ค ำยืมภำษำต่ำงประเทศ ในภำษำไทย ภำษำบำลี สันสกฤต เขมร จีน อังกฤษ และชวำ-มลำยู ครูชนัษฎา เส้งเซ่ง
ค ำยืมภำษำต่ำงประเทศ ในภำษำไทย ภำษำบำลี ภำษำสันสกฤต ภำษำเขมร ภำษำจีน ภำษำอังกฤษ ภำษำชวำ-มลำยู
ภาษาบาลี-สันสกฤต ภาษาไทยได้รับอิทธิพลภาษาบาลีและสันสกฤตก่อนเกิด อาณาจักรสุโขทัย สาเหตุของการรับภาษาบาลีสันสกฤตมาใช้ใน ภาษาไทย อันเนื่องมาจากความเชื่อทางศาสนา ทั้งศาสนาพุทธและ ศาสนาพราหมณ์และการรับเอาวัฒนธรรม ศิลปะ การเมือง การปกครองจากอารยธรรมอินเดีย
ลักษณะของค ำภำษำสันสกฤต พยัญชนะสันสกฤตมี 35 ตัว เพิ่ม ศ ษ จากภาษาบาลี ฉะนั้นค าที่ใช้ ศ ษ ส่วนใหญ่เป็นค ายืมภาษาสันสกฤต ยกเว้นบางค า ศึก ศอก เศิก เศร้าเป็นค าไทยแท้ สระ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอา มีในภาษา สันสกฤตเท่านั้น เช่น นิยมใช้รูป รร (ร หัน) เช่น ครรภ์ ดรรชนี พรรษา นิยมใช้ ร ควบกับพยัญชนะอื่น เช่น ค าที่มีพยัญชนะ ฑ เช่น ใช้ ควบกล ้า เช่น ปรานี ตรุษ ปราชญ์ ปรารถนา ไมตรี
ลักษณะของค ำภำษำบำลี 1. ค าที่มีพยัญชนะตัวสะกดและ ตัวตามอยู ่ในวรรคเดียวกัน พยัญชนะบาลีมี 33 ตัว แบ่งเป็น วรรคต่าง ๆ ดังนี้
ลักษณะของค ำภำษำบำลี แบ่งได้เป็น ๕ วรรค ๕ แถว และมี พยัญชนะเศษวรรค ๗ ตัว นิคหิตไม่นับเป็นพยัญชนะเพราะในภาษาไทยไม่มีใช้ แต่ในภาษาบาลี จะใช้เครื่องหมายนี้เขียนไว้บน พยัญชนะ เพื่อใช้แทนเสียงตัวสะกด ง
ลักษณะของค ำภำษำบำลี แบ่งได้เป็น ๕ วรรค ๕ แถว และมี พยัญชนะเศษวรรค ๗ ตัว จากตารางภาษาบาลีตัวสะกด และตัวตามจะอยู่ในวรรค เดียวกันเสมอ
ลักษณะของค ำภำษำบำลี จากตารางภาษาบาลี พยัญชนะแถวที่ ๑ เป็นตัวสะกด พยัญชนะแถวที่ ๑,๒ จะเป็นตัวตาม ทุกข์ หัตถ์บุปผา
ลักษณะของค ำภำษำบำลี จากตารางภาษาบาลี พยัญชนะแถวที่ ๓ เป็นตัวสะกด พยัญชนะแถวที่ ๓,๔ จะเป็นตัวตาม พยัคฆ์อัชฌาสัย ลัทธิ
ลักษณะของค ำภำษำบำลี จากตารางภาษาบาลี หากพยัญชนะแถวที่ ๕ เป็นตัวสะกด พยัญชนะตัวใดก็ได้ที่อยู่ใน วรรคเดียวกันจะเป็นตัวตาม สังข์ สัญชาติ สัมผัส
ลักษณะของค ำภำษำบำลี ค าที่มีตัวสะกดตัวตามในภาษาบาลีบางค า เมื่อ น ามาใช้ในไทยจะตัดตัวสะกดออก เหลือแต่ ตัวตาม เช่น ค าที่เขียนด้วย ฬ ค าส่วนใหญ่ที่ขึ้นต้นด้วยหน่วยค าเติม หน้า ปฏิเช่น สระที่ใช้มี 8 เสียง ได้แก่ จุฬา กีฬา ครุฬ วิชชา (บาลี) วิชา (ไทย) ปฏิบัติ ปฏิวัติ ปฏิรูป อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
ภาษาเขมร ชนชาติไทยและชนชาติเขมรมีความสัมพันธ์ กันมายาวนาน ไทยมีความเกี่ยวข้องกับประเทศ เขมรอยู่ตลอดเวลาทั้งทางมิตรไมตรี และในทาง อริราชศัตรู เพราะทั้งสองประเทศมีดินแดน ติดต่อกัน อักษรไทยได้รับอิทธิพลจากอักษร ของเขมรโบราณ
ลักษณะของภาษาเขมร ค าเขมรมักสะกดด้วย จ ร ล ญ ส ค าเขมรที่แผลงเป็น ค าไทย อาจเป็นค าพยางค์เดียว (ค าโดด) ที่ต้องแปลความหมายอีกชั้น ค ายืมภาษาเขมร มักเป็นอักษรน า ค ายืมภาษาเขมรมักขึ้นต้น ด้วย บ า บัง บัน บรร
ค าเขมรมักสะกดด้วย จ ร ล ญ ส • จ สะกด เช่น กาจ ดุจ เผด็จ เสด็จ • ร สะกด เช่น ควร จาร ก าธร บังอร • ล สะกด เช่น ดล กังวล ทูล กันดาล • ญ สะกด เช่น เพ็ญ ผจญ ผลาญ • ส สะกด เช่น ด ารัส จรัส ตรัส
อาจเป็นค าพยางค์เดียว (ค าโดด) ที่ต้องแปลความหมายอีกชั้น • แข แปลว่า ดวงจันทร์ • เพ็ญ แปลว่า เต็ม • ศก แปลว่า ผม • เพลิง แปลว่า ไฟ
ค าเขมรที่แผลงเป็นค าไทย • ขจาย แผลงเป็น กระจาย • ขจอก แผลงเป็น กระจอก • ขดาน แผลงเป็น กระดาน แผลง ข เป็น กระ เช่น
ค าเขมรที่แผลงเป็นค าไทย • ผจง แผลงเป็น ประจง และแผลงเป็น บรรจง • ผทม แผลงเป็น ประทม และแผลงเป็น บรรทม แผลง ผ เป็น ประ เช่น
ค ายืมภาษาเขมรมักเป็นอักษรน า • ขนุน ฉลอง ถนน • เขมา โตนด ฉลอง
ค ายืมภาษาเขมรมักขึ้นต้นด้วย บ า บัง บัน บรร • บ า เช่น บ าบัด บ าเรอ • บัง เช่น บังเกิด บังอร • บัน เช่น บันดาล บันได • บรร เช่น บรรเจิด บรรจง หมายเหตุ : ยกเว้นค าเหล่านี้ เป็นค ายืมสันสกฤต เช่น บรรณารักษ์ บรรพบุรุษ บรรจถรณ์ บรรยากาศ
ภาษาจีน ไทยและจีนมีความสัมพันธ์กันมาช้านาน ดังหลักฐาน ที่ปรากฏอยู่ในวรรณคดีเรื่องต่าง ๆ ของไทย ลักษณะการเข้า มาของค ายืมภาษาจีนจะมาในรูปแบบของความสัมพันธ์ทาง การค้า การอพยพย้ายถิ่นฐาน มาตั้งรกรากอยู่ในเมืองไทย ค ายืมภาษาจีนเป็นค าที่ใช้ในภาษาพูดมากกว่าภาษาเขียน และเป็นค าที่เกี่ยวกับการด าเนินชีวิตประจ าวันเป็นส่วนใหญ่
ลักษณะของภาษาจีน เป็นค าที่มีเสียงวรรณยุกต์ตรีหรือจัตวา เช่น เจ๊ ก๋วยเตี๋ยว ก๋วยจั๊บ แป๊ะ ตี๋ ค ายืมภาษาจีนส่วนมากเป็นค าที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษร กลาง ได้แก่ ก จ ด ฎ ฏ บ ป อ ก๊ก เก๋ง กวยจั๊บ ตั๋ว เจ๊ง ค าที่ประสมสระ เอียะ และ อัวะ เช่น เกี๊ยะ เจี๊ยะ เปี๊ยะ แป๊ะ ก๊วน
ภาษาอังกฤษ ไทยมีความสัมพันธ์กับอังกฤษอย่างชัดเจน ในสมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชกาลที่ 3 และเริ่ม ปรากฏค าทับศัพท์ภาษาอังกฤษในภาษาไทย และมีมากขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ส่งพระราชโอรส และนักเรียนไทยไปศึกษายังต่างประเทศ ท าให้มี ผู้รู้ภาษาอังกฤษเพิ่มมากขึ้น ภาษาอังกฤษจึงเข้ามามีอิทธิพลทางด้านการศึกษา การทูต การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม
ลักษณะของภาษาอังกฤษ ค ายืมภาษาอังกฤษส่วนใหญ่เป็นค าหลายพยางค์ เช่น คอมพิวเตอร์ ไวโอลิน เทคโนโลยี แคปซูล โฟกัส ใช้พยัญชนะควบกล ้า “ทร บร บล ฟร ฟล ดร” เช่น บล็อก ฟรี ฟรุตสลัด ทรัมเป็ด เทรนเนอร์ ดร็อป
ลักษณะของภาษาอังกฤษ ลักษณะการยืมภาษาอังกฤษมาใช้ในภาษาไทย การทับศัพท์ facebook เฟซบุ๊ก การแปลศัพท์ learning การเรียนรู้ บัญญัติศัพท์ airport สนามบิน
ค ายืมจากภาษาชวา-มลายู ส่วนใหญ่จะมี ๒ พยางค์ ซึ่งแตกต่างจากภาษาไทย ที่เป็นภาษาค าโดด เช่น กุญแจ ทุเรียน มังคุด ปาหนัน มีมากกว่า ๑ พยางค์ ลักษณะของภาษาชวา-มลายู ค ายืมจากภาษาชวา-มลายู ส่วนใหญ่จะไม่มีเสียง พยัญชนะควบกล ้า แต่มัก มีเสียงอักษรน า เช่น ตุนาหงัน อสัญแดหวา บุหลัน บุหรง ไม่มีเสียงควบกล ้า ภาษาชวา-มลายูไม่มี หน่วยเสียงวรรณยุกต์ ดังนั้น ค ายืมจากภาษาชวา-มลายู ส่วนใหญ่จะไม่มีรูปวรรณยุกต์ เช่น ระตู กะลาสี สลาตัน ตลับ กิดาหยัน ไม่มีรูปวรรณยุกต์
ประสมค าทางซ้ายและขวามือ ให้เป็นค ายืมภาษาชวา-มลายู ที่ตรงกับภาพ ซ้าย ขวา orang bunga radin anak ibu sagu inu rampai budu utang kunchi achar radin inu = ระเด่นอิเหนา bunga rampai = บุหงาร าไป orang utang = อุรังอุตัง ibu kunchi = แม่กุญแจ anak kunchi = ลูกกุญแจ ค ำที่ยืมมำจำกภำษำชวำ-มลำยู
จบการน าเสนอ