โรงแรมอาวฉลองวิลลา ตำบลฉลอง อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต

เพื่อรวมกันพิจารณาโครงการใหความสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรของ สผ. ประจำป

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

(1.3) การเขาประชุมประจำปภาคีอนุรักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติและ

ศิลปกรรม ๑๘ กลมุ จงั หวัด ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

/หนวยอนุรกั ษฯ...

- หนา 6 จาก 12 หนา - 67

หนวยอนุรกั ษฯ ไดเขารวมประชุมสัมมนาในโอกาสตาง ๆ รวมกับกลุม
ภาคีเครือขายดานการอนุรักษ เพ่ือประสานงานและสรางความรวมมือ ตลอดจนเพ่ือเปนการ
ตดิ ตาม ตรวจสอบ และพิจารณาแกปญหาการดำเนินการของหนว ยอนรุ ักษฯ

(1.4) การสำรวจ และรายงานสถานการณส่ิงแวดลอมธรรมชาติและ
ศิลปกรรมทอ งถิ่น ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

หนว ยอนุรักษฯ ไดดำเนินการสำรวจสถานการณสิ่งแวดลอ มศิลปกรรม
ศาลเจาจีนในจังหวัดภูเก็ต จำนวน ๒๓ ศาลเจา โดยสำรวจสภาพแวดลอมโดยรอบอาคาร
เพื่อใหไดขอมูลท่ีสามารถนำไปใชประโยชนเพ่ือหาแนวทางการพัฒนาส่ิงแวดลอมธรรมชาติ
และศิลปกรรม รวมทัง้ เฝาระวังสง่ิ แวดลอ มตอ ไป

(2) แผนงานที่ 3 การเผยแพรความรูเร่ืองการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติ
และศิลปกรรม กิจกรรมอบรมสัมมนา พัฒนาศักยภาพ ไดรับอนุมัติงบประมาณ จำนวน
๖๒,๐๐๐ บาท โดยไดดำเนินกิจกรรมอบรมสัมมนา รวมกับสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต
ภายใตชื่อโครงการเสวนาและนทิ รรศการ “การสงเสรมิ กระบวนการมีสวนรวมของชมุ ชน สูก าร
พัฒนาชุนชนคุณธรรมตนแบบและแนวทางการอนุรักษมรดกวัฒนธรรมศาสนสถาน ชุมชนเชิง
ทะเล” จัดขึ้นเม่ือวันศุกรท่ี ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๒ ณ วัดเชิงทะเล ตำบลเชิงทะเล อำเภอถลาง
จังหวัดภูเก็ต

(3) แผนงานท่ี 4 ระบบขอมูลเพ่ือการอนุรักษส่งิ แวดลอมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรม
ของประเทศ ไดรับอนุมัติงบประมาณ จำนวน ๒๐,๐๐๐ บาท โดยไดดำเนินการสำรวจ และ
รวบรวมขอมูลแหลงศลิ ปกรรมและแหลงประวัติศาสตรจ ังหวัดภูเก็ต ตามแบบฟอรม ของระบบ
เพอ่ื การอนุรกั ษสิ่งแวดลอ มธรรมธรรมชาติและศิลปกรรม (CECS) ซึ่งไดกำหนดหัวขอการจัดทำ
ฐานขอมูลประจำป เปนการสำรวจศาลเจาจีนภายในจังหวัดภูเก็ต (สอดคลองกับการรายงาน
สถานการณในแผนงานที่ ๑) จำนวน ๕๒ ศาลเจา และนำขอมูลที่ไดจากการสำรวจบันทึกลง
ในระบบฐานขอ มลู แหลงศลิ ปกรรมอนั ควรอนุรักษ (culturalenvi.onep.go.th)

นอกจากน้ีกิจกรรมในแผนงานท่ี 3 ยังรวมถึงการปรับปรุงเครือขายสังคมออนไลน
ภายใตการดูแลของหนวยอนุรักษฯ ใหเปนปจจุบัน เพ่ือเปนชองทางในการนำเสนอกิจกรรม
และเปนสื่อกลางในการประชาสัมพันธผลงานของหนวยอนุรักษฯ ตลอดจนเพ่ือการเผยแพร
ขา วสารของ สผ. ดวย

มติทป่ี ระชมุ รบั ทราบ

3.4 การอนมุ ัติงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงานของหนวยอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและ

ศิลปกรรมทอ งถน่ิ จังหวัดภเู ก็ต ประจำปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

รองประธานฯ หนวยอนุรักษฯ มีกิจกรรมตามแผนงานที่ตองดำเนินการ ตามที่ไดเสนอขอ

งบประมาณสนับสนุน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ดงั ตอไปน้ี

/(1) แผนงาน...

- หนา 7 จาก 12 หนา - 68

(1) แผนงานท่ี ๑ การบริหารงานหนวยอนุรักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติและ
ศิลปกรรมทองถ่นิ โดยหนวยอนรุ ักษฯ ไดรับอนมุ ัติงบประมาณสนบั สนุนการดำเนินงาน จำนวน
๑๐๐,000 บาท ซ่ึงมีกำหนดกิจกรรมท่ีตองดำเนินงาน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
ดังตอไปน้ี

(1.๑) กิจกรรมการจัดประชุมคณะอนุกรรมการอนุรักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติ
และศิลปกรรมประจำจังหวัด ซึ่งในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ มีขอกำหนดจาก สผ. ใหหนว ย
อนุรักษฯ จังหวัดภูเก็ต ตองโอนงบประมาณในการจัดการประชุม จำนวน ๒๕,๐๐๐ บาท
ให ทสจ. ภเู ก็ต ในฐานะฝายเลขานุการอนกุ รรมการอนุรักษส ิง่ แวดลอ มธรรมชาติและศิลปกรรม
ประจำจังหวัดภูเก็ต ตามคำสั่งคณะกรรมการส่งิ แวดลอ มแหงชาติ ที่ ๓/๒๕๖๓

(1.๒) กจิ กรรมการเขารวมประชมุ ภาคีประจำปแ ละภาคีกลมุ จงั หวดั
(1.๓) กิ จกรรมการรายงานสถานการณ ลงในระบบ culturalenvi.onep.go.th
(1.๔) กิจกรรมการรายงานความเคล่ือนไหว ขาวสาร และการดำเนนิ งานของ
หนวยอนุรักษฯ ลงในเครือขายสังคมออนไลน (Social Network) เชน Facebook Line
เปน ตน
(2) แผนงานท่ี ๓ การเผยแพรความรูเร่ืองการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและ
ศิลปกรรม โดยหนวยอนุรักษฯ ไดรับอนุมัติงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงาน จำนวน
๖๐,๐๐๐ บาท ซึ่งมีกำหนดกิจกรรมท่ีตองดำเนินงาน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ไดแ ก
กิจกรรมการอบรมสัมมนา พฒั นาศกั ยภาพ
สำหรับในปนี้ ไดกำหนดชื่อโครงการเสวนาเครือขายภาคประชาสังคมเพื่อการ
อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติของทองถิ่นอยางยั่งยืน ภายใตหัวขอการเสวนา “ปลูกจิตสำนึก
ชุมชนเพื่อการอนรุ ักษทรพั ยากรธรรมชาตแิ บบมีสวนรวมอยา งยง่ั ยืน” ซ่ึงเปนโครงการเสวนาท่ี
ตอยอดมาจากปรากฏการณกลุมจิตอาสาจากหลายภาคสว นในภูเก็ต รวมตวั กนั รวมแรงรวมใจ
รวมทุนทรัพย เคลื่อนยายตนยางนายักษ (ยางมันหมู) ไปปลูกไวภายในโรงเรียนบานปาคลอก
ตำบลปาคลอก อำเภอถลาง จังหวัดภูเกต เพื่อตองการอนุรักษตนยางดังกลาวไว โดยมี
กำหนดการจัดโครงการ ในวันศุกรท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๓ ณ วิทยาลัยสารพัดชางภูเก็ต ตำบล
ตลาดเหนอื อำเภอเมอื งภเู กต็ จังหวัดภูเก็ต
(3) แผนงานท่ี ๔ ระบบขอมูลเพ่ือการอนรุ ักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติและศลิ ปกรรม
ของประเทศ โดยหนวยอนุรักษฯ ไดรับอนุมัติงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงาน จำนวน
๘๑,๕๐๐ บาท ซึ่งมีกำหนดกิจกรรมที่ตองดำเนนิ งาน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ไดแ ก
กิจกรรมการจัดทำฐานขอมูลองคประกอบยานเกา โดยเลือกจากยานเกาในทะเบียนของ สผ.
(ocd.onep.go.th)
สำหรับในป น้ี ไดกำหนดการดำเนินงาน จัดทำฐานขอมูล ภายใตหัวขอ
“องคประกอบยา นเกาภูเก็ต : การสำรวจเรือนคหบดี (อ่ังหมอ หลาว) ในเขตอำเภอเมืองภูเก็ต”
โดยกำหนดการสำรวจเฉพาะอาคารเกาท่ีเปนเรอื นคหบดี หรืออั่งหมอหลาว จำนวน ๑๐ แหง

/ท่ีอย.ู ..

- หนา 8 จาก 12 หนา - 69

ท่ีอยูในเขตอำเภอเมืองภูเก็ต เพื่อจัดเก็บเปนขอมูลไวในระบบฐานขอมูล (ocd.onep.go.th)
สามารถนำไปใชประโยชนในดานการอนุรกั ษไ ดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ

มติที่ประชมุ รับทราบ

ระเบยี บวาระท่ี 4 เร่ืองเพอ่ื พิจารณา

4.1 การดำเนินงานตามมติท่ีประชุมคณะอนุกรรมการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและ

ศิลปกรรมประจำจังหวัดภูเก็ต เร่ือง การแตงต้ังคณะทำงานพิจารณา ตรวจสอบโครงการที่

อาจสง ผลกระทบตอ การอนุรักษส่งิ แวดลอมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมในพ้ืนที่จังหวดั ภูเก็ต

ประธานฯ ขอใหสำนักศิลปากรท่ี 12 นครศรีธรรมราช สงรายช่ือโบราณสถานที่มีคณุ คา มายัง

ทสจ.ภูเก็ต และให ทสจ. ภเู ก็ต ประสานไปยงั อปท. แตละแหง ทม่ี ีโบราณสถานต้งั อยู ใหทราบ

แนวทางปฏิบัติในกรณที มี่ ีผกู อ สรางอาคารรอบโบราณสถานน้ันๆ

ผูแทน ผอ.สำนกั ศลิ ปากรฯ การกำหนดขอบเขตอยทู ี่ลกั ษณะความสำคญั ของโบราณวัตถุ และโบราณสถานแหง
นั้นๆ

ฝา ยเลขานกุ ารฯ ขอเสนอวา อาจใชการเทียบเคียงกับประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม เรื่อง กำหนดเขตพ้ืนท่ีและมาตรการคุมครองสิ่งแวดลอม ในบริเวณพื้นท่ีจังหวัด
ภูเก็ต พ.ศ. ๒๕๖๐ กรณีการกอสรางอาคารในพื้นท่ีที่เปนเขตศิลปกรรมทรงคุณคา ซึ่งใชรัศมี
100 เมตร รอบโบราณสถานนั้นๆ จะเหมาะสมหรอื ไม

ประธานฯ การใชการเทียบเคียงอยางที่ฝายเลขานุการฯ เสนอ ขอใหประสาน อปท. ซ่ึงเปนผู
อนุญาต หากมีการกอสรางใกลโบราณสถาน หรืออาคารทรงคุณคาให อปท. สงเรื่องมาให
คณะอนุกรรมการฯ พิจารณา นเ่ี ปนแนวทางท่ีคณะอนุกรรมการฯ ขอประสาน

ฝายเลขานุการฯ กรณี อปท. รับคำขออนุญาตกอสรางมีระเบียบวา จะตองพิจารณาใหแลวเสร็จ
ภายใน 45 วัน ผมเคยเจอกรณีการขออนุญาตกอสรางอาคารในพ้ืนท่ีเมืองเกา ทางเทศบาล
นครภูเก็ตสงเร่ืองมาที่คณะอนุกรรมการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาภูเก็ต เมื่อเจาของโครงการ
ไปตามเรื่องที่เทศบาลฯ ทางเทศบาลฯ แจงวาไมสามารถพิจารณาได เพราะเรื่องอยูท่ี
คณะอนุกรรมการฯ ทำใหเกิดประเด็นได แนวทางทางทีด่ ีควรใหเจาของโครงการย่นื เรือ่ งกอนท่ี
จะไปยนื่ ขออนุญาตกบั ทางเทศบาลฯ จะไดไมติดเง่อื นไขเวลา

นายสมหมายฯ ผทู รงคุณวฒุ ิ ขอสอบถามวาการกำหนดขอบเขตตั้งอยูบนระเบียบ กฎเกณฑใด เพราะ
คณะอนกุ รรมการฯ ยงั ไมม ีอำนาจกำหนดขอบเขต

/ฝา ยเลขานุการฯ...

- หนา 9 จาก 12 หนา - 70

ฝา ยเลขานกุ ารฯ เปนการขอความรวมมือ โดยใชมติของคณะอนุกรรมการฯ วาจะกำหนดรัศมี 100
เมตรรอบโบราณสถาน ขอความรวมมือไปยัง อปท. ในพ้ืนท่ีสงเรื่องการพิจารณาใหกับทาง
คณะอนุกรรมการฯ พิจารณาใหขอเสนอแนะและความเห็นกอ น ปจจุบันยังไมมกี ฎหมายรองรับ
แตเ ปนการขอความรว มมือซงึ่ กันและกนั

ประธานฯ ตามคำสั่งคณะอนุกรรมการฯ มีหนาท่ีพิจารณาใหความเห็นวาสิ่งปลูกสรา งบริเวณ
โบราณสถานท่ีมีคุณคานั้นควรมีลักษณะแบบใด เพื่อแจงใหกับพนักงานทองถ่ินท่ีมีอำนาจ
พิจารณาอนุญาต ใชเปนมติของคณะอนุกรรมการฯ ขอความรวมมือกับ อปท. เกี่ยวกับสิ่งปลูก
สรา งบรเิ วณโบราณสถาน รัศมี 100 เมตร ประชาสัมพนั ธใหประชาชนไดทราบวากอนทจ่ี ะทำ
การกอสรางหรือดัดแปลงสิง่ ใด ทีอ่ าจมีผลกระทบตอ โบราณสถาน ขอใหท านประสานแจงมายัง
ทสจ.ภูเกต็ ในฐานะฝายเลขานุการฯ เพ่ือสง เรอื่ งใหคณะอนุกรรมการฯ กลัน่ กรองและพิจารณา
ใหค ำแนะนำและความเหน็ ตอ ไป

ฝา ยเลขานุการฯ ขอเรียนวาในเขต ทน.ภูเก็ต อางอิงจากแผนที่เมืองเกา สวนที่เปน Buffer Zone
เสนสีฟา คณะอนุกรรมการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาภูเก็ตไมไดเขาไปกำกับ ดูแล
เพราะฉะน้ันหากมีการกอสรางหรือดัดแปลงอาคารบริเวณดังกลาว เจาของโครงการจะไมสง
แบบแปลนมาใหคณะอนุกรรมการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาภเู ก็ตหรือคณะทำงานสนับสนุน
คณะอนกุ รรมการอนุรักษและพัฒนาเมอื งเกา ภเู ก็ตพิจารณา บางครง้ั อาคารที่กอสรางอยใู กลกับ
อาคารอ่ังหมอหลาว หรืออาคารท่ีเปนโบราณสถานแตไมไดอ ยูในพ้ืนที่เมืองเกา พบวา มีหลาย
อาคาร เพราะฉะน้นั โครงการเหลา นีจ้ ะนำเขามาทป่ี ระชุมคณะอนุกรรมการฯ ชุดนี้ได

นายสมหมายฯ ผทู รงคุณวฒุ ิ หากกำหนดการประชุมยอย เพื่อพิจารณาโครงการ ควรตองมีการแตงต้ัง
คณะทำงานฯ ข้ึนมา

ทอ งถิน่ จังหวดั ภูเกต็ สิ่งแรกท่ีสำคัญ ของคณ ะอนุกรรมการฯ คือ การกำหนดแผนปฏิบัติการ

แนวทางการดำเนนิ งานและการกำกับดูแลรกั ษาสง่ิ แวดลอมธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอมศลิ ปกรรม

คณะอนกุ รรมการฯ จะมีการใหความรูและรบั ฟงความคดิ เห็นอยางไร อาจจะใหหนวยอนุรกั ษฯ

รางกรอบครา วๆ สำหรบั ใชเปน แนวทาง ซึ่งการใชอ ำนาจรัฐตอบุคคล เกย่ี วของกบั วิธีการปฏบิ ัติ

ทางปกครอง มพี ระราชบัญญัติตางๆ เปนกฎหมายดแู ลอยู แตคณะอนุกรรมการฯ ชุดนี้ มุงเนน

ใหองคความรู เพื่อขอความรวมมือ แตไมไดมีอำนาจทางปกครอง เพราะฉะนนั้ สิ่งใดท่ีไปผกู โยง

กบั อำนาจทางปกครองเมอื่ เขา สวู ธิ ีปฏิบัติจะยงุ ยากและซับซอ น

ประธานฯ มีความเหน็ ดงั นี้
(1) ตองกำหนดกอนวาสถานท่ีใดบางท่ีคณะอนุกรรมการฯ จะไปดูแล ขอใหทาง
สำนกั ศลิ ปากรฯ แจงมาวา มีสถานท่ใี ดท่เี ปนโบราณสถานทรงคณุ คา ท่ีขน้ึ ทะเบยี นไว
(2) เรื่องผลกระทบดานสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ กรณีการกอสรางอาคารรอบ
โบราณสถาน ใหฝา ยเลขานุการฯ ทำหนงั สือหารือไปยงั สผ. วา มีแนวทางอยา งไร

/(3) เมือ่ สำนัก...

- หนา 10 จาก 12 หนา - 71

(3) เมื่อสำนักศิลปากรฯ สงขอมูลโบราณสถานมายัง ทสจ.ภูเก็ต เรียบรอยแลว
ให ทสจ.ภูเก็ต ประสานแจงแนวทางเบ้ืองตนให อปท. ประชาสัมพันธใหประชาชนที่ตั้ง
บานเรือนใกลกับโบราณสถานน้ันๆ ทราบถึงแนวทางปฏิบัตเิ กี่ยวกับการยื่นขออนุญาตกอสราง
ส่งิ ปลกู สรางท่ีอาจสง ผลกระทบตอโบราณสถาน

รองประธานฯ การประชุมคร้ังท่ีผานมาไดกำหนดการขับเคลื่อนเพื่อใหเกิดความคลองตัว จึงมี
ประธานฯ ความเห็นวา ควรจะมีการแตง ตั้งคณะทำงานพจิ ารณา ตรวจสอบโครงการท่อี าจสงผลกระทบตอ
การอนรุ ักษส่งิ แวดลอ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมในพ้ืนท่จี งั หวดั ภเู ก็ต

ควรกำหนดโครงสรางของคณะทำงานพิจารณา ตรวจสอบโครงการที่อาจสงผล

กระทบตอการอนุรักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรมในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต โดยมี

องคป ระกอบและอำนาจหนา ที่ ดังน้ี

(1) องคประกอบ

(๑.๑) ผูอำนวยการสำนักงานทรพั ยากรธรรมชาติ ประธานคณะทำงาน

และส่งิ แวดลอ มจังหวดั ภเู กต็

(๑.2) ผูบริหารองคก รปกครองสว นทอ งถ่นิ คณะทำงาน

ท่ีมีโครงการตงั้ อยใู นเขตพ้นื ท่ี (หรือผูแทน)

(๑.3) ผทู รงคณุ วฒุ ดิ านทรพั ยากรธรรมชาติ คณะทำงาน

และสิ่งแวดลอ มในสาขาท่ีเกยี่ วขอ ง

จำนวนไมเกนิ 3 ทา น

(๑.4) โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดภเู กต็ (หรือผแู ทน) คณะทำงาน

(๑.5) หัวหนาหนวยอนุรักษส งิ่ แวดลอ มธรรมชาติ คณะทำงาน

และศิลปกรรมจงั หวัดภูเก็ต

(๑.๖) ผูอำนวยการสวนสิ่งแวดลอม คณะทำงาน

สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติ และเลขานุการ

และสิ่งแวดลอมจังหวดั ภเู กต็

(๑.7) เจาหนา ที่สำนักศิลปะและวฒั นธรรม คณะทำงาน

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต และผชู วยเลขานุการ

(2) อำนาจหนาที่
(๒.๑) ประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ บูรณาการขอมูลหรือ

แลกเปล่ียนความคิดเห็น เพ่ือการพิจารณาตรวจสอบ กลั่นกรองโครงการท่อี าจสงผลกระทบตอ
สง่ิ แวดลอ มธรรมชาติและศิลปกรรมในพน้ื ทจี่ งั หวดั ภเู กต็

(๒.2) รายงานผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการดานการอนุรักษ
สิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรมในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต ตอคณะอนุกรรมการอนุรักษ
ส่งิ แวดลอ มธรรมชาติและศิลปกรรมประจำจงั หวัดภเู ก็ต

/(๒.3) สนับสนุน...

- หนา 11 จาก 12 หนา - 72

(๒.3) สนับสนุน สงเสริมการประชาสัมพันธ เผยแพรขอมูล สรางการรับรู
และการมสี ว นรว มในการอนรุ กั ษสง่ิ แวดลอมธรรมชาติและศลิ ปกรรม ใหแ กภาคสวนตา ง ๆ

(๒.4) ปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของ และเปนประโยชนตอการขับเคล่ือน
แผน ปฏิ บัติการดาน การอนุรักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติและศิลป กรรม หรือตามที่
คณะอนุกรรมการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรมประจำจังหวัดภูเก็ต และผูวา
ราชการจังหวัดมอบหมาย

มติทป่ี ระชมุ (1) ใหสำนักศิลปากรที่ 12 นครศรีธรรมราช สงรายชื่อโบราณสถานที่มีคุณคา
มายงั ทสจ.ภูเก็ต

(2) ให ทสจ. ภเู กต็ ประสานไปยงั อปท. แตละแหงทีม่ ีโบราณสถานตั้งอยู เพ่ือให
อปท. รับทราบแนวทางปฏิบตั ใิ นกรณีทม่ี ผี ูจะกอ สรางอาคารรอบโบราณสถานน้ันๆ ระยะ 100
เมตร และให อปท. ประชาสัมพันธใหป ระชาชนท่ตี ้งั บานเรอื นใกลกบั โบราณสถานนนั้ ๆ ทราบ
ถงึ แนวทางปฏิบัตเิ กย่ี วกับการยน่ื ขออนุญาตกอ สรา งสง่ิ ปลูกสรา งท่อี าจสง ผลกระทบตอ
โบราณสถาน

(3) เรื่องผลกระทบดานส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติ กรณีการกอสรางอาคารรอบ
โบราณสถาน ใหฝ า ยเลขานุการฯ ทำหนังสอื หารือไปยัง สผ. วา มีแนวทางอยา งไร

(4) มอบฝายเลขานุการฯ ทำหนังสือแตงต้ังคณะทำงานพิจารณา ตรวจสอบ
โครงการท่ีอาจสงผลกระทบตอการอนุรักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรมในพื้นที่จังหวัด
ภูเก็ต เพ่ือเสนอผูวาราชการจังหวัดภูเก็ต เพื่อโปรดทราบและพิจารณา และลงนามในคำสั่ง
คณะทำงานฯ ตอ ไป

4.2 การกำหนดกรอบระยะเวลาการประชุมของคณะอนุกรรมการอนรุ ักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติ
และศลิ ปกรรมทองถ่ินประจำจงั หวดั ภูเกต็

ฝายเลขานกุ ารฯ ตามกระบวนการการทำงาน การประชมุ คณะอนุกรรมการฯ จะประชุมปละ 1 คร้ัง
ซ่ึงสวนใหญจะประชุมคณะอนุกรรมการฯ ประมาณปลายป แตแผนงานและโครงการตางๆ
ที่ สผ. สงลงมาจะอยูตนปถัดไป ซ่ึงคณะอนุกรรมการฯ จะไมทราบ เม่ือหนวยอนุรักษฯ
ดำเนนิ การจนถึงส้นิ ป จะจัดประชมุ คณะอนุกรรมการฯ เพื่อรายงานผลการดำเนนิ งาน ผมคดิ วา
ในปหนาควรจะมีการประชุมมากกวา 1 ครั้ง เพ่ือที่จะนำเสนอแผนงานและโครงการที่หนวย
อนุรักษฯ ดำเนินการ และใหคณะอนุกรรมการฯ ใหคำแนะนำและความเห็น เพื่อใหการ
ดำเนนิ งานเปนไปตามมติของคณะอนกุ รรมการฯ

มตทิ ป่ี ระชมุ เห็นชอบใหมีการประชุมคณะอนุกรรมการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและ
ศิลปกรรมประจำจังหวัดภูเก็ต มีมากกวา 1 ครั้ง เพ่ือที่จะนำเสนอแผนงานและโครงการที่
หนวยอนุรักษฯ ดำเนินการ และใหคณะอนุกรรมการฯ ใหคำแนะนำและความเห็น เพื่อใหการ
ดำเนินงานเปนไปตามมตขิ องคณะอนกุ รรมการฯ

/ระเบียบ...

- หนา 12 จาก 12 หนา - 73

ระเบยี บวาระท่ี 5 เรือ่ งอน่ื ๆ
ไมม ี

มตทิ ป่ี ระชมุ รบั ทราบ

ปดประชุมเวลา 16.00 น.

ลงช่อื ลงชื่อ
(นายณัฐพงศ ชุมนูรักษ) (นายณฐั กฤษณ พลเพชร)
ผูอำนวยการสว นสง่ิ แวดลอม
นักวิชาการสง่ิ แวดลอ มปฏบิ ตั ิการ ผตู รวจรายงานการประชมุ
ผูจดบันทึกรายงานการประชุม

รายงานผลก

หนว่ ยอนรุ ักษส์ ่ิงแวดลอ้ มธรรมชาต

ประจำปีงบประม

74

การดาเนนิ งาน
ตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถ่ิน จงั หวดั ภูเกต็
มำณ พ.ศ. 2562

แผนงานที่ 1

การบริหารหนว่ ยอนรุ ักษ์ส่งิ แวดล้อมธรรมชาต

ได้รบั อน

100

75

ตแิ ละศิลปกรรมทอ้ งถนิ่ จงั หวัดภเู กต็

นุมัติงบประมาณ จานวน

0,000 บาท

(หน่ึงแสนบาทถว้ น)

1

แผนงานท่ี 1

มีการดาเนินงานยอ่ ย ประจาปีงบประมา

การจัดการประชุมภาคี
หนว่ ยอนรุ ักษส์ ิ่งแวดลอ้ มธรรม
และศิลปกรรมท้องถิน่ กลุม่ ท่ี 17

1.1 1.2

การจดั การประชุมคณะอนกุ รรมการ การ
อนรุ กั ษส์ ิ่งแวดล้อมธรรมชาติ อนรุ ักษส์ ิง่ แ
และศิลปกรรมประจาจงั หวดั

76

าณ พ.ศ. 2562 ดงั นี้

มชาติ การสารวจ และรายงานสถานการณ์
อนั ดามนั สง่ิ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมท้องถน่ิ

1.3 1.4

รเข้าประชุมประจาปภี าคี
แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรม

18 กลุ่มจงั หวดั

2

1.1 การจัดการประชุมคณะอนุกรรมการอน

สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมปร
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

77

นรุ กั ษ์
ระจาจงั หวดั

3

1.2 การจัดการประชมุ ภาคหี นว่ ยอนรุ กั ษ
กลุ่มที่ 17 อนั ดามัน (ภูเกต็ พงั งา

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

78

ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาติและศลิ ปกรรมท้องถน่ิ
กระบ่ี ตรัง และระนอง)

4

1.3 การเขา้ ประชมุ ประจาปภี าคอี นุร

18 กล่มุ จังหวดั
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 256

79

รักษ์สง่ิ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรม
62

5

1.4 การสารวจ และรายงานสถานการณ

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

80

ณส์ ิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศลิ ปกรรมทอ้ งถ่ิน

6

การเผยแพรค่ วามรู้เร่อื งการอนุรกั ษ์ส่งิ แว

กจิ

6

81

วดลอ้ มธรรมชาติ แผนงำนท่ี

3และศลิ ปกรรม

จกรรมอบรมสมั มนา พัฒนาศักยภาพ
ได้รบั อนุมัติงบประมาณ จานวน

62,000 บาท

(หกหมนื่ สองพนั บาทถ้วน)

7

กิจกรรมอบรมสมั มนำ พัฒ
ภำยใต้ช่ือโครงกำรเสวนำและ

การส่งเสริมกระบวนการมีสว่ นร่วมของชมุ ชน
ส่กู ารพฒั นาชุนชนคณุ ธรรมต้นแบบและ
แนวทางการอนุรักษ์มรดกวฒั นธรรมศาสนส
ชุมชนเชิงทะเล

จดั ข้นึ ในวันศกุ ร์ 22 มนี ำคม พ.ศ.2562
วดั เชิงทะเล ตำบลเชงิ ทะเล อำเภอถลำง
จงั หวดั ภูเก็ต

ฒนำศกั ยภำพ แผนงำนที่ 82
ะนิทรรศกำร
3


สถาน

8

แผนงำนท่ี ระบบข้อมูลเพอ่ื การอนุร

4 และศิลปกรรมของประเ

ได้รับอนมุ ตั ิงบประมาณ จ

20,000 บา

(สองหมื่นบาทถว้ น)

83

รกั ษ์สง่ิ แวดล้อมธรรมชาติ
เทศ

จานวน

าท

9

4แผนงำนท่ี เป

(สอดคล้องกบั การรายงานสถานก


Click to View FlipBook Version