The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วย วันแม่แห่งชาติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ponnapha Chairboriboon, 2024-02-01 08:39:14

หน่วย วันแม่แห่งชาติ

หน่วย วันแม่แห่งชาติ

แผนการจัดประสบการณ์ระดับการศึกษาปฐมวัย ประจำสัปดาห์ที่ ๑๓ ชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖๖ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง วันแม่ นางสาวพรนภา เชื้อบริบูรณ์ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองบุนาหล่ำ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1


หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สำหรับเด็กอายุ ๓ - ๕ ปี หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ปี เป็นการจัดการศึกษาในลักษณะของการอบรมเลี้ยงดู และให้การศึกษา เด็กจะได้รับการพัฒนาทั้ง ทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ตามวัยและความสามารถของแต่ละบุคคล จุดหมาย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กปฐมวัย ๓ - ๖ ปี มุ่งให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล จึงกำหนดจุดหมายซึ่งถือเป็นมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ดังนี้ ๑. ร่างกายเจริญเติบโตตามวัย และมีสุขนิสัยที่ดี ๒. กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน ๓. มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข ๔. มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม ๕. ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักการออกกำลังกาย ๖. ช่วยเหลือตนเองได้เหมาะสมกับวัย ๗. รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมและความเป็นไทย ๘. อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๙. ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย ๑๐. มีความสามารถในการคิดและการแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย ๑๑. มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ๑๒. มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีทักษะในการแสวงหาความรู้


ตารางกิจวัตรประจำวัน หมายเหตุ : เวลาและกิจกรรมอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม เวลา กิจกรรม 07.00 – 08.00 น. รับเด็กเป็นรายบุคคล 08.00 – 08.30 น. เข้าแถวเคารพธงชาติ 08.30 – 09.00 น. สนทนา ข่าว และเหตุการณ์ 09.00 – 09.20 น. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ 09.20 – 09.40 น. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 09.40 – 10.20 น. กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ 10.20 – 10.50 น. กิจกรรมการเล่นตามมุม 10.50 – 11.30 น. กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง 11.30 – 12.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 12.00 – 12.30 น. แปรงฟัน 12.30 – 14.30 น. นอนหลับพักผ่อน 14.30 – 15.30 น. กิจกรรมเกมการศึกษา/สรุปบทเรียน/รับกลับบ้าน


กำหนดการจัดประสบการณ์ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ สัปดาห์ ที่ วัน/เดือน/ปี สาระการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ สาระที่ควรเรียนรู้ หมายเหตุ ๑ ๑๕ พ.ค. – ๑๙ พ.ค. ๒๕๖๖พฤษภาคม ๒๔ พฤษภาคม เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก ปฐมนิเทศ ๑. ชื่อครูประจำชั้น และเพื่อน ๒. สัญลักษณ์และของใช้ประจำตัว ๓. การปฏิบัติตนตามข้อตกลงของห้องเรียน ๔. แนะนำสถานที่ต่าง ๆ ในโรงเรียน ๕. การรักษาสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน ๒ ๒๒ พ.ค. – ๒๖ พ.ค. ๒๕๖๖ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล และสถานที่แวดล้อมเด็ก โรงเรียน ของเรา ๑. ชื่อและสถานที่ตั้งของโรงเรียน ๒. บุคคลสำคัญและสถานที่สำคัญภายในโรงเรียน ๓. การรักษาสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน ๔. การปฏิบัติตามข้อตกลงของห้องเรียนและ โรงเรียน ๕. การปฏิบัติตนในโรงเรียน ๓ ๒๙ พ.ค. – ๒ มิ.ย. ๒๕๖๖ ๒๗ พฤษภาคม ๓๑ พฤษภาคม เรื่องราวเกี่ยวกับ ตัวเด็ก ตัวเรา ๑. อวัยวะของร่างกาย (อวัยวะภายในและอวัยวะ ภายนอก) ๒. หน้าที่ของอวัยวะ ๓. การดูแลรักษาอวัยวะ ๔. การปฏิบัติตนให้มีร่างกายสมบูรณ์ ๕. การระวังตนเองให้พ้นจากอันตราย ๔ ๕ มิ.ย. – ๙ มิ.ย. ๒๕๖๖ เรื่องราวเกี่ยวกับ ตัวเด็ก หนูทำได้ ๑. วิธีระวังรักษาร่างกายให้สะอาดมีสุขอนามัยที่ดี ๒. การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวัน ๓. การแต่งกาย ๔. การล้างมือที่ถูกวิธี ๕. การใช้ห้องน้ำห้องส้วม


สัปดาห์ ที่ วัน/เดือน/ปี สาระการเรียนรู้ หน่วยการ เรียนรู้ สาระที่ควรเรียนรู้ หมายเหตุ ๕ ๑๒ มิ.ย. – ๑๖ มิ.ย. ๒๕๖๖ ๒๑ พฤษภาคม ๒๔ พฤษภาคม เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล และสถานที่แวดล้อมเด็ก ครอบครัวมีสุข ๑. สมาชิกภายในครอบครัวและความสัมพันธ์ของ สมาชิกภายในครอบครัว ๒. หน้าที่ของสมาชิกภายในครอบครัว ๓. การปฏิบัติตนต่อสมาชิกในครอบครัว ๔. การใช้คำพูดที่สุภาพแสดงความเคารพและ กิริยามารยาทที่ดีงามต่อบุคคลในบ้าน ๕. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมครอบครัว ๖ ๑๙ มิ.ย. – ๒๓ มิ.ย. ๒๕๖๖ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก อาหารดีมี ประโยชน์ ๑. ความสำคัญประโยชน์ของอาหาร ๒. ชื่อของอาหารหลัก 5 หมู่ ๓. คุณค่าของอาหารหลัก 5 หมู่ ๔. สุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร ๕. ข้อควรระวังและมารยาทในการรับประทาน อาหาร ๗ ๒๖ มิ.ย. – ๓๐ มิ.ย. ๒๕๖๖ ๒๗ พฤษภาคม ๓๑ พฤษภาคม ธรรมชาติรอบตัว ฝน ๑. การเกิดฝน ๒. ปรากฏการณ์ที่มักเกิดขึ้นขณะฝนตก (ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า) ๓. ปรากฏการณ์ที่มักเกิดขึ้นหลังฝนตก ๔. ประโยชน์และโทษจากฝน ๕. การปฏิบัติตนในฤดูฝน ๘ ๓ ก.ค. – ๗ ก.ค. ๒๕๖๖ ธรรมชาติรอบตัว ข้าว ๑. ชื่อและลักษณะของข้าวชนิดต่าง ๆ ๒. ประโยชน์ของข้าว ๓. อาหารที่ทำมาจากข้าว ๔. ความสำคัญของชาวนา ๕. เครื่องมือและวิธีการทำนา


สัปดาห์ ที่ วัน/เดือน/ปี สาระการเรียนรู้ หน่วยการ เรียนรู้ สาระที่ควรเรียนรู้ หมายเหตุ ๙ ๑๐ ก.ค. – ๑๔ ก.ค. ๒๕๖๖ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก ปลอดภัยไว้ก่อน ๑. การรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นใน กิจวัตรประจำวัน ๒. ความปลอดภัยจากการเล่นของเล่นและการเล่นใน สนามเด็กเล่น ๓. การระวังภัยจากสถานที่และอุปกรณ์เสี่ยงอันตราย ของมีคม สัตว์มีพิษและคนแปลกหน้า ๔. ความปลอดภัยบนท้องถนน ๕. ความปลอดภัยในการใช้ยา และยาเสพติด ๑๐ ๑๗ ก.ค. – ๒๑ ก.ค. ๒๕๖๖ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล และสถานที่แวดล้อมเด็ก ชุมชนของเรา ๑. ชื่อชุมชน ๒. สถานที่สำคัญในชุมชน ๓. สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน ๔. การรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชน ๕. การปฏิบัติตนที่ดีของชุมชน ๑๑ ๒๔ ก.ค. – ๒๘ ก.ค. ๒๕๖๖ สิ่งต่าง ๆรอบตัวเด็ก ของเล่น ของใช้ ๑. การรู้จักของเล่นของใช้ ๒. ของใช้ส่วนตัว ของใช้ส่วนรวม ๓. อันตรายที่เกิดจากของเล่นและวิธี ป้องกันอันตราย ๔. อันตรายที่เกิดจากของใช้และวิธี ป้องกันอันตราย ๕. การเก็บรักษาของเล่นของใช้ ๑๒ ๓๑ ก.ค. – ๔ ส.ค. ๒๕๖๖ ธรรมชาติรอบตัว ต้นไม้ที่รัก ๑. ส่วนประกอบของต้นไม้ ๒. ชื่อและลักษณะของต้นไม้ ๓. ประโยชน์ของต้นไม้ ๔. การบำรุงดูแลรักษาต้นไม้ ๕. โทษของการทำลายป่า


สัปดาห์ ที่ วัน/เดือน/ปี สาระการเรียนรู้ หน่วยการ เรียนรู้ สาระที่ควรเรียนรู้ หมายเหตุ ๑๓ ๗ ส.ค. – ๑๑ ส.ค. ๒๕๖๖ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล และสถานที่แวดล้อมเด็ก วันแม่ ๑. ความหมายและความสำคัญของวันแม่แห่งชาติ ๒. พระราชประวัติของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ๓. พระราชกรณียกิจของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ๔. สัญลักษณ์ของวันแม่และกิจกรรมวันแม่ ๕. พระคุณของแม่และการปฏิบัติตนเพื่อแสดงความ กตัญญูต่อแม่ ๑๔ ๑๕ ส.ค. – ๑๘ ส.ค. ๒๕๖๖ สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก หนูน้อยนัก สัมผัส ๑. การมองเห็น ๒. การดมกลิ่น ๓. การได้ยิน ๔. การชิมรส ๕. การสัมผัส ๑๕ ๒๑ ส.ค. – ๒๕ ส.ค. ๒๕๖๖ ธรรมชาติรอบตัว สัตว์น่ารัก ๑. ประเภทของสัตว์ สัตว์แต่ละชนิดมีรูปร่าง ลักษณะ และขนาดแตกต่างกัน ๒. ลักษณะของสัตว์ ๓. อาหาร ที่อยู่ของสัตว์ และช่วงอายุของสัตว์ ๔. การป้องกันอันตรายและความปลอดภัยจากสัตว์ ๕. ประโยชน์ของสัตว์ต่อมนุษย์ ๑๖ ๒๘ ส.ค. – ๑ ก.ย. ๒๕๖๖ ธรรมชาติรอบตัว ผลไม้ ๑. ชื่อผลไม้ชนิดต่าง ๆ ๒. ลักษณะของผลไม้แต่ละชนิด ๓. ประโยชน์และโทษของผลไม้ ๔. การมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานผลไม้ ๕. การถนอมอาหารประเภทผลไม้


สัปดาห์ ที่ วัน/เดือน/ปี สาระการเรียนรู้ หน่วยการ เรียนรู้ สาระที่ควรเรียนรู้ หมายเหตุ ๑๗ ๔ ก.ย. – ๘ ก.ย. ๒๕๖๖ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล และสถานที่แวดล้อมเด็ก รักเมืองไทย ๑. พระมหากษัตริย์ไทย ๒. วันสำคัญตามประเพณีไทย ๓. บ้านไทย ๔. หน้าที่ของเด็กในการเป็นพลเมืองดี ๕. ผลไม้เมืองไทย ๑๘ ๑๑ ก.ย. – ๑๕ ก.ย. ๒๕๖๖ สิ่งต่าง ๆรอบตัวเด็ก คมนาคม ๑. ความหมายและประโยชน์ของยานพาหนะ ๒. การปฏิบัติตนเมื่อเดินทางด้วยรถและรถไฟ ๓. การปฏิบัติตนเมื่อเดินทางทางน้า ๔. การปฏิบัติตนเมื่อขึ้นสะพานลอย ๕. การปฏิบัติตนเมื่อข้ามทางม้าลาย ๑๙ ๑๘ ก.ย. – ๒๒ ก.ย. ๒๕๖๖ ธรรมชาติรอบตัว ดิน หิน ทราย ๑. สังเกตลักษณะ ดิน หิน ทราย ๒. เปรียบเทียบความแตกต่างของ ดินหิน ทราย ๓. การคัดแยก การจัดกลุ่ม และการจำแนกดินหินทราย ๔. สิ่งมีชีวิตและ.สิ่งไม่มีชีวิตที่อยู่ในดิน หิน ทราย ๕. ประโยชน์ของดิน หิน ทราย ๒๐ ๒๕ ก.ย. – ๒๙ ก.ย. ๒๕๖๖ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล และสถานที่แวดล้อมเด็ก อุดรธานีที่รัก ๑. ชื่อและสถานที่ตั้ง ๒. ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัด ๓. อาชีพและอาหารพื้นเมืองของจังหวัด ๔. สถานที่สำคัญของจังหวัด ๕. ศาสนาและประเพณีของจังหวัด


หน่วยการจัดประสบการณ์ที่ ๑๑ วันแม่ ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ แนวคิด วันที่ ๑๒ สิงหาคมของทุกปีคือวันแม่แห่งชาติ ตรงกับวันเฉลิมพระชนมพรรษาของ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ ๙ ทรงมีพระราช กรณียกิจที่ทรงปฏิบัติเพื่อปวงชนชาวไทยมากมาย สัญลักษณ์วันแม่คือดอกมะลิซึ่งหมายถึงความรัก อันบริสุทธ์ของแม่ที่มีต่อลูก แม่เป็นผู้ให้กำเนิดและเลี้ยงดูลูกให้ เจริญเติบโตและมีความสุข สิ่งที่ลูกควรตอบแทนพระคุณแม่คือ ลูกเป็นเด็กดี มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเติบโต ตามวัยและมีสุขนิสัย ที่ดี มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และ กล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่ว และประสานสัมพันธ์ กัน มาตรฐานที่ ๔ ชื่นชมและแสดงออก ทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ๑.๓ รักษาความปลอดภัย ของตนเองและผู้อื่น ๒.๑. เคลื่อนไหวร่างกาย อย่างคล่องแคล่วประสาน สัมพันธ์และทรงตัวได้ ๒.๒ ใช้มือ-ตาประสาน สัมพันธ์กัน ๔.๑ สนใจมีความสุขและ แสดงออกผ่านงานศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ๑.๓.๑ เล่น ทำ กิจกรรมและปฏิบัติต่อ ผู้อื่นอย่างปลอดภัย ๒.๑.๓ วิ่งหลบหลีกสิ่ง กีดขวางได้อย่าง คล่องแคล่ว ๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตัด กระดาษตามแนวเส้น โค้งได้ ๔.๑.๑ สนใจมีความสุข และแสดงออกผ่านงาน ศิลปะ ๑. เล่น ทำกิจกรรมและปฏิบัติ ต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย ๒. วิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวางได้ อย่างคล่องแคล่ว ๓. ใช้กรรไกรตัดกระดาษตาม แนวเส้นโค้งได้ ๔. สนใจมีความสุขและ แสดงออกผ่านงานศิลปะได้ ร่างกาย ๑.๑.๑การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ (๒) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ (๓) การเคลื่อนไหวพร้อม อุปกรณ์ (๕) การเล่นเครื่องเล่นสนาม อย่างอิสระ ๑.๑.๒ การใช้กล้ามเนื้อเล็ก (๑) การเล่นเครื่องเล่นสัมผัส และการสร้างจากแท่งไม้ บล็อก (๒) การเขียนภาพและการ เล่นกับสี (๓) การปั้น (๔) การประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ด้วยเศษวัสดุ (๕) การหยิบจับ การใช้ กรรไกร การฉีกทการตัด การปะ และการร้อยวัสดุ ๑. ความหมายและ ความสำคัญของวันแม่ แห่งชาติ ๒. พระราชประวัติของ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระ บรมราชชนนีพันปีหลวง ๓. พระราชกรณียกิจของ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระ บรมราชชนนีพันปีหลวง ๔. สัญลักษณ์ของวันแม่ และกิจกรรมวันแม่ ๕. การทำความเคารพและ การปฏิบัติตนที่ดีต่อแม่


มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติสิ่ง แวดล้อมวัฒนธรรม และความเป็นไทย มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุขและ ปฏิบัติตนเป็นสมาชิก ที่ดีของสังคมใน ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ เป็นประมุข มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาสื่อสารให้ เหมาะสมกับวัย ๗.๒ มีมารยาทตาม วัฒนธรรมไทยและรัก ความเป็นไทย ๘.๒ การมีปฏิสัมพันธ์ที่ดี กับผู้อื่น ๙.๑ สนทนาโต้ตอบและ เล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ ๔.๑.๓ สนใจมีความสุข และแสดงท่าทาง/ เคลื่อนไหวประกอบ เพลง จังหวะและดนตรี ๗.๒.๑ ปฏิบัติตนตาม มารยาทไทย ได้ตาม กาลเทศะ ๘.๒.๑ เล่นหรือทำงาน ร่วมกับเพื่อนอย่างมี เป้าหมาย ๙.๑.๑ ฟังผู้อื่นพูดจน จบและสนทนาโต้ตอบ อย่างต่อเนื่องเชื่อมโยง กับเรื่องที่ฟัง ๕. สนใจ มีความสุขและแสดง ท่าทาง / เคลื่อนไหวประกอบ เพลงจังหวะ และดนตรีได้ ๖.ปฏิบัติตนตามมารยาทไทย ได้ตามกาลเทศะ ๗. เล่นหรือทำงานร่วมกับ เพื่อนอย่างมีเป้าหมายได้ ๘. ฟังผู้อื่นพูดจนจบและ สนทนาโต้ตอบอย่างต่อเนื่อง เชื่อมโยงกับเรื่องที่ฟังได้ ๑.๑.๕ การตระหนักรู้เกี่ยวกับ ร่างกายตนเอง (๑) การเคลื่อนไหวโดย ควบคุมตนเองไปในทิศทางระดับ และพื้นที่ (๒) การเคลื่อนไหวข้ามสิ่ง กีดขวาง อารมณ์ ๑.๒.๑ สุนทรียภาพ ดนตรี (๓) การเคลื่อนไหวตาม เสียงเพลง/ดนตรี (๔) การเล่นบทบาทสมมติ (๕) การทำกิจกรรมศิลปะ ต่าง ๆ ๑.๒.๒ การเล่น (๒) การเล่นรายบุคคล กลุ่ม ย่อยกลุ่มใหญ่ (๓) การเล่นตามมุม ประสบการณ์


มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถใน การคิดที่เป็นพื้นฐาน ในการเรียนรู้ ๙.๒ อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้ ๑๐.๑ มีความสามารถ ในการคิดรวบยอด ๙.๒.๑ อ่านภาพ สัญลักษณ์คำด้วยการชี้ หรือกวาดตามอง จุดเริ่มต้นและจุดจบ ของข้อความ ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะ ส่วนประกอบการ เปลี่ยนแปลงหรือ ความสัมพันธ์ของสิ่ง ต่างๆจากการสังเกต โดยใช้ประสาทสัมผัส ๑๐.๑.๒ จับคู่และ เปรียบเทียบความ แตกต่างและความ เหมือนของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ลักษณะที่สังเกต พบ ๒ ลักษณะขึ้นไป ๑๐.๑.๓ จำแนกและ จัดกลุ่มสิ่งต่าง ๆโดยใช้ ตั้งแต่ ๒ ลักษณะขึ้นไป เป็น ๙. อ่านคำด้วยการชี้หรือ กวาดตามองจุดเริ่มต้นและจุด จบของข้อความได้ ๑๐. บอกลักษณะการ เปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ จาก การสังเกตโดยใช้ประสาท สัมผัสได้ ๑๑. จับคู่และเปรียบเทียบ ความแตกต่างและความ เหมือนของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ ลักษณะที่สังเกตพบได้ ๑๒. จำแนกและจัดกลุ่มสิ่ง ต่าง ๆ โดยใช้ตั้งแต่ ๒ ลักษณะขึ้นไปเป็นเกณฑ์ได้ สังคม ๑.๓.๒ (๓) การทำงานศิลปะที่นำ วัสดุหรือสิ่งของเครื่องใช้แล้วมาใช้ซ้ำ ๑.๓.๓ การปฏิบัติตามวัฒนธรรมทอง ถิ่นและความเปนไทย (๒) การปฏิบัติตนตาม วัฒนธรรมทองถิ่นที่อาศัยและ ประเพณีไทย ๑.๓.๔ การมีปฏิสัมพันธ มีวินัย มีสวนร่วมและบทบาทสมาชิกของ สังคม (๒) การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ ดีของหองเรียน (๕) การร่วมกิจกรรมวันสำคัญ ๑.๓.๕ การเล่นและทำงานแบบ ร่วมมือร่วมใจ (๓) การทำศิลปะแบบร่วมมือ สติปัญญา ๑.๔.๑ การใช้ภาษา (๓) การฟังเพลง นิทาน คำคล้อง จองบทร้อยกรองหรือเรื่องราวต่าง ๆ (๔) การพูดแสดงความคิด ความรู้สึกและความต้องการ


มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและ ความคิดสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีต่อการ เรียนรู้ และมีความ สามารถในการแสดง หาความรู้ได้อย่าง เหมาะสมกับวัย ๑๑.๑ ทำงานศิลปะ ตามจินตนาการและ ความคิดสร้างสรรค์ ๑๒.๒ มีความสามารถ ในการแสวงหาความรู้ ๑๑.๑.๑ สร้างผลงาน ศิลปะเพื่อสื่อสาร ความคิดความรู้สึกของ ตนเองโดยมีการ ดัดแปลงแปลกใหม่ จากเดิมและมี รายละเอียดเพิ่มขึ้น ๑๒.๒.๑ ค้นหาคำตอบ ของข้อสงสัยต่างๆ โดย ใช้วิธีการที่หลากหลาย ด้วยตนเอง ๑๔. ทำงานศิลปะโดยมี ความแปลกใหม่ได้ ๑๔. ค้นหาคำตอบของข้อ สงสัยต่าง ๆ โดยใช้วิธีการที่ หลากหลายด้วยตนเองได้ (๕) การพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับ ประสบการณ์ของตนเอง หรือพูดเล่า เรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง (๘) การรอจังหวะที่เหมาะสมใน การพูด (๑๔) การอ่านและชี้ ข้อความ โดยกวาดสายตาตามบรรทัดจากซ้าย ไปขวาจากบนลงล่าง ๑.๔.๒ (๕) การคัดแยกการจัดกลุ่ม และการจำแนกสิ่งต่าง ๆตามลักษณะ และรูปร่าง รูปทรง (๖) การตอของชิ้นเล็กเติมในชิ้น ใหญใหสมบูรณและการแยกชิ้นสวน (๘) การนับและแสดงจำนวน (๙) การเปรียบเทียบและ เรียงลำดับจำนวนของสิ่งต่าง ๆ (๑๓) การจับคู่ การเปรียบเทียบ และการเรียงลำดับสิ่งต่างๆตาม ลักษณะความยาว/ความสูงน้ำหนัก ปริมาตร (๑๔) การบอกและเรียงลำดับ กิจกรรมหรือเหตุการณ์ตามช่วงเวลา


การวางแผนกิจกรรมรายหน่วยการจัดประสบการณ์ ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ หน่วยต้นไม้ที่รัก วันที่ กิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ เสริมประสบการณ์ ศิลปะสร้างสรรค์ การเล่นตามมุม การเล่นกลางแจ้ง เกมการศึกษา ๑ - เคลื่อนไหวพื้นฐาน - เคลื่อนไหวประกอบ เพลงรักหม่าม้า - ความหมายและ ความสำคัญของวันแม่ แห่งชาติ - วาดภาพกิจกรรมวันแม่ - ประดิษฐ์การ์ดอวยพร วันแม่ - ปั้นดินน้ำมัน - เล่นมุมประสบการณ์ ในห้องเรียน - เล่นเครื่องเล่นสนาม - เกมภาพตัดต่อวันแม่ แห่งชาติ ๒ - เคลื่อนไหวพื้นฐาน - กิจกรรมเคลื่อนไหว ท่าทางประกอบ อุปกรณ์(เชือก) - พระราชประวัติของ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระ บรมราชชนนีพันปีหลวง - พิมพ์ภาพด้วยนิ้วมือ และวาดต่อเติมรูปภาพ - พับสี - ขยำกระดาษแก้ว ปะติด พวงมาลัย - เล่นมุมประสบการณ์ ในห้องเรียน - เกมตามหาลูก - เกมเรียงขนาดภาพวันแม่ ๓ - เคลื่อนไหวพื้นฐาน - กิจกรรมเคลื่อนไหว แบบผู้นำ ผู้ตาม - พระราชกรณียกิจของ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระ บรมราชชนนีพันปีหลวง - เป่าสี - ร้อยพวงมาลัยจากวัสดุ เหลือใช้ - ปั้นดินน้ำมัน - เล่นมุมประสบการณ์ ในห้องเรียน - เกมวิ่งส่งพวงมาลัย หลบสิ่งกีดขวาง - เกมจับคู่ภาพกับเงาวันแม่


วันที่ กิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ เสริมประสบการณ์ ศิลปะสร้างสรรค์ การเล่นตามมุม การเล่นกลางแจ้ง เกมการศึกษา ๔ - กิจกรรมเคลื่อนไหว พื้นฐาน - กิจกรรมเคลื่อนไหว ร่างกายตามจังหวะ ช้า เร็ว ด้วยเครื่องเคาะ จังหวะ - สัญลักษณ์ของวันแม่ - กิจกรรมวันแม่ - ฉีก ปะ ติด ภาพดอก มะลิ - พิมพ์ภาพจากดอกไม้ - วาดภาพระบายสีน้ำ - เล่นมุมประสบการณ์ ในห้องเรียน - เกมวิ่งจำแนก สัญลักษณ์วันแม่ - เกมจำแนกสัญลักษณ์วัน แม่ ๕ - กิจกรรมเคลื่อนไหว พื้นฐาน - กิจกรรมเคลื่อนไหว ประกอบคำบรรยาย - การทำความเคารพและ การปฏิบัติตนที่ดีต่อแม่ - ปั้นดินน้ำมัน - ประดิษฐ์ดอกไม้จาก กระดาษ - วาดรูปอิสระด้วยสีเทียน - เล่นมุมประสบการณ์ ในห้องเรียน - เกมวิ่งต่อเติมรูปภาพ กิจกรรมวันแม่ - เกมลอตโตกิจกรรมวัน แม่


ผังความคิดแผนการจัดประสบการณ์ หน่วย วันแม่ ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ หน่วย วันแม่ ๓. กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ๑. วาดภาพกิจกรรมวันแม่,ประดิษฐ์ การ์ดอวยพรวันแม่,ปั้นดินน้ำมัน ๒. พิมพ์ภาพด้วยนิ้วมือและวาดต่อเติม รูปภาพ,พับสี,ขยำกระดาษแก้ว ปะติด พวงมาลัย ๓. เป่าสี,ร้อยพวงมาลัยจากวัสดุเหลือ ใช้,ปั้นดินน้ำมัน ๔. ฉีก ปะ ติด ภาพดอกมะลิ,พิมพ์ภาพ จากดอกไม้,วาดภาพระบายสีน้ำ ๕. ปั้นดินน้ำมัน,ประดิษฐ์ดอกไม้จาก กระดาษ,วาดรูปอิสระด้วยสีเทียน ๑. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ๑. การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ประกอบเพลงรักหม่าม้า ๒. การเคลื่อนไหวท่าทางประกอบอุปกรณ์ (เชือก) ๓. การเคลื่อนไหวแบบผู้นำ ผู้ตาม ๔. การเคลื่อนไหวร่างกายตามจังหวะ ช้า เร็ว ด้วย เครื่องเคาะจังหวะ ๕. การเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยาย ๒. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ๑. ความหมายและความสำคัญของวันแม่แห่งชาติ ๒. พระราชประวัติของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ๓. พระราชกรณียกิจของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ๔. สัญลักษณ์ของวันแม่ ๕. กิจกรรมวันแม่ ๖. การทำความเคารพและการปฏิบัติตนที่ดีต่อแม่ ๔. กิจกรรมเล่นตามมุม การเล่นตามมุมประสบการณ์ ๕. กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง ๑. เล่นเครื่องเล่นสนาม ๒. เกมตามหาลูก ๓. เกมวิ่งส่งพวงมาลัยหลบสิ่งกีดขวาง ๔. เกมวิ่งจำแนกสัญลักษณ์วันแม่ ๕. เกมวิ่งต่อเติมรูปภาพกิจกรรมวันแม่ ๖. กิจกรรมเกมการศึกษา ๑. เกมภาพตัดต่อวันแม่แห่งชาติ ๒. เกมจับคู่กับตัวเลขภาพสัญลักษณ์วันแม่ ๓. เกมจับคู่ภาพกับเงาวันแม่ ๔. เกมจำแนกสัญลักษณ์วันแม่ ๕. เกมลอตโตกิจกรรมวันแม่


แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ ๑ หน่วยที่ ๑๓ วันแม่ ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๑ กิจกรรมเคลื่อนไหวและ จังหวะ ๑. ฟังและปฏิบัติตาม สัญญาณได้(K) ๒. เคลื่อนไหวร่างกาย ประกอบเพลงได้(P) ๓. ร่วมกิจกรรมกับเพื่อน อย่างสนุกสนาน (A) - เคลื่อนไหวอยู่กับที่ - เคลื่อนไหวเคลื่อนที่ - การเคลื่อน ไหวตาม เสียงเพลง - ดนตรี - เคลื่อนไหวร่างกาย ประกอบเพลง ขั้นนำ ๑. เด็กฟังสัญญาณเคาะจังหวะช้า - เร็ว ใน การเคลื่อนไหวพื้นฐานโดย ไม่ชนกัน ดังนี้ ๑.๑ เด็กหาพื้นที่ให้กับตนเอง ครูเคาะ จังหวะช้า ให้เด็กๆเคลื่อนไหวอยู่ กับที่ตาม จังหวะช้า ครูเคาะจังหวะเร็ว เด็กๆ เคลื่อนไหวตามจังหวะเร็ว เมื่อได้ยินสัญญาณ เคาะจังหวะ ๒ ครั้งติดกัน ให้เด็กหยุด เคลื่อนไหวในท่านั้นทันที ๑.๒ เด็กเคลื่อนไหวเคลื่อนที่อย่างอิสระ ตามจังหวะ ช้า เร็ว ไปรอบๆ บริเวณอย่างมี ระดับ บน ล่าง สูง ต่ำ ทิศทาง ซ้าย ขวา หน้า หลัง โดยไม่ชนกัน เมื่อได้ยินสัญญาณ “หยุด” ให้หยุดเคลื่อนไหว ในท่านั้นทันที ขั้นสอน ๒. กิจกรรมเคลื่อนไหวประกอบเพลง ครูอธิบายวิธีการและสร้างข้อตกลงในการทำ ท่าทางประกอบเพลง “รักหม่าม้า” ๓. ครูเปิดเพลงต้นไม้ให้เด็ก ๆ เคลื่อนไหว ท่าทางอย่างอิสระตามจินตนาการประกอบ เสียงเพลงรักหม่าม้า ๔. ให้เด็กผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ๑. เครื่อง เคาะ จังหวะ ๒. เพลง “รักหม่า ม้า” สังเกต ๑. การฟังและ ปฏิบัติตามสัญญาณ ๒. การเคลื่อน ไหว ร่างกายประกอบ เพลง ๓. การร่วม กิจกรรมกับเพื่อน


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๑ กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ ๑. บอกความหมายและ ความสำคัญของวันแม่ แห่งชาติได้(K) ๒. แสดงความคิดเห็น ร่วมกับเพื่อนและครูได้ (P) ๓. ร่วมกิจกรรมกับเพื่อน และครูได้(A) - การร่วมสนทนา และแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น - การเล่นและการ ทำงานร่วมกับผู้อื่น - การรอจังหวะที่ เหมาะสมในการพูด ความหมายและ ความสำคัญของวัน แม่แห่งชาติ ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “แม่จ๊ะ แม่จ๋า” ๒. ครูร่วมสนทนากับเด็กเกี่ยวกับคำคล้องจอง โดยใช้คำถาม ดังนี้ - ในคำคล้องจองพูดถึงเรื่องอะไร ขั้นสอน ๓. ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับ ความหมายและความสำคัญของวันแม่ แห่งชาติโดยครูใช้คำถามดังนี้ - วันแม่แห่งชาติมีความหมายว่าอย่างไร - วันแม่แห่งชาติคือวันที่เท่าไหร่ - เด็ก ๆ รู้หรือไม่ว่าวันแม่มีความสำคัญ อย่างไร ๔. ครูนำบัตรภาพมาให้เด็ก ๆ ดู และสนทนา เกี่ยวกับความหมาย และความสำคัญของวัน แม่และร่วมกันแสดงความคิดเห็นร่วมกันกับ เด็ก ๆ ขั้นสรุป ๕. เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรมในครั้งนี้ โดยครูใช้คำถามเพื่อกระตุ้นความคิด - วันแม่ตรงกับวันที่เท่าไหร่ของทุกปี - วันแม่มีความสำคัญอย่างไร ๑. คำคล้องจอง “แม่จ๊ะ แม่จ๋า” ๒. บัตรภาพ สังเกต ๑. การบอกความ หมายและความ สำคัญของวันแม่ แห่งชาติ ๒. การแสดงความ คิดเห็นร่วมกับเพื่อน และครู ๓. การร่วมกิจกรรม กับเพื่อนและครู


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๑ กิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์ ๑. ใช้ความคิดและ จินตนาการในการทำ กิจกรรมได้ (K) ๒. ทํางานที่ได้รับ มอบหมายจนสําเร็จด้วย ตนเองได้ (P) ๓. ร่วมทำกิจกรรมอย่าง มีความสุข (A) - การเขียนภาพ และการเล่นกับสี - การสร้างสรรค์สิ่งสวย งาม - การทำกิจกรรมศิลปะ ต่าง ๆ - การแสดงความคิด สร้างสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การเคลื่อนไหว และ ศิลปะ - การทำงาศิลปะ - วาดภาพกิจกรรมวัน แม่ - ประดิษฐ์การ์ดอวย พรวันแม่ - ปั้นดินน้ำมัน ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “เพื่อนกัน” ขั้นสอน ๒. ครูแนะนำกิจกรรมสร้างสรรค์ ประกอบด้วย - วาดภาพกิจกรรมวันแม่ - ประดิษฐ์การ์ดอวยพรวันแม่ - ปั้นดินน้ำมัน ๓. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ เมื่อ ทำงานเสร็จนำมาภาพมาให้ครูเขียน บรรยายภาพ หรือผลงาน ๔. หลังจากทำงานเสร็จแล้วให้เก็บชิ้นงาน และให้เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ทำความ สะอาดบริเวณให้เรียบร้อย ๕. ให้เด็ก ๔-๕ คนออกมานำเสนอผลงาน และร่วมแสดงความชื่นชมผลงานของตนเอง และเพื่อน ขั้นสรุป ๖. ครูและเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมในครั้งนี้ ๑. คำคล้องจอง “เพื่อนกัน” ๒. ดินน้ำมัน ๓. แผ่นรองปั้น ๔. กระดาษ ๕. สีไม้ ๖. กระดาษสี สังเกต ๑. การใช้ความคิด และจินตนาการใน การทำกิจกรรม ๒. การทํางานที่ ได้รับมอบหมายจน สําเร็จด้วยตนเอง ๓. การร่วมทำ กิจกรรมอย่างมี ความสุข


วันที่ จุดประสงค์ การ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๑ การเล่นตามมุม ๑. แก้ปัญหาในการเล่น ร่วมกับผู้อื่นได้(K) ๒. เลือกเล่นตามมุมที่ สนใจได้(P) ๓. ร่วมกิจกรรมอย่างมี ความสุข (A) - การเล่นเครื่องเล่น สัมผัสและการสร้างสิ่ง ต่างๆ จากแท่งไม้ บล็อก - การเล่นตามมุม ประสบการณ์/มุมเล่น ต่าง ๆ - การอ่านหนังสือ ภาพ นิทาหลากหลาย ประเภท/รูปแบบ - การอ่านอย่างอิสระ ตามลำพัง การอ่าน ร่วมกัน การอ่านโดยมี ผู้ชี้แนะ - การอ่านและชี้ ข้อความ โดยกวาด สายตาตามบรรทัด จากซ้ายไปขวา จาก บนลงล่าง - เล่นตามมุมเสริม ประสบการณ์ต่าง ๆ ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “เล่นกันดีดี” ๒. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง ดังนี้ - ไม่แย่งของเล่น เล่นตามลำดับก่อนหลัง - ไม่โยนหรือขว้างปาของเล่น - แบ่งปันของเล่น - เมื่อเลิกเล่นให้ช่วยกันเก็บอุปกรณ์ ขั้นสอน ๓. ครูแนะนำมุมต่างๆที่จะให้เด็กเล่นในวันนี้ ได้แก่ - มุมรักการอ่าน - มุมบทบาทสมมติ - มุมบล็อก - มุมคณิตศาสตร์ - มุมเกมการศึกษา ๔. เด็กเลือกเล่นตามมุมที่ครูกำหนด ๕. ขณะที่เด็กเล่นครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด เมื่อเด็กมีปัญหาและต้องการคำแนะนำ และ สังเกตพฤติกรรมการเล่นของเด็ก ๖. ก่อนหมดเวลา ครูให้สัญญาณให้เด็กเก็บ ของเข้าที่โดยร้องเพลง “เก็บของ” ๗. เด็กช่วยกันเก็บของเล่นเข้าที่ ขั้นสรุป ๘. ครูและเด็กร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเล่น ตามมุม ๑. มุมประสบการณ์ ต่าง ๆ ๒. คำคล้องจอง “เล่นกันดีดี” สังเกต ๑. การแก้ปัญหาใน การเล่นร่วมกับ ผู้อื่น ๒. การเลือกเล่น ตามมุมที่สนใจ ๓. การการร่วม กิจกรรมอย่างมี ความสุข


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๑ กิจกรรมกลางแจ้ง ๑. ใช้กล้ามเนื้อใหญ่ได้ อย่างคล่องแคล่ว (K) ๒. รอคอยโอกาสที่จะ เล่น ด้วยความอดทนได้ (P) ๓. เล่นกับเพื่อนอย่าง สนุกสนานได้(A) - การเล่นอิสระ - การเล่นนอก ห้องเรียน - การปฏิบัติกิจกรรม ต่าง ๆ ตาม ความสามารถของตน - การเคลื่อนไหว ร่างกายเคลื่อนที่และ อยู่กับที่ - การเล่นเครื่องเล่น สนาม ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กเดินแถวไปที่ใต้ร่มไม้ข้างสนาม บริเวณโรงเรียนอย่างเป็นระเบียบ ขั้นสอน ๒. ครูและเด็กร่วมกันสนทนาถึงการปฏิบัติตน ขณะเล่นเครื่องเล่นสนามและการระวัง อันตรายต่าง ๆ ที่เกิดจากการปฏิบัติกิจกรรม ๓. เด็กๆ ทุกคนร่วมกันเล่นเครื่องเล่นสนาม โดยครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด ๔. ให้สัญญาณนกหวีดรวมเด็ก ให้เด็กนั่งใน ท่าที่สบายแล้วร่วมสนทนาถึงความรู้สึก เกี่ยวกับการเล่นและชมเชย ขั้นสรุป ๕. เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรมในครั้งนี้ ๖. เด็กทำความสะอาดร่างกายแล้วเดินแถว เข้าห้องเรียนอย่างเป็นระเบียบ - การเล่นเครื่องเล่น สนาม สังเกต ๑. การใช้กล้ามเนื้อ ใหญ่ได้อย่างคล่อง แคล่ว ๒. การรอคอย โอกาสที่จะเล่น ด้วยความอดทน ๓. การเล่นกับ เพื่อนอย่าง สนุกสนาน


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๑ กิจกรรมเกมการศึกษา ๑. เล่นเกมภาพตัดต่อวัน แม่แห่งชาติได้ถูก ต้อง (K) ๒. แก้ปัญหาเฉพาะหน้า ในการเล่นเกมได้(P) ๓. เล่นและทำกิจกรรม กับผู้อื่นได้ (A) - การให้ความร่วมมือ ในการปฏิบัติกิจกรรม ต่าง ๆ - การต่อของชิ้นเล็ก เติมในชิ้นใหญ่ให้ สมบูรณ์และการแยก ชิ้นส่วน - การสังเกตความ เหมือนและความต่าง - การเล่นเกมภาพตัด ต่อวันแม่แห่งชาติ ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “แม่ จ๊ะ แม่จ๋า” ๒. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงในการ เล่นเกม ดังนี้ - ไม่ส่งเสียงรบกวน ขณะทำกิจกรรม - ไม่หยอกล้อเล่นกัน ขณะทำกิจกรรม ขั้นสอน ๓. ครูแนะนำเกมชุดใหม่ และสาธิตวิธีการ เล่นเกมภาพตัดต่อวันแม่แห่งชาติ ๔. ครูแจกเกมภาพตัดต่อวันแม่แห่งชาติ ให้ ๑ กลุ่ม อีก ๒ กลุ่ม เล่นเกมการศึกษา ชุดเดิม ๕. เด็ก ๆ เล่นเกมภาพตัดต่อวันแม่แห่งชาติ สลับกับเกมที่เคยเล่นมาก่อนขณะที่เด็กเล่น เกมครูคอยสังเกตพฤติกรรมการเล่นของเด็ก ๖. เมื่อใกล้หมดเวลา ครูให้สัญญาณเด็กเก็บ เกมด้วยเพลง “เก็บของ” ขั้นสรุป ๗. ครูและเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมที่ทำใน ครั้งนี้ รวมทั้งปัญหาและข้อเสนอแนะในการ ทำกิจกรรมครั้งต่อไป ๑. เกมภาพตัดต่อ วันแม่แห่งชาติ ๒. เกมการศึกษา ชุดเดิม ๓. คำคล้องจอง “แม่จ๊ะ แม่จ๋า” สังเกต ๑. การเล่นเกมภาพ ตัดต่อวันแม่แห่ง ชาติ ๒. การแก้ปัญหา เฉพาะหน้าในการ เล่นเกม ๓. การเล่นและทำ กิจกรรมกับผู้อื่น


แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ ๒ หน่วยที่ ๑๓ วันแม่ ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๒ กิจกรรมเคลื่อนไหวและ จังหวะ ๑. ฟังและปฏิบัติตาม สัญญาณได้(K) ๒. ทำท่าทางเคลื่อน ไหว ประกอบอุปกรณ์ได้(P) ๓. ร่วมกิจกรรมกับเพื่อน อย่างสนุกสนาน (A) - เคลื่อนไหวอยู่กับที่ - เคลื่อนไหวเคลื่อนที่ - การเล่นและการ ทำงานร่วมกับผู้อื่น - การเริ่มต้นและการ หยุดการกระทำโดย สัญญาณ - เคลื่อนไหวประกอบ อุปกรณ์(เชือก) ขั้นนำ ๑. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวร่างกายอย่างอิสระตาม จังหวะช้า – เร็ว – หยุด ให้เด็กเคลื่อนไหว ร่างกายไปทั่ว ๆ บริเวณอย่างอิสระเมื่อได้ยิน สัญญาณ “หยุด” ให้หยุดเคลื่อนไหวในท่า นั้นทันที ขั้นสอน ๒. ครูอธิบายวิธีการและสร้างข้อตกลงในการ ทำท่าทางประกอบอุปกรณ์เพลงบรรเลง ๓. ครูให้เด็ก ๆ หยิบเชือกคนละ ๑ เส้น ๔. เด็ก ๆ ทุกคนร่วมกันทำท่าทางประกอบ อุปกรณ์ด้วยตนเองตามจินตนาการของเด็ก โดยครูเป็นผู้เปิดเพลงบรรเลง ๕. เด็ก ๆ ทุกคนร่วมกันทำท่าทางประกอบ อุปกรณ์เพลงบรรเลง ๖. ให้เด็กผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ขั้นสรุป ๗. ครูสนทนาซักถามเด็ก ๆ ดังต่อไปนี้ - เด็ก ๆ มีความรู้สึกอย่างไรบ้าง ๑. เครื่องเคาะ จังหวะ ๒. เพลงบรรเลง ๓. เชือก สังเกต ๑. การฟังและ ปฏิบัติตามสัญญาณ ๒. การทำท่าทาง เคลื่อนไหว ประกอบอุปกรณ์ ๓. การร่วม กิจกรรมกับเพื่อน อย่างสนุกสนาน


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๒ กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ ๑. บอกพระราชประวัติ ของสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินี นาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวงได้(K) ๒. แสดงความคิดเห็น ร่วมกับเพื่อนและครูได้ (P) ๓. ร่วมกิจกรรมกับเพื่อน และครูได้(A) - การร่วมสนทนา และแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น - การพูดกับผู้อื่นเกี่ยว กับประสบการณ์ของ ตนเอง - การเล่นและการ ทำงานร่วมกับผู้อื่น - พระราชประวัติของ สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินี นาถ พระบรมราช ชนนีพันปีหลวง ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “ความรักของแม่” ๒. ครูร่วมสนทนากับเด็กเกี่ยวกับคำคล้องจอง โดยใช้คำถาม ดังนี้ - ในคำคล้องจองพูดถึงเรื่องอะไร ขั้นสอน ๓. ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับพระราช ประวัติของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง โดยครูใช้คำถามดังนี้ - เด็ก ๆ รู้จักสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง หรือไม่ ๔. ครูนำภาพของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง มาให้เด็ก ๆ ดู ๕. ครูเล่าถึงพระราชประวัติสมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราช ชนนีพันปีหลวง ๆ ฟัง พร้อมกับให้ดูแผ่นพับ พระราชประวัติ ขั้นสรุป ๗. ครูและเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมในครั้งนี้ โดยใช้คำถามดังนี้ - พระราชประวัติของพระองค์มีอะไรบ้าง ๑. คำคล้องจอง “ความรักของแม่” ๒. บัตรภาพสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง ๓. แผ่นพับพระราช ประวัติของสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง สังเกต ๑. การบอกพระ ราชประวัติของ สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถ พระบรม ราชชนนีพันปีหลวง ๒. การแสดงความ คิดเห็นร่วมกับ เพื่อนและครู ๓. การร่วม กิจกรรมกับเพื่อน และครู


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๒ กิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์ ๑. ใช้ความคิดและ จินตนาการในการทำ กิจกรรมได้ (K) ๒. ทํางานที่ได้รับ มอบหมายจนสําเร็จด้วย ตนเองได้ (P) ๓. ร่วมทำกิจกรรมอย่าง มีความสุข (A) - การเขียนภาพ และการเล่นกับสี - การสร้างสรรค์สิ่งสวย งาม - การทำกิจกรรมศิลปะ ต่าง ๆ - การแสดงความคิด สร้างสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การเคลื่อนไหว และ ศิลปะ - การทำงานศิลปะ - การหยิบจับ การใช้ กรรไกร การฉีก การ ตัด การปะ และการ ร้อยวัสดุ - พิมพ์ภาพด้วยนิ้วมือ และวาดต่อเติมรูปภาพ - พับสี - ขยำกระดาษแก้ว ปะ ติด พวงมาลัย ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “แม่จ๊ะ แม่จ๋า” ขั้นสอน ๒. ครูแนะนำกิจกรรมสร้างสรรค์ ประกอบด้วย - พิมพ์ภาพด้วยนิ้วมือและวาดต่อเติม รูปภาพ - พับสี - ขยำกระดาษแก้ว ปะติด พวงมาลัย ๓. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ เมื่อ ทำงานเสร็จนำมาภาพมาให้ครูเขียน บรรยายภาพ หรือผลงาน ๔. หลังจากทำงานเสร็จแล้วให้เก็บชิ้นงาน และให้เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ทำความ สะอาดบริเวณให้เรียบร้อย ๕. ให้เด็ก ๔-๕ คนออกมานำเสนอผลงาน และร่วมแสดงความชื่นชมผลงานของตนเอง และเพื่อน ขั้นสรุป ๖. ครูและเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมในครั้งนี้ ๑. กระดาษแก้ว ๒. พู่กัน ๓. ภาพพวงมาลัย ๔. กระดาษ ๕. จานสี ๖. สีน้ำ ๗. ๘. คำคล้องจอง “แม่จ๊ะ แม่จ๋า” สังเกต ๑. การใช้ความคิด และจินตนาการใน การทำกิจกรรม ๒. การทํางานที่ ได้รับมอบหมายจน สําเร็จด้วยตนเอง ๓. การร่วมทำ กิจกรรมอย่างมี ความสุข


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๒ การเล่นตามมุม ๑. แก้ปัญหาในการเล่น ร่วมกับผู้อื่นได้(K) ๒. เลือกเล่นตามมุมที่ สนใจได้ (P) ๓. ร่วมกิจกรรมอย่างมี ความสุข (A) - การเล่นเครื่องเล่น สัมผัสและการสร้างสิ่ง ต่างๆ จากแท่งไม้ บล็อก - การเล่นตามมุม ประสบการณ์/มุมเล่น ต่างๆ - การเล่นอิสระ - การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย และกลุ่ม ใหญ่ - เล่นตามมุมเสริม ประสบการณ์ต่าง ๆ ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “เพื่อนกัน” ๒. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง ดังนี้ - ไม่แย่งของเล่น เล่นตามลำดับก่อนหลัง - ไม่โยนหรือขว้างปาของเล่น - แบ่งปันของเล่น - เมื่อเลิกเล่นให้ช่วยกันเก็บอุปกรณ์ ขั้นสอน ๓. ครูแนะนำมุมต่างๆที่จะให้เด็กเล่นในวันนี้ ได้แก่ - มุมรักการอ่าน - มุมบทบาทสมมติ - มุมบล็อก - มุมคณิตศาสตร์ - มุมเกมการศึกษา ๔. เด็กเลือกเล่นตามมุมที่ครูกำหนด ๕. ขณะที่เด็กเล่นครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด เมื่อเด็กมีปัญหาและต้องการคำแนะนำ และ สังเกตพฤติกรรมการเล่นของเด็ก ๖. ก่อนหมดเวลา ครูให้สัญญาณให้เด็กเก็บ ของเข้าที่โดยร้องเพลง “เก็บของ” ๗. เด็กช่วยกันเก็บของเล่นเข้าที่ ขั้นสรุป ๘. ครูและเด็กร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเล่น ตามมุม ๑. มุมเสริม ประสบการณ์ ต่าง ๆ ๒. คำคล้องจอง “เพื่อนกัน” สังเกต ๑. การแก้ปัญหาใน การเล่นร่วมกับ ผู้อื่น ๒. การเลือกเล่น ตามมุมที่สนใจ ๓. การร่วม กิจกรรมอย่างมี ความสุข


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๒ กิจกรรมกลางแจ้ง ๑. บอกกฎกติกาการเล่น ได้ (K) ๒. เล่นเกมตามหาลูก ได้(P) ๓. เล่นกับเพื่อนอย่าง สนุกสนานได้ (A) - การเล่นอิสระ - การเล่นนอก ห้องเรียน - การปฏิบัติกิจกรรม ต่าง ๆ ตาม ความสามารถของตน - การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย และกลุ่ม ใหญ่ - การเล่นเกมตามหา ลูก ขั้นนำ ๑. เด็กเข้าแถวเอามือจับไหล่ต่อกันเป็น รถไฟแล้วเดินไปร่มไม้ ๒. ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายด้วยการ กระโดดตบ ยกเข่าสูง ก้มแตะขา-แตะมือ เพื่ออบอุ่นร่างกาย ขั้นสอน ๓. ครูแนะนำวิธีการการเล่นเกมตามหาลูก และร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่น ๔. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นอย่าง ปลอดภัย ๕. ครูให้เด็กจับกลุ่มตามความสมัครใจ ๒ กลุ่ม เข้าแถวตอนลึก ๖. ครูแจกผ้าปิดตาให้เด็กทุกคน ยกเว้นคน สุดท้าย ให้เด็กทุกคนที่ได้ผ้าปิดตา ครูนำ ตุ๊กตาไปวางไว้ที่มุมหนึ่ง แล้วให้คนสุดท้าย บอกทางให้กับเพื่อนว่าไปทางไหน จนกว่า คนแรกจะเจอตุ๊กตาถึงจะเป็นผู้ชนะ ครูให้ สัญญาณเด็กเริ่มเล่น ๗. เมื่อครูให้สัญญาณหมดเวลาเด็กเข้าแถว และทำความสะอาดร่างกาย ขั้นสรุป ๘. เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรมในครั้งนี้ ๙. เด็ก ๆ เข้าแถวเดินไปทำความสะอาด ร่างกายก่อนกลับเข้าห้องเรียน ๑. ผ้าปิดตา ๒. ตุ๊กตา สังเกต ๑. การบอกกฎ กติกาการเล่น ๒. การเล่นเกมตาม หาลูก ๓. การเล่นกับ เพื่อนอย่าง สนุกสนาน


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๒ กิจกรรมเกมการศึกษา ๑. เล่นเกมเรียงขนาด ภาพวันแม่ได้ถูกต้อง (K) ๒. แก้ปัญหาเฉพาะหน้า ในการเล่นเกมได้(P) ๓. เล่นและทำกิจกรรม กับผู้อื่นได้ (A) - การให้ความร่วมมือ ในการปฏิบัติกิจกรรม ต่าง ๆ - การจับคู่ การ เปรียบเทียบสิ่งต่าง ๆ - การสังเกตความ เหมือนและความต่าง - เล่นร่วมกับกลุ่มเพื่อน - การเล่นเกมเรียง ขนาดภาพวันแม่ ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “เด็กดี มีน้ำใจ” ๒. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงในการ เล่นเกม ดังนี้ - ไม่ส่งเสียงรบกวน ขณะทำกิจกรรม - ไม่หยอกล้อเล่นกัน ขณะทำกิจกรรม ขั้นสอน ๓. ครูแนะนำเกมชุดใหม่ และสาธิตวิธีการ เล่นเกมเรียงขนาดภาพวันแม่ ๔. ครูแจกเกมเรียงขนาดภาพวันแม่ ให้ ๑ กลุ่ม อีก ๒ กลุ่ม เล่นเกมการศึกษาชุดเดิม ๕. เด็ก ๆ เล่นเกมเรียงขนาดภาพวันแม่สลับ กับเกมที่เคยเล่นมาก่อนขณะที่เด็กเล่นเกม ครูคอยสังเกตพฤติกรรมการเล่นของเด็ก ๖. เมื่อใกล้หมดเวลา ครูให้สัญญาณเด็กเก็บ เกมด้วยเพลง “เก็บของ” ขั้นสรุป ๗. ครูและเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมที่ทำใน ครั้งนี้ รวมทั้งปัญหาและข้อเสนอแนะในการ ทำกิจกรรมครั้งต่อไป ๑. เกมเรียงขนาด ภาพวันแม่ ๒. เกมการศึกษา ชุดเดิม ๓. คำคล้องจอง “เด็กดีมีน้ำใจ” สังเกต ๑. การเล่นเกมเรียง ขนาดภาพวันแม่ ๒. การแก้ปัญหา เฉพาะหน้าในการ เล่นเกม ๓. การเล่นและทำ กิจกรรมกับผู้อื่น


แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ ๓ หน่วยที่ ๑๓ วันแม่ ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ วันที่ จุดประสงค์ การ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๓ กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ ๑. เคลื่อนไหวส่วน ต่างๆ ของร่างกายได้ อย่างคล่องแคล่ว (K) ๒. เคลื่อนไหวเป็นผู้นำ ผู้ตามได้ (P) ๓. ร่วมกิจกรรมกับ เพื่อนอย่างสนุกสนาน (A) - เคลื่อนไหวอยู่กับที่ - เคลื่อนไหวเคลื่อนที่ - การเคลื่อนไหวโดย ควบคุมตนเองไปใน ทิศทาง ระดับ และพื้นที่ - เคลื่อนไหวเป็นผู้นำ ผู้ตาม ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “วัน แม่” ๒. ครูและเด็กสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำ กิจกรรม ดังนี้ - ไม่ส่งเสียงรบกวน ขณะทำกิจกรรม - ไม่หยอกล้อเล่นกัน ขณะทำกิจกรรม ขั้นสอน ๒. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวพื้นฐาน คลาน วิ่ง กระโดดตามจังหวะ เมื่อได้ยินสัญญาณหยุด ให้หยุดอยู่กับที่ทันที ๓. เด็กอาสาสมัครเป็นผู้นำในการทำท่าทาง ประกอบจังหวะ โดยครูเคาะจังหวะให้ ๔. เด็ก ๆ ทำท่าทางตามผู้นำประกอบ จังหวะที่ครูเคาะ ๕. ผลัดเปลี่ยนออกมาเป็นผู้นำในการทำ ท่าทางประกอบจังหวะตามความคิดของ ตนเอง ๖. หมดเวลาให้เด็ก ๆ นั่งพัก ขั้นสรุป ๗. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการทำ กิจกรรมและเสนอแนะการปฏิบัติกิจกรรม ในครั้งต่อไป ๑. เครื่อง เคาะ จังหวะ ๒. คำคล้องจอง “วันแม่” สังเกต ๑. การเคลื่อน ไหว ส่วนต่างๆ ของ ร่างกายได้อย่าง คล่องแคล่ว ๒. การเคลื่อนไหว เป็นผู้นำผู้ตาม ๓. การร่วม กิจกรรมกับเพื่อน อย่างสนุกสนาน


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๓ กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ ๑. บอกพระราชกรณีย กิจของสมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี นาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวงได้(K) ๒. แสดงความคิดเห็น ร่วมกับเพื่อนและครู ได้(P) ๓. ร่วมกิจกรรมกับเพื่อน และครูได้(A) - การร่วมสนทนา และแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น - การพูดกับผู้อื่น เกี่ยวกับประสบการณ์ ของตนเอง - การเล่นและการ ทำงานร่วมกับผู้อื่น - พระราชกรณียกิจ ของสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินี นาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “แม่รักลูก” ๒. ครูร่วมสนทนากับเด็กเกี่ยวกับคำคล้องจอง โดยใช้คำถาม ดังนี้ - ในคำคล้องจองพูดถึงเรื่องอะไร ขั้นสอน ๓. ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับพระราช กรณียกิจของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง โดยครูใช้คำถามดังนี้ - เด็ก ๆ รู้จักคำว่าพระราชกรณียกิจหรือไม่ - พระราชกรณียกิจของพระองค์มีอะไรบ้าง ๔. ครูอธิบายคำว่า พระราชกรณียกิจ ให้เด็ก ๆ ฟัง และนำภาพพระราชกรณียกิจของ พระองค์มาให้เด็ก ๆ ดู ๕. ครูเล่าถึงพระราชกรณียกิจของสมเด็จพระ นางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรม ราชชนนีพันปีหลวง ให้เด็ก ๆ ฟัง พร้อมกับให้ ดูบัตรภาพ ขั้นสรุป ๗. ครูและเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมในครั้งนี้ โดยใช้คำถามดังนี้ - พระราชกรณียกิจหมายถึงอะไร - พระราชกรณียกิจของพระองค์มีอะไรบ้าง ๑. คำคล้องจอง “แม่รักลูก” ๒. บัตรภาพพระ ราชกรณียกิจของ สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถ พระบรม ราชชนนีพันปีหลวง สังเกต ๑. การบอกพระ ราชกรณียกิจของ สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถ พระบรม ราชชนนีพันปีหลวง ๒. การแสดงความ คิดเห็นร่วมกับ เพื่อนและครู ๓. การร่วม กิจกรรมกับเพื่อน และครู


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๓ กิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์ ๑. ใช้ความคิดและ จินตนาการในการทำ กิจกรรมได้ (K) ๒. ทํางานที่ได้รับ มอบหมายจนสําเร็จ ด้วยตนเองได้ (P) ๓. ร่วมทำกิจกรรม อย่างมีความสุข (A) - การเขียนภาพ และการ เล่นกับสี - การหยิบจับ การใช้ กรรไกร การฉีก การตัด การปะ และการร้อยวัสดุ - การปั้น - การทำกิจกรรมศิลปะ ต่าง ๆ - การสร้างสรรค์สิ่งสวย งาม - การทำงานศิลปะ - เป่าสี - ร้อยพวงมาลัยจาก วัสดุเหลือใช้ - ปั้นดินน้ำมัน ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “ความรักของแม่” ขั้นสอน ๒. ครูแนะนำกิจกรรมสร้างสรรค์ ประกอบด้วย - เป่าสี - ร้อยพวงมาลัยจากวัสดุเหลือใช้ - ปั้นดินน้ำมัน ๓. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ เมื่อ ทำงานเสร็จนำมาภาพมาให้ครูเขียน บรรยายภาพ หรือผลงาน ๔. หลังจากทำงานเสร็จแล้วให้เก็บชิ้นงาน และให้เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ทำความ สะอาดบริเวณให้เรียบร้อย ๕. ให้เด็ก ๔ - ๕ คนออกมานำเสนอผลงาน และร่วมแสดงความชื่นชมผลงานของตนเอง และเพื่อน ขั้นสรุป ๖. ครูและเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมในครั้งนี้ ๑. ดินน้ำมัน ๒. แผ่นรองปั้น ๓. สีน้ำ ๔. พู่กัน ๕. จานสี ๖. วัสดุเหลือใช้ ๗. กระดาษ ๘. เชือก ๙. คำคล้องจอง “ความรักของแม่” สังเกต ๑. การใช้ความคิด และจินตนาการใน การทำกิจกรรม ๒. การทํางานที่ ได้รับมอบหมายจน สําเร็จด้วยตนเอง ๓. การร่วมทำ กิจกรรมอย่างมี ความสุข


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๓ การเล่นตามมุม ๑. แก้ปัญหาในการเล่น ร่วมกับผู้อื่นได้(K) ๒. เลือกเล่นตามมุมที่ สนใจได้ (P) ๓. ร่วมกิจกรรมอย่างมี ความสุข (A) - การเล่นเครื่องเล่น สัมผัสและการสร้างสิ่ง ต่างๆ จากแท่งไม้ บล็อก - การเล่นตามมุม ประสบการณ์/มุมเล่น ต่างๆ - การเล่นอิสระ - การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย และกลุ่ม ใหญ่ - เล่นตามมุมเสริม ประสบการณ์ต่าง ๆ ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “เพื่อนกัน” ๒. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง ดังนี้ - ไม่แย่งของเล่น เล่นตามลำดับก่อนหลัง - ไม่โยนหรือขว้างปาของเล่น - แบ่งปันของเล่น - เมื่อเลิกเล่นให้ช่วยกันเก็บอุปกรณ์ ขั้นสอน ๓. ครูแนะนำมุมต่างๆที่จะให้เด็กเล่นในวันนี้ ได้แก่ - มุมรักการอ่าน - มุมบทบาทสมมติ - มุมบล็อก - มุมคณิตศาสตร์ - มุมเกมการศึกษา ๔. เด็กเลือกเล่นตามมุมที่ครูกำหนด ๕. ขณะที่เด็กเล่นครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด เมื่อเด็กมีปัญหาและต้องการคำแนะนำ และ สังเกตพฤติกรรมการเล่นของเด็ก ๖. ก่อนหมดเวลา ครูให้สัญญาณให้เด็กเก็บ ของเข้าที่โดยร้องเพลง “เก็บของ” ๗. เด็กช่วยกันเก็บของเล่นเข้าที่ ขั้นสรุป ๘. ครูและเด็กร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเล่น ตามมุม ๑. มุมเสริม ประสบการณ์ ต่าง ๆ ๒. คำคล้องจอง “เพื่อนกัน” สังเกต ๑. การแก้ปัญหาใน การเล่นร่วมกับผู้อื่น ๒. การเลือกเล่นตาม มุมที่สนใจ ๓. การร่วมกิจกรรม อย่างมีความสุข


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๓ กิจกรรมกลางแจ้ง ๑. บอกกฎกติกาการเล่น ได้ (K) ๒. วิ่งส่งพวงมาลัยหลบ สิ่งกีดขวางได้(P) ๓. เล่นกับเพื่อนอย่าง สนุกสนานได้ (A) - การเล่นอิสระ - การเล่นนอก ห้องเรียน - การปฏิบัติกิจกรรม ต่าง ๆ ตาม ความสามารถของตน - การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย และกลุ่ม ใหญ่ - การเคลื่อนไหวข้าม สิ่งกีดขวาง - การเล่นเกมวิ่งส่ง พวงมาลัยหลบสิ่งกีด ขวาง ขั้นนำ ๑. เด็กเข้าแถวเอามือจับไหล่ต่อกันเป็น รถไฟแล้วเดินไปร่มไม้ ๒. ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายด้วยการ กระโดดตบ สะบัดมือหมุนข้อเท้า กางแขน ออกบิดไปทางซ้าย ขวา ขั้นสอน ๓. ครูแนะนำวิธีการการเล่นเกมวิ่งส่ง พวงมาลัยหลบสิ่งกีดขวางและร่วมกันสร้าง ข้อตกลงในการเล่น ๔. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นอย่าง ปลอดภัย ๕. ครูให้เด็กจับกลุ่มตามความสมัครใจ ๒ กลุ่ม เข้าแถวตอนลึก ๖. ครูให้เด็กที่อยู่หัวแถวหยิบพวงมาลัยที่ครู เตรียมไว้ที่จุดเริ่มต้น วิ่งหลบสิ่งกีดขว้างแล้ว วนกลับมาที่จุดเริ่มต้น ส่งพวงมาลัยต่อให้ เพื่อนแล้วไปต่อคนสุดท้าย หมุนเวียนเล่น คนละ ๒ รอบให้ครบทุกคน ๗. เมื่อครูให้สัญญาณหมดเวลาเด็กเข้าแถว และทำความสะอาดร่างกาย ขั้นสรุป ๘. เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรมในครั้งนี้ ๙. เด็ก ๆ เข้าแถวเดินไปทำความสะอาด ร่างกายก่อนกลับเข้าห้องเรียน ๑. กรวย ๒. พวงมาลัย สังเกต ๑. การบอกกฎ กติกาการเล่น ๒. การวิ่งส่งพวง มาลัยหลบสิ่งกีด ขวาง ๓. การเล่นกับ เพื่อนอย่าง สนุกสนาน


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๓ กิจกรรมเกมการศึกษา ๑. จับคู่ภาพกับเงาวันแม่ ได้ (K) ๒. แก้ปัญหาเฉพาะหน้า ในการเล่นเกมได้(P) ๓. เล่นและทำกิจกรรม กับผู้อื่นได้(A) - การจับคู่ การ เปรียบเทียบและการ เรียงลำดับสิ่งต่างๆตาม ลักษณะความยาว/ ความสูงน้ำหนัก ปริมาตร - การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ - การเล่นและการทำ งานร่วมกับผู้อื่น - การเล่นเกมจับคู่ ภาพกับเงาวันแม่ ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “เล่น กันดีดี” ๒. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่น เกม ดังนี้ - ไม่ส่งเสียงรบกวน ขณะทำกิจกรรม - ไม่หยอกล้อเล่นกัน ขณะทำกิจกรรม ขั้นสอน ๓. ครูแนะนำเกมชุดใหม่ และสาธิตวิธีการเล่น เกมจับคู่ภาพกับเงาวันแม่ ๔. ครูแจกเกมจับคู่ภาพกับเงาวันแม่ ให้ ๑ กลุ่ม อีก ๒ กลุ่ม เล่นเกมการศึกษาชุดเดิม ๕. เด็ก ๆ เล่นเกมจับคู่ภาพกับเงาวันแม่สลับ กับเกมที่เคยเล่นมาก่อน ขณะที่เด็กเล่นเกม ครูคอยสังเกตพฤติกรรมการเล่นของเด็ก ๖. เมื่อใกล้หมดเวลา ครูให้สัญญาณเด็กเก็บ เกมด้วยเพลง “เก็บของ” ขั้นสรุป ๗. ครูและเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมที่ทำในครั้ง นี้ รวมทั้งปัญหาและข้อเสนอแนะในการทำ กิจกรรมครั้งต่อไป ๑. เกมจับคู่ภาพกับ เงาวันแม่ ๒. เกมการศึกษา ชุดเดิม ๓. คำคล้องจอง “เล่นกันดีดี” สังเกต ๑. การเล่นเกมจับคู่ ภาพกับเงาวันแม่ ๒. การแก้ปัญหา เฉพาะหน้าในการ เล่นเกม ๓. เล่นและทำ กิจกรรมกับผู้อื่น


แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ ๔ หน่วยที่ ๑๓ วันแม่ ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ วันที่ จุดประสงค์ การ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๔ กิจกรรมเคลื่อนไหวและ จังหวะ ๑. ปฏิบัติตามคำสั่งได้(K) ๒. เคลื่อนไหวร่างกาย ตามจังหวะช้า เร็ว ได้(P) ๓. ร่วมทำกิจกรรมกับ เพื่อนอย่างสนุกสนาน(A) - เคลื่อนไหวอยู่กับที่ - เคลื่อนไหวเคลื่อนที่ - การเล่นและการ ทำงานร่วมกับผู้อื่น - การเริ่มต้นและการ หยุดการกระทำโดย สัญญาณ - การปฏิบัติตามคำสั่ง - เคลื่อนไหวร่างกาย ตามจังหวะ ช้า เร็ว ด้วยเครื่องเคาะ จังหวะ ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “วัน แม่” ๒. ครูและเด็กสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำ กิจกรรม ดังนี้ - ไม่ส่งเสียงรบกวน ขณะทำกิจกรรม - ไม่หยอกล้อเล่นกัน ขณะทำกิจกรรม ขั้นสอน ๓. ครูให้เด็ก ๆ เคลื่อนไหวร่างกายอย่างอิสระ ตามจังหวะช้า-เร็ว เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้ หยุดเคลื่อนไหวท่านั้นทันที ๔. ครูให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายไปรอบๆ บริเวณห้องเรียนอย่างอิสระตามจังหวะ ที่ครูเคาะ เมื่อได้ยินสัญญาณหยุด ให้หยุด ในทันที ๕. ปฏิบัติตามข้อ ๔ อีก ๒-๓ รอบ ๖. ให้เด็กผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ขั้นสรุป ๗. ครูสนทนาซักถามเด็ก ๆ ดังต่อไปนี้ - เด็ก ๆ มีความรู้สึกอย่างไรบ้าง ๑. เครื่องเคาะ จังหวะ ๒. คำคล้องจอง “วันแม่” สังเกต ๑. การปฏิบัติตาม คำสั่ง ๒. การเคลื่อนไหว ร่างกายตามจังหวะ ช้า เร็ว ๓. การร่วม กิจกรรมกับเพื่อน อย่างสนุกสนาน


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๔ กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ ๑. บอกสัญลักษณ์และ กิจกรรมวันแม่ได้(K) ๒. แสดงความคิดเห็น ร่วมกับเพื่อนและครู ได้(P) ๓. ร่วมกิจกรรมกับเพื่อน และครูได้(A) - การร่วมสนทนา และแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น - การพูดกับผู้อื่น เกี่ยวกับประสบการณ์ ของตนเอง - การเล่นและการ ทำงานร่วมกับผู้อื่น - สัญลักษณ์ของวันแม่ - กิจกรรมวันแม่ ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “วันแม่” ๒. ครูร่วมสนทนากับเด็กเกี่ยวกับคำคล้องจอง โดยใช้คำถาม ดังนี้ - ในคำคล้องจองพูดถึงเรื่องอะไร ขั้นสอน ๓. ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับ สัญลักษณ์และกิจกรรมในวันแม่แห่งชาติโดย ครูใช้คำถามดังนี้ - เด็ก ๆ รู้หรือไม่สัญลักษณ์วันแม่มี อะไรบ้าง - ในวันแม่ทำกิจกรรมอะไรบ้าง ๔. ครูนำป๊อปอัพสัญลักษณ์และกิจกรรมวัน แม่มาให้เด็ก ๆ ดู พร้อมร่วมกันแสดงความ คิดเห็นแก้วกับภาพ ๕. ครูขออาสาเด็กออกมาพูดเกี่ยวกับกิจกรรม ที่ตนจะทำในวันแม่ให้เพื่อนและครูฟัง ขั้นสรุป ๗. ครูและเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมในครั้งนี้ โดยใช้คำถามดังนี้ - กิจกรรมวันแม่ทำอะไรบ้าง - สัญลักษณ์วันแม่มีอะไรบ้าง ๑. คำคล้องจอง “วันแม่” ๒. ป๊อปอัพ สัญลักษณ์และ กิจกรรมวันแม่ สังเกต ๑. การบอก สัญลักษณ์และ กิจกรรมวันแม่ ๒. การแสดงความ คิดเห็นร่วมกับ เพื่อนและครู ๓. การร่วม กิจกรรมกับเพื่อน และครู


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๔ กิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์ ๑. ใช้ความคิดและ จินตนาการในการทำ กิจกรรมได้ (K) ๒. ทํางานที่ได้รับ มอบหมายจนสําเร็จ ด้วยตนเองได้ (P) ๓. ร่วมทำกิจกรรม อย่างมีความสุข (A) - การเขียนภาพ และการ เล่นกับสี - การหยิบจับ การใช้ กรรไกร การฉีก การตัด การปะ และการร้อยวัสดุ - การทำกิจกรรมศิลปะ ต่าง ๆ - การสร้างสรรค์สิ่งสวย งาม - การทำงานศิลปะ - ฉีก ปะ ติด ภาพ ดอกมะลิ - พิมพ์ภาพจาก ดอกไม้ - วาดภาพระบายสี น้ำ ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “ความรักของแม่” ขั้นสอน ๒. ครูแนะนำกิจกรรมสร้างสรรค์ ประกอบด้วย - ฉีก ปะ ติด ภาพดอกมะลิ - พิมพ์ภาพจากดอกไม้ - วาดภาพระบายสีน้ำ ๓. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ เมื่อ ทำงานเสร็จนำมาภาพมาให้ครูเขียน บรรยายภาพ หรือผลงาน ๔. หลังจากทำงานเสร็จแล้วให้เก็บชิ้นงาน และให้เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ทำความ สะอาดบริเวณให้เรียบร้อย ๕. ให้เด็ก ๔ - ๕ คนออกมานำเสนอผลงาน และร่วมแสดงความชื่นชมผลงานของตนเอง และเพื่อน ขั้นสรุป ๖. ครูและเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมในครั้งนี้ ๑. ดอกไม้ ๒. ภาพดอกมะลิ ๓. สีน้ำ ๔. พู่กัน ๕. จานสี ๖. กระดาษ ๗. คำคล้องจอง “ความรักของแม่” สังเกต ๑. การใช้ความคิด และจินตนาการใน การทำกิจกรรม ๒. การทํางานที่ ได้รับมอบหมายจน สําเร็จด้วยตนเอง ๓. การร่วมทำ กิจกรรมอย่างมี ความสุข


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๔ การเล่นตามมุม ๑. แก้ปัญหาในการเล่น ร่วมกับผู้อื่นได้(K) ๒. เลือกเล่นตามมุมที่ สนใจได้ (P) ๓. ร่วมกิจกรรมอย่างมี ความสุข (A) - การเล่นเครื่องเล่น สัมผัสและการสร้างสิ่ง ต่างๆ จากแท่งไม้ บล็อก - การเล่นตามมุม ประสบการณ์/มุมเล่น ต่างๆ - การเล่นอิสระ - การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย และกลุ่ม ใหญ่ - เล่นตามมุมเสริม ประสบการณ์ต่าง ๆ ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “เพื่อนกัน” ๒. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง ดังนี้ - ไม่แย่งของเล่น เล่นตามลำดับก่อนหลัง - ไม่โยนหรือขว้างปาของเล่น - แบ่งปันของเล่น - เมื่อเลิกเล่นให้ช่วยกันเก็บอุปกรณ์ ขั้นสอน ๓. ครูแนะนำมุมต่างๆที่จะให้เด็กเล่นในวันนี้ ได้แก่ - มุมรักการอ่าน - มุมบทบาทสมมติ - มุมบล็อก - มุมคณิตศาสตร์ - มุมเกมการศึกษา ๔. เด็กเลือกเล่นตามมุมที่ครูกำหนด ๕. ขณะที่เด็กเล่นครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด เมื่อเด็กมีปัญหาและต้องการคำแนะนำ และ สังเกตพฤติกรรมการเล่นของเด็ก ๖. ก่อนหมดเวลา ครูให้สัญญาณให้เด็กเก็บ ของเข้าที่โดยร้องเพลง “เก็บของ” ๗. เด็กช่วยกันเก็บของเล่นเข้าที่ ขั้นสรุป ๘. ครูและเด็กร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเล่น ตามมุม ๑. มุมเสริม ประสบการณ์ ต่าง ๆ ๒. คำคล้องจอง “เพื่อนกัน” สังเกต ๑. การแก้ปัญหาใน การเล่นร่วมกับผู้อื่น ๒. การเลือกเล่นตาม มุมที่สนใจ ๓. การร่วมกิจกรรม อย่างมีความสุข


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๔ กิจกรรมกลางแจ้ง ๑. บอกกฎกติกาการเล่น ได้ (K) ๒. วิ่งจำแนกสัญลักษณ์ วันแม่ได้ถูกต้อง (P) ๓. เล่นกับเพื่อนอย่าง สนุกสนานได้ (A) - การเล่นอิสระ - การเล่นนอก ห้องเรียน - การปฏิบัติกิจกรรม ต่าง ๆ ตาม ความสามารถของตน - การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย และกลุ่ม ใหญ่ - การคัดแยกการจัด กลุ่มและการจำแนกสิ่ง ต่าง ๆ ตามลักษณะ และรูปร่าง รูปทรง - การเล่นเกมวิ่งจำแนก สัญลักษณ์วันแม่ ขั้นนำ ๑. เด็กเข้าแถวเอามือจับไหล่ต่อกันเป็น รถไฟแล้วเดินไปร่มไม้ ๒. ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายด้วยการ กระโดดตบ ยกเข่าสูง ก้มแตะขา-แตะมือ เพื่ออบอุ่นร่างกาย ขั้นสอน ๓. ครูแนะนำวิธีการการเล่นเกมวิ่งจำแนก สัญลักษณ์วันแม่และร่วมกันสร้างข้อตกลง ในการเล่น ๔. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นอย่าง ปลอดภัย ๕. ครูให้เด็กจับกลุ่มตามความสมัครใจ ๒ กลุ่ม เข้าแถวตอนลึก ๖. ครูให้เด็กที่อยู่หัวแถวหยิบบัตรภาพ สัญลักษณ์วันแม่ไปวางไว้ในตะกร้าที่เตรียม ไว้ให้ถูกต้อง หมุนเวียนเล่นคนละ ๒ รอบให้ ครบทุกคน ๗. เมื่อครูให้สัญญาณหมดเวลาเด็กเข้าแถว และทำความสะอาดร่างกาย ขั้นสรุป ๘. เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรมในครั้งนี้ ๙. เด็ก ๆ เข้าแถวเดินไปทำความสะอาด ร่างกายก่อนกลับเข้าห้องเรียน ๑. บัตรภาพ สัญลักษณ์วันแม่ ๒. ตะกร้า สังเกต ๑. การบอกกฎ กติกาการเล่น ๒. การวิ่งจำแนก สัญลักษณ์วันแม่ ๓. การเล่นกับ เพื่อนอย่าง สนุกสนาน


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๔ กิจกรรมเกมการศึกษา ๑. เล่นเกมจำแนก สัญลักษณ์วันแม่ได้ ถูกต้อง (K) ๒. แก้ปัญหาเฉพาะหน้า ในการเล่นเกมได้(P) ๓. เล่นและทำกิจกรรม กับผู้อื่นได้ (A) - การคัดแยก การจัด กลุ่ม และการจำแนก สิ่งต่าง ๆ ตามลักษณะ และรูปร่าง รูปทรง - การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ - การให้ความร่วมมือ ในการปฏิบัติกิจกรรม ต่างๆ - การเล่น การทำงาน ร่วมกับผู้อื่น - การเล่นเกมจำแนก สัญลักษณ์วันแม่ ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “เล่นกันดีดี” ๒. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงในการ เล่นเกม ดังนี้ - ไม่ส่งเสียงรบกวน ขณะทำกิจกรรม - ไม่หยอกล้อเล่นกัน ขณะทำกิจกรรม ขั้นสอน ๓. ครูแนะนำเกมชุดใหม่ และสาธิตวิธีการ เล่นเกมจำแนกสัญลักษณ์วันแม่ ๔. ครูแจกเกมจำแนกสัญลักษณ์วันแม่ ให้ ๑ กลุ่ม อีก ๒ กลุ่ม เล่นเกมการศึกษาชุดเดิม ๕. เด็ก ๆ เล่นเกมจำแนกสัญลักษณ์วันแม่ สลับกับเกมที่เคยเล่นมาก่อนขณะที่เด็กเล่น เกมครูคอยสังเกตพฤติกรรมการเล่นของเด็ก ๖. เมื่อใกล้หมดเวลา ครูให้สัญญาณเด็กเก็บ เกมด้วยเพลง “เก็บของ” ขั้นสรุป ๗. ครูและเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมที่ทำใน ครั้งนี้ รวมทั้งปัญหาและข้อเสนอแนะในการ ทำกิจกรรมครั้งต่อไป ๑. เกมจำแนก สัญลักษณ์วันแม่ ๒. เกมการศึกษา ชุดเดิม ๓. คำคล้องจอง “เล่นกันดีดี” สังเกต ๑. การเล่นเกม จำแนกสัญลักษณ์ วันแม่ ๒. การแก้ปัญหา เฉพาะหน้าในการ เล่นเกม ๓. การเล่นและทำ กิจกรรมกับผู้อื่น


แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ ๕ หน่วยที่ ๑๓ วันแม่ ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๕ กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ ๑. เคลื่อนไหวส่วน ต่างๆ ของร่างกายได้ อย่างคล่องแคล่ว (K) ๒. เคลื่อนไหวตามคำ บรรยายได้ (P) ๓. ร่วมกิจกรรมกับ เพื่อนอย่างสนุกสนาน (A) - เคลื่อนไหวอยู่กับที่ - เคลื่อนไหวเคลื่อนที่ - การเคลื่อนไหวโดย ควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดับ และพื้นที่ - การเคลื่อน ไหวตาม เสียงเพลง-ดนตรี - เคลื่อนไหว ร่างกายตามคำ บรรยาย ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันร้องเพลง “ดอกมะลิ” ๒. ครูและเด็กสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำ กิจกรรม ดังนี้ - ไม่ส่งเสียงรบกวน ขณะทำกิจกรรม - ไม่หยอกล้อเล่นกัน ขณะทำกิจกรรม ขั้นสอน ๓. ครูให้เด็ก ๆ เคลื่อนไหวร่างกายอย่าง อิสระ ตามจังหวะช้า-เร็ว เมื่อได้ยิน สัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวท่านั้นทันที ๔. ครูให้เด็กเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย ดังนี้ “ช้าวันนี้อากาศแจ่มใส ฉันรีบตื่นนอน หยิบตะกร้า เดินไปในสวน ไปเก็บดอกมะลิ ฉันเจอผีเสื้อหลายตัวบินไปมา บินสูงบ้างต่ำ บ้าง ฉันเดินไปเรื่อย ๆ เจอต้นมะลิ ส่งกลิ่น หอมลอยมาตามลม ฉันเก็บดอกมะลิใส่ ตะกร้า เก็บจนเต็มตะกร้าแล้วจึงเดินกลับ บ้านไป” ๕. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายตามคำบรรยาย และจังหวะที่ครูเคาะ เมื่อได้ยินสัญญาณ หยุดให้หยุด เมื่อหมดเวลาให้เด็ก ๆ นั่งพัก ขั้นสรุป ๖. เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรม ๑. เครื่อง เคาะ จังหวะ ๒. เพลง“ดอก มะลิ” สังเกต ๑. การเคลื่อน ไหว ส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกายได้อย่าง คล่องแคล่ว ๒. การเคลื่อน ไหว ตามคำบรรยาย ๓. การร่วม กิจกรรมกับเพื่อน อย่างสนุกสนาน


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๕ กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ ๑. บอกการทำความ เคารพและการปฏิบัติ ตนที่ดีต่อแม่ได้ (K) ๒. แสดงความคิดเห็น ร่วมกับเพื่อนและครู ได้(P) ๓. ร่วมกิจกรรมกับ เพื่อนและครูได้(A) - การร่วมสนทนา และแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น - การเล่นและทำงาน ร่วมกับผู้อื่น - การฟังเพลงนิทาน คํา คล้องจองบท ร้อยกรอง หรือเรื่องราวต่าง ๆ - การพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับ ประสบการณ์ของตนเอง - การทำความเคารพ และการปฏิบัติตนที่ ดีต่อแม่ ขั้นนำ ๑. ครูให้เด็กนั่งตามสัญลักษณ์แล้วร่วมกัน ร้องเพลง ดั่งดอกไม้บาน เพื่อเป็นการฝึก สมาธิ ๒. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “ดอกมะลิ” โดยท่องตามครูทีละวรรค แล้ว ท่องพร้อมกัน ขั้นสอน ๓. ครูอธิบายเกี่ยวกับการทำความเคารพ และการปฏิบัติตนที่ดีต่อแม่ ๔. ครูนำบัตรภาพเกี่ยวกับการทำความ เคารพและการปฏิบัติตนที่ดีต่อแม่พร้อมทั้ง เล่าเรื่องเกี่ยวกับการทำความเคารพและการ ปฏิบัติตนที่ดีต่อแม่ให้เด็กฟัง ๕. ครูสาธิตการทำความเคารพให้เด็กดูและ ให้เด็ก ๆ ปฏิบัติตาม ๖. ครูให้เด็กเล่าประสบการณ์การปฏิบัติตน ที่ดีต่อแม่ ขั้นสรุป ๗. ครูและเด็กร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีในชุมชน โดยใช้ คำถามดังนี้ - การปฏิบัติตนที่ถูกต้องต่อแม่มีอะไรบ้าง - เด็ก ๆ มีความรู้สึกอย่างไรเมื่อได้ทำสิ่งนั้น ๑. คำคล้องจอง “ดอกมะลิ” ๒. เพลง “ดั่ง ดอกไม้บาน” ๓. บัตรภาพการทำ ความเคารพและ การปฏิบัติตนที่ดี ต่อแม่ สังเกต ๑. การบอกทำ ความเคารพและ การปฏิบัติตนที่ดี ต่อแม่ ๒. การการแสดง ความคิดเห็นร่วม กับเพื่อนและครู ๓. การร่วม กิจกรรมกับเพื่อน และครู


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๕ กิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์ ๑. ใช้ความคิดและ จินตนาการในการทำ กิจกรรมได้ (K) ๒. ทํางานที่ได้รับ มอบหมายจนสําเร็จด้วย ตนเองได้ (P) ๓. ร่วมทำกิจกรรมอย่าง มีความสุข (A) - การเขียนภาพ และการเล่นกับสี - การสร้างสรรค์สิ่งสวย งาม - การทำกิจกรรมศิลปะ ต่าง ๆ - การแสดงความคิด สร้างสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การเคลื่อนไหว และ ศิลปะ - การทำงานศิลปะ - การปั้น - ปั้นดินน้ำมัน - ประดิษฐ์ดอกไม้จาก กระดาษ - วาดรูปอิสระด้วยสี เทียน ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “แม่ รักลูก” ขั้นสอน ๒. ครูแนะนำกิจกรรมสร้างสรรค์ ประกอบด้วย - ปั้นดินน้ำมัน - ประดิษฐ์ดอกไม้จากกระดาษ - วาดรูปอิสระด้วยสีเทียน ๓. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ เมื่อ ทำงานเสร็จนำมาภาพมาให้ครูเขียน บรรยายภาพ หรือผลงาน ๔. หลังจากทำงานเสร็จแล้วให้เก็บชิ้นงาน และให้เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ทำความ สะอาดบริเวณให้เรียบร้อย ๕. ให้เด็ก ๔-๕ คนออกมานำเสนอผลงาน และร่วมแสดงความชื่นชมผลงานของตนเอง และเพื่อน ขั้นสรุป ๖. ครูและเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมในครั้งนี้ ๑. แผ่นรองปั้น ๒. ดินน้ำมัน ๓. กระดาษสี ๔. กาว ๕. กระดาษ ๖. สีเทียน ๗. คำคล้องจอง “แม่รักลูก” สังเกต ๑. การใช้ความคิด และจินตนาการใน การทำกิจกรรม ๒. การทํางานที่ได้รับ มอบหมายจนสําเร็จ ด้วยตนเอง ๓. การร่วมทำ กิจกรรมอย่างมี ความสุข


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๕ การเล่นตามมุม ๑. แก้ปัญหาในการ เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ (K) ๒. เลือกเล่นตามมุม ที่สนใจได้ (P) ๓. ร่วมกิจกรรม อย่างมีความสุข (A) - การเล่นเครื่องเล่น สัมผัสและการสร้างสิ่ง ต่างๆ จากแท่งไม้ บล็อก - การเล่นตามมุม ประสบการณ์/มุมเล่นต่างๆ - การเล่นอิสระ - การเล่นรายบุคคล กลุ่ม ย่อย และกลุ่มใหญ่ - เล่นตามมุมเสริม ประสบการณ์ต่าง ๆ ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “แม่จ๊ะ แม่จ๋า” ๒. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง ดังนี้ - ไม่แย่งของเล่น เล่นตามลำดับ ก่อนหลัง - ไม่โยนหรือขว้างปาของเล่น - แบ่งปันของเล่น - เมื่อเลิกเล่นให้ช่วยกันเก็บอุปกรณ์ ขั้นสอน ๓. ครูแนะนำมุมต่างๆที่จะให้เด็กเล่นใน วันนี้ได้แก่ - มุมรักการอ่าน - มุมบทบาทสมมติ - มุมบล็อก - มุมคณิตศาสตร์ - มุมเกมการศึกษา ๔. เด็กเลือกเล่นตามมุมที่ครูกำหนด ๕. ขณะที่เด็กเล่นครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด เมื่อเด็กมีปัญหาและต้องการคำแนะนำ และสังเกตพฤติกรรมการเล่นของเด็ก ๖. ก่อนหมดเวลา ครูให้สัญญาณให้เด็ก เก็บของเข้าที่โดยร้องเพลง “เก็บของ” ๗. เด็กช่วยกันเก็บของเล่นเข้าที่ ขั้นสรุป ๘. ครูและเด็กร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเล่น ตามมุม ๑. มุมเสริม ประสบการณ์ต่างๆ ๒. คำคล้องจอง “แม่จ๊ะ แม่จ๋า” สังเกต ๑. การแก้ปัญหาใน การเล่นร่วมกับ ผู้อื่น ๒. การเลือกเล่น ตามมุมที่สนใจ ๓. การร่วม กิจกรรมอย่างมี ความสุข


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๕ กิจกรรมกลางแจ้ง ๑. บอกกฎกติกาการเล่น ได้ (K) ๒. เล่นเกมวิ่งต่อเติม รูปภาพกิจกรรมวันแม่ ได้(P) ๓. เล่นกับเพื่อนอย่าง สนุกสนานได้ (A) - การเล่นอิสระ - การเล่นนอก ห้องเรียน - การปฏิบัติกิจกรรม ต่าง ๆ ตาม ความสามารถของตน - การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย และกลุ่ม ใหญ่ - การต่อของชิ้นเล็ก เติมในชิ้นใหญ่ให้ สมบูรณ์และการแยก ชิ้นส่วน - การเล่นเกมวิ่งต่อเติม รูปภาพกิจกรรมวันแม่ ขั้นนำ ๑. เด็กเข้าแถวเอามือจับไหล่ต่อกันเป็น รถไฟแล้วเดินไปร่มไม้ ๒. ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายด้วยการสะบัด มือเท้า หมุนไหล่ ยืนปลายเท้า กระโดด เพื่อ อบอุ่นร่างกาย ขั้นสอน ๓. ครูแนะนำวิธีการการเล่นเกมวิ่งต่อเติม รูปภาพกิจกรรมวันแม่และร่วมกันสร้าง ข้อตกลงในการเล่น ๔. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นอย่าง ปลอดภัย ๕. ครูให้เด็กจับกลุ่มตามความสมัครใจ ๒ กลุ่ม เข้าแถวตอนลึก ๖. ครูให้เด็กที่อยู่หัวแถวหยิบภาพที่ จุดเริ่มต้น วิ่งแล้วนำภาพไปวางต่อเติมภาพ ให้สมบูรณ์หมุนเวียนเล่นคนละ ๒ รอบให้ ครบทุกคน ๗. เมื่อครูให้สัญญาณหมดเวลาเด็กเข้าแถว และทำความสะอาดร่างกาย ขั้นสรุป ๘. เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรมในครั้งนี้ ๙. เด็ก ๆ เข้าแถวเดินไปทำความสะอาด ร่างกายก่อนกลับเข้าห้องเรียน ๑. ภาพกิจกรรมวัน แม่ สังเกต ๑. การบอกกฎ กติกาการเล่น ๒. การเล่นเกมวิ่ง ต่อเติมรูปภาพ กิจกรรมวันแม่ ๓. การเล่นกับ เพื่อนอย่าง สนุกสนาน


วันที่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผล ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๕ กิจกรรมเกมการศึกษา ๑. เล่นเกมลอตโต กิจกรรมวันแม่ได้ถูก ต้อง (K) ๒. แก้ปัญหาเฉพาะหน้า ในการเล่นเกมได้(P) ๓. เล่นและทำกิจกรรม กับผู้อื่นได้(A) - การคัดแยก การจัด กลุ่ม และการจำแนก สิ่งต่าง ๆ ตามลักษณะ และรูปร่าง รูปทรง - การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ - การเล่น การทำงาน ร่วมกับผู้อื่น - การให้ความร่วมมือ ในการปฏิบัติกิจกรรม ต่างๆ - การสังเกตความ เหมือนและความต่าง - เล่นเกมลอตโต กิจกรรมวันแม่ ขั้นนำ ๑. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง “เล่น กันดีดี” ๒. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงในการเล่น เกม ดังนี้ - ไม่ส่งเสียงรบกวน ขณะทำกิจกรรม - ไม่หยอกล้อเล่นกัน ขณะทำกิจกรรม ขั้นสอน ๓. ครูแนะนำเกมชุดใหม่ และสาธิตวิธีการเล่น เกมลอตโตกิจกรรมวันแม่ ๔. ครูแจกเกมลอตโตกิจกรรมวันแม่ ให้๑ กลุ่ม อีก ๒ กลุ่ม เล่นเกมการศึกษาชุดเดิม ๕. เด็ก ๆ เล่นเกมลอตโตกิจกรรมวันแม่สลับ กับเกมที่เคยเล่นมาก่อน ขณะที่เด็กเล่นเกม ครูคอยสังเกตพฤติกรรมการเล่นของเด็ก ๖. เมื่อใกล้หมดเวลา ครูให้สัญญาณเด็กเก็บ เกมด้วยเพลง “เก็บของ” ขั้นสรุป ๗. ครูและเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมที่ทำในครั้ง นี้ รวมทั้งปัญหาและข้อเสนอแนะในการทำ กิจกรรมครั้งต่อไป ๑. เกมลอตโตภาพ ต้นไม้ ๒. เกมการศึกษา ชุดเดิม ๓. คำคล้องจอง “เล่นกันดีดี” สังเกต ๑. การเล่นเกมลอต โตกิจกรรมวันแม่ ๒. การแก้ปัญหา เฉพาะหน้าในการ เล่นเกม ๓. เล่นและทำ กิจกรรมกับผู้อื่น


ภาคผนวก


คำคล้องจอง แม่จ๊ะ แม่จ๋า เหนื่อยยากทนสู้ แม่หนูคนดี ตราบชั่วชีวี แม่นี้ยิ่งใหญ่ แม่จ๊ะ แม่จ๋า เรามากอดกัน รักแม่ทุกวัน ตราบนิรันดร คำคล้องจอง ความรักของแม่ รักของแม่ รักแท้ ไม่แปรเปลี่ยน รักไม่เปลี่ยน รักจริง ไร้เงื่อนไข้ รักของแม่ รักยิ่ง กว่าสิ่งใด ขอลูกลูก จงใส่ใจ รักแม่เอย คำคล้องจอง แม่รักลูก แม่รักลูกผูกพันใจ รักยิ่งใหญ่กว่าท้องฟ้า ป้อนนม ป้อนข้าว มาตั้งแต่เล็ก จนเติบใหญ่ แม่รักหนูยิ่งกว่าใคร หนูซึ้งใจกราบขอบคุณ


คำคล้องจอง วันแม่ มะลิหอม น้อมวาง บนหน้าตัก กรุ่นกลิ่นรัก บริสุทธิ์ผุดผ่องใส แทนทุกถ้อย ทุกคำ ร้อยจากใจ เป็นมาลัย กราบแม่ พร้อมน้อมบูชา เพลง ดอกมะลิ ดอกมะลิ กลีบขาวพราวตา เก็บเอามาร้อยเป็นมาลัย บูชาพระทั้งใช้ทำยาก็ได้ ลอยในน้ำ อบขนมหอมชื่นใจ เพลง ดั่งดอกไม้บาน ลมหายใจเข้า ลมหายใจออก ดั่งดอกไม้บาน ภูผาใหญ่กว้าง ดั่งสายน้ำฉ่ำเย็น ดังนภาอากาศ อันบางเบา


คำคล้องจอง เพื่อนกัน เพื่อนฉันมากมาย หญิงชายหลายคน มีเพื่อนมากล้น ทุกคนเพื่อนกัน เรามีอะไร ก็ให้แบ่งปัน เพราพวกเรานั้น เป็นเพื่อนกันเอย เพลงเก็บของ เก็บของให้ถูกที่ เก็บดีดีอย่าวิ่งซุกซน มาช่วยกันเก็บทุกคน หนูหนูอย่าซนช่วยกันคนดี เพลง เล่นกันดีดี เล่นกัน เล่นกันดีดี ต้องสามัคคี เราเป็นเพื่อนกัน ของเล่นเราเล่นด้วยกัน เมื่อเลิกเล่นพลัน ช่วยกันเก็บเอย


Click to View FlipBook Version