The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสรุปผู้เข้าเยี่ยมชมสำนักศิลปะ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีงบประมาณ 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานสรุปผู้เข้าเยี่ยมชมสำนักศิลปะ 2565

รายงานสรุปผู้เข้าเยี่ยมชมสำนักศิลปะ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีงบประมาณ 2565

รายงานสรปุ ผ้เู ขา้ เยยี่ มชมสานกั ศิลปะและวฒั นธรรม

ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565

คำนำ

รายงานสรุปผู้เข้าเยี่ยมชมสานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ.2565 จัดทาข้ึนเพื่อรวบรวมรายงานสรุป จานวนผู้เข้าชมและศึกษาดูงานนิทรรศการจัดแสดงองค์ความรู้ด้าน
ศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นภูเก็ตอันดามัน ซึ่งจัดแสดงภายในอาคารหอวัฒนธรรมของสานักศิลปะและวัฒนธรรม
ในรูปแบบจดั แสดงนทิ รรศการทางวฒั นธรรมความเป็นไทยและภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ อันได้แก่

นิทรรศการประวัติบุคคลสาคัญท่ีมีคุณูปการต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต “ขุนเลิศโภคารักษ์” ,
นิทรรศการประวัติศาสตร์ความเป็นมากว่าจะมาเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต , นิทรรศการเอกลักษณ์ภูเก็ต อัน
ประกอบด้วย ด้านอาหาร ด้านอาคาร ด้านอาภรณ์ และด้านอาชีพ , นิทรรศการจัดแสดงแหล่งเรียนรู้ท่ีเป็น
เครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรมของสานักศิลปะและวัฒนธรรม รวมถึงห้องนิทรรศการหมุนเวียนซ่ึงจะมีการจัด
แสดงผลงานของศิลปนิ ในท้องถ่ินและนกั ศึกษาในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏภูเก็ต ตามโอกาสอนั สมควร

โดยนิทรรศการท่ีกล่าวไปข้างต้นจัดแสดง ณ บริเวณช้ัน 1 ของอาคารหอวัฒนธรรม สานักศิลปะและ
วัฒนธรรม ทั้งนี้ในส่วนของนิทรรศการที่จัดแสดงบนช้ัน 2 และ 3 ของอาคาร กาลังอยู่ในระหว่างการดาเนินการ
ปรบั ปรงุ จงึ ไมส่ ามารถเปิดให้ผสู้ นใจเขา้ ชมได้

สารบัญ

เรือ่ ง หนา้

คานา ก
สารบญั
สว่ นที่ 1 ข

สว่ นท่ี 2 บทนา 1

วสิ ัยทัศน์ และพนั ธกจิ 2

วัตถปุ ระสงค์ 2

บทบาทหนา้ ท่ี 3

อาคารสถานที่ 3

สรุปภาพรวมผู้เข้าเยี่ยมชมสานักศิลปะและวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 5

ภาคผนวก

ภาพถา่ ย 13
แบบลงทะเบียนผเู้ ข้าเยีย่ มชมและขอใชส้ ถานท่ี 20

1

บทนำ

1. ประวัติควำมเป็นมำและสภำพปัจจบุ นั
สำนกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม มหำวทิ ยำลัยรำชภัฏภเู กต็ เป็นส่วนรำชกำรหน่งึ ที่จัดต้ังขน้ึ ตำมกฎกระทรวง

จัดต้ังส่วนรำชกำรไทยในมหำวิทยำลัยรำชภัฏภูเก็ต กระทรวงศึกษำธิกำร พ.ศ. 2548 ซ่ึงได้มีกำรพัฒนำบทบำท
งำนด้ำนวัฒนธรรมมำตำมลำดับ โดยมีจุดเร่ิมต้นเมื่อ พ.ศ. 2518 อำจำรย์ในภำควิชำภำษำไทย คณะ
มนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ วิทยำลัยครูภูเก็ต ได้ช่วยกันจัดนิทรรศกำร “วันชำวบ้ำน” “วิถีชีวิตชำวบ้ำนป่ำ
ตอง” “วิถีชีวิตชำวบ้ำนสำคู” “ย่ำม” และ “ปฏิทิน” ในปี พ.ศ. 2519 จึงมีส่ิงของสะสมท่ีสำมำรถนำมำจัด
นิทรรศกำรไดม้ ำกขน้ึ เนื่องจำก ไม่มีท่เี ก็บรักษำ ได้นำถ้วยโถชำมไปฝงั ดิน และไดข้ ุดมำจัดนิทรรศกำร “ชีวิตไทย
ฝั่งทะเลตะวันตก” ครั้งท่ี 1 – 2 ของหน่วยงำนประเครำะห์ศูนย์ชุมนุมส่งเสริมวัฒนธรรมไทย วิทยำลัยครูภูเก็ต
โดยไดร้ ับงบประมำณจำกกองวฒั นธรรม กรมกำรศำสนำ กระทรวงศึกษำธกิ ำร ระหวำ่ งปี พ.ศ. 2520 – 2521

เม่ือกองวัฒนธรรมได้รับกำรยกฐำนะไปเป็นสำนักงำนคณะกรรมกำรวัฒนธรรมแห่งชำติ เมื่อวันที่ 25
กมุ ภำพันธ์ 2522 ตำมพระรำชบัญญัตสิ ำนกั งำนคณะกรรมกำรวฒั นธรรมแหง่ ชำติ พ.ศ. 2523 หน่วยประเครำะห์
ศูนย์ส่งเสริมวัฒนธรรม วิทยำลัยครูภูเก็ต จึงเปลี่ยนไปเป็นศูนย์ส่งเสริมและพัฒนำวัฒนธรรม ตั้งแต่วันท่ี 20
พฤษภำคม พ.ศ. 2523 มีสถำนที่ปฏิบัติงำน ณ หอพักนักศึกษำชำย ซึ่งว่ำงอยู่ในวิทยำลัยครูภูเก็ต ตำมคำส่ัง
วิทยำลยั ครูภเู กต็ เมอ่ื วนั ท่ี 6 มีนำคม พ.ศ. 2523

ต่อมำในปี พ.ศ. 2526 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนำวัฒนธรรม ได้เปลี่ยนชื่อมำเป็นศูนย์ศิลปวัฒนธรรม
วิทยำลัยครูภูเก็ต ตำมระเบียบกระทรวงศึกษำธิกำร ว่ำด้วยศูนย์วัฒนธรรม พ.ศ. 2526 โดยกำหนดให้มีหน้ำที่
ดงั นี้

1. ศึกษำ ค้นคว้ำ และวจิ ยั ดำ้ นวฒั นธรรม
2. อนรุ กั ษ์ สง่ เสรมิ พฒั นำ และเผยแพรว่ ัฒนธรรม
3. ฝึกอบรมวิทยำกรและบคุ ลำกรด้ำนวฒั นธรรม
4. จดั และดำเนนิ กำรหอวฒั นธรรม
5. สนับสนนุ และชว่ ยเหลือกำรดำเนินงำนของศูนยว์ ัฒนธรรมอน่ื หรือ หนว่ ยงำนอืน่
6. หน้ำที่อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมำยจำกคณะอนุกรรมกำรวัฒนธรรมจังหวัด หรือสำนักงำน
คณะกรรมกำรวัฒนธรรมแหง่ ชำติ

จำกหน้ำที่ในข้อ 4 ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต จึงมี “หอวัฒนธรรมภูเก็ต” เป็นสถำนท่ีศึกษำค้นคว้ำ
เกบ็ รักษำ และจดั นิทรรศกำรผลงำนทำงวฒั นธรรมทุกสำขำ

ในปี พ.ศ. 2538 วิทยำลัยครูภูเก็ตได้รับกำรยกฐำนะเป็นสถำบันรำชภัฏภูเก็ต ตำมพระรำชบัญญัติ
สถำบันรำชภัฏ พ.ศ. 2538 จึงได้กำหนดให้มีสำนักศิลปะและวัฒนธรรม เป็นหน่วยงำนหน่ึงตำมโครงสร้ำงกำร
บรหิ ำรของสถำบนั รำชภัฏภเู กต็

ต่อมำในปี พ.ศ. 2547 สถำบันรำชภัฏภูเก็ตได้รับกำรยกฐำนะเป็นมหำวิทยำลัยรำชภัฏภูเก็ต ตำม
พระรำชบัญญตั ิมหำวทิ ยำลัยรำชภฏั พ.ศ. 2547 มีภำรกิจหลักในกำรทำนุบำรงุ ศิลปะและวฒั นธรรม

2

2. ปรชั ญำ วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ
2.1 ปรชั ญำ
อนรุ กั ษ์ ศิลปวัฒนธรรมแห่งอันดำมัน สืบสำน เศรษฐกิจสร้ำงสรรค์ทอ้ งถน่ิ ตอ่ ยอดกำรเรียนรู้สู่

นำนำชำติ
2.2 วิสยั ทศั น์
มุ่งเป็นศูนย์กำรเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมและส่งเสริมเศรษฐกิจสรำ้ งสรรค์ภูมิปัญญำท้องถ่ินอันดำ

มนั สนู่ ำนำชำติ
2.3 พนั ธกิจ
2.3.1 ศึกษำ ค้นคว้ำ และวจิ ัยดำ้ นศลิ ปวฒั นธรรม

2.3.2 มุ่งสู่กำรเป็นศูนย์กำรเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม ควำมเป็นไทย และภูมิปัญญำท้องถ่ินให้
สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทกำรพัฒนำท้องถน่ิ (ระดบั ชำตแิ ละนำนำชำต)ิ

2.3.3 ประยุกต์และพัฒนำ นวัตกรรม ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญำท้องถ่ินให้เข้ำกับยุคสมัย
เพ่ือเพิ่มมลู คำ่ และคณุ ค่ำ

2.3.4 บรกิ ำรวชิ ำกำรด้ำนอนุรักษส์ ง่ิ แวดล้อมธรรมชำติ สืบสำนศิลปกรรมท้องถ่ิน

2.3.5 พัฒนำระบบและกลไกกำรบริหำรจัดกำรศิลปวัฒนธรรม ควำมเป็นไทย และภูมิปัญญำ
ท้องถิ่น เพ่ือเพิ่มประสิทธิภำพบุคลำกร เทคโนโลยแี ละส่ิงแวดลอ้ ม สู่กำรเป็นศูนย์กำรเรียนรศู้ ิลปวัฒนธรรมและ
ภูมปิ ญั ญำทอ้ งถิ่นอันดำมันสูน่ ำนำชำติ

3. วตั ถุประสงค์
สำนักศิลปะและวฒั นธรรม มวี ตั ถปุ ระสงค์ ดงั น้ี
4.1 เพื่อทำนุบำรุง เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ควำมเป็นไทย และภูมิปัญญำท้องถ่ินอันดำมันสู่ระดับ

นำนำชำติ
4.2 เพอ่ื ส่งเสรมิ กำรสร้ำงนวัตกรรมชุมชนทีม่ หำวทิ ยำลยั พัฒนำขึ้นทส่ี ำมำรถชว่ ยเพ่มิ รำยได้ หรือพฒั นำ

คุณภำพชีวิตให้แก่ชุมชน และกำรวิจัยศิลปวัฒนธรรมอันดำมัน เป็นศูนย์กำรเรียนรู้ กำรปฏิบัติกำรด้ำน
ศิลปวัฒนธรรมให้กับนักเรียน นักศึกษำ บุคลำกรของมหำวิทยำลัย และประชำชนท่ัวไป ให้สอดคล้องกับบริบท
กำรพฒั นำทอ้ งถิ่นของมหำวิทยำลัย

4.3 เพ่ือถ่ำยทอดองค์ควำมรู้และนวัตกรรมด้ำนศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญำท้องถ่ินของมหำวิทยำลัย
ในพ้นื ทอ่ี นั ดำมัน

4.4 เพ่ือพัฒนำระบบและกลไกกำรบริหำรจัดกำรดำ้ นศิลปวัฒนธรรม ให้มีประสทิ ธภิ ำพสงู สดุ

4. บทบำทหนำ้ ที่
สำนกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม มบี ทบำทหนำ้ ทใ่ี น 3 ฐำนะ ดงั นี้
1) ในฐำนะเป็นส่วนรำชกำรหนงึ่ ของมหำวิทยำลัยฯ มีหนำ้ ทหี่ ลกั ในกำรทำนุบำรงุ ศิลปะและวฒั นธรรม

โดยกำรสนบั สนนุ / สง่ เสริมกำรจดั โครงกำร กิจกรรมดำ้ นกำรอนุรกั ษพ์ ฒั นำสร้ำงเสรมิ ศิลปะวัฒนธรรมใหแ้ ก่
นกั เรียนนกั ศกึ ษำและประชำชนในท้องถนิ่

2) ในฐำนะศนู ย์วัฒนธรรมจังหวัดภเู ก็ตซง่ึ มหี น้ำทใ่ี นกำรศกึ ษำค้นคว้ำวิจยั และรวบรวมข้อมลู ด้ำน

3

วฒั นธรรม อนุรักษ์ ส่งเสริม พัฒนำและเผยแพรว่ ัฒนธรรม ฝึกอบรม และสนับสนนุ กำรฝึกอบรมวิทยำกร
และบคุ ลำกรวฒั นธรรม จดั นิทรรศกำรด้ำนวัฒนธรรม และหรอื จัดดำเนินกำรหอวัฒนธรรม รวมทั้งประสำนงำน
และสนับสนนุ กำรดำเนินงำนวัฒนธรรมกบั หนว่ ยงำนท่เี กยี่ วข้องในทอ้ งถิน่ ทงั้ ภำครัฐบำลและเอกชน

3) ในฐำนะหน่วยอนุรกั ษ์สง่ิ แวดลอ้ มธรรมชำตแิ ละศิลปกรรมทอ้ งถ่นิ จังหวดั ภเู ก็ต ซึง่ มีหน้ำที่
ในกำรประชำสัมพันธ์ และเผยแพรค่ วำมรูค้ วำมเข้ำใจในเร่อื งกำรอนุรักษส์ ง่ิ แวดลอ้ มศิลปกรรม ใหแ้ กป่ ระชำชน
ในท้องถ่ิน ศกึ ษำ รวบรวม บันทกึ ขอ้ มูลเกีย่ วกบั สภำพแวดล้อมของแหลง่ ศลิ ปกรรม สนับสนุนให้มีกำรอนรุ กั ษ์
สงิ่ แวดลอ้ มศลิ ปกรรมท้องถ่ิน สนับสนนุ ขอ้ มูลทำงดำ้ นวชิ ำกำรเก่ยี วกบั สงิ่ แวดล้อม ศิลปกรรม รวมทงั้ ตรวจสอบ
ควบคุมดแู ลส่ิงแวดลอ้ มศลิ ปกรรมในทอ้ งถ่นิ

5. อำคำรสถำนท่ี
สำนกั ศลิ ปะและวัฒนธรรม เปน็ อำคำร 3 ชน้ั แบ่งพื้นทีใ่ ช้สอยออกเปน็ ส่วนสำนักงำน สว่ นจดั แสดง

นทิ รรศกำรทงั้ นิทรรศกำรถำวรและนทิ รรศกำรชวั่ ครำว บริเวณชนั้ ท่ี 1 ชัน้ ที่ 2 และช้ันท่ี 3 และบรเิ วณลำน
กิจกรรม หน้ำอำคำรสำนักศลิ ปะและวฒั นธรรม

ส่วนจัดแสดงนทิ รรศกำร
สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหำวิทยำลัยรำชภัฏภูเก็ต มีภำรกิจหลักในกำรทำนุบำรุงศิลปะและ
วัฒนธรรมของท้องถ่ินและของชำติ จำกภำรกิจดังกล่ำว สำนักฯ จึงได้จัดให้มีกำรแสดงนิทรรศกำร ผลงำนทำง
วฒั นธรรมของท้องถิน่ ภูเกต็ และภำคใต้ฝง่ั ตะวนั ตกโดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อให้เป็นแหลง่ เรยี นรู้ของชมุ ชนในท้องถ่ิน
และภำคใต้ฝ่งั ตะวันตก รวมทั้งนกั เรยี น นกั ศึกษำ ประชำชนท้งั ชำวไทยและชำวต่ำงประเทศ
นทิ รรศกำรดงั กล่ำวเปดิ ใหผ้ สู้ นใจเขำ้ ชมได้ทุกวัน จนั ทร์ – ศุกร์ ตง้ั แต่เวลำ 08.30-16.30 น. (เว้นวันหยุด
นักขัตฤกษ์) โดยไม่ต้องเสียค่ำใช้จ่ำยใด ๆ ทั้งสิ้น ส่วนจัดแสดงนิทรรศกำรทำงวัฒนธรรม ทั้ง 3 ชั้น ได้นำเสนอ
สำระด้ำนวฒั นธรรมดังต่อไปนี้

ช้ันท่หี นง่ึ
1. สำนกั งำนและห้องผบู้ รหิ ำร
2. นิทรรศกำร “ขุนเลศิ โภคำรกั ษ์”
3. นทิ รรศกำรควำมเป็นมำของ มหำวทิ ยำลยั รำชภัฎภเู กต็
4. ชุดนิทรรศกำร เอกลักษณ์ท้องถิ่นของภูเก็ต อันประกอบด้วย ด้ำนอำหำร ด้ำนอำคำร ด้ำนอำภรณ์
และด้ำนอำชพี
5. ห้องนิทรรศกำรหมุนเวียน ซ่ึงจะมีกำรจัดแสดงผลงำนของศิลปินในท้องถ่ินและนักศึกษำใน
มหำวทิ ยำลยั รำชภัฏภเู ก็ต ตำมโอกำสอันสมควร

ชนั้ ทสี่ อง*
1. นิทรรศกำรห้องนอนลกู สำวนำยเหมอื ง

4

2. ห้องนิทรรศกำรหมุนเวียน ซ่ึงจะมีกำรจัดแสดงผลงำนของศิลปินในท้องถิ่นและนักศึกษำใน
มหำวิทยำลยั รำชภัฏภเู กต็ ตำมโอกำสอันสมควร

ช้ันทส่ี ำม*
1. หอ้ งพทุ ธศำสน์ จดั แสดงห่นุ จำลองหลวงพ่อแช่มวัดฉลอง ซงึ่ แกะสลักจำกไมเ้ นอ้ื หอม (ไม้เทพทำโร)
2. พระพุทธรปู ประจำวัน โต๊ะหมบู่ ชู ำ ภำพจำลองจิตรกรรมฝำผนงั ซง่ึ แสดงเรื่องพุทธประวตั ิ
3. โบรำณวัตถุท่ีมีควำมสำคัญทำงประวัติศำสตร์ของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ วีรกรรมของท้ำวเทพ

กระษัตร-ี ทำ้ วศรสี ุนทร ปนื ใหญ่ หลกั ศิลำจำรกึ จำลอง หนงั สอื เอกสำรทำงดำ้ นวฒั นธรรม เป็นต้น

*หมำยเหตุ ในปัจจุบันนทิ รรศกำรในช้ัน 2 และ 3 กำลังอยู่ในกำรดำเนนิ กำรปรับปรุงอยู่ไม่สำมำรถเปดิ
ให้ผู้สนใจเขำ้ ชมได้

5

สรุปภำพรวมผเู้ ข้ำเยีย่ มชมสำนักศิลปะและวฒั นธรรม
ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565

ประเภท จำนวนผเู้ ขำ้ เยี่ยมชม (คน) จำนวนผ้ตู อบแบบสอบถำม (คน)
บคุ คลภำยในมหำวิทยำลยั 516 281
บุคคลภำยนอกมหำวทิ ยำลัย 143 124
659 405
รวม

ระดบั ควำมพงึ พอใจในภำพรวม

ระดับควำมพึงพอใจ คำ่ เฉลยี่
เรื่อง บุคคลภำยใน บคุ คลภำยนอก
4.0
มหำวิทยำลัย มหำวทิ ยำลัย 4.1
4.1
ควำมพงึ พอใจตอ่ ด้ำนอำคำรสถำนที่
4.5
1. ควำมเหมำะสมของอำคำรสถำนที่และห้องจัด 4.1 3.9 4.4
นทิ รรศกำร 3.6
4.6
2. สภำพแวดลอ้ ม/ภูมทิ ศั น์ภำยนอกอำคำร 4.2 4.0
4.6
3. บรรยำกำศโดยรวมภำยในอำคำร 4.5 3.7 4.3
4.1
ควำมพงึ พอใจตอ่ ด้ำนควำมสำมำรถของวทิ ยำกรและกำรบริกำรของเจ้ำหน้ำที่ 4.28

4. ควำมสำมำรถของวิทยำกร 4.5 4.6

5. กำรให้กำรตอ้ นรบั ของเจำ้ หน้ำท่ี 4.4 4.5

6. อุปกรณแ์ ละเครือ่ งเสยี ง 3.6 3.6

7. เอกสำร/แผ่นพบั ประชำสมั พันธ์ 4.7 4.5

ควำมพึงพอใจด้ำนผลลัพธ์ของกำรเยย่ี มชมศึกษำดูงำน

8. ได้รับควำมรจู้ ำกกำรเยยี่ มชมศึกษำดูงำน 4.7 4.6

9. ควำมภูมิใจและควำมพึงพอใจที่ได้จำกกำรเยี่ยมชม 4.3 4.4
ศกึ ษำดูงำน

10. สำมำรถนำควำมรูท้ ีไ่ ด้ไปใช้ประโยชน์ 4.2 4.1

รวมค่ำเฉลย่ี ควำมพงึ พอใจ 4.32 4.19

ค่ำเฉล่ียควำมพึงพอใจในภำพรวมทงั้ หมด ระดับ 4.28 (รอ้ ยละ 85.6)

6

รำยงำนสรุปผู้เข้ำเยย่ี มชมสำนกั ศิลปะและวฒั นธรรม ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565

สำนักศิลปะและวัฒนธรรม ได้ดำเนินกำรรวบรวมสรุปจำนวนผ้เู ข้ำเยี่ยมชมศึกษำดงู ำนสำนกั ศิลปะและ
วฒั นธรรม ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 มจี ำนวนท้ังสน้ิ 659 คน แยกประเภท ดงั นี้

บคุ คลภำยในมหำวิทยำลัย บุคคลภำยนอกมหำวทิ ยำลัย รวม
516 143 659

ผลกำรประเมนิ ควำมพึงพอใจบุคคลภำยในมหำวทิ ยำลัย
ในประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 มีผู้เข้ำเย่ียมชมศึกษำดูงำนที่เป็นบุคคลภำยในได้แก่ คณำจำรย์

บคุ ลำกรและนกั ศึกษำมหำวทิ ยำลัยรำชภฏั ภูเก็ต นั้น คณะกรรมกำรดำเนนิ งำนไดท้ ำกำรสำรวจควำมพงึ พอใจ
ของผู้เขำ้ เย่ยี มชมศกึ ษำดูงำนในดำ้ นต่ำง ๆ ไดแ้ ก่ ดำ้ นอำคำรสถำนที่ ด้ำนกำรให้ควำมรขู้ องวิทยำกรและกำรให้
บริกำรของเจำ้ หนำ้ ท่ี และดำ้ นผลลพั ธ์จำกกกำรเย่ียมชมศึกษำดูงำน โดยกำรใช้แบบสอบถำมควำมพึงพอใจ ซึ่งมี
ผู้ตอบแบบสอบถำมจำนวน 281 คน จำกจำนวนผเู้ ขำ้ เย่ียมชมจำนวนทงั้ หมด 659 คน ผลกำรสำรวจจำแนก
ตำมรำยละเอยี ดดังนี้

1) ขอ้ มูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถำม

ตำรำงที่ 1 ร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถำมจำแนกตำมลักษณะขอ้ มลู ท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถำม

รำยกำร จำนวน (คน) รอ้ ยละ

ประเภทผ้เู ขำ้ รว่ ม 281 100
คณำจำรย์ บุคลำกร นักศึกษำภำยใน
127 45.2
เพศ 154 54.8
ชำย
หญงิ 84 29.9
136 48.4
อำยุ 61 21.7
ตำ่ กวำ่ 20 ปี
21-35 ปี
36 ปี ขึน้ ไป

รำยกำร จำนวน (คน) 7

ระดับกำรศึกษำ 248 ร้อยละ
กำลงั ศกึ ษำระดบั ปริญญำตรี 21
ปริญญำตรี 7 88.3
ปริญญำโท 5 7.5
ปรญิ ญำเอก 2.5
248 1.7
สถำนภำพ 33
นกั ศึกษำ 88.3
คณำจำรย/์ บุคลำกร 187 11.7
-
กำรทรำบข่ำวกำรประชำสัมพันธส์ ำนกั ศิลปะฯ 94 66.5
คำบอกเลำ่ -
แผน่ พบั 166
เว็บไซต์ / โซเช่ียลมเี ดีย 80 33.5
35
จำนวนคร้ังทเี่ ข้ำเยี่ยมชม/ศึกษำดงู ำน 59.1
ครั้งแรก 28.5
2 คร้งั 12.4
ตัง้ แต่ 3 คร้งั ขนึ้ ไป

เม่ือจำแนกผู้ตอบแบบสอบถำมทั้งหมดจำนวน 281 คน ท่ีเป็นบุคคลภำยในมหำวิทยำลัย
เป็นคณำจำรย์ บุคลำกร นักศึกษำ มหำวิทยำลัยรำชภัฏภูเก็ต ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 154 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 54.8 และเปน็ เพศชำย จำนวน 127 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 45.2

ผูต้ อบแบบสอบถำมสว่ นใหญม่ ี มอี ำยุระหว่ำง 21-35 ปี จำนวน 136 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 48.4 รองลงมำ
อำยุต่ำกว่ำ 20 ปี จำนวน 84 คน คดิ เป็นร้อยละ 29.9 และน้อยทส่ี ดุ อำยรุ ะหว่ำง 36 ปขี ึน้ ไป จำนวน 61 คน คิด
เปน็ ร้อยละ 21.7

ผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่กำลังศึกษำระดับปริญญำตรี จำนวน 248 คน คิดเป็นร้อยละ 88.3
รองลงมำคือ ระดับปริญญำตรี 21 คน คิดเป็นร้อยละ 7.5 ตำมมำด้วย ระดับปริญญำโท จำนวน 7 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 2.5 และระดับ ปริญญำเอก จำนวน 5 คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 1.7

ผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่เป็นนักศึกษำ จำนวน 248 คน คิดเป็นร้อยละ 88.3 และเป็นคณำจำรย์/
บุคลำกร จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 11.7

กำรทรำบข่ำวกำรประชำสัมพันธส์ ำนักศิลปะฯ ผตู้ อบแบบสอบถำมส่วนใหญ่ทรำบข่ำวจำกกำรบอกเล่ำ
จำนวน 187 คน คิดเปน็ ร้อยละ 66.5 รองลงมำคือเว็บไซต์และโซเชีย่ ลมีเดีย จำนวน 94 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 33.5

เมอื่ สอบถำมถึงจำนวนครง้ั ในกำรเข้ำเยย่ี มชมศึกษำดูงำนพบว่ำส่วนใหญ่ผตู้ อบแบบสอบถำมสว่ นใหญ่
เข้ำเยยี่ มชมศึกษำดงู ำนครัง้ แรกมีจำนวน 166 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 59.1 รองลงมำ 2 ครัง้ จำนวน 80 คน คดิ เป็น
รอ้ ยละ 28.5 และน้อยทีส่ ุด ต้ังแต่ 3 ครั้งข้ึนไป จำนวน 35 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 12.4

8

2) ระดับควำมพึงพอใจในดำ้ นตำ่ ง ๆ
2.1) ควำมพงึ พอใจตอ่ ด้ำนอำคำรสถำนท่ี

ตำรำง 2 ร้อยละของระดบั ควำมพึงพอใจต่อด้ำนอำคำรสถำนท่ี

รำยละเอียด มำกที่สุด ระดบั ควำมพงึ พอใจ (รอ้ ยละ) SD
มำก ปำนกลำง นอ้ ย น้อยทส่ี ุด คำ่ เฉลยี่

1. ควำมเหมำะสมของอำคำรสถำนท่ี 15.2 54.9 25 4.9 - 3.8 .750
และหอ้ งจัดนิทรรศกำร
20.7 47.8 22.3 9.2 - 3.8 .873
2. สภำพแวดล้อม/ภูมิทัศนภ์ ำยนอก 8.2
อำคำร 56 32.6 3.3 - 3.69 .667

3. บรรยำกำศโดยรวมภำยในอำคำร

ผู้ตอบแบบสอบถำมได้ให้ควำมเห็นต่อด้ำนอำคำรสถำนท่ี ได้แก่ควำมเหมำะสมของอำคำรสถำนที่
และห้องจัดนิทรรศกำร สภำพแวดล้อม/ภูมิทัศน์ภำยนอกอำคำร และบรรยำกำศโดยรวมภำยในอำคำร
รำยละเอยี ดดงั นี้

1. ระดับควำมพึงพอใจ ควำมเหมำะสมของอำคำรสถำนท่ีและห้องจัดนิทรรศกำร ส่วนใหญ่อยู่ในระดบั
มำก คิดเป็นร้อยละ 54.9 รองลงมำคือระดับปำนกลำง คิดเป็นร้อยละ 25 ระดับมำก คิดเป็นร้อยละ 15.2 และ
น้อยท่ีสุดคือระดับนอ้ ย คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.9 มีค่ำเฉล่ียควำมพงึ พอใจเท่ำกบั 3.8

2. ระดับควำมพึงพอใจ สภำพแวดล้อม/ภูมิทัศน์ภำยนอกอำคำร ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมำก คิดเป็นร้อย
ละ 47.8 รองลงมำคือระดับปำนกลำง คิดเป็นร้อยละ 22.3 ระดับมำกท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 20.7 และน้อยที่สุด
คอื ระดับนอ้ ย คิดเป็นรอ้ ยละ 9.2 มคี ำ่ เฉล่ยี ควำมพงึ พอใจเท่ำกับ 3.8

3. ระดับควำมพึงพอใจ บรรยำกำศโดยรวมภำยในอำคำร ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมำก คิดเป็นร้อยละ 56
รองลงมำคือระดับปำนกลำง คิดเป็นร้อยละ 32.6 ระดับมำก คิดเป็นร้อยละ 8.2 และน้อยที่สุดคือระดับน้อย คิด
เป็นร้อยละ 3.3 มีค่ำเฉล่ียควำมพึงพอใจเทำ่ กับ 3.69

9

2.2) ควำมพึงพอใจตอ่ ด้ำนควำมสำมำรถของวทิ ยำกรและกำรบริกำรของเจ้ำหน้ำท่ี

ตำรำง 3 รอ้ ยละของระดับควำมพึงพอใจต่อดำ้ นควำมสำมำรถของวิทยำกรและกำรบริกำรของเจ้ำหนำ้ ที่

รำยละเอยี ด ระดบั ควำมพงึ พอใจ (รอ้ ยละ) SD
มำกทส่ี ุด มำก ปำนกลำง น้อย น้อยทีส่ ุด ค่ำเฉลยี่

4. ควำมสำมำรถของวทิ ยำกร 51.1 40.2 8.7 - - 4.42 .648
5. กำรให้กำรต้อนรับของเจ้ำหน้ำที่
6. อปุ กรณ์และเครื่องเสียง 46.2 42.4 11.4 - - 4.35 .676
7. เอกสำร/แผ่นพับประชำสัมพนั ธ์
- 8.7 51.1 32.6 7.6 2.61 .753

67.4 29.9 2.7 - - 4.65 .533

ผตู้ อบแบบสอบถำมไดใ้ หค้ วำมเหน็ ตอ่ ด้ำนควำมสำมำรถของวิทยำกรและกำรบรกิ ำรของเจ้ำหน้ำที่ได้
แก่ควำมสำมำรถของวทิ ยำกร กำรให้กำรต้อนรับของเจำ้ หน้ำที่ อปุ กรณแ์ ละเครอื่ งเสยี งเอกสำร/แผน่ พบั
ประชำสัมพันธร์ ำยละเอียดดงั นี้

4. ระดับควำมพึงพอใจ ควำมสำมำรถของวิทยำกร ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมำกท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 51.1
รองลงมำคือระดับมำก คิดเป็นรอ้ ยละ 40.2 และนอ้ ยทีส่ ุดคือระดับปำนกลำง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8.7 มคี ่ำเฉล่ียควำมพึง
พอใจเทำ่ กบั 4.42

5. ระดับควำมพึงพอใจ กำรให้กำรตอ้ นรบั ของเจำ้ หนำ้ ท่ี ส่วนใหญ่อยู่ในระดบั มำกที่สุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 46.2
รองลงมำคือระดับมำก คิดเป็นร้อยละ 42.4 และน้อยที่สุดคือระดับปำนกลำง คิดเป็นร้อยละ 11.4 มีค่ำเฉลี่ยควำม
พึงพอใจเทำ่ กบั 4.35

6. ระดับควำมพึงพอใจ อุปกรณ์และเครื่องเสียง ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปำนกลำง คิดเป็นร้อยละ 51.1
รองลงมำคือระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 32.6 ระดับมำก คิดเป็นร้อยละ 8.7 และน้อยท่ีสุดคือระดับน้อยท่ีสุด
คดิ เป็นร้อยละ 7.6 มคี ่ำเฉล่ยี ควำมพงึ พอใจเทำ่ กบั 2.61

7. ระดบั ควำมพงึ พอใจ เอกสำร/แผน่ พับประชำสัมพนั ธ์ ส่วนใหญอ่ ยู่ในระดับมำกท่สี ุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 67.4
รองลงมำคือระดับมำก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 29.9 และนอ้ ยที่สดุ คือระดบั ปำนกลำง คดิ เป็นร้อยละ 2.7 มีคำ่ เฉลี่ยควำมพึง
พอใจเท่ำกบั 4.65

10

2.3) ควำมพงึ พอใจด้ำนผลลพั ธ์ของกำรเย่ียมชมศึกษำดูงำน

ตำรำงที่ 4 ระดบั ควำมพึงพอใจดำ้ นผลลัพธ์ของกำรเยีย่ มชมศึกษำดงู ำน

รำยละเอยี ด ระดบั ควำมพงึ พอใจ (ร้อยละ) น้อยทีส่ ุด ค่ำเฉลีย่ SD
มำกท่ีสุด มำก ปำนกลำง น้อย - 4.58
8. ไดร้ บั ควำมรู้จำกกำรเย่ียมชม - 4.22 .613
ศกึ ษำดูงำน 64.7 28.8 6.5 - - 4.13 .724
9. ควำมภูมใิ จและควำมพึงพอใจทไ่ี ด้ 39.7 42.9 17.4 - .670
จำกกำรเย่ียมชมศึกษำดูงำน 29.3 53.8 16.8 -
10.สำมำรถนำควำมรทู้ ไ่ี ด้ไปใช้
ประโยชน์

ผู้ตอบแบบสอบถำมได้ให้ควำมเห็นต่อด้ำนผลลัพธ์ของกำรเย่ียมชมศึกษำดูงำนใน 3 ประเด็น ได้แก่
ได้รบั ควำมรจู้ ำกเย่ียมชมศึกษำดูงำน ควำมภมู ิใจและควำมพึงพอใจท่ไี ดจ้ ำกกำรเย่ียมชมศกึ ษำดงู ำนและสำมำรถ
นำควำมรทู้ ่ีไดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ รำยละเอียดดงั นี้

8. ระดับควำมพึงพอใจ ที่ได้รับควำมรู้จำกกำรเยี่ยมชมศึกษำดูงำน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมำกที่สุด
คิดเป็นร้อยละ 64.7 รองลงมำคือระดับมำก คิดเป็นร้อยละ 28.5 และน้อยท่ีสุดคือระดับปำนกลำง คิดเป็นร้อย
ละ 6.5 มคี ่ำเฉลยี่ ควำมพงึ พอใจเท่ำกบั 4.58

9. ระดับควำมพึงพอใจ ควำมภูมิใจและควำมพึงพอใจท่ีได้จำกกำรเยี่ยมชมศึกษำดูงำน ส่วนใหญ่อยู่ใน
ระดับมำก คิดเป็นร้อยละ 42.9 รองลงมำคือระดับมำกท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 39.7 และน้อยท่ีสุดคือระดับปำน
กลำง คดิ เป็นร้อยละ 17.4 มีคำ่ เฉลีย่ ควำมพึงพอใจเทำ่ กบั 4.22

10. ระดับควำมพึงพอใจ สำมำรถนำควำมรู้ท่ีได้ไปใช้ประโยชน์ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมำก คิดเป็น
ร้อยละ 53.8 รองลงมำคือระดับมำกที่สุด คิดเป็นร้อยละ 29.3 และน้อยท่ีสุดคือระดับปำนกลำง คิดเป็น
ร้อยละ 16.8 มีคำ่ เฉล่ยี ควำมพึงพอใจเทำ่ กับ 4.13

3) ข้อเสนอแนะ
ผู้ตอบแบบสอบถำมได้ให้ข้อเสนอแนะเก่ียวกับกำรเข้ำเยี่ยมชมศึกษำดูงำนสำนักศิลปะและวัฒนธรรม

ดังน้ี
จดุ เดน่
1. ภมู ิทศั นภ์ ำยนอกมีควำมสวยงำม ร่มร่ืน และสะอำด
2. สถำนท่ีภำยในมีกำรจัดนทิ รรศกำรท่นี ำเสนอองค์ควำมรู้ที่นำ่ สนใจ
3. วทิ ยำกรบรรยำยและตอบขอ้ ซักถำมได้ชัดเจน
4. เจำ้ หนำ้ ท่ีให้กำรตอ้ นรบั และเอำใจใส่ผูเ้ ขำ้ ชมเป็นอย่ำงดี

11

ส่งิ ควรปรับปรงุ
1. อำกำศภำยในอำคำรค่อนขำ้ งรอ้ น ควรมีกำรตดิ ตง้ั เครื่องปรับอำกำศทกุ ช้นั รวมถึงอำกำศใน

บำงจุดถ่ำยเทไม่สะดวกควรเปิดช่องทำงระบำยอำกำศ
2. ควรมีปำ้ ยแสดงชื่อวัตถุสงิ่ ของที่ชัดเจนให้ครบทุกช้ิน รวมทั้งแสดงประโยชน์กำรใชง้ ำน หรอื

รำยละเอียดอืน่ ๆ เพม่ิ เตมิ ให้ครบถ้วน
3. ควรปรับนิทรรศกำรให้มีภำษำท่ีมำกกว่ำ 1 ภำษำ เช่น ภำษำอังกฤษ และภำษำจีน เพื่อ

ต้อนรับนักท่องเท่ียวและชำวต่ำงชำติทเี่ ข้ำมำเย่ยี มชม
4. ควรปรับปรุงพน้ื ช้ัน 2 และชน้ั 3 เพรำะพื้นชำรุดหลำยจุด รวมถึงพรมทีป่ ูพืน้ อยูม่ ีฝุ่นจำนวน

มำก ทำใหก้ ำรเข้ำชมไม่สะดวกเท่ำที่ควร
5. ควรปรับปรุงใหม้ ีกำรติดตัง้ ระบบเคร่อื งเสยี งในทกุ ชนั้ จัดแสดง
6. อำคำรและนิทรรศกำรมีสภำพทรุดโทรมหลำยจุด ควรปรับปรุงให้กลับมำอยู่ในสภำพที่

เหมำะสมแกก่ ำรเขำ้ เยยี่ มชมของผู้สนใจ

สรุป
จำกสถำนกำรณ์กำรระบำดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 หรือโรคโควิด 19 Coronavirus Disease

2019 (COVID-19) แพร่ระบำดอย่ำงรวดเร็วในหลำยประเทศท่วั โลก ซึ่งมีผู้ติดเชือ้ และเสยี ชีวติ เป็นจำนวนมำก
ซึ่งสถำนกำรณ์ในประเทศไทยก็มีกำรระบำดของเชื้อไวรัสดังกล่ำวเช่นกัน โดยมีกำรแพร่ระบำดรุนแรงขึ้น
ตำมลำดับ จนทำให้กระทรวงสำธำรณสุขต้องมีมำตรกำรต่ำง ๆ เช่น กำรจำกัดเวลำในกำรทำกิจกรรมต่ำง ๆ
นอกเคหสถำน กำรปิดใหบ้ ริกำรของสถำนทท่ี ม่ี ีควำมเสย่ี งต่อกำรแพร่ระบำดของโรคโควิด 19 เพ่ือเป็นกำรรับมือ
กับสถำนกำรณ์โรคระบำดท่ีเกิดขึ้น ทั้งนี้มำตรกำรและสถำนกำรณ์ดังกล่ำวนี้นอกจำกจะสร้ำงควำมเสียหำยแก่
ชีวติ และวิถีควำมเป็นอยู่ของผ้คู นแล้ว ยงั กอ่ ให้เกดิ ควำมเสียหำยแกร่ ะบบเศรษฐกิจ สังคม และอุตสำหกรรมกำร
ท่องเทย่ี วด้วย

วิกฤตโรคระบำดลักษณะนี้แม้จะเป็นกำรเกิดกำรแพร่ระบำดในระลอกท่ี 4 และ 5 ที่เกิดข้ึนแล้ว แต่ใน
ฐำนะทมี่ หำวิทยำลยั รำชภัฏภูเก็ตเป็นสถำบันศึกษำทมี่ ีหน้ำทร่ี ับผิดชอบสำคัญด้ำนกำรเรยี นกำรสอน เพอ่ื ให้เป็น
ประโยชน์ต่อกำรศึกษำเล่ำเรยี น เม่ือเกิดวิกฤตกำรณ์ท่ีส่งผลกระทบต่อประชำชนในวงกวำ้ งมหำวทิ ยำลัยรำชภัฏ
ภูเก็ตเข้ำมำมีบทบำทหรือส่วนร่วมเพื่อช่วยให้ผ่ำนพ้นวิกฤตโรคระบำดไปได้ โดยมีแนวทำงในกำรปิด สถำนที่
ศึกษำ และให้นักศกึ ษำ คณำจำรย์ และบคุ คลำกร ดำเนนิ กจิ กรรมทำงวชิ ำกำร กำรเรยี นกำรสอนแบบ
ออนไลน์ ทำให้กำรดำเนินงำนของสำนักศิลปะและวฒั นธรรม ซง่ึ เป็นหนว่ ยงำนท่บี รหิ ำรจัดกำร ควำมสมั พันธ์
ระหว่ำงมนุษย์กับทรัพยำกรณ์ทำงวฒั นธรรมต้องชะงักทั้งในด้ำนของกำรเข้ำชม ส่วนงำนหอวัฒนธรรม และกำร
จดั กิจกรรมกบั ชุมชน กำรบรหิ ำรงบประมำณ ไม่เป็นไปตำมเป้ำประสงค์

มำตรำกำรป้องกันอย่ำงเข้มงวดในกำรให้บุคคลภำยนอกมำใช้สถำนท่ีของมหำวิทยำลัย ทำให้สำนัก
ศิลปะและวัฒนธรรม ได้รับผลกระทบจำกกำรปิดทำกำรของสถำบันกำรศึกษำจึงไม่มีบุคคลภำยนอกมำเยี่ยมชม
ในช่วงปี พ.ศ.2565 และทำงสำนักศิลปะและวัฒนธรรมมีปรับปรุงหลังคำ และพื้นท่ีจัดแสดงนิทรรศกำรช้ัน 2
บำงส่วนและชั้น 3 จึงไม่สะดวกในกำรเปิดให้ผู้สนใจเข้ำเยี่ยมชม คำดกำรณ์ ว่ำ กระบวนกำรปรับปรุงส่วน
นทิ รรศกำร และกำรซ้อมบำรงุ จะแล้วเสรจ็ ในปี พ.ศ.2566 และจะสำมำรถเปิดใหเ้ ยี่ยมชมเตม็ รปู แบบต่อไป

12
นอกจำกน้ีผู้ที่เข้ำมำใช้สถำนที่และผู้ท่ีเข้ำมำเยี่ยมชมส่วนมำกมักจะเป็นหน่วย งำนรำชกำรทั้งในและ
นอกมหำวทิ ยำลยั เชน่ มหำวทิ ยำลยั ทอ่ี ืน่ โรงเรยี นสำธิตมหำวิทยำลัยรำชภฏั ภเู ก็ต เป็นต้น

ภำคผนวก

13

รำยงำนสรุปผลกำรเข้ำเยี่ยมชมศึกษำดูงำนศนู ย์วัฒนธรรม
ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565

14

15

16

17

18

19

บุคคลภายในมหาวทิ ยาลยั

แบบสอบถามความคดิ เหน็

การเข้าเยย่ี มชม ศกึ ษาดูงาน สานกั ศิลปะและวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565
สานักศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏภเู ก็ต

วัตถปุ ระสงค์ แบบสอบถามความคดิ เห็นฉบับน้จี ดั ทาข้นึ โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื สอบถามความคิดเหน็ ของผเู้ ขา้ เยี่ยมชมศึกษาดงู าน
โดยจะใช้เป็นข้อมลู ในการปรับปรุงการให้บริการให้มปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ข้ึน

ส่วนที่ 1 ข้อมลู ท่ัวไปของผู้เข้าเยยี่ มชมศกึ ษาดูงาน

1. เพศ  1) ชาย  2) หญิง

2. อายุ  1) ต่ากวา่ 20 ปี  2) 21 – 30 ปี  3) 31 – 40 ปี  4) 41 ปี ข้นึ ไป

3. ระดับการศึกษา  1) กาลงั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี  2) ปรญิ ญาตรี  3) ปริญญาโท  4) ปรญิ ญาเอก

4. สถานภาพ  1) นักศกึ ษา  2) คณาจารย/์ บคุ ลากร

5. การทราบข่าวการประชาสมั พนั ธส์ านกั ศลิ ปะฯ “หอวฒั นธรรม”  1) คาบอกเล่า  2) แผน่ พบั  3) เว็บไซต์

6. จานวนครั้งทเ่ี ขา้ เย่ียมชม/ศกึ ษาดูงาน  1) ครั้งแรก  2) 2 คร้ัง  3) ต้งั แต่ 3 ครั้งขน้ึ ไป

สว่ นท่ี 2 ระดบั ความคิดเหน็ ของผเู้ ขา้ เยยี่ มชมศกึ ษาดูงาน กรณุ าทาเครือ่ งหมาย  ตามความคดิ เหน็ ของท่าน

ระดบั ความคิดเหน็

ขอ้ รายการ มากท่สี ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทส่ี ุด
(4) (3) (2) (1)
(5)

ความพึงพอใจต่อด้านอาคารสถานที่

1 ความเหมาะสมของอาคารสถานทแ่ี ละหอ้ งจัดนทิ รรศการ

2 สภาพแวดล้อม/ภูมิทศั นภ์ ายนอกอาคาร

3 บรรยากาศโดยรวมภายในอาคาร

ความพงึ พอใจตอ่ ดา้ นความสามารถของวิทยากรและการบริการของเจา้ หน้าที่

4 ความสามารถของวิทยากร

5 การให้การต้อนรับของเจ้าหน้าที่

6 อุปกรณแ์ ละเครอ่ื งเสยี ง

7 เอกสาร/แผน่ พับประชาสมั พันธ์

ระดบั ความพงึ พอใจด้านผลลพั ธ์ของการเย่ียมชมศกึ ษาดูงาน

8 ได้รับความรจู้ ากการเยี่ยมชมศึกษาดงู าน

9 ความภูมใิ จและความพงึ พอใจทไ่ี ดจ้ ากการเยย่ี มชม
ศกึ ษาดงู าน

10 สามารถนาความรทู้ ไี่ ดไ้ ปใช้ประโยชน์

ส่วนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ / ข้อคิดเหน็ อน่ื ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………….....................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณในความรว่ มมือทต่ี อบแบบสอบถาม


Click to View FlipBook Version