The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน 6 รหัสวิชา อ23102
ภาคเรียนที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chpalakate, 2022-03-30 11:12:38

แบบรายงานผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6

รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน 6 รหัสวิชา อ23102
ภาคเรียนที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2564

Keywords: วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล

แบบรายงาน
ผลการวิเคราะห์
ผู้เรียนรายบุคคล

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6
รายวิชาภาษาอังกฤษพื้ นฐาน 6
รหัสวิชา อ23102 ภาคเรียนที่ 2/2564

นางสาวชนากานต์ พลาเกตุ
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
โรงเรียนตราษตระการคุณ จังหวัดตราด
สำนักงานเขตพื้ นที่การศึกษามัธยมศึกษา จันทบุรี ตราด

แบบรายงานผลการวเิ คราะห์ผเู้ รียนรายบุคคล
ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3/6

รายวชิ าภาษาองั กฤษพนื้ ฐาน 6 รหสั วชิ า อ23102
ภาคเรยี นที่ 2 ประจำปีการศกึ ษา 2564

นางสาวชนากานต์ พลาเกตุ
ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย

กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
โรงเรียนตราษตระการคณุ อำเภอเมือง จงั หวัดตราด
สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา จันทบรุ ี ตราด

บนั ทกึ ข้อความ

สว่ นราชการ โรงเรียนตราษตระการคุณ

ท่ี - วันท่ี 12 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2564

เรอื่ ง รายงานการศึกษาและวเิ คราะห์ผเู้ รยี นรายบุคคลของนักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3/6

เรียน ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนตราษตระการคุณ

สิ่งที่สง่ มาด้วย รายงานการศึกษาและวิเคราะห์ผู้เรยี นรายบุคคลของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3/6
จำนวน 1 ฉบับ

ด้วยข้าพเจ้า นางสาวชนากานต์ พลาเกตุ ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนตราษตระการคุณ
ได้รับมอบหมายให้สอนในรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน 6 รหัสวิชา อ23102 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ ได้ศึกษาผู้เรียนรายบุคคลของชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3/6 ประจำปีการศึกษา 2564 ซึ่งมี
จำนวนนักเรียนทงั้ หมด 45 คน เพือ่ วิเคราะห์ผเู้ รียนเป็นรายบุคคล และเป็นขอ้ มลู เบ้อื งต้นในการวางแผนจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสม และช่วยเหลือผู้เรียนได้ดีนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สอนจะต้องทำการวิเคราะห์
ผู้เรียนเพื่อทราบปัญหาและความสามารถของแต่ละบุคคล ให้สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งจะ
นำไปสู่การพัฒนาศกั ยภาพของผเู้ รยี น

บัดน้ี ไดท้ ำการวเิ คราะห์เสรจ็ สิ้นแลว้ จึงขอรายงานผลตามเอกสารทีแ่ นบมาดว้ ยน้ี
จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดพจิ ารณา

ลงช่อื .............................................. ผู้รายงาน

(นางสาวชนากานต์ พลาเกตุ)

ครผู ้ชู ว่ ย

ความเห็นรองผูอ้ ำนวยการฝา่ ยวชิ าการ

…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ .................................................
( นายสมชั ชา จนั ทรแ์ สง )

รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

ความเหน็ ผู้อำนวยการโรงเรียนตราษตระการคุณ
.................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................

ลงช่อื .................................................

( นายสำเนา บญุ มาก )
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนตราษตระการคณุ

คำนำ

ตามหลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และ พระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนดเปา้ หมายและทิศทางการปฏิรูปการศึกษา กระบวนการเรียนรูเ้ พื่อ
พัฒนาคนไทย ใหเ้ ป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทง้ั ร่างกาย จิตใจ สติปญั ญา ความรคู้ คู่ ณุ ธรรม โดยมีหลักการสำคัญของ
การจดั การศึกษา ประกอบด้วย ผเู้ รยี นมคี วามสำคัญท่ีสุด ทกุ คนสามารถเรียนรู้ และพฒั นาตนเองได้ ส่งเสริม
ใหผ้ ู้เรียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติ และเตม็ ตามศักยภาพ

ดังนั้น ครูผู้สอนซึ่งเป็นผู้มีบทบาทสำคัญเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้
พัฒนาตนเอง คิดเอง ปฏิบัติเอง เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ความพึงพอใจ ตามความถนัด
ตามความสนใจของแต่ละบุคคล การวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคลจึงมีความจำเป็นและ
สำคญั มาก ผสู้ อนจึงได้จัดทำแบบวิเคราะหผ์ ู้เรยี นเล่มนี้ข้ึนเพ่อื วเิ คราะห์ผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล ก่อนดำเนินการ
สอนในปกี ารศกึ ษา 2564 ขอ้ มูลจากการศกึ ษาวเิ คราะห์ผู้เรียนในครั้งน้มี ีความสำคัญและเปน็ ประโยชน์ต่อการ
จัดการเรียนการสอนอยา่ งยิง่

ลงชอ่ื ………..……………………..………
(นางสาวชนากานต์ พลาเกตุ)
ครูผชู้ ่วย

สารบญั

เรื่อง หนา้

คำชแี้ จง

แนวคดิ วตั ถปุ ระสงค์และขอบเขตของการวเิ คราะหผ์ ูเ้ รยี น

การวเิ คราะหผ์ เู้ รยี นรายบุคคล 1

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลด้านผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ผลการเรียนเฉลย่ี ในภาคเรยี นที่ผ่านมา 1

ตอนที่ 2 ข้อมูลด้านความสนใจและความสามารถพเิ ศษ 3

ตอนท่ี 3 ดา้ นความพร้อมของผเู้ รยี น 4

ตอนท่ี 4 นักเรยี นต้องการใหค้ รจู ัดการเรียนรู้ โดยวิธ/ี แบบใด มากที่สุด 6

การสรา้ งเครอื่ งมอื เพ่ือการวเิ คราะหผ์ ู้เรยี นแนวทางในการสรา้ งเครอื่ งมือเพ่อื วเิ คราะหผ์ เู้ รยี น 7

ข้อมูลอ้างองิ การรายงานผลการวเิ คราะห์ผู้เรยี นรายบคุ คล 8

สรุปผลการวิเคราะหผ์ ู้เรยี น 16

ภาคผนวก

คำชแ้ี จง

แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเล่มนี้จัดทำขึ้น เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับศึกษาวิเคราะห์นักเรียน เพื่อหา
ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เกีย่ วกับความพรอ้ มด้านความรูพ้ ื้นฐาน และประสบการณเ์ ดิมที่มีอยู่ก่อนท่ีจะให้
ผู้เรยี นไดร้ บั การเรียนรูว้ ิชาหรอื กล่มุ สาระการเรยี นรู้ใด ๆ ของแต่ละระดับชน้ั ตลอดท้ังศกึ ษาวิเคราะห์เกี่ยวกับ
ความพรอ้ มด้านพฤติกรรม และองค์ประกอบความพรอ้ มดา้ นตา่ ง ๆ ดังนี้

1. ด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์
2. ความพร้อมด้านสตปิ ญั ญา
3. ความพรอ้ มด้านพฤติกรรม
4. ความพรอ้ มดา้ นร่างกาย
5. ความพรอ้ มดา้ นสังคม
การวเิ คราะหผ์ เู้ รียนมกี ารดำเนนิ การ ดงั นี้
1. เก็บรวบรวมข้อมูลในวิชาที่ตอ้ งการวิเคราะห์จากครูคนเดมิ ในปีการศึกษาท่ีผ่านมา หรือจัดสรา้ ง
เครื่องมือ แบบทดสอบวชิ านนั้ ๆ ขึ้นใหม่แล้วนำมาใชท้ ดสอบผ้เู รียนทุกคน
2. นำขอ้ มูลมาศึกษาวิเคราะห์ หรือแยกแยะตามความเป็นจรงิ พรอ้ มจดั กลมุ่ ผเู้ รยี นออกเป็น กลมุ่ เก่ง
กลุม่ ปานกลาง (หรือผา่ นเกณฑ์) และกล่มุ ท่ีต้องปรบั ปรงุ แกไ้ ข
3. การวเิ คราะห์ผเู้ รียนจะพิจารณาทง้ั ความพรอ้ มดา้ นความรู้ความสามารถ สตปิ ญั ญาและความพรอ้ ม
ด้านอ่ืน ๆ ของผู้เรยี นควบคกู่ นั ไปด้วย
4. สำหรับนักเรียนที่มีความพร้อมต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ผู้สอนจะรีบดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้มี
ความพร้อมดีขนึ้ กอ่ น จึงค่อยดำเนนิ การจัดการเรียนรู้ในระดบั ชนั้ ท่จี ะทำการสอน สว่ นความพร้อมดา้ นอ่ืน ๆ
ได้พยายามปรับปรงุ แก้ไขใหด้ ขี ้ึนในลำดับต่อไป

แนวคิดวตั ถุประสงค์และขอบเขตของการวเิ คราะห์ผู้เรยี น

1. แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียน
1.1 การจัดการเรยี นรู้ใหป้ ระสบความสำเร็จ มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นสูง

ผู้เรียนจะตอ้ งมคี วามพร้อมทด่ี ีในทกุ ดา้ น ดังนัน้ ก่อนจะเรมิ่ ดำเนินการสอน ครผู สู้ อนไดศ้ กึ ษา วิเคราะห์
ผ้เู รยี นรายบุคคลเก่ียวกบั

- ความพร้อมด้านความรู้ ความสามารถและประสบการณ์
- ความพรอ้ มดา้ นสติปัญญา
- ความพรอ้ มด้านพฤติกรรม
- ความพรอ้ มดา้ นร่างกาย
- ความพร้อมด้านสังคม
1.2 ก่อนดำเนินการจดั การเรยี น ครผู สู้ อนได้ศกึ ษาวเิ คราะหผ์ ู้เรียนให้รถู้ งึ ความแตกต่างระหวา่ ง
บุคคลในแตล่ ะด้าน เมื่อผเู้ รียนคนใด มขี ้อบกพร่องดา้ นใดควรปรบั ปรุง แก้ไขใหม้ คี วามพรอ้ มที่ดกี อ่ น
1.3 การเตรยี มความพรอ้ ม หรอื การแกไ้ ขข้อบกพร่อง สำหรับผูเ้ รยี นทยี่ ังขาดความพรอ้ มในด้านใดๆ
ควรใช้กิจกรรมหลายๆแบบ หรือ ใช้เทคนคิ วธิ กี ารที่เหมาะสมจนผเู้ รียนมคี วามพร้อม ดขี ึ้น

2. วตั ถปุ ระสงค์ของการวเิ คราะหผ์ ู้เรียน
2.1 เพอ่ื ศกึ ษาวเิ คราะห์แยกแยะ เกย่ี วกับความพร้อมของผู้เรยี นในแตล่ ะดา้ นเป็นรายบคุ คล
2.2 เพือ่ ให้ครูผู้สอนได้รู้จกั ผูเ้ รยี นเป็นรายบคุ คล และหาทางชว่ ยเหลอื ผเู้ รยี น ท่มี ีขอ้ บกพร่องใหม้ ี

ความพรอ้ มทด่ี ขี ึ้น
2.3 เพื่อให้ครผู ู้สอนไดจ้ ดั เตรียมการสอน สอ่ื หรือนวตั กรรมสำหรบั ดำเนินการจัดการเรียนรแู้ ก่ผู้เรียน

ไดส้ อดคล้องเหมาะสม และตรงตามความตอ้ งการของผเู้ รยี นมากย่ิงขน้ึ

3. ขอบเขตของการวเิ คราะห์ผูเ้ รียน
การวเิ คราะห์ผเู้ รียน เพื่อแยกแยะความแตกต่างระหว่างบคุ คล ในเรอ่ื งตา่ งๆ ดังนี้
1. ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์
1.1 ความรู้พนื้ ฐานของรายวชิ าภาษาอังกฤษพื้นฐาน 5 รหสั วิชา อ23101
1.2 ความสามารถในการอ่าน
1.3 ความสนใจและสมาธิในการเรยี นรู้

2. ความพร้อมด้านสตปิ ัญญา
2.1 ความคดิ ริเริม่ สร้างสรรค์
2.2 ความมเี หตุผล
2.3 ความสามารถในการเรยี นรู้

3. ความพรอ้ มดา้ นพฤติกรรม
3.1 การแสดงออก
3.2 การควบคุมอารมณ์
3.3 ความมงุ่ มั่น อดทน ขยันหม่นั เพยี ร
3.4 ความรับผดิ ชอบ

4. ความพร้อมด้านรา่ งกาย
4.1 ด้านสุขภาพรา่ งกายสมบรู ณ์

4.2 การเจรญิ เตบิ โตสมวยั
4.3 ความสมบูรณท์ างดา้ นสุขภาพจิต

5. ความพร้อมด้านสังคม
5.1 การปรับตวั เข้ากบั ผูอ้ น่ื
5.2 การชว่ ยเหลอื เสยี สละ แบง่ ปัน

5.3 การเคารพครู กตกิ า และมรี ะเบียบวนิ ยั

1

การวเิ คราะหผ์ ้เู รียนรายบุคคล

การวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคลมีความสำคัญและจำเป็น เพื่อนำข้อมูลไป
ช่วยเหลือ แก้ไขส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนมีการพัฒนาได้อย่างเหมาะสมเต็มศักยภาพของแต่ละบุคคล

และมีความสุขในการเรียน ช่วยให้ครูผู้สอนนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่ท้าทาย
ความสามารถของผู้เรียน ออกแบบการจดั การเรียนรทู้ ต่ี อบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล และพฒั นาการ

ทางสมอง เพอื่ นำผเู้ รยี นไปสูเ่ ป้าหมาย
ผู้สอนได้รับมอบหมายให้สอน รายวิชาภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน 6 รหัสวิชา อ23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี

3/6 ผู้สอนจึงได้ดำเนินการวิเคราะห์ผู้เรียนที่รับผิดชอบ เพื่อให้ทราบข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียน เพื่อนำไป

วางแผนในการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผเู้ รียน และจดั กระบวนการเรยี นรู้ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ
การวเิ คราะห์ผูเ้ รยี นรายบคุ คล ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3/6 ในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ได้วเิ คราะห์

ขอ้ มลู นักเรียนท้ังหมด 45 คน โดยวิเคราะห์ตามประเดน็ การวิเคราะห์ผเู้ รียนรายบุคคล
ซ่งึ แบ่ง 4 ตอน ดังน้ี

ตอนที่ 1 ดา้ นผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน

ตอนท่ี 2 ดา้ นความสนใจและความสามารถพิเศษ
ตอนที่ 3 ดา้ นความพร้อมของผเู้ รียน

ตอนท่ี 4 นกั เรยี นตอ้ งการใหค้ รจู ดั การเรยี นรู้ โดยวธิ ี/แบบใด มากท่ีสุด
ไดแ้ บง่ การนำเสนอ ดังน้ี

ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลดา้ นผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ผลการเรียนเฉลีย่ ในภาคเรยี นทผ่ี ่านมา

จำนวนนกั เรียนท้ังหมด 45 คน

ระดบั ผลการเรียน

ช้ัน/หอ้ ง 0.00-2.00 2.01-3.00 3.01-4.00

จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
(คน) (คน) (คน)

ม.3/6 1 2.2 28 62.2 16 35.6

รวม 1 2.2 28 62.2 16 35.6

การจำแนกผเู้ รยี นตามกลุ่ม

1. กลุ่มเก่ง หมายถึง นักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับมากกว่า 3.00 มีความรู้พื้นฐานพร้อมในการ
พัฒนาการเรียนรายวิชานี้อย่างเต็มความสามารถมีจำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 35.6 แนวทางการจัด

กจิ กรรมการเรยี นการสอน สำหรบั นกั เรียนกลมุ่ เก่ง
จัดการเรยี นการสอนตามปกติ โดยเน้นกจิ กรรมท่ีเปน็ active learning และให้แบบฝึกหดั

เพม่ิ เตมิ เพอื่ ให้ผเู้ รยี นได้พฒั นาตนเองตามศกั ยภาพของตนอยา่ งเตม็ ท่ี

2

2. กลมุ่ พอใช้ หมายถงึ นกั เรียนที่มผี ลการเรียนในระดับ 2.01 – 3.00 มคี วามรูพ้ น้ื ฐานในระดับหน่ึง
พร้อมในการพฒั นาในการเรียนรายวิชานี้ มีจำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 62.2 แนวทางการจัดกิจกรรมการ
เรยี นการสอน สำหรับนักเรียนกล่มุ พอใช้

จัดการเรียนการสอนตามปกติโดยเน้นกิจกรรมที่เป็น active learning และสอนซ้ำอีก
คร้งั เพ่ือเพ่ิมความเข้าใจสำหรับนักเรียนกลมุ่ นี้รวมท้งั เนน้ การทำแบบฝกึ หดั ในห้องเรยี น

3. กลุ่มอ่อน หมายถึง นักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับ 0.00 - 2.00 มีความรู้พื้นฐานน้อย ยังไม่
พรอ้ มในการพัฒนาในการเรียนรายวิชานี้ มีจำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 2.2 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี น
การสอน สำหรับนักเรียนกลุ่มออ่ น

จัดการเรียนการสอนตามปกติโดยเน้นกิจกรรมที่เป็น active learning และสอนซ้ำ
หลายๆ ครง้ั เพอ่ื เพ่มิ ความเขา้ ใจสำหรบั นกั เรียนกลุ่มน้ีรวมท้ังเนน้ การทำแบบฝึกหัดจากระดับพ้ืนฐานไปสู่
ระดบั ท่ีสูงข้นึ ในหอ้ งเรยี น

3

ตอนที่ 2 ขอ้ มูลดา้ นความสนใจและความสามารถพเิ ศษ จำนวนนกั เรียนท้งั หมด 45 คน

ข้อมลู รายการ จำนวนนกั เรียน
1. วิชาทีช่ อบที่สดุ คน ร้อยละ
1.1 ภาษาไทย 00
2. ความสามารถพิเศษ 1.2 คณติ ศาสตร์ 12 26.7
1.3 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4 8.9
3. อาชีพที่ใฝฝ่ ัน 1.4 สงั คมศึกษา 1 2.2
4. การศกึ ษา 1.5 ศิลปะ 9 20
1.6 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 10 22.2
1.7 การงานอาชีพ 1 2.2
1.8 ภาษาต่างประเทศ 8 17.8
45 100.00
รวม 18 40
2.1 ด้านกฬี า 3 6.7
2.2 ดา้ นดนตรี 5 11.1
2.3 ดา้ นศิลปะ 1 2.2
2.4 ดา้ นคอมพวิ เตอร์ 4 8.9
2.5 วิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ 14 31.1
2.6 อนื่ ๆ 45 100.00
17 37.8
รวม 1 2.2
3.1 รับราชการ 14 31.1
3.2 พนักงานบริษทั 13 28.9
3.3 อาชพี อสิ ระหรอื ธุรกจิ ส่วนตวั 45 100.00
3.4 อื่นๆ 40 88.9
5 11.1
รวม 45 100.00
4.1 ศกึ ษาตอ่
4.2 ประกอบอาชีพ/ไม่ศกึ ษาต่อ

รวม

จากตาราง พบวา่
1. วิชาที่ชอบที่สุด อันดับที่ 1 คณิตศาสตร์ ร้อยละ 26.7 อันดับที่ 2 สุขศึกษาและพลศึกษา ร้อยละ

22.2 อันดับท่ี 3 ศิลปะ รอ้ ยละ 20
2. ความสามารถพเิ ศษ อันดบั ที่ 1 ดา้ นกีฬา ร้อยละ 40 อนั ดบั ที่ 2 ด้านอน่ื ๆ รอ้ ยละ 31.1

อันดบั ที่ 3 ด้านศิลปะ ร้อยละ 11.1

3. อาชีพที่ใฝ่ฝัน อันดับที่ 1 รับราชการ ร้อยละ 37.8 อันดับที่ 2 อาชีพอิสระหรือธุรกิจส่วนตัว
ร้อยละ 31.1 อันดับท่ี 3 อาชีพอน่ื ๆ รอ้ ยละ 28.9

4. การศกึ ษา อันดบั ท่ี 1 ศกึ ษาต่อ รอ้ ยละ 88.9 อนั ดบั ท่ี 2 ประกอบอาชพี /ไม่ศึกษาตอ่ ร้อยละ 11.1

4

ตอนท่ี 3 ด้านความพร้อมของผเู้ รียน
จำนวนนกั เรยี นทงั้ หมด 45 คน ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลผู้เรยี น ดงั นี้

ลำดบั รายการวิเคราะห์ผเู้ รียน ผลการวเิ คราะหผ์ ้เู รยี น (จำนวนคน) ปรบั ปรุงแก้ไข
ท่ี ดมี าก ดี ปานกลาง (1)
(4) (3) (2)
คน รอ้ ยละ
คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ

1 ด้านความร้คู วามสามารถและประสบการณ์ 0 0.00 17 37.80 27 60.00 1 2.20
1.1) ความรพู้ น้ื ฐาน 6 13.30 23 51.10 16 35.6 0 0.00
1.2) ความสามารถในการอา่ น 4 8.90 19 42.20 20 44.40 2 4.40
1.3) ความสนใจ และสมาธใิ นการเรียน
4 8.90 25 55.60 16 35.60 0 0.00
2 ความพรอ้ มด้านสตปิ ญั ญา 10 22.20 28 62.20 7 15.60 0 0.00
2.1) ความคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์ 5 11.10 23 51.10 17 37.80 0 0.00
2.2) ความมีเหตุผล
2.3) ความสามารถในการเรียนรู้ 3 6.70 13 28.90 26 57.80 3 6.70
11 24.40 24 53.30 9 20.00 1 2.20
3 ความพร้อมดา้ นพฤตกิ รรม
3.1) การแสดงออก 1 2.20 23 51.10 20 44.40 1 2.20
3.2) การควบคมุ อารมณ์ 4 8.90 24 53.30 15 33.30 2 4.40
3.3) ความม่งุ มั่น อดทน ขยันหนั่นเพยี ร
3.4) ความรบั ผดิ ชอบ 21 46.70 22 48.90 2 4.40 0 0.00
18 40.00 23 51.10 4 8.90 0 0.00
4 ความพรอ้ มดา้ นร่างกายและจติ ใจ 26 57.80 19 42.20 0 0.00 0 0.00

4.1) สุขภาพร่างกายสมบูรณ์ 18 40.00 19 42.20 6 13.30 2 4.40
12 26.70 27 60.00 6 13.30 0 0.00
4.2) การเจรญิ เตบิ โตตามวัย 8 18.60 24 55.80 10 23.30 1 2.30

4.3) ความสมบูรณท์ างดา้ นสุขภาพจิต

5 ความพรอ้ มทางสังคม

5.1) การปรับตวั เข้ากับผ้อู นื่

5.2) การเสยี สละ ไม่เห็นแก่ตัว

5.3) มรี ะเบียบวนิ ยั เคารพกตกิ า

จากตาราง พบว่า
1. ดา้ นความรคู้ วามสามารถและประสบการณ์

1.1 ความรู้พืน้ ฐาน สว่ นใหญอ่ ยูใ่ นระดบั ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 60.00
1.2 ความสามารถในการอ่าน สว่ นใหญ่อย่รู ะดบั ดี คดิ เป็นร้อยละ 51.10
1.3 ความสนใจและสมาธใิ นการเรียน ส่วนใหญอ่ ยใู่ นระดบั ปานกลาง คิดเป็นรอ้ ยละ 44.40

2. ความพรอ้ มด้านสติปัญญา
2.1 ความคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์ ส่วนใหญ่อยใู่ นระดบั ดี คิดเปน็ รอ้ ยละ 55.60
2.2 ความมเี หตุผล ส่วนใหญอ่ ยใู่ นระดบั ดี คิดเป็นรอ้ ยละ 62.20
2.3 ความสามารถในการเรยี นรู้ สว่ นใหญอ่ ย่ใู นระดบั ดี คดิ เปน็ ร้อยละ 51.10

5

3. ความพรอ้ มด้านพฤตกิ รรม
3.1 การแสดงออก สว่ นใหญอ่ ยใู่ นระดบั ปานกลาง คิดเปน็ รอ้ ยละ 57.80
3.2 การควบคมุ อารมณ์ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ดี คิดเป็นรอ้ ยละ 53.30
3.3 ความม่งุ มัน่ อดทน ขยนั หมน่ั เพียร สว่ นใหญอ่ ยู่ในระดบั ดี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 51.10
3.4 ความรับผิดชอบ สว่ นใหญอ่ ยู่ในระดบั ดี คิดเป็นรอ้ ยละ 53.30

4. ความพรอ้ มด้านรา่ งกายและจติ ใจ
4.1 สขุ ภาพร่างกายสมบรู ณ์ ส่วนใหญอ่ ยูใ่ นระดบั ดี คดิ เปน็ ร้อยละ 48.90
4.2 การเจริญเตบิ โตตามวยั ส่วนใหญอ่ ย่ใู นระดับ ดี คิดเปน็ รอ้ ยละ 51.10
4.3 ความสมบูรณ์ทางด้านสุขภาพจติ สว่ นใหญ่อย่ใู นระดับ ดมี าก คดิ เป็นร้อยละ 57.80

5. ความพร้อมทางสงั คม
5.1 การปรับตวั เข้ากบั ผู้อน่ื ส่วนใหญ่อยใู่ นระดบั ดี คดิ เป็นร้อยละ 42.20
5.2 การเสียสละ ไม่เห็นแกต่ วั ส่วนใหญอ่ ยู่ในระดบั ดี คิดเป็นรอ้ ยละ 60.00
5.3 มรี ะเบียบวนิ ยั เคารพกติกา สว่ นใหญอ่ ยูใ่ นระดบั ดี คิดเปน็ ร้อยละ 46.70

6

ตอนที่ 4 นกั เรียนตอ้ งการใหค้ รูจัดการเรียนรู้ โดยวิธี/แบบใด มากทสี่ ุด
จำนวนนักเรยี นทง้ั หมด 45 คน ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ผเู้ รียน ดงั นี้

รายการ จำนวนนกั เรียน
คน รอ้ ยละ
1. แบบบรรยาย 23 51.10
2. แบบอภิปราย 8 17.80
3. แบบสร้างแผนผงั ความคิด 8 17.80
4. แบบใช้คำถาม 14 31.10
5. แบบโครงงาน 2 4.40
6. แบบแสดงบทบาทสมมตุ ิ 10 22.20
7. แบบทดสอบ 7 15.60
8. แบบกระบวนการกล่มุ 17 37.80
9. แบบบูรณาการ 3 6.70
10. แบบระดมสมอง 10 22.20
11. แบบสาธิต 14 31.10
12. แบบให้ลงมอื ปฏบิ ตั ิ 19 42.20
13. แบบเรยี นรูจ้ ากแหล่งเรียนรูใ้ นท้องถิน่ 10 22.20
14. แบบสบื ค้นหาความรดู้ ว้ ยตนเอง 5 11.10
15. อื่น ๆ 4 8.90

จากตาราง พบวา่ คดิ เป็นร้อยละ 51.10
นกั เรยี นต้องการให้ครูจดั การเรียนรู้ โดยวธิ ี
อนั ดบั 1 แบบบรรยาย คิดเปน็ ร้อยละ 42.20
คดิ เปน็ ร้อยละ 37.80
อันดับ 2 แบบลงมอื ปฏบิ ตั ิ
อันดบั 3 แบบกระบวนการกลมุ่

7

การสร้างเครอื่ งมือเพอื่ การวิเคราะหผ์ ้เู รียน
แนวทางในการสร้างเครื่องมอื เพื่อวเิ คราะห์ผเู้ รียน

การสร้างเครื่องมือสำหรับนำมาทดสอบ หรือตรวจสอบผู้เรียน เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับวิเคราะห์
ผู้เรียนถือเป็นเรื่องที่มีความจำเป็นและมีความสำคัญมาก ซึ่งสามารถทำได้หลายแนวทาง แต่ในที่นี้ผู้สอน
เลือกปฏิบัติแบบง่าย ๆ 2 แนวทาง ดังนี้

แนวทางที่ 1 นำผลการประเมนิ ปลายปกี ารศึกษาท่ีผ่านมา ตลอดทั้งข้อมูลด้านต่าง ๆ ที่ครู
ไดเ้ กบ็ รวบรวมไว้ นำมาวเิ คราะหแ์ ยกแยะตามเกณฑ์ทก่ี ำหนดไว้ 3 ระดบั คอื

ระดบั ท่ี 1 ตอ้ งปรบั ปรงุ แก้ไข
ระดับที่ 2 ปานกลาง (ผา่ นเกณฑ์)
ระดบั ท่ี 3 ระดับดี – ดีมาก
การดำเนินการแยกแยะข้อมูลของนักเรียนเป็นรายบุคคลในแต่ละด้าน แล้วนำมากรอกข้อมูลลงใน
แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบคุ คล จากนั้นได้ประมวลผลข้อมูลสรุปกรอกลงในแบบสรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรยี น
เม่ือไดข้ ้อสรุปแล้วนำไปกำหนดแนวทางในการแกไ้ ขนกั เรียนทค่ี วรปรับปรุงเรอ่ื งตา่ ง ๆ ในแต่ละดา้ นตอ่ ไป

แนวทางที่ 2 ครูผู้สอนสร้างเครื่องมือหรือแบบทดสอบเอง ให้เหมาะสมกับเรื่องที่จะ
วิเคราะห์ผู้เรียนในแต่ละด้าน เช่น การวัดความรู้ความสามารถ หรือความพร้อมด้านสติปัญญา ควรใช้
แบบทดสอบส่วนการตรวจสอบความพร้อมพฤติกรรม ด้านร่างกายและจิตใจ ด้านสังคม ควรใช้แบบสังเกต
หรอื แบบสอบถาม

การสร้างเครือ่ งมือเพ่ือวิเคราะห์ผู้เรยี น ยดึ หลักทสี่ ำคัญ ดังต่อไปน้ี
1) ควรให้ครอบคลุมสาระหลัก ๆ ท่ีจะเรียนรู้ หรอื ครอบคลุมพฤติกรรมด้านตา่ ง ๆ ของผ้เู รยี น
2) สอดคลอ้ งกบั ประเดน็ ท่ีจะวดั หรอื ประเมนิ ผเู้ รียนในแตล่ ะด้าน
3) กำหนดเกณฑ์ให้ชัดเจน เชน่
- ตอบไดถ้ ูกตอ้ งหรอื มตี ามหัวขอ้ ประเมิน น้อยกว่า ร้อยละ 40 ตอ้ งปรับปรุงแกไ้ ข
- ตอบไดถ้ กู ตอ้ งหรือมตี ามหวั ขอ้ ประเมิน รอ้ ยละ 40 – 60 ปานกลาง
- ตอบไดถ้ กู ต้องหรือมีตามหวั ข้อประเมิน ร้อยละ 70 ขนึ้ ไป ได้ระดับ ดี
4) การวัดหรอื การทดสอบผู้เรยี นควรดำเนินการก่อนทำการสอน เพ่อื ผูส้ อนนำผลสรปุ

การวิเคราะห์ ไปวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือชว่ ยเหลอื หรือส่งเสริมนักเรียนได้อย่างเหมาะสม

8

ข้อมูลอา้ งองิ การรายงานผลการวเิ คราะห์ผูเ้ รียนรายบคุ คล
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3/6

วิชาภาษาอังกฤษพ้นื ฐาน 6 รหสั วิชา อ23102

ตอนที่ 1 ข้อมูลดา้ นผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ผลการเรยี นเฉลี่ยในภาคเรยี นทผ่ี ่านมา

ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู ดา้ นความสนใจและความสามารถพิเศษ

9

10

ตอนที่ 3 ดา้ นความพร้อมของผู้เรยี น
1. ดา้ นความรู้ความสามารถและประสบการณ์

11

2. ความพรอ้ มดา้ นสติปญั ญา

12

3. ความพรอ้ มดา้ นพฤติกรรม

13

4. ความพร้อมดา้ นร่างกายและจิตใจ

14

5. ความพรอ้ มทางดา้ นสังคม

15

ตอนที่ 4 นักเรยี นต้องการใหค้ รจู ดั การเรยี นรู้ โดยวิธี/แบบใด มากทส่ี ุด

16

สรปุ ผลการวเิ คราะห์ผเู้ รียน
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3/6

วชิ าภาษาอังกฤษพื้นฐาน 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประทศ
ครผู ู้สอนได้นำขอ้ มลู การวเิ คราะหผ์ ้เู รียนมาจัดแบ่งกลมุ่ ผเู้ รยี น ออกเปน็ 3 กล่มุ โดยพิจารณา จาก

เกณฑม์ ีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทางภาษา ความพรอ้ มด้านสตปิ ญั ญา เพ่ือใช้เปน็ ข้อมลู ในการ
วางแผนการสอนใหเ้ หมาะสมกบั สภาพความแตกตา่ งของผูเ้ รียน ดงั นี้

1. กลมุ่ เกง่ มี 16 คน ดังนี้

1. เด็กชายจริ พฒั น์ ทองจนั ทกึ

2. เดก็ ชายชัยวัฒน์ ขาวละออ

3. เด็กชายดศิ านวุ ัฒน์ อนุเวช

4. เด็กชายติณณภพ เจรญิ กลั ป์

5. เดก็ ชายธนภัทร หาดอา้ น

6. เดก็ ชายประภากร ใจรักษ์

7. เด็กชายรชั พงศ์ ปานนลิ

8. เด็กชายสรยทุ ธ ขำสม

9. เด็กชายอชิระ ม่งุ งาม

10. เดก็ หญิงกลั ยา ศรีสมุทรสุนทร

11. เด็กหญิงณฏั ฐณชิ า มงคลคำ

12. เด็กหญิงธนพร พิมพสิ าร

13. เด็กหญงิ ประสิตา สรอ้ ยศรี

14. เดก็ หญงิ ภิญญาพชั ญ์ ยงั ธัญญา

15. เด็กหญิงสริดา ศรวี นชิ

16. เด็กหญงิ อริสา ฐตธิ รรม

2. กลมุ่ ปานกลาง มี 28 คน

1. เด็กชายกรภทั ร์ สัมมา

2. เด็กชายธรรมนูญ ฆ้องฤกษ์

3. เดก็ ชายนพณัฐ อนนั ทกร

4. เด็กชายบญุ ฤทธิ์ ใตช้ มภู

5. เด็กชายปฐมพร ดำเกิงเกียรติ

6. เดก็ ชายปีติภทั ร ท่าพรกิ

7. เดก็ ชายพงษ์ศริ ิ กล่นิ เกษร

8. เดก็ ชายพิชญะ วเิ ศษพนั ธ์

9. นายพรี พล ชงโท

10. เด็กชายภัทรดนัย ประสทิ ธนิ าวา

11. เด็กชายวรากร สุนทรสารทูล

12. เด็กชายวฒั นกานต์ กลิน่ อกั ษร

13. เด็กชายสฤษฎพ์ งศ์ นชุ บษุ บา

17

14. เดก็ ชายสทิ ธิพงศ์ พรมสว่าง
15. เดก็ ชายสทุ ธภิ ัทร โสนทอง

16. เด็กชายสรุ สิทธ์ิ สงเคราะห์
17. เด็กหญิงกญั ญารตั น์ นาทนั ใจ

18. เด็กหญิงกุลธดิ า ไทยรัณ
19. เดก็ หญิงจิณหน์ ภิ า สร้อยศรี
20. เด็กหญงิ จินาภรณ์ เจรญิ พืช

21. เดก็ หญงิ ชลกานต์ เจรญิ สมบตั ิ
22. เด็กหญิงนลัทพร ดาพลู

23. เดก็ หญงิ เปมกิ า โตหัวป่า
24. เดก็ หญิงแพรวา แถลงสุข
25. เดก็ หญิงภคพร ไขแสง

26. เด็กหญิงศศิร์อร พลิ ึก
27. เดก็ หญงิ สุขภวัทจ์ บงึ กระเสรมิ

28. เด็กหญงิ สุภาวดี ประมงกจิ
3. กลมุ่ ท่ตี ้องปรบั ปรุงแก้ไข มี 1 คน

1. เดก็ หญงิ ปทติ ตา เตียวตระกูล

ลงชือ่ .............................................. ผู้รายงาน
(นางสาวชนากานต์ พลาเกตุ)
ครผู ู้ช่วย


Click to View FlipBook Version