2
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
ค ำน ำ
การจัดท าเอกสารการจัดการองค์ความรู้ฉบับนี้ จัดท าขึ้นเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและให้แนวทางใน
การจัดท าแผนการจัดการความรู้ที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรมมากขึ้น หลังจากที่ได้รับความเข้าใจในหลักการของการ
จัดการความรู้ตามที่กลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการซึ่งจัดโดยวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย โดยมีการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ น าไปทดลองปฏิบัติ น ามาปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้เหมาะสมกับการน าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ
ปฏิบัติงานมากที่สุด
วิทยาลัยการพแทย์แผนไทย หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เกี่ยวข้องในการ
น าไปใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อน าไปสู่สัมฤทธิผลในการด าเนินงานของหน่ยงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย
พฤษภาคม 2564
3
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
บทน ำ
จากการจัดการความรู้ที่วิทยาลัยการแพทย์แผนไทยจัดท าขึ้นไปแล้วนั้น ส่วนงานวิจัย ได้ด าเนินการตาม
กระบวนการการจัดการความรู้ในหัวข้อ “กำรตีพิมพ์ผลงำนวิจัยทำงวิชำชีพ” และได้ท าการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้ง
ในกลุ่มและแหล่งข้อมูลภายนอก จากนั้นน ามาจัดท าการเผยแพร่ และการจัดท ารายงาน เพื่อสามารถถ่ายทอด
กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างมีระเบียบแบบแผน ตั้งแต่ต้นจนสามารถน าไปเผยแพร่หรือใช้ปรระโยชน์ ซึ่ง
เป็นทักษะที่ส าคัญในการเรียนรู้เพื่อน าไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
การตีพิมพ์ผลงานวิจัย ถือเป็นความรับผิดชอบที่ส าคัญของนักวิจัยเนื่องจากผลงานวิจัยจะแสดงให้เห็นถึง
ความก้าวหน้าของศาสตร์ โดยเฉพาะทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพทั้งทางตรงและทางอ้อม การเผยแพร่ผลงานวิจัย
ออกสู่สายตาของวิชาชีพ ย่อมช่วยให้ผลงานวิจัยมีการประยุกต์ในการพัฒนาและปรับปรุง งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์
สุขภาพให้ดียิ่งๆ ขึ้นไป กล่าวได้ว่า การตีพิมพ์ผลงานวิจัย เป็นหลักฐานที่เป็นรูปธรรมเพียงอย่างเดียวที่จะบอกได้วา
่
ในแวดวงทางสุขภาพมีการวิจัยและมีความก้าวหน้าของศาสตร์อย่างไร หากนักวิจัยเราท าวิจัยแล้วมิได้มีการตีพิมพ์
เผยแพร่เปรียบเสมือนมิได้มีการท าวิจัยเนื่องจากจะไม่มีใครทราบและไม่มีการน าผลงานวิจัยไปใช้ อย่างไรก็ตาม
การเตรียมต้นฉบับเพื่อการตีพิมพ์เผยแพร่ มิใช่เรื่องง่ายโดยเฉพาะนักวิจัยหน้าใหม่ ซึ่งต้องการการเรียนรู้และ
พัฒนาทักษะในการสื่อความจากผลงานวิจัยผ่านการเขียน
การเตรียมต้นฉบับงานวิจัยเบื้องต้นก่อนการเขียน มีความส าคัญที่จะช่วยให้การเขียนรายงานการวิจัย
ราบรื่นและส าเร็จเร็วขึ้น ซึ่งการอ่านงานวิจัยของผู้อื่น ควรศึกษาวิธีการในการเขียนจากงานวิจัยดีมีคุณภาพที่มีการ
ตีพิมพ์เผยแพร่เพื่อการเรียนรู้และน ามาประยุกต์กับงานเขียนของตนเอง เริ่มตั้งแต่การเลือกวารสารที่ต้องการจะ
ตีพิมพ์ผลงานวิจัย จากนั้นศึกษาระเบียบและรูปแบบการเขียนต้นฉบับตามที่วารสารนั้นๆ ก าหนดให้เข้าใจและ
ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด เพื่อให้ต้นฉบับตรงตามความต้องการของวารสารนั้นๆ ซึ่งจะช่วยให้ไม่ต้องเสียเวลาแก้ไข
ต้นฉบับภายหลัง เรามักพบเสมอว่า ต้นฉบับที่ส่งมาให้แก้ไขเนื่องจากไม่เป็นไปตามระเบียบซึ่งท าให้ผลงานได้รับ
การตีพิมพ์ล่าช้าเกินความจ าเป็น
ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ ในการตีพิมพ์เผยแพร่เป็นงานที่ต้องอาศัยเวลา ประสบการณ์และการเรียนรู้อย่าง
ต่อเนื่อง การอ่านงานวิจัยเป็นประจ าร่วมกับการจดจ าและสังเกตรายงานการวิจัยที่ดีมาประยุกต์ใช้ เป็นวิถีทางหนึ่ง
ิ
ในการพัฒนาการเขียนรายงานการวิจัย การจัดการความรู้ในเรื่อง การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวชาชีพ นี้จะให้ทิศทาง
ในการเตรียมความพร้อม และก ากับให้งานวิจัยเป็นรายงานการวิจัยที่ดี และได้รับการตีพิมพ์จากวารสารที่เป็น
เป้าหมายเนื่องจากเป็นงานวิจัยที่มีคุณภาพ
4
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
สำรบัญ
หนำ
ค าน า 3
บทที่ 1 การจัดการความรูเบื้องตน 4
บทที่ 2 การก าหนดขอบเขตเปาหมายการจัดการความรู 12
บทที่ 3 การแลกเปลี่ยนเรียนรู 13
บทที่ 4 องค์ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 39
ภำคผนวก
รายชื่อคณะกรรมการจัดการความรู้
5
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
บทที่ 1
กำรจัดกำรควำมรู้เบื้องต้น
การจัดการความรู้ในองค์กร หมายถึง การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัว
บุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้
ั
รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อนจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด โดยมีจุดร่วมกัน
ที่จะบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4 อย่างไปพร้อม ๆ กัน คือ
1) การบรรลุเป้าหมายของงาน
2) การบรรลุเป้าหมายด้านการพัฒนาคน
3) การบรรลุเป้าหมายด้านการพัฒนาองค์กรไปเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
4) การบรรลุเป้หมายของการเป็นชุมชน หมู่คณะ ที่มีความเอื้ออาทรระหว่างกันในที่ท างาน
องค์ความรู้ส าคัญ แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1) ความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือ
สัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการท าความเข้าใจในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นค าพูด
หรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการท างาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้งจึงเรียกว่า
เป็นความรู้แบบนามธรรม
2) ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวมถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีการ
ต่างๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฏี คู่มือต่างๆ เป็นต้น และบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม
แนวคิดกำรจัดท ำแผนกำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management Action Plan) ตามเอกสาร
ฉบับนี้ ได้น าแนวคิดเรื่องกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) และกระบวนการ
บริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) มาประยุกต์ใช้ในการจัดท าแผนการจัดการ
ความรู้ (KM Action Plan)
กระบวนกำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management Process) เป็นกระบวนการแบบหนึ่งที่จะ
ช่วยให้องค์กรเข้าใจถึงขั้นตอนที่ท าให้เกิดกระบวนการจัดการความรู้ หรือพัฒนาการของความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายใน
องค์กร การจัดการความรู้เป็นการด าเนินการอย่างน้อย 6 ประการต่อความรู้ ได้แก่
1. การก าหนดความรู้หลักที่จ าเป็นหรือส าคัญต่องาน หรือกิจกรรมของกลุ่ม หรือองค์กร
2. การเสาะหาความรู้ที่ต้องการ
3. การปรับปรุง ดัดแปลง หรือสร้างความรู้บางส่วนให้เหมาะสมต่อการใช้งานของตน
4. การประยุกต์ใช้ความรู้ในกิจการงานของตน
6
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
5. การน าประสบการณ์จาการท างาน และการประยุกต์ใช้ความรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสกัด “ขุม
ความรู้” ออกมาบันทึกไว ้
6. การจดบันทึก “ขุมความรู้” และ “แก่นความรู้” ส าหรับไว้ใช้งาน และปรับปรุงเป็นชุดความรู้ที่ครบถ้วน
ลุ่มลึก และเชื่อมโยงมากขึ้น เหมาะต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น
รูปภำพที่ 1.1 กระบวนกำรจัดกำรควำมรู้ ( Knowledge Management Process )
กระบวนกำรบริหำรจัดกำรกำรเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) เป็นกรอบความคิด
แบบหนึ่ง เพื่อให้องค์กรที่ต้องการจัดการความรู้ภายในองค์กร ได้มุ่งเน้นถึงปัจจัยแวดล้อมภายในองค์กร ที่จะมี
ผลกระทบต่อการจัดการความรู้ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ
1. การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น กิจกรรมการมีส่วนร่วมและสนับสนุนจากผู้บริหาร (ที่ทุกคน
มองเห็น) โครงสร้างพื้นฐานขององค์กร ทีม/หน่วยงานที่รับผิดชอบ มีระบบการติดตามและประเมินผล
ก าหนดปัจจัยแห่งความส าเร็จชัดเจน
2. การสื่อสาร เช่น กิจกรรม ที่ท าให้ทุกคนเข้าใจถึงสิ่งที่องค์กรจะท า ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับทุกคนแต่ละ
ตนจะมีส่วนร่วมได้อย่างไร
7
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
3. กระบวนการและเครื่องมือ ช่วยให้การค้นหาเข้าถึง ถ่ายทอด และแลกเปลี่ยนความรู้สะดวกรวดเร็วขึ้นโดย
การเลือกใช้กระบวนการและเครื่องมือที่ขึ้นกับชนิดของความรู้ ลักษณะขององค์กร (ขนาด สถานที่ตั้ง
ฯลฯ) ลักษณะการท างาน วัฒนธรรมองค์กร ทรัพยากร
4. การเรียนรู้ เพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความส าคัญและหลักการของการจัดการความรู้ โดยการ
เรียนรู้ต้องพิจารณาถึง เนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย วิธีการ การประเมินผล และการปรับปรุง
5. การวัดผล เพื่อให้ทราบว่าการด าเนินการได้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ มีการน าผลของการวัดมาใช้ใน
การปรับปรุงแผนและด าเนินการให้ดีขึ้น มีการน าผลการวัดมาใช้ในการสื่อสารกับบุคลากรทุกระดับบให้
เห็นประโยชน์ของการจัดการความรู้ และการวัดผลต้องพิจารณาด้วยว่าจะวัดผลที่ขั้นตอนใด เช่น วัด
ระบบ (system) วัดผลลัพธ์ (out put) หรือวัดประโยชน์ที่จะได้รับ (out come)
6. การยกย่องชมเชยและให้รางวัล เป็นการสร้างแรงจูงใจให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการมีส่วนร่วม
ของบุคลากรทุกระดับ เช่น การค้นหาความต้องการของบุคลากร แรงจูงใจระยะสั้นและระยะยาว การบูร
ณาการกับระบบที่มีอยู่ การปรับเปลี่ยนให้เข้ากับกิจกรรมที่ท าให้แต่ละช่วงเวลา เป็นต้น
องค์กรต้องมองภาพรวมของปัจจัยแวดล้อมภายในองค์กร ที่จะส่งผลกระทบต่อกระบวนการจัดการความรู้
ขององค์กรเพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนของมหาวิทยาลัย โดยการน ากระบวนการบริหารจัดการการ
เปลี่ยนแปลงมาเชื่อมโยง เพื่อผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เสริมสร้างสภาพแวดล้อมที่จะท าให้กระบวนการ
จัดการความรู้ด าเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง และท าให้การจัดการความรู้ขององค์กรมีประสิทธิผล โดยการจัดท าเป็น
แผนการจัดการความรู้และน าไปสู่การปฏฏิบัติให้เกิดขึ้นจริง
กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ สามารถกระท าผ่านเครื่องมือต่าง ๆ ในการจัดการความรู้
ได้แก่
1) การศึกษาดูงาน (Study tour)
2) การทบทวนหลังปฏิบัติการหรือการถอดบทเรียน (AAR)
3) การเรียนรู้ร่วมกันหลังงานส าเร็จ (Retrospect)
4) เรื่องเล่าเร้าพลัง (Springboard Storytelling)
5) การค้นหาสิ่งดีๆ รอบตัว หรือสุนทรียสาธก
6) เวทีเสวนา หรือสุนทรียสนทนา (Dialogue)
7) เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist)
8) การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ (Action Learning)
9) มาตรฐานเปรียบเทียบ (Benchmarking)
10) การสอนงาน (Coaching)
11) การเป็นพี่เลี้ยง (Mentoring)
8
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
12) ฟอรัม ถาม – ตอบ (Forum)
13) บทเรียนจากความผิดพลาด (Lesson Learning)
14) เวทีกลุ่มเฉพาะ (Focus Group)
15) การจัดเก็บความรู้ใน Web board, Intranet
16) R2R การน าเสนอผลงานวิชาการในที่ประชุมวิชาการ
17) คู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operation Procedure: SOP)
18) การเล่าเรื่องพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Coffee meeting)
กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน โดยเลือกเครื่องมือให้เหมาะสมกับบริบทขององค์ ต้องอาศัยปัจจัยที่มีผลต่อ
ความส าเร็จ (Key Success Factors) ของการจัดการความรู้ ดังนี้
1) ผู้บริหำร : การจัดการความรู้ในองค์กร ผู้บริหารควรมีบทบาทหน้าที่ในการก าหนดนโยบาย สนับสนุน
และมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กรไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ เช่น กิจกรรมระดม
สมองผู้บริหาร การจัดเวทีเสวนาหรือการประชุมจัดท าแผนยุทธศาสตร์
2) จิตอำสำ : การด าเนินการจัดการความรู้ในองค์กร องค์กรควรส่งเสริมและพัฒนาการท างานแบบจิต
อาสาโดย เปิดโอกาสให้บุคลากรที่มีความตั้งใจและสนใจในการการพัฒนาองค์กรไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ เข้ามา
มีบทบาทในการด าเนินงานจัดการความรู้
3) สร้ำงทีมขับเคลื่อน : เพื่อให้การด าเนินการจัดการความรู้ในองค์กร มีการขับเคลื่อนไปข้างหน้าได้อย่าง
ต่อเนื่อง องค์กรควรจัดกิจกรรมฝึกอบรม เพื่อปูพื้นฐานการจัดการความรู้ในองค์กรและพัฒนาบุคลากรให้เป็นผู้ที่
สามารถด าเนินการการจัดการความรู้ได้ เช่น การอบรมบุคลากรเพื่อท าหน้าที่เป็น คุณอ านวย (Knowledge
Facilitator) คอยอ านวยความสะดวกและกระตุ้นการด าเนินการจัดการความรู้ เป็นต้น ซึ่งจะท าให้องค์กรเกิดการ
ก้าวกระโดดจนถึงระดับการน าองค์กรไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ได้
4) กระบวนกำรคุณภำพ PDCA (Plan Do Check Act) : เพื่อให้การด าเนินการจัดการความรู้ในองค์กร
เกิดการด าเนินการอย่างต่อเนื่องและพัฒนาอย่างมีคุณภาพ ควรท าหลักการ PDCA (Plan Do Check Act) มาใช้
ในการด าเนินการกิจกรรมต่าง ๆ ของการจัดการความรู้ในองค์กร เริ่มตั้งแต่มีกระบวนการวางแผนการจัดการ
ความรู้ มีการปฏิบัติการตามแผน มีการน าองค์ความรู้สู่การปฏิบัติ มีการวิเคราะห์ปรับปรุงกระบวนการ
ด าเนินงาน มีคณะท างานติดตามอย่างจริงจัง มีการรายงานต่อผู้บริหารและบุคลากรทุกระดับอย่างทั่วถึง และมี
คณะกรรมการประสานงาน เพื่อแก้ไขปัญหา
5) กำรเปิดหู เปิดตำบุคลำกรในองค์กร : เพื่อสร้างความเข้าใจถึงความส าคัญของการจัดการความรู้ใน
องค์กรของบุคลากรในองค์กร ซึ่งอาจด าเนินการได้หลายรูปแบบ เช่น การจัดกิจกรรมการประชุมชี้แจงแก่
บุคลากร การน าเคสกรณีศึกษาเรียนรู้ร่วมกัน เป็นต้น
6) กำรเปิดใจยอมรับ : เพื่อให้บุคลากรเปิดใจยอมรับการด าเนินการจัดการความรู้ในองค์กร และการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ องค์กรอาจด าเนินการได้โดย การท ากิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ การสอดแทรกกิจกรรมการยอมรับ
ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เช่น Before Action Review (BAR) และ After Action Review (AAR) เป็นต้น
9
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
7) กำรมีส่วนร่วม : เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดการความรู้จากหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์กร และ
หน่วยงานภายนอก องค์กรควรจัดกิจกรรมเปิดโอกาสให้หน่วยงานที่สนใจเข้ามาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมทั้ง
เปิดรับฟังความคิดเห็น
8) กำรสร้ำงบรรยำกำศ : การด าเนินการกิจกรรมการจัดการความรู้ ควรมีการสร้างบรรยากาศที่เหมาะสม
ต่อกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การยอมรับความคิดเห็นของบุคลากร ซึ่งอาจท าได้ในรูปแบบต่างๆ
เช่น กิจกรรมสภากาแฟ การเปลี่ยนสถานที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การท าเทคนิค Edutainment มาใช้ในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือการเสริมสร้างบรรยากาศใหม่ให้เร้าใจ เป็นต้น
9) กำรจัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ : ในการจัดการความรู้ องค์กรควรส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดเวที
แลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Forum) เพื่อสกัดขุมความรู้ออกมาจากกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ
บันทึกไว้ใช้งานต่อ และเกิดการตื่นตัวในการเรียนรู้ ซึ่งสามารถด าเนินการได้หลายรูปแบบ เช่น ชุมชนแห่งการ
เรียนรู้หรือ ชุมชนนักปฏิบัติ (Communities of Practice : CoP) การเล่าเรื่องแบบ SST ( Success Story
Telling ) กระบวนการสุนทรียสนทนา (Dialogue) หรือ กระบวนการสภากาแฟโลก (World Café) เป็นต้น
10) กำรให้รำงวัล ยกย่องชมเชย : เป็นการสร้างแรงจูงใจให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการมีส่วน
ร่วมของบุคลากรในทุกระดับ โดยข้อควรพิจารณาได้แก่ ค้นหาความต้องการของบุคลากร, แรงจูงใจระยะสั้นและ
ระยะยาว บูรณาการกับระบบที่มีอยู่ ปรับเปลี่ยนให้เข้ากับกิจกรรมที่ท าในแต่ละช่วงเวลา การให้รางวัล ยกย่อง
ชมเชย อาจท าได้โดย การประเมินผลพนักงาน การประกวดเรื่องเล่าเร้าพลัง การประกวด CoP ดีเด่น การมอบ
โล่ร่างวัลหรือเกียรติบัตร หรือจัดให้มีเงินรางวัลพิเศษ เป็นต้น
11) กำรจัดเอกสำรประกันคุณภำพ (QA Document) : เพื่อให้การด าเนินงานการจัดการความรู้ใน
องค์กร สามารถตรวจสอบและประกันคุณภาพได้ องค์กรควรเก็บรวมรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบ เช่น
จดหมายเวียน ประกาศใช้ แผนด าเนินงาน การถอดบทเรียน คู่มือการจัดการความรู้ การจัดเก็บเอกสารที่เป็น
คลังความรู้ ทั้งนี้อาจใช้ ซอฟท์แวร์มาช่วยในการบริหารจัดการ
12) กำรสื่อสำรภำยในองค์กร : เพื่อให้บุคลากรในองค์กรทุกคน ทุกระดับสามารถติดตามข้อมูลข่าวสาร
การด าเนินการจัดการความรู้ในหน่วยงานได้อย่างต่อเนื่อง ควรท าการสื่อสารกับบุคลากร ซึ่งอาจด าเนินการได้
โดย การจัดท าวารสาร/จุลสารการจัดการความรู้ การจัดท าเว็บไซต์การจัดการความรู้ การจัดท าบันทึกบทความ
ของตนเอง (Personal Journal) ลงบนเว็บไซต์ หรือ web blog ซึ่งมีเครื่องมือหรือซอฟท์แวร์ที่ใช้ในการเขียน
Blog ได้มากมาย เช่น WordPress หรือ Movable Type เป็นต้น
10
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
บทที่ 2
กำรก ำหนดขอบเขต เป้ำหมำยกำรจัดกำรควำมรู้
ขอบเขตการจัดการความรู้ (KM Focus Areas) เป็นหัวเรื่องกว้างๆของความรู้ที่จ าเป็นและสอดคล้องกับ
ประเด็นยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน ซึ่งต้องการน ามาใช้ก าหนดเป้าหมาย KM การก าหนดขอบเขต KM ควรก าหนด
กรอบตามองค์ความรู้ที่จ าเป็นต่อการปฏิบัติงานก่อนเป็นอันนดับแรก หรืออาจก าหนดขอบเขต KM ตามองค์
ความรู้ที่จ าเป็นต้องมีในองค์กร เพื่อปฏิบัติงานให้บรรลุตามประเด็นยุทธศาสตร์อื่นๆขององค์กร โดยขอบเขตการ
จัดการความรู้ด้านการวิจัยปีนี้ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 คือ การวิจัยเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม (Research for
innovation) เป็นการพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม น าไปสู่เป้าหมายส าคัญ ได้แก่ 1) ส่งเสริมการเผยแพร่งานวิจัย
ในระดับสูง 2) ส่งเสริมการท าวิจัยและนวัตกรรม 3) พัฒนานักวิจัยใหม่ 4) พัฒนาระบบบริหารงานวิจัย โดยวาง
ขอบเขต ไว้ดังนี่
แนวทำงกำรก ำหนดขอบเขต KM และเป้ำหมำย KM
แผนยุทธศำสตร์
ิ
วิสัยทัศน ์ พันธกจ
ประเด็นยุทธศำสตร์
เป้าประสงค ์
ตัวช้วัด ค่าเป้าหมาย
ี
กลยุทธ ์
ขอบเขต KM (KM Focus Areas)
เป้ำหมำย ( Desired State of KM Focus
Areas)
แผนกำรจัดกำรควำมรู้ ( KM Action Plans)
รูปภำพที่ 2.1 ขอบเขตและเป้าหมายของ KM ด้านวิจัย ปี 2563
11
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
องค์กรสามารถใช้แนวทางการก าหนดขอบเขตและเป้าหมายการจัดการความรู้ เพื่อช่วยรวบรวมขอบเขตน าไป
ก าหนดเป้าหมาย และแผนการจัดการความรู้ ดังนี้
▪ แนวทำงที่ 1 เป็นความรู้ที่จ าเป็นสนับสนุนพันธกิจ/ วิสัยทัศน์/ ประเด็นยุทธศาสตร์ ในระดับของ
หน่วยงานตนเอง
▪ แนวทำงที่ 2 เป็นความรู้ที่ส าคัญต่อองค์กร
▪ แนวทำงที่ 3 เป็นปัญหาที่ประสบอยู่ และสามารถน าการจัดการความรู้มาช่วยได้
▪ หรือเป็นแนวทางอื่นๆนอกเหนือจากแนวทางที่ 1, 2, 3 ที่หน่วยงานเห็นว่าเหมาะสม
แนวทางการตัดสินใจเลือกขอบเขตการจัดการความรู้ ให้องค์กรพิจารณาเกณฑ์การคัดเลือกขอบเขตการ
จัดการความรู้ตามที่ให้ไว้เป็นนแนวทาง คือ
▪ สอดคล้องกับทิศทางและประเด็นยุทธศาสตร์ในระดับของหน่วยงานตนเอง
▪ ท าให้เกิดการปรับปรุงที่เห็นได้ชัด (เป็นรูปธรรม)
▪ มีโอกาสท าได้ส าเร็จสูง (โดยพิจารณาจากความพร้อมด้านคน งบประมาณ เทคโนโลยี วัฒนธรรม องค์กร
ระยะเวลาด าเนินงาน ฯลฯ)
▪ เป็นเรื่องที่ต้องท า คนส่วนใหญ่ในองค์กรต้องการ
▪ ผู้บริหารให้การสนับสนุน
▪ เป็นความรู้ที่ต้องจัดการอย่างเร่งด่วน
▪ อื่นๆตามความเหมาะสมขององค์กร
จากขอบเขตการจัดการความรู้ (KM Focus Areas) วิทยาลัยการแพทย์แผนไทยจึงได้ ก าหนดแผนการ
ั
ด าเนินงานการจัดการความรู้ ดงรูปภาพที่ 3 แผนการด าเนินงานการจัดการความรู้ ป 2563 และส่วนงานวิจัยได้
ี
ประชุมคณะท างาน KM ส่วนวิจัย และด าเนินโครงการ ตามขั้นตอน ดงรูปภาพที่ 4 แผนการด าเนินงานการจัดการ
ั
ความรู้ด้านวิจัย ปี 2563 โดยขอบเขตได้ก าหนดจากแนวทางที่ 1 คือ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การวิจัยเพื่อ
สร้างสรรค์นวัตกรรม (Research for innovation) และ แนวทางที่ 3 ปัญหาอาจารย์รับผิดชอบหลักสูตรอยู่ใน
ความเสี่ยง โดยเป้าประสงค์ คือการพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม ที่ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อเศรษฐกิจ สังคมและ
สิ่งแวดล้อมเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และแนวทางการขับเคลื่อน KM ส่วนงานวิจัย
ปี 2563 ใช้กลยุทธ อาจารย์ที่ประสบความส าเร็จในการตีพิมพ์ผลงานทางวิชาชีพ เช่น การวิจัยทางคลินิก
กรณีศึกษา การพัฒนานวัตกรรมจากงานวิจัย น าความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน
กลุ่มอาจารย์นักวิจัย เพื่อเป็นต้นแบบและสร้างแรงบันดาลใจที่ส าคัญ ในการขับเคลื่อนอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญ
ั
ในวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ สุขภาพและความงาม และนวัตกรรมผลิตภณฑ์สุขภาพ พร้อมกับส่งเสริมให้
อาจารย์นักวิจัยสามารถประยุกต์ พัฒนาและน าไปปรับใช้ในงานวิจัยทางวิชาชีพให้เหมาะสม
12
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
รูปภำพที่ 2.3 แผนกำรด ำเนินงำนกำรจัดกำรควำมรู้ ปี 2563
13
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
รูปภำพที่ 2.4 แผนกำรด ำเนินงำนกำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนวิจัย ปี 2563
14
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
บทที่ 3
กำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นการระดมสมองกันภายในวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย โดยมีบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
โดยตรงกับขอบเขต KM และเป้าหมาย KM ที่เลือกไว้ โดยให้ระบุถึง ชื่อ-นามสกุล, ต าแหน่งงาน, และหน่วยงานที่สังกัดอยู่
ตามผังองค์กรปัจจุบันของผู้มีส่วนร่วมทุกคน
1.กำรก ำหนดหัวข้อกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้
1) รำยงำนกำรประชุม คณะกรรมกำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนวิจัย ปี 2563
จากรายงานการประชุม คณะกรรมการจัดการความรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 1 / 2563 วันที่ 7 ตุลาคม 2563 ณ ห้อง
ประชุม 123 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลธัญบุรี ศูนย์รังสิต โดยประธานที่ประชุม (ผู้อ านวยการวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย) แจ้งว่า จากมติที่ประชุม
กรรมการบริหารวิทยาลัย วันที่ 7 ตุลาคม 2563 ก าหนดประเด็นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเรื่อง "การตีพิมพ์
ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ" สืบเนื่องจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาทั้งในระดับหลักสูตรและคณะประจ าปีการศึกษา
2562 (SAR62) พบว่าแม้วิทยาลัยฯ จะมีผลงานตีพิมพ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แต่ยังขาดงานวิจัยด้านวิชาชีพ และงานวิจัย
เฉพาะทางของแต่ละหลักสูตร นอกจากนี้หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์ และหลักสูตรสุขภาพและความงาม อยู่
ระหว่างการปรับปรุงหลักสูตรปี 2564 ซึ่งต้องใช้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 ที่ก าหนดคุณสมบัติ
ของอาจารย์ประจ าหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และอาจารย์ผู้สอน ต้องมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่ง
ของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่ก าหนดในการพิจารณา
แต่งตั้งให้บุคคลด ารงต าแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ซึ่งพบว่าอาจารย์ผู้สอนบางท่านยังไม่
มีผลงานทางวิชาการหรือวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ จะส่งผลต่อการบริหารหลักสูตรได้ ที่ประชุมกรรมการบริหารฯ จึงก าหนด
ประเด็นความรู้ดังกล่าว
ในการประชุมวันนี้ จึงขอให้คณะกรรมการด าเนินการจัดการความรู้ด้านวิจัย วางแผนการจัดการความรู้ด้านการวิจัย เพื่อ
ด าเนินการเสาะแสวงหาองค์ความรู้ ที่สนับสนุนวิสัยทัศน์ พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตร์ขององค์กร ในปีการศึกษา
2563 นี้
2) ผลกำรเปรียบเทียบกำรตีพิมพของนักวิจัยและอำจำรยภำยในวิทยำลัย ตั้งแต่ ป พ.ศ.2561-2563
(ดร.ปุณยนุช อมรดลใจ) ได้แจ้งผลการเปรียบเทียบการตีพิมพของนักวิจัยและอาจารยภายในวิทยาลัย ตั้งแต่
ป พ.ศ.2561-2563 ที่ผ่าน พบวา นักวิจัยและอาจารยของวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มีผลงานตีพิมพในวารสารระดับชาติ
และระดับนานาชาติ (International Journal) จ านวน 41 บทความ หากพิจารณาจ านวนผลงานตีพิมพ์ในกลุ่มสาขาวิชา
วิทยาศาสตร์สุขภาพแล้วอยู่ในเกณฑ์เต็ม 5 ตลอดทั้ง 3 ปี ตามรูปภาพที่ 5
15
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
รูปภำพที่ 3.1 การเปรียบเทียบการตีพิมพของนักวิจัยและอาจารยภายในวิทยาลัย ป พ.ศ.2561-2563
ในที่ประชุมคณะกรรมการ KM จึงตั้งข้อสังเกตว่า รายงานจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาทั้งในระดับ
หลักสูตรและคณะประจ าปีการศึกษา 2562 (SAR62) พบว่าแม้วิทยาลัยฯ จะมีผลงานตีพิมพ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แต่ยัง
ขาดงานวิจัยด้านวิชาชีพ และงานวิจัยเฉพาะทางของแต่ละหลักสูตร นอกจากนี้หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์
และหลักสูตรสุขภาพและความงาม อยู่ระหว่างการปรับปรุงหลักสูตรปี 2564 ซึ่งต้องใช้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ
ปริญญาตรี พ.ศ.2558 ที่ก าหนดคุณสมบัติของอาจารย์ประจ าหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และอาจารย์ผู้สอน
ต้องมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตาม
หลักเกณฑ์ที่ก าหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลด ารงต าแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
ซึ่งพบว่าอาจารย์ผู้สอนบางท่านยังไม่มีผลงานทางวิชาการหรือวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ จะส่งผลต่อการบริหารหลักสูตรได ้
16
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
ดังนั้นการก าหนดหัวข้อการแลกเปลี่ยนจึงเป็นไปในลักษณะ เวทีเสวนาหรือสุนทรียสนทนา (Dialogue) เพื่อน
ช่วยเพื่อน (Peer Assist) เล่าสู่กันฟัง ในบรรยากาศของการแบ่งปันประสบการณ์ให้กับนักวิจัยรุ่นใหม่ พร้อมทั้งจัดเวทีการ
เล่าประสบการณ์ที่ประสบปัญหาการตีพิมพ์ไม่ประสพความส าเร็จ หาแนวทางที่เป็นไปได้ร่วมกันแก้ไข จนสรุปออกมาเป็น
ั
แนวทางปฏิบติติร่วมกันโดยกลุ่มเป้าหมาย จ านวน 5 ท่าน และผู้ร่วมท ากิจกรรมแต่ละครั้ง จ านวน 20 - 25 ท่าน
2. กำรรำยงำนกิจกรรมกำรแลกเปลี่ยนและสรุปองค์ควำมรู้ที่ได้
2.1 รำยงำนผลกำรแลกเปลี่ยนครั้งที่ 1
รำยงำนกิจกรรมกำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนงำนวิจัย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1/2563
เรื่อง“ตีพิมพ์งำนวิจัยทำงวิชำชีพอย่ำงไรให้ประสบควำมส ำเร็จ”
วันที่ 14 ตุลำคม 2563 ณ Innovation space ชั้น 2
วิทยำลัยกำรแพทย์แผนไทย มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี
เริ่มกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เวลำ 12.10 น.
ฝ่ายวิชาการและวิจัย : ส่วนงานวิจัย
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : Research for Innovation : การวิจัยเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม
หัวข้อองค์ความรู้ที่ต้องการ : การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ
วันเดือนปีที่ด าเนินการ : วันพุธที่ 14 ตุลาคม 2563
ชื่อผู้ให้ข้อมูล : 1. ดร.พทป.ปุณยนุช อมรดลใจ
: 2. ดร.พทป.วัชระ ด าจุติ
ผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ : อาจารย์ จ านวน 21 คน
สรุปเนื้อหำที่แลกเปลี่ยน : หัวข้อหลักคือ การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ
หัวข้อย่อย คือ แชร์ประสบการณ์“ตีพิมพ์งานวิจัยทางวิชาชีพอย่างไรให้ประสบความส าเร็จ”
ี้
มีประเด็นเนื้อหา ดังน
1) ดร.พทป.ปุณยนุช อมรดลใจ บรรยำยและแชร์ประสบกำรณ์ “เส้นทางงานวิจัยในวิชาชีพ Document
Research & Case report”
ในการเขียนผลงานทางวิชาการ เริ่มต้นจากค าศัพท์หรือคัมภีร์ทางแพทย์แผนไทยที่ชื่นชอบ อาทิ ต าราเวช
ศาสตร์วรรณา, คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ อ่านและท าความเข้าใจแล้ว ก าหนดเป้าหมายให้ชัดเจน ต้อง
เขียนต าราหรือโครงร่างวิจัย จากประสบการณ์ สนใจคัมภีร์ชวดาร อธิบายเกี่ยวกับโรคลมอันมีพิษ สาเหตุที่ท าให้เกิดโรคลม
เช่น โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) จึงเขียนโคร่งร่างวิจัยที่เน้นการทบทวนวรรณกรรม (literature review) ทั้งในเชิง
ทฤษฎีทางแพทย์แผนไทย ร่วมกับทฤษฎีกลไกการก่อโรคเชิงสรีรวิทยาของแพทย์แผนปัจจุบัน จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
(Ethics committee: EC) และการวิเคราะห์ทางสถิติ (Analytical Statistics ) ต่อมาได้ร่วมท าวิจัยกับนักศึกษาแพทย์แผน
ไทย ปี 4 ซึ่งเป็นวิชาเรียนปัญหาพิเศษในเรื่องเกี่ยวกับโรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus: DM) โดยอธิบายการก่อโรคทาง
แพทย์แผนไทยตามคัมภีร์สมุฎฐานวินิจฉัยและตรีธาตุ และหัวข้ออื่น ๆ เหมือนงานวิจัยข้างต้น ซึ่งงานวิจัยเหล่านี้เป็น
งานวิจัยเชิง documentary research และ case report โดยตีพิมพ์ผลงานดังกล่าวในรูปแบบ Proceedings paper
17
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
จ านวน 2 เรื่อง, โปสเตอร์ และเขียนทบทวนวรรณกรรมที่รวมกันทั้ง 2 โรคข้างต้นเปน E-book จ านวน 1 เรื่อง (การ
็
ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยกับการดูแลสุขภาพตามบริบทสุขภาวะปัจจุบัน, 2563)
2) ดร.พทป.วัชระ ด ำจุติ บรรยำยและแชร์ประสบกำรณ์ “การสร้างเครือข่ายงานวิจัยในวิชาชีพ สู่การ
เผยแพร่ในระดับนานาชาติ”
การท าวิจัยทางวิชาชีพแพทย์แผนไทยหรือการท าวิจัยเชิงประยุกต์ อาจารย์สามารถน างานประจ าที่สอน อาทิ
นักศึกษาลงพื้นที่ในชุมชนเพื่อเก็บประวัติการรักษา ขั้นตอนหรือท่าทางการนวด หรือการพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือปัญหา
พิเศษ เป็นงานวิจัยเชิง mini project R2R สามารถเขียนเพื่อตีพิมพ์ผลงานดังกล่าวได้ แต่ต้องสามารถอธิบายความหมาย
กลไก ตัวชี้วัด การวิเคราะห์ทางสถิติ และการอภิปรายผล (discussion) อย่างละเอียด เพื่อดึงความน่าสนใจจากวารสาร
(Journal) ในการค้นพบยาและพัฒนายา (drug discovery and development) ต้องผ่านขั้นตอนการวิจัยเบื้องต้นและ
พัฒนายาก่อนทางคลินิก (หาสูตรโครงสร้างของยา กลไกการออกฤทธิ์ วิจัยในสัตว์ทดลอง และพิษวิทยา) สู่การวิจัยและ
พัฒนายาทางคลินิก (วิจัยในมนุษย์) ตามล าดับ ซึ่งทางองค์การอนามัยโลก (WHO) มีข้อก าหนดว่ายาที่มี long time
wisdom นานๆสามารถข้ามไปท าวิจัยทางคลินิก (clinical research) ก่อน และศึกษาย้อนกลับไปหากลไกการออกฤทธิ์
(mechanism of action) ซึ่งเรียกว่า reverse pharmacology ในปัจจุบันรูปแบบของงานวิจัย มี 4 รูปแบบ คือ
1. การวิจัยแบบพหุวิทยาการ (multidisciplinary research) ท าวิจัยร่วมกัน เรื่องเดียวกัน คนละสาขากัน
2. การวิจัยแบบเอกวิทยาการ (monodisciplinary research) ท าคนเดียว ไม่เกิดการแลกเปลี่ยน
3. การวิจัยแบบเปลี่ยนผ่านวิทยาการ (transdisciplinary research) ความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่แตกต่าง
กัน ร่วมกันศึกษาหาค าตอบในปัญหาวิจัยเดียวกัน
4. การวิจัยแบบข้ามวิทยาการ (cross-disciplinary research) น าความรู้จากสาขาวิชาหนึ่งมาใช้ศึกษาอธิบาย
ตีความการวิจัยหรือผลการวิจัยที่กระท าในอีกสาขาหนึ่ง สามารถ cross การท างานกันได้
จากประสบการณ์เริ่มสร้างเครือข่ายตั้งแต่สมัยเรียนปริญญาโทที่เมืองจีน งานวิจัยแรกที่ท าร่วมกับคนอื่นเป็น
เพื่อนอาจารย์มหาวิทยาลัยรังสิตที่ไปเรียนต่อปริญญาเอกซึ่งมีความเชี่ยวชาญในการวัดผลและดร.วัชระ เองมีความ
เชี่ยวชาญในด้านการผ่าตัด (surgery) สัตว์ทดลอง จึงเกิดการสร้างงานวิจัยใหม่และน าไปสู่การตีพิมพ์ผลงานร่วมกัน เมื่อ
เรียนจบก็สร้างเครือข่ายจากเพื่อนและยังคงติดต่อกัน ต่อมาท าวิจัยร่วมกับดร.จุไรรัตน์ บุญรวบ (อาจารย์คลินิกแพทย์แผน
ไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) เป็นงานวิจัยเปรียบเทียบระหว่าง hot herbal complete
(ลูกประคบ) กับ hot complete (ผ้าร้อนธรรมดา) และ topical diclofenac ยาแก้ปวดธรรมดา ท าวิจัยแบ่งเป็น 2
ประเด็นคือ 1) ประคบเหมือนกัน ใช้ตัวชี้วัด 2 ตัว คือประเมินความเจ็บปวด กับ quality of life คุณภาพชีวิตของคน
ป่วยดีขึ้นไหม (The distinction of hot herbal compress, hot compress, and topical diclofenac as myofascial
pain syndrome treatment. Journal of evidence-base Integrative Medicine. 2018; 23:1-8) 2) ประคบผู้ป่วย
เป็นโรค myofascial pain syndrome อาการปวดบ่าปวดไหล่ โดยใช้ตัวชี้วัดคือ ประเมินความเจ็บปวด กับ พิสัยการ
)
เคลื่อนไหวของคอ (cervical range of motion (Effectiveness of hot herbal compress versus topical
.
diclofenac in treating patients with myofascial pain syndrome Journal of Traditional and
Complementary Medicine. 2019; 9: 163-167) ผลงานต่างๆที่เกิดขึ้น ล้วนเกิดจากการสร้างเครือข่ายการท าวิจัย ท า
ให้สามารถสร้างหรือพัฒนาผลงานวิจัยที่มีความน่าสนใจ ให้มีมุมมองหลากหลายด้านและสามารถตีพิมพ์ผลงานในวารสาร
ระดับนานาชาติที่มี impact factor สูงขึ้น จาก TCI< Q4< Q3< Q2< Q1
18
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
ที่ประชุมร่วมกันพิจารณา และสรุปได้ดังนี้
ปัจจัยสู่ความส าเร็จของการดาเนินงาน ประกอบด้วยปัจจัยหลัก คือ
1. นโยบายการบริหารของวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยให้การสนับสนุนอาจารย์ส่งตีพิมพ์ผลงานวิชาการ หรือการ
ต่อสัญญาจ้าง หรือเลื่อนขั้น เลื่อนต าแหน่ง ผลตอบแทน หรือข้อก าหนดงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ระดับคณะ ก าหนดคุณสมบัติของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจ าทางวิชาชีพแพทย์แผนไทย ต้องมีการ
ตีพิมพ์ผลงานอย่างน้อย 1 เรื่อง ภายใน 5 ปี
2. การสร้างบรรยากาศการท างานวิจัยที่มีเครือข่ายทั้งภายในหน่วยงานและนักวิจัยต่างสถาบัน
์
3. การจัดสรรเวลาที่ใช้ในการสร้างผลงานวิจัย เขียนผลงานจนถึงการตีพิมพผลงาน
แนวทำงกำรด ำเนินงำนที่ดี
1. การประชุมหรือการแชร์ประสบการณ์ของนักวิจัย ช่วยสร้างแรงจูงใจ แนวทางการสร้างงานวิจัย หรือแนวทาง
การเขียนผลงานอย่างไรให้ได้รับการตีพิมพ์ กับนักวิจัยรุ่นใหม่ หรือนักวิจัยที่สนใจ
2. การท างานวิจัยร่วมกันหรือการมีพี่เลี้ยงให้ค าปรึกษาสามารถสร้างงานวิจัยที่สมบูรณ์ ท าให้งานมีมุมมองที่
หลากหลายน่าสนใจ และตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการในฐานข้อมูลและดัชนีการอ้างอิงวารสารที่สูงขึ้น
รูปภำพที่ 3.2 แผนผังการสรุปองค์ความรู้ครั้งที่ 1
19
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
รูปภำพที่ 3.3 ภาพกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ ครั้งที่ 1
20
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
2.2 รำยงำนกำรประชุมคณะกรรมกำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนวิจัยครั้งที่ 1 สรุปองค์ควำมรู้ที่ได้
จากกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คณะกรรมการฯ สรุปประเด็นและแนวทางการน าองค์ความไปใช้ประโยชน์
รายละเอียด ดังนี้
รำยงำนกำรประชุม
คณะกรรมกำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนวิจัย ครั้งที่ 1 / 2563
วันที่ 19 ตุลำคม 2563 ณ ห้องประชุม 123
อำคำรเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษำ 5 ธันวำคม 2550
วิทยำลัยกำรแพทย์แผนไทย มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี ศูนย์รังสิต
........................................
ผู้เข้ำร่วมประชุม
1) ดร.ปุณยนุช อมรดลใจ ประธาน
2) ดร.สุรชัย เตชะเอ้ย กรรมการ
3) ดร.ณัฐนรี ศิริวัน กรรมการ
4) นางสาวลัดดาวัลย์ ชูทอง กรรมการ
5) นางสาวเขมจิรา จามกม กรรมการ
6) นางสาวชลิตรา วงษ์นุ่ม กรรมการและเลขานุการ
7) นางสาวภัสส์ธลกมน ผดุงพรรค์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
เริ่มประชุม เวลำ 10.00 น.
ประธานกล่าวเปิดประชุมและด าเนินการประชุมตามระเบียบวาระการประชุมดังนี้
ระเบียบวำระที่ 1 เรื่อง ประธำนแจ้งที่ประชุมทรำบ
ประธานแจ้งว่า จากการได้หัวข้อการจัดการความรู้วิจัย เรื่องการตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ จากการ
ประชุมคณะกรรมการจัดการความรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 1/2563 ได้ด าเนินการจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ครั้ง
ที่ 1/2563 โดยมี ดร.ปุณยุนช อมรดลใจ และ ดร.วัชระ ด าจุติ เป็นวิทยากร ถ่ายทอดประสบการณ์การท าวจัยด้านวิชาชีพ
ิ
ในวันที่ 14 ตุลาคม 2563 เรียบร้อยแล้ว
มติที่ประชุม: ที่ประชุมรับทราบ
ระเบียบวำระที่ 2 เรื่อง รับรองรำยงำนกำรประชุมคณะกรรมกำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนวิจัย ครั้งที่ 1/2563
มติที่ประชุม: ที่ประชุมรับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการจัดการความรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 1/2563 ลงวันที่ 7
ตุลาคม 2563
21
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
ระเบียบวำระที่ 3 เรื่อง เพื่อสืบเนื่อง
3.1 การแต่งตั้ง คณะกรรมการด าเนินการจัดการความรู้ด้านวิจัย ประจ าปีการศึกษา 2563
จากการประชุมครั้งที่แล้ว ได้ติดตามค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ด้านวิจัย ประจ าปี การศึกษา
2563 ซึ่งงานบุคลากรแจ้งว่า อยู่ระหว่างการลงนามในค าสั่งวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการ
ความรู้
มติที่ประชุม: ที่ประชุมรับทราบ
ระเบียบวำระที่ 4 เรื่อง เสนอเพื่อพิจำรณำ
4.1 แนวปฏิบัติที่ได้จากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 1/2563
จากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 1/2563 ในวันที่ 14 ตุลาคม 2563 โดยมี ดร.พท.ป.
ปุณยุนช อมรดลใจ และ ดร.พท.ป.วัชระ ด าจุติ เป็นวิทยากร ถ่ายทอดประสบการณ์การท าวิจัยด้านวิชาชีพ ซึ่งได้คณะ
กรรมการฯได้สรุปแนวทางการตีพิมพ์งานวจัยทางวิชาชีพ แนวทางที่ 1 เพื่อให้นักวิจัยได้น าแนวทางไปใช้และติดตามผลใน
ิ
การประชุมครั้งต่อไป ดังนี้
รูปภำพที่ 3.4 แผนผังแนวทำงกำรตีพิมพ์ผลงำนวิจัยวิชำชีพ แนวทำงที่ 1
22
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
มติที่ประชุม ที่ประชุมเห็นชอบ
4.2 สรุปแผนการจัดการความรู้ด้านวิจัย วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย ประจ าปีการศึกษา 2563 (เอกสาร
สรุปการจัดการความรู้ ประจ าปีการศึกษา 2563)
ดร.ปุณยนุช อมรดลใจ กล่าวว่าตามได้จัดท าสรุปแผนการจัดการความรู้ด้านวิจัย วิทยาลัย
การแพทย์แผนไทย ประจ าปีการศึกษา 2563 โดยก าหนดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ดังนี้
1.จ านวนอาจารย์ 5 ท่าน ที่มีแนวปฏิบัติที่ดีจากการน าแนวทางการตีพิมพ์งานวิจัยทางวิชาชีพให้
ประสบความส าเร็จไปใช้ในงานวิจัย
2.จ านวนผลงานตีพิมพ์ระดับชาติหรือนานาชาติ จ านวน 3 ชิ้นงาน
มติที่ประชุม ที่ประชุมเห็นชอบ และเสนออาจารย์กลุ่มเป้าหมาย 5 ท่าน คือ
1.อาจารย์ นิธิพันธ์ บุญเพิ่ม
2.อาจารย์ ลัดดาวัลย์ ชูทอง
3.อาจารย์ สายเพชร์ ประภาวิชา
4.อาจารย์ รสริน ทักษิณ
5.อาจารย์ ปัฐมาภรณ์ ราชวัฒน์
ซึ่งอาจารย์ทั้ง 5 ท่าน พิจารณาจากในรอบการประเมินอาจารย์ยังไม่มีผลงานการตีพิมพ์และเป็นอาจารย์
ื่
ทางวิชาชีพ เพอเป็นการพัฒนาศักยภาพให้อาจารย์ต่อไป และมอบคณะกรรมการฯ ประชาสัมพันธ์แนวทางที่ 1 ให้
กลุ่มเป้าหมาย จากนั้นติดตามผลและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งต่อไป
4.3 ก ำหนดกำรจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้ำนวิจัย ครั้งที่ 2/2564
ดร.ปุณยนุช อมรดลใจ กล่าวว่า จากการได้แนวทางการตีพิมพ์งานวิจัยทางวิชาชีพ แนวทางที่ 1 เพื่อให้
กลุ่มเป้าหมายน าไปใช้แล้วนั้น จึงขอเสนอก าหนดจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 2/2564 ในวันที่ 28
มกราคม 2564 เวลา 10.00 -12.00 น. ณ.ห้องประชุม 123 .น าไปถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กลุ่มเป้าหมายได้ลอง
ปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าว
มติที่ประชุม ที่ประชุมเห็นชอบ และมอบคณะกรรมการด าเนินการจัดการความรู้ด้านวิจัย ประจ าปีการศึกษา 2563
ด าเนินการประชาสัมพันธ์และจัดกิจกรรมดังเสนอฯ
ปิดประชุมเวลำ 12.00 น.
23
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
2.3 รำยงำนผลกำรแลกเปลี่ยนครั้งที่ 2
รำยงำนกิจกรรมกำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนงำนวิจัย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2/2564
วันพฤหัสบดีที่ 28 มกรำคม 2564
ณ ห้องประชุมเล็ก ห้อง 123 ชั้น 2 วิทยำลัยกำรแพทย์แผนไทย
มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี
เริ่มกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เวลา 9.30 น.
ฝ่ายวิชาการและวิจัย : ส่วนงานวิจัย
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : Research for Innovation : การวิจัยเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม
หัวข้อองค์ความรู้ที่ต้องการ : การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ
วันเดือนปีที่ด าเนินการ : วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2564
ชื่อผู้ให้ข้อมูล
1) พทป.นิธิพันธ์ บุญเพิ่ม
2) พทป.สายเพชร์ ประภาวิชา
3) พทป.ลัดดาวัลย์ ชูทอง
4) พทป.รสริน ทักษิณ
5) พทป.ปัฐมาภรณ์ ราชวัฒน์1) ดร.พทป.ปุณยนุช อมรดลใจ
ผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ : อาจารย์ จ านวน 15 คน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : Research for Innovation : การวิจัยเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม
หัวข้อองค์ความรู้ที่ต้องการ : การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ
วันเดือนปีที่ด าเนินการ : วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2564
สรุปเนื้อหาที่แลกเปลี่ยน : หัวข้อหลักคือ การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ
หัวข้อย่อยคือ แชร์ประสบการณ์การส่งตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการของนกวิจัย หน้า
ั
ใหม่
สรุปประเด็น ได้ดังนี้
3) พทป.นิธิพันธ์ บุญเพิ่ม แชร์ประสบกำรณ์ “การส่งตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการกับวารสารระดับชาติ”
ส่งตีพิมพ์ผลงานวิจัยที่งานประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานระดับชาติของมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ครั้งที่ 17
เป็นแบบ proceeding paper เนื่องจากผลงานไม่ได้ขอจริยธรรมในมนุษย์ เนื่องจากมหาวิทยาลัยอยู่ระหว่างการจัดตั้ง
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ การขอทุนและขอจริยธรรมในมนุษย์ ซึ่งทุนที่ได้รับเป็นทุนนักวิจัยหน้าใหม่ ได้
งบประมาณจ านวน 50,000 บาท หากขอจริยธรรมในมนุษย์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีหนังสือออกจากวิทยาลัยฯ
แจ้งไปจะเสียค่าใช้จ่ายจ านวน 3,500 บาท แต่ถ้าไม่มีหนังสือแจ้งจะเสียค่าใช้จ่ายจ านวน 12,000 บาท และในการส่งผล
งานตีพิมพ์ในครั้งนี้มี อ.จุฑาภรณ์ ขวัญสังข์ เป็นพี่เลี้ยงช่วยตรวจทาน แนะน า แก้ไขบทความทั้งเนื้อหา รูปแบบ จ านวน
หน้าให้ตรงตามก าหนด มีปัญหาเรื่องภาษาอังกฤษ ไวยากรณ์ โดยเฉพาะ abstract และถ้าหากงานวิจัยถัดไปต้องขอ
จริยธรรมก่อนเริ่มงานวิจัย แต่ติดที่ไม่มีผู้ร่วมวิจัยเป็นแพทย์ และต้องการคนช่วยคัดกรองภาษาก่อนการส่งตีพิมพ์ รวมถึง
ต้องการทราบงานวิจัยของอาจารย์ท่านอื่นๆ เพื่อท าวิจัยร่วมกัน
24
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
4) พทป.สำยเพชร์ ประภำวิชำ แชร์ประสบกำรณ์“กำรส่งตีพิมพ์ผลงำนทำงวิชำกำรกับวำรสำรระดับชำติ
ส่งตีพิมพ์ผลงานวิจัยที่งานประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานระดับชาติของมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ครั้งที่ 17
เป็นแบบ proceeding paper ซึ่งเป็นผลงานร่วมกับ พทป.นิธิพันธ์ บุญเพิ่ม ก่อนผลงานนี้มีปัญหาในการเริ่มต้นที่จะเขียน
บทความ และงานวิจัยขอจริยธรรมในมนุษย์ไม่ผ่าน เนื่องจากไม่มีแพทย์ร่วมโครงร่างวิจัย
5) พทป.ลัดดำวัลย์ ชูทอง แชร์ประสบกำรณ์“กำรส่งตีพิมพ์ผลงำนทำงวิชำกำรกับวำรสำรระดับชำติ”
ล่าสุดส่งผลงานตีพิมพ์กับงานประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยศรีปทุม รูปแบบ proceeding paper ซึ่งเป็น
งานการเรียนการสอนของนักศึกษาที่เก็บ case ร่วมกับงานบริการวิชาการ มีปัญหาคือไม่มีสมาธิในการเขียน ต้องใช้
เวลานาน แก้ไขโดยการลาพักผ่อน และดูงานวิจัยของคนอื่นเป็นแบบในการเขียนผลงาน และไม่มีพี่เลี้ยงหรือคนที่มี
ประสบการณ์มาแนะน าการเขียนหรือการเลือกวารสาร
6) พทป.รสริน ทักษิณ แชร์ประสบกำรณ์“กำรส่งตีพิมพ์ผลงำนทำงวิชำกำรกับวำรสำรระดับชำติ”
ส่งผลงานตีพิมพ์กับงานประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยศรีปทุม รูปแบบ proceeding paper ซึ่งมี อ.ลัดดา
วัลย์ ชูทอง เป็นพี่เลี้ยงช่วยเหลือ ขณะนี้ abstract ผ่านการยอมรับแล้วเหลือแก้ไขบทความวิจัยฉบับเต็ม เนื่องจากมีงาน
สอนหัตถเวชจ านวน 4 วันต่อสัปดาห์ ท าให้เขียนและแก้ไขบทความล่าช้า ต้องการผู้มีประสบการณ์ช่วยเหลือ แนะน าแนว
การเขียน การเลือกวารสาร หรือคัดกรองบทความก่อน เพื่อให้ได้ตีพิมพ์รวดเร็วขึ้น
7) พทป.ปัฐมำภรณ์ รำชวัฒน์ แชร์ประสบกำรณ์ “กำรส่งตีพิมพ์ผลงำนทำงวิชำกำรกับวำรสำรระดับชำติ”
ขณะนี้ด าเนินงานวิจัยเสร็จสิ้นแล้ว เป็นงานวิจัยที่ขอทุนนักวิจัยหน้าใหม่จ านวน 50,000 บาท แต่ยังไม่เริ่ม
เขียนบทความวิจัย เนื่องจากติดภาระกิจการสอนและการดูแลนักศึกษาฝึกงาน ท าให้ไม่มีสมาธิ มีปัญหาคือไม่รู้จะส่งตีพิมพ์
กับวารสารใด แนวทางการเขียนผลงานทางแพทย์แผนไทย และภาษาที่ใช้เขียน จึงขอนัดปรึกษา วันพฤหัสบดีที่ 18
กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 10.00 – 12.00 น.จะน าโครงร่างวิจัยมาน าเสนอและขอค าแนะน าในการเขียนบทความวิจัย
ที่ประชุมร่วมกันพิจารณา และสรุปได้ดังนี้
ปัจจัยสู่ความส าเร็จของการดาเนินงาน ประกอบด้วยปัจจัยหลัก คือ
1. การจัดสรรเวลาที่ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานวิจัย หรือการเขียนผลงาน
2. ข้อมูลพื้นฐานของวารสารส าหรับการเลือกที่จะตีพิมพ์ผลงาน
3. ผู้มีประสบการณ์ในการตีพิมพ์ผลงานร่วมแบ่งปัน แชร์ประสบการณ์การเผยแพร่ผลงาน
แนวทำงกำรด ำเนินงำนที่ดี
1. นัดประชุมช่วงปิดเทอมเดือนเมษายน ระหว่างอาจารย์ทางปรีคลินิก กับ อาจารย์แพทย์แผนไทย กลุ่มหัตถเวช
เวชกรรมหรือด้านอื่นๆ ที่สนใจท างานวิจัยจากงานการสอน ร่วมกันร่างโครงร่างวิจัยที่ต้องการเก็บข้อมูล เพื่อ
ก าหนด เป้าหมาย แนวทางการวิจัย การขอทุน หรือขอจริยธรรมในมนุษย์ และบูรณาการกับรายวิชาที่สอน
ก าหนดนักศึกษาต้องเก็บข้อมูล (case) ในชุมชน น าไปสู่การตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการร่วมกัน อย่างน้อย ปีละ
1 เรื่อง
2. นักวิจัยหน้าใหม่หรือนักวิจัยที่ต้องการพี่เลี้ยง มีทีมปรึกษาหรือขอค าแนะน าจากผู้มีประสบการณ์ก่อนเพื่อ
แก้ไขหรือปรับโครงร่างวิจัยให้สมบูรณ์ สามารถลดระยะเวลาในการด าเนินงานและการส่งตีพิมพ์ผลงาน
รวมถึงพิจารณรวารสารที่อยู่ฐานข้อมูลดัชนีการอ้างอิงวารสารในระดับที่สูงขึ้น
25
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
3. ทางส่วนกลางของมหาวิทยาลัยฯ มีการจัดตั้งคลินิกวิจัยของ มทร.ธัญบุรี ช่วยคัดกรองภาษาอังกฤษผลงานที่ส่ง
ตีพิมพ์
4. การเพิ่มช่องทางการให้ค าปรึกษาจากคลินิกนักวิจัยของวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย เพื่อให้ค าปรึกษา แนะน า
การท าวิจัยและการเขียนบทความวิจัยสู่การตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ
แผนผังสรุป กำรจัดกำรควำมรู้ ครั้งที่ 2 แชร์ประสบกำรณ์
“กำรส่งตีพิมพ์ผลงำนทำงวิชำกำรของนักวิจัยหน้ำใหม่”
คลินิกวิจัย
หน้าที่ หรือ งานที่ให้บริการ
- ให้ค ำปรึกษำกำรเขียนและทบทวนควำมถูกต้อง คัดกรอง ของโคร่งร่ำง
วิจัย/ตีพิมพ์
ิ
- ทีมงำน พี่เลี้ยงหรือผู้มีประสบกำรณ์ในงำนวิจัย/ตีพมพ์
- แนะน ำกำรขอ EC /หมอเฉพำะทำง
- แนะน ำกำรท ำวิจัยร่วม แผนไทย+แลป
นักวิจัยหน้ำใหม่ พี่เลี้ยง
ปัญหา การช่วยเหลือ
- ลงมือท ำวิจัยก่อน - แนะน ำแนวกำรเขียนบทควำม
- เขียนโครงร่ำงไม่ครบ/ไม่ขอ EC - กำรจัดรูปแบบเอกสำร
- เลือกวำรสำรไม่ได้ - คัดกรองบทควำม /ไวยำกรณ์
- ไวยำกรณ์ภำษำอังกฤษ ภำษำอังกฤษ
- กำรเริ่มต้นโครงร่ำงวิจัย - แนะน ำวำรสำร
- ขำดประสบกำรณ์กำรเขียนตีพิมพ์ - ควำมเชี่ยวชำญในงำนวิจัย
- ไม่มีพี่เลี้ยงแนะน ำ - เวลำในกำรให้ค ำแนะน ำ
- ไม่มีเวลำ หรือใช้เวลำนำน
บทควำมวิจัย
ตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ
- Proceeding paper งานประชุมวิชาการระดับชาติ
- Full paper (TC1<Q4<Q3<Q2<Q1) วารสารภายในประเทศ หรือใน
ต่างประเทศ
รูปภำพที่ 3.5 แผนผังการสรุปองค์ความรู้ครั้งที่ 2
26
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
รูปภำพที่ 3.6 การเข้าร่วมกิจกรรมการจัดการความรู้ด้านงานวิจัย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2
2.4 รำยงำนกำรประชุมคณะกรรมกำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนวิจัยครั้งที่ 2 สรุปองค์ควำมรู้ที่ได้
27
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
รำยงำนกำรประชุม
คณะกรรมกำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนวิจัย ครั้งที่ 3 / 2564
วันที่ 1 กุมภำพันธ์ 2564 ณ ห้องประชุม 123
อำคำรเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษำ 5 ธันวำคม 2550
วิทยำลัยกำรแพทย์แผนไทย มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี ศูนย์รังสิต
........................................
ผู้เข้ำร่วมประชุม
1) ดร.ปุณยนุช อมรดลใจ ประธาน
2) ดร.สุรชัย เตชะเอ้ย กรรมการ
3) ดร.ณัฐนรี ศิริวัน กรรมการ
4) นางสาวลัดดาวัลย์ ชูทอง กรรมการ
5) นางสาวเขมจิรา จามกม กรรมการ
6) นางสาวชลิตรา วงษ์นุ่ม กรรมการและเลขานุการ
7) นางสาวภัสส์ธลกมน ผดุงพรรค์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
เริ่มประชุม เวลำ 10.00 น.
ี
ประธานกล่าวเปิดประชุมและด าเนินการประชุมตามระเบยบวาระการประชุมดังน ี้
ระเบียบวำระที่ 1 เรื่อง ประธำนแจ้งที่ประชุมทรำบ
ประธานแจ้งวา ได้ด าเนินการจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 2/2564 ในวันที่ 28
่
มกราคม 2564 เรียบร้อยแล้ว
มติที่ประชุม: ที่ประชุมรับทราบ
ระเบียบวำระที่ 2 เรื่อง รับรองรำยงำนกำรประชุมคณะกรรมกำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนวิจัย
ครั้งที่ 2/2563 ลงวันที่ 19 ตุลำคม 2563
มติที่ประชุม: ที่ประชุมรับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการจัดการความรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 2/2563 ลงวันที่
19 ตุลำคม 2563
ระเบียบวำระที่ 3 เรื่อง สืบเนื่อง
3.1 ค าสั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการจัดการความรู้ด้านวิจัย ประจ าปีการศึกษา 2563
ค าสั่งวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย ที่ 56/2563 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ ลงวันที่ 20
ตุลาคม 2563
มติที่ประชุม: ที่ประชุมรับทราบ
3.2 ผลการด าเนินงานจากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 2/2564
28
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
จากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 2/2564 ในวันที่ 28 มกราคม 2564 กลุ่มเป้าหมาย
ได้แลกเปลี่ยนการน าแนวทางที่ 1 ไปใช้ซึ่งได้ผลด าเนินงานดังนี้
1.อาจารย์นิธิพันธ์ บุญเพิ่ม ผลงานวิจัยเรื่อง การศึกษาประสิทธิผลของการนวดแบบราชส านักตอหญิงที่
มีอาการปวดประจ าเดือน (ผลงานหลัก) ได้ตีพิมพ์ลงเล่มงานประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 17
เรื่อง งานวิจัยเพื่อการสร้างเสริมพลังสังคม สู่เศรษฐกิจไทยด้วยวิถีชีวิตใหม่ ณ มหาวิทยาลัยเวิสเทิร์น ในวันที่ 28-29
พฤศจิกายน 2563
2.อาจารย์สายเพชร์ ประภาวิชา ผลงานวิจัยเรื่อง การศึกษาประสิทธิผลของการนวดแบบราชส านักต่อ
หญิงที่มีอาการปวดประจ าเดือน (ผลงานร่วม) ผลงานวิจัยเรื่อง การประเมินการนวดหนาเพื่อลดการหยอนคลอยของผิว
หนา (ผลงานร่วม) ได้ตีพิมพ์ลงเล่มงานประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 17 เรื่อง งานวิจัยเพื่อการ
สร้างเสริมพลังสังคม สู่เศรษฐกิจไทยด้วยวิถีชีวิตใหม่ ณ มหาวิทยาลัยเวิสเทิร์น ในวันที่ 28-29 พฤศจิกายน 2563
3.อาจารย์รสริน ทักษิณ ผลงานวิจัยเรื่อง การประเมินการนวดหนาเพื่อลดการหยอนคลอยของผิวหนา
(ผลงานร่วม) ได้ตีพิมพ์ลงหนังสือรบรวมบทความ (Proceedings) งานประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ
ครั้งที่ 17 เรื่อง งานวิจัยเพื่อการสร้างเสริมพลังสังคม สู่เศรษฐกิจไทยด้วยวิถีชีวิตใหม่ ณ มหาวิทยาลัยเวิสเทิร์น ในวันที่
28-29 พฤศจิกายน 2563
4.อาจารย์ลัดดาวัลย์ ชูทอง ผลงานวิจัยเรื่อง การบูรณาการบริการวิชาการกับการจัดการเรียนการสอน
ในรายวิชาเวชกรรมแผนไทย (ผลงานหลัก) ตีพิมพ์ในหนังสือประมวลบทความ (Proceedings) การประชุมวิชาการ
ระดับชาติและนานาชาติมหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่15 ประจ าปี 2563 เรื่อง การวิจัยและนวัตกรรมสู่การ พัฒนาที่ยั่งยืน
ในวันที่ 18 ธันวาคม 2563
มติที่ประชุม: ที่ประชุมรับทราบ
ระเบียบวำระที่ 4 เรื่อง เสนอเพื่อพิจำรณำ
4.1 การจัดกิจกรรม คลินิกนักวิจัย วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มทร.ธัญบุรี ประจ าปีการศึกษา 2563
ดร.ปุณยนุช อมรดลใจ กล่าวว่า เนื่องจากส่วนงานวิจัย ได้จัดตั้งคลินิกนักวิจัยขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อให้
ค าปรึกษาแนวทางส าหรับนักวิจัยด้านจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง เพื่อพัฒนางานวิจัยวิชาชีพ สร้าง
เครือข่ายงานวิจัยเพื่อขอรับทุนสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก ตลอดจนการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการในระดับชาติ
และนานาชาติ เพื่อให้ค าปรึกษาและแนวทางการบริหารแผนงานวิจัยให้บรรลุตามเป้าหมาย ซึ่งส่วนงานวิจัยและประเมิน
ได้จัดผู้เชี่ยวชาญในการให้ค าปรึกษาเพิ่มเติม ซึ่งมีการประชาสัมพันธ์ผ่าน line และ เว็บไซต์วิทยาลัยฯ โดยสามารถ
เชื่อมโยงในการจัดการความรู้ด้านงานวิจัยเพื่อเป็นแนวทางที่ 2 ในหัวข้อ การตีพิมพ์ผลงานวิจัยด้านวิชาชีพได้
มติที่ประชุม: ที่ประชุมเห็นชอบ
4.2 แนวปฏิบัติที่ได้จากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 2/2564
จากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 2/2563 ในวันที่ 28 มกราคม 2564และจากข้อมูล
คลินิกนักวิจัยฯ คณะกรรมการฯ ได้สรุปแนวทางการตีพิมพ์งานวิจัยทางวิชาชีพ แนวทางที่ 2 เนื่องจากแนวทางที่ 1 ยัง
ไม่ได้ตามเป้าหมาย โดยสรุปแนวทางที่ 2 ดังนี้
29
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
ิ
รูปภำพที่ 3.7 แนวทางการตีพิมพ์งานวจัยทางวิชาชีพ แนวทางที่ 2
มติที่ประชุม ที่ประชุมเห็นชอบ
4.3 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 2/2564
ดร.ปุณยนุช อมรดลใจ เสนอก าหนดจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 3/2564 ในวันที่
25 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 9.30-12.00 น. โดยน าแนวทางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 2/2564 ไปถ่ายทอด
ให้กลุ่มเป้าหมาย และติดตามผลในการประชุมครั้งต่อไป
มติที่ประชุม ที่ประชุมเห็นชอบ และมอบคณะกรรมการฯ ด าเนินการประชาสัมพันธ์และจัดกิจกรรมดังเสนอ
ปิดประชุมเวลำ 12.00 น.
30
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
2.5 รำยงำนกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 3
รำยงำนกิจกรรมกำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนงำนวิจัย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 3/2564
วันพฤหัสบดีที่ 25 กุมภำพันธ์ 2564
ณ ห้อง innovative ชั้น 2 วิทยำลัยกำรแพทย์แผนไทย
มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี
เริ่มกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เวลา 12.10 น.
ฝ่ายวิชาการและวิจัย : ส่วนงานวิจัย
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : Research for Innovation : การวิจัยเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม
หัวข้อองค์ความรู้ที่ต้องการ : การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ
วันเดือนปีที่ด าเนินการ : วันพฤหัสบดีที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564
ชื่อผู้ให้ข้อมูล 1) ดร.พทป.ปุณยนุช อมรดลใจ
2) ดร.สุรชัย เตชะเอ้ย
3) อาจารย์มนสิชา ขวัญเอกพันธุ์
4) อาจารย์ พทป.ปัฐมาภรณ์ ราชวัฒน์
5) อาจารย์ พทป.รสริน ทักษิณ
ผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ : อาจารย์ จ านวน 15 คน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : Research for Innovation : การวิจัยเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม
หัวข้อองค์ความรู้ที่ต้องการ : การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ
วันเดือนปีที่ด าเนินการ : วันพฤหัสบดีที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564
สรุปเนื้อหาที่แลกเปลี่ยน : หัวข้อหลักคือ การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ
ี
หัวข้อย่อยคือ เตรียมตัวอย่างไร ให้ผลงานได้รับการตพิมพ์ในวารสารระดับชาติและ
ระดับนานาชาติ
มีเนื้อหา ดังนี้
8) ดร.พทป.ปุณยนุช อมรดลใจ แชร์ประสบกำรณ์ “การส่งผลงานตีพิมพ์กับวารสารระดับชาติ”
เริ่มต้นจากการเขียนผลงานภาษาไทย โดยเลือกวารสารระดับชาติภายในประเทศ ที่รับตีพิมพ์ผลงาน ด้านอา
ชีวอนามัย ระบาดวิทยา สาธารณสุข จึงเลือกวารสารสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.) ตีพิมพ์เผยแพร่ปีละ 2 ฉบับ, ศูนย์ดัชนีการ
อ้างอิงวารสารไทย (TCI-1) ได้ตีพิมพ์เรื่อง “การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตรีธาตุกับการเกิดโรคเบาหวาน” เป็นงาน
ทางด้านแผนไทย และทางบรรณาธิการของวารสาร ได้ซักถามรูปแบบของงานวิจัย การเก็บข้อมูล แปลผล อีกทั้งยังหาผู้
วิจารณ์ (reviewer) ทางด้านแผนไทย เนื่องจากเป็นงานใหม่ของวารสาร มีค่าธรรมเนียมตีพิมพ์ 3,500 บาท รอตีพิมพ์นาน
3-4 เดือน และมีวารสารภายในประเทศอื่นๆที่น่าสนใจ
- วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ เกี่ยวกับความปลอดภัย การท างานชุมชน การแยกขยะ สุขภาพมนุษย์
และสิ่งแวดล้อม ตีพิมพ์เผยแพร่ปีละ 3 ฉบับ อยู่ในเกณฑ์ TCI
- วารสารสาธารณสุขและวิทยาศาสตร์สุขภาพ เกี่ยวกับการแพทย์ สาธารณสุข และวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ตีพิมพ์เผยแพร่ปีละ 3 ฉบับ อยู่ในเกณฑ์ TCI-2 มีตัวอย่างที่น่าสนใจคือเรื่อง “การประเมินคุณภาพ
31
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
หลักสูตรการแพทย์แผนไทย (ฉบับปรับปรุง 2555) วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก”กับ
เรื่อง “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อเครื่องส าอางส าหรับผิวหน้า ผ่านสื่อออนไลน์ ใน
จังหวัดร้อยเอ็ด”
- วารสารสาระคาม เป็นวารสารเกี่ยวกับการแพทย์ ตีพิมพ์เผยแพร่ปีละ 2 ฉบับ อยู่ในเกณฑ์ TCI-1
- วารสารการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ เป็นวารสารเกี่ยวกับการแพทย์ ตีพิมพ์เผยแพร่ปีละ 3 ฉบับ อยู่
ในเกณฑ์ TCI-1 ที่น่าสนใจคือเรื่อง “ต าแหน่งทางกายวิภาคของศรีษะที่ตรงกับแนวเส้นพื้นฐานและจุด
สัญญาณของการนวดไทย” ของ อ.ณรงค์ศักดิ์ จันทะวัง
สามารถหาวารสารเพิ่มเติมได้ที่ Thai Journal Online (ThaiJo)
9) อ.มนสิชำ ขวัญเอกพันธุ์ แชร์ประสบกำรณ์ “เลือกวารสารอย่างไรให้ตีพิมพ์เร็วขึ้น”
ในการเลือกวารสารที่จะตีพิมพ์ นอกจากด้านของผลงานแล้วยังพิจารณาจาก ระยะเวลาในการตีพิมพ์ เช่น
3-4 เดือน/ครั้ง, จ านวนบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต่อครั้ง, หน้าเวปของวารสาร จะมีค าว่า article of print หรือ
awaiting of print หรือค าว่า รอตีพิมพ์ เป็นภาษาไทย เพื่อเช็คจ านวนที่ต้องรอตีพิมพ์กี่บทความ และค านวณผลงานของ
เราจะได้รับการตีพิมพ์เมื่อใด
10) ดร.สุรชัย เตชะเอ้ย แชร์ประสบกำรณ์ “เตรียมตัวอย่างไร ให้ได้ตีพิมพ์ผลงานกับวารสารต่างประเทศ
(How to publish a paper in international journal?)”
ก่อนจะมาแชร์ประสบการณ์ได้พูดคุยกับ ดร.ณัฐนี ศิริวัน เกี่ยวกับประสบการณ์ในการตีพิมพ์ผลงานกับ
วารสารต่างประเทศที่ผ่านมา ซึ่งมีแนวทางการเขียนผลงานหรือการค้นหาวารสารที่เหมาะสมใกล้เคียงกัน โดยก่อนจะ
ตีพิมพ์ผลงานเราจะต้องดูอะไรบ้าง มีเกณฑ์ขั้นต่ าหรือมาตรฐานอะไร ที่จะสามารถเข้า theme ของวารสารที่ก าหนด ซึ่ง
ส่วนใหญ่ขั้นตอนการตีพิมพมีการเรียงตามหัวข้อดังนี้
์
1. Complete your research งานเสร็จสมบูรณ์ หรือบางส่วนที่เพียงพอในการตีพิมพ์
2. Prepare the manuscript ขั้นตอนการเตรียม manuscript ต้องท ายังไง
3. Submit the manuscript
4. Manuscript get reviewer วารสารจะให้ก าหนด ผู้วิจารณ์ (reviewer)
5. Decision/ Accept or Reject
6. Publication
ซึ่งในการเริ่มเขียนผลงานหรือโคร่งร่างวิจัย ควรที่จะมีการวางขอบเขต (scope) ของงานก่อนคร่าวๆ เพื่อ
ทราบเป้าหมาย ขั้นตอนและการด าเนินงานเป็นไปตามแผนที่ก าหนด ในการเขียนผลงานเป็นภาษาอังกฤษนั้น อาจจะ
เครียด เขียนได้ 1 ค า ต่อไม่ได้หรือนึกไม่ออก ไม่รู้จะเขียนอย่างไร ดังนั้นการท างานภายใต้การผ่อนคลาย “Working
with Relaxing” จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่เลือกใช้เพื่อให้มีสมาธิและคิดแนวทางการเขียนผลงานให้ราบรื่น อาจจะเริ่มจาก
ความชอบ งานอดิเรก หรือการเล่นกีฬา เมื่อเกิดสภาวะผ่อนคลายก็เกิด Imagine เลือกวารสาร/คาดหวัง > Plan โคร่ง
ร่างและผลงานวิจัยดีพอไหม > Create งานวิจัยมีความซับซ้อนหรืองตรงความต้องการของวารสาร > Edit ปรับหรือแก้ไข
งานวิจัย > Design ออกแบบงานวิจัยหรือทิศทางการเขียน > Publish วารสารรับการตีพิมพ์
32
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
ทีนี้ในการตีพิมพ์วารสารแต่ละครั้ง ต้องหาข้อมูลเบื้องต้นของวารสารตามหัวข้อดังนี้
1. Journal detail ทุกวารสารจะมีรายละเอียด (description) แจ้งเกี่ยวกับด้านหรือความจ าเพาะของ
ผลงานที่รับตีพิมพ์
2. Publication fee ค่าธรรมเนียมในการตีพิมพ์ ถ้าวารสารอยู่ในเกณฑ์ Q1 ทั่วไป 40,000 – 50,000
บาท ทั้งนี้ขึ้นกับเกณฑ์ และค่า impact factor ด้วย ซึ่งต้องดูว่ามหาวิทยาลัยสามารถช่วยสนับสนุน
ค่าการตีพิมพ์แต่ละครั้งได้เท่าไหร่ กับผลงานของเราผ่านเกณฑ์วารสารนั้นๆหรือไม่ ส าหรับการ
ตัดสินใจ
3. Waiting time คือ timeline ในการรอตีพิมพ์ ต้องใช้เวลานานเท่าไหร่ และบางวารสารจะแจ้ง
จ านวนผลงานที่ accept แล้ว แต่รอการตีพิมพ์จ านวนกี่ผลงาน
4. Issues per years ใน 1 ปีมีผลงานออกกี่ฉบับ แต่ละฉบับมีกี่ผลงาน
ในการเลือกจะตีพิมพ์กับวารสารใดนั้น เลือกอย่างไร? และตองดูอะไรบ้าง
้
1. ประกาศของมหาวิทยาลัย และ ฐานของวารสาร เพื่อสามารถน าผลงานที่ตีพิมพ์แล้วน าไปต่อยอดได้
เช่น ขอต าแหน่งทางวิชาการ หรือ ค่าธรรมเนียนการสนับสนุนการตีพิมพ์ ถ้าวารสารอยู่ใน ฐาน ISI
จะได้รับเงินเพิ่ม กี่เท่าของงานที่ได้รับตีพิมพ์ (ความคุ้มค่าในการส่งตีพิมพ์)
2. ฐานวารสาร ค้นหาวารสารที่ตีพิมพ์เหมาะกับงานวิจัย มีหลายเว็ป อาทิ Scopus, ISI, SCImago
indexed : SCI mago Journal & Country Rank, Web of Science group
3. Plagiarism checklist ต้องตรวจสอบการลอกเลียนแบบหรือซ้ าก่อน โดยแต่ละวารสารจะก าหนดให้
แนบผลการตรวจสอบ และเวปที่ใช้ตรวจแนบ (plagiarism link) ไปในขั้นตอนการขอตีพิมพ์ และมี
ก าหนดการลอกเลียนแบบหรือซ้ า น้อยกว่า 15 – 20 % แล้วแต่วารสาร ซึ่งมีหลายเว็ปที่ใช้ และทาง
มหาวิทยาลัยการมีเช่นกันคือ เว็ป turnitin
4. Reviewer บางวารสารก าหนดให้ระบุชื่อผู้วิจารณ์ (reviewer), e-mail, ที่อยู่ จ านวน 1-3 คน และ
ต้องอยู่คนละประเทศ หรือก าหนดชื่อผู้วิจารณ์ ที่ห้ามน าผลงานไปให้อ่านก็มี
5. Instruction of other
a. ก าหนดรูปแบบ template ที่ใช้น าเสนอผลงาน ควรเลือกใช้โปรแกรมทั่วไป หลีกเลี่ยง
Excel หากต้อง แสดง flow chart หรือ กราฟต่าง ๆ ควรเลือกใช้ GraphPad Prism ภาพ
จะออกมาสวย หรือใช้ GO (graphic organizer) graphical abstract ในวารสารที่
ก าหนดให้ท าบทคัดย่อเป็นแบบรูปภาพ ห้ามเกินกี่ pixel
b. จ านวนค า ห้ามเกิน 2,000 – 2,500 ค า
11) พทป.ปัฐมำภรณ์ รำชวัฒน์ แชร์ประสบกำรณ์หัวข้อ “ความคืบหน้าในการส่งตีพิมพ์ผลงานวิจัยเชิง
ส ารวจทางแพทย์แผนไทย”
ท างานวิจัยเรื่อง “ความผิดปกติเกี่ยวกับการมีประจ าเดือนและการดูแลตนเองเมื่อมีอาการในนักศึกษา
สตรีวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี : การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการแพทย์แผนไทย”
ได้รับทุนนักวิจัยหน้าใหม่ปี 2562 เป็นงานวิจัยเชิงส ารวจ วัตถุประสงค์เพื่อพิสูจน์ทฤษฎีทางแผนไทย คือมีการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีความรู้ทางแพทย์แผนไทย ร่วมกับแผนปัจจุบัน มาสร้างแบบสอบถาม เพื่อใช้ประเมินดูความผิดปกติของ
33
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
ประจ าเดือน โดยเก็บข้อมูลในนักศึกษาสตรี แล้ววิเคราะห์ผลแยกจ านวนคนปกติกับผิดปกติกี่คน รวมทั้งใช้การวิเคราะห์
ทางสถิติร่วมด้วย ขณะนี้ก าลังอยู่ในช่วงค้นหาวารสารที่จะตีพิมพ์ผลงาน และแนวทางในการเขียนบทความให้ได้รับการ
ตีพิมพ์ จากการฟังค าแนะน าการเลือกวารสารจาก ดร.สุรชัย เตชะเอ้ย กับ ดร.ปุณยนุช อมรดลใจ นั้นขอไปศึกษาเรื่อง
ระบบของวารสารอีกที แต่สนใจวารสารวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ โดยวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อยู่ในเกณฑ์
TCI-1 ตีพิมพ์เผยแพร่ปีละ 3 ฉบับ จากข้อมูลสามารถเขียนส่งภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ มีแบบฟอร์มการเขียน จ ากัด
จ านวนหน้า และค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์ ประมาณ 180 US หรือ 5,000 ++ บาท และคาดว่าน่าจะส่งตีพิมพ์ภายในปีนี้
12) พทป.รสริน ทักษิณ แชร์ประสบกำรณ์หัวข้อ “การส่งตีพิมพ์ผลงานกับวารสารภายในประเทศ”
ท างานวิจัยกับนักศึกษา เน้นด้านการเรียนที่ไม่เข้ากับการแพทย์แผนไทย โดยปรึกษา อ. ลัดดาวัลย์ ชูทองและหา
ข้อมูลของวารสารที่จะตีพิมพ์เกี่ยวกับด้านการศึกษา การเรียน และเราสามารถส่งผลงานตีพิมพ์ได จึงเลือกเขียนผลงานส่ง
้
ตีพิมพ์กับวารสารวิชาการ มทร.สุวรรณภูมิ ด้านมนุษย์และสังคมสาสตร์ ตีพิมพ์เผยแพร่ ปีละ 2 ฉบับ, อยู่รในเกณฑ์ TCI-2
ตอนนี้ผลงานได้รับการ submission แล้ว โดยทางวารสาร submission ครั้งแรกที่เป็น abstract ก่อน มีการปรับแก้
จากนั้นส่ง full paper + abstract และ ผลงานฉบับสมบูรณ์ โดยทุกครั้งจะมีการปรับแก้ตามที่วารสารแนะน ามา ซึ่งเขียน
ส่งไปจ านวน 11 หน้า ขณะนี้อยู่ในขั้นตอนที่ 3 ในการปรับแก้เอกสารฉบับสมบูรณ์ และต้องส่งกลับก่อนวันที่ 16 มีนาคม
2564 นี้
ที่ประชุมร่วมกันพิจารณา และสรุปสิ่งที่ได้ดังนี้
ปัจจัยสู่ความส าเร็จของการดาเนินงาน ประกอบด้วยปัจจัยหลัก คือ
1. นโยบายการบริหารของวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยให้การสนับสนุนอาจารย์ส่งตีพิมพ์ผลงานวิชาการ หรือการ
ต่อสัญญาจ้าง หรือเลื่อนขั้น เลื่อนต าแหน่ง ผลตอบแทน หรือข้อก าหนดงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ระดับคณะ ก าหนดคุณสมบัติของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจ าทางวิชาชีพแพทย์แผนไทย ต้องมี
การตีพิมพ์ผลงานอย่างน้อย 1 เรื่อง ภายใน 5 ปี
2. ความสัมพันธ์ของหัวหน้าหรือผู้ร่วมงาน ในการเป็นที่ปรึกษาหรือการสนับสนุน เพราะการถ่ายทอด
ประสบการณ์จากการลงมือท า การคัดเลือกวารสาร เทคนิคการพิจารณาผ่านการเล่าสู่ กันฟังเสริมทีม เสริม
ก าลังใจไปด้วย
3. เวลาที่ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานวิจัย หรือการเขียนผลงาน
แนวทางการด าเนินงานที่ดี
3. การนัดประชุมหรือการแชร์ประสบการณ์ของนักวิจัยที่มีประสบการณ์ในการตีพิมพ์ช่วยให้นักวิจัยหน้าใหม่
ทราบแนวทางเบื้องต้นในการเตรียมผลงานวิจัยก่อนการส่งตีพิมพ์และการพิจารณาวารสารที่หมาะสมกับ
ั
งานวิจัยของตวเอง
4. คลินิกวิจัยจัดตั้งเพื่อช่วยเหลือแนะน าหรือให้ค าปรึกษารวมถึงการจัดหาพี่เลี้ยงในการเขียนผลงานเพื่อส่ง
ตีพิมพ์กับวารสารระดับชาติและระดับนานาชาติให้แก่นักวิจัยรุ่นใหม่หรือนักวิจัยที่มีปัญหาในการเขียนผลงาน
34
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
นักวิจัยหน้ำใหม่ คลินิกวิจัย
กำรเตรียมตัว ก่อนส่งผลงำนตีพิมพ ์ หน้ำที่ / งำนที่ให้บริกำร
- งำนวิจัย - ให้ค ำปรึกษำกำรเขียนและทบทวนควำมถูกต้อง
o เสร็จสมบูรณ์ หรือบางส่วน คัดกรอง ของโคร่งร่ำงวิจัย/ส่งตีพิมพ์
o ลักษณะของงาน (ด้าน/ความเชี่ยวชาญ) - แนะน ำทีมงำน พี่เลี้ยงหรือผู้มีประสบกำรณ์ใน
o ข้อจ ากัดของงานวิจัย (ไม่ขอ EC / งำนวิจัย
จ านวน N ไม่พอ / method ที่ใช้ - แนะน ำกำรขอ EC /หมอเฉพำะทำง
เหมาะสม) - แนะน ำกำรเลือกวำรสำร
o รูปแบบน าเสนอ
o ตรวจ Plagiarism
- ประกำศของมหำวิทยำลัย
- ฐำนเกณฑ์มำตรฐำนวำรสำร (TCI, Scopus,
ISI)
ู้
- เลือกผวิจำรณ์
- ค่ำใช้จ่ำย
วำรสำรระดับชำติ / ระดับนำนำชำติ
เกณฑ์กำรพิจำรณำ
- ด้าน ลักษณะงาน /ความจ าเพาะ/ ความเชี่ยวชาญ ที่จะตีพิมพ์
- ฐานเกณฑ์มาตรฐานวารสาร (TCI, Scopus, ISI)
- ผู้วิจารณ์ (reviewer)
- ค่าธรรมเนียม
- เกณฑ์ Plagiarism ไม่เกิน 15 - 20%
- จ านวนหน้า หรือจ านวนค า ไม่เกิน 2,000-3,000 ค า
- รูปแบบน าเสนอ template
ส่งตีพิมพ์ (Publication)
รูปภำพที่ 3.8 สรุปแผนผัง การจัดการความรู้ ครั้งที่ 3
“เตรียมตัวอย่างไร ให้ผลงานได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและระดับนานาชาติ”
KM : ด้านการวิจัย| 34
35
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
รูปภำพที่ 3.9 กำรเข้ำร่วมกิจกรรมกำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนงำนวิจัย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 3
“เตรียมตัวอย่างไร ให้ผลงานได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและระดับนานาชาติ”
2.6 รำยงำนกำรประชุม คณะกรรมกำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนวิจัย ครั้งที่ 4
KM : ด้านการวิจัย| 35
36
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
รำยงำนกำรประชุม
คณะกรรมกำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนวิจัย ครั้งที่ 4 / 2564
วันที่ 3 มีนำคม 2564 ณ ห้องประชุม 123
อำคำรเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษำ 5 ธันวำคม 2550
วิทยำลัยกำรแพทย์แผนไทย มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี ศูนย์รังสิต
........................................
ผู้เข้ำร่วมประชุม
1) ดร.ปุณยนุช อมรดลใจ ประธาน
2) ดร.สุรชัย เตชะเอ้ย กรรมการ
3) ดร.ณัฐนรี ศิริวัน กรรมการ
4) นางสาวลัดดาวัลย์ ชูทอง กรรมการ
5) นางสาวเขมจิรา จามกม กรรมการ
6) นางสาวชลิตรา วงษ์นุ่ม กรรมการและเลขานุการ
7) นางสาวภัสส์ฐลกมน ผดุงพรรค์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
เริ่มประชุม เวลำ 10.00 น.
ประธานกล่าวเปิดประชุมและด าเนินการประชุมตามระเบียบวาระการประชุมดังนี้
ระเบียบวำระที่ 1 เรื่อง ประธำนแจ้งที่ประชุมทรำบ
ประธานแจ้งวา ได้ด าเนินการจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 3/2564 ในวันที่
่
25 กุมภาพันธ์ 2564 เรียบร้อยแล้ว
มติที่ประชุม: ที่ประชุมรับทราบ
ระเบียบวำระที่ 2 เรื่อง รับรองรำยงำนกำรประชุมคณะกรรมกำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนวิจัย ครั้งที่ 3/2564
ลงวันที่ 1 กุมภำพันธ์ 2564
มติที่ประชุม: ที่ประชุมรับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการจัดการความรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 3/2564
ลงวันที่ 1 กุมภำพันธ์ 2564
ระเบียบวำระที่ 3 เรื่อง สืบเนื่อง
3.1 ผลการด าเนินงานจากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 3/2564
จากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ครั้งที่ 3/2564 ในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564
กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนการน าแนวทางที่ 2 ไปใช้ซึ่งได้ผลด าเนินงานดังนี้
1.อาจารย์ลัดดาวัลย์ ชูทอง ได้ส่งผลงานเข้าร่วมน าเสนอผลงานวิชาการ งานประชุมวิชาการ
ระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 5 ในหัวข้อ “การวิจัยและนวัตกรรมในวิถีปกติใหม่”
ซึ่งส่งผลงานเรื่อง การประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์
KM : ด้านการวิจัย| 36
37
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
2.อาจารย์รสริน ทักษิณ ได้ส่งผลงานเข้าร่วมน าเสนอผลงานวิชาการ งานประชุมวิชาการ
ระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 5 ในหัวข้อ “การวิจัยและนวัตกรรมในวิถีปกติใหม่”
ซึ่งส่งผลงานเรื่อง การศึกษาผลของการฝึกทักษะวิชาชีพหัตถเวชกรรมแผนไทย
โดยผลงานของอาจารย์ทั้งสองท่าน หลังจากน าเสนอในงานประชุมวิชาการแล้ว อยู่ระหว่าง
คัดเลือกไปตีพิมพ์ลงวารสารที่อยู่ในฐาน TCI 1 หรือ TCI 2 จากวารสารที่เข้าร่วมจัดงานประชุมดังกล่าว
3.อาจารย์ปัฐมาภรณ์ ราชวัฒน์ ได้คัดเลือกวารสารที่อยู่ในฐาน TCI 1 และอยู่ในกระบวนการ
จัดท าต้นฉบับตามสารสารก าหนด
มติที่ประชุม: ที่ประชุมรับทราบ
ระเบียบวำระที่ 4 เรื่อง เสนอเพื่อพิจำรณำ
4.1 แบบสรุปการจัดการความรู้ด้านวิจัย ปีการศึกษา 2563
ดร.ปุณยนุช อมรดลใจ ได้กล่าว สรุปทบทวนขั้นตอนการด าเนินงานการจัดการความรู้ด้านวิจัย
เริ่มตั้งแต่การเสาะหาความรู้จากการจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย 3 ครั้ง การเสาะหาความรู้จากการ
อบรม สัมมนา น ามาประยุกต์จนได้แนวปฏิบัติ 2 แนวปฏิบัติ โดยมีแผนผังการด าเนินงานดังนี้
จะเห็นได้ว่ากลุ่มเป้าหมายได้น าแนวปฏิบัติทั้งสองไปปรับใช้และได้มาซึ่งผลงานให้เห็นเชิงประจักษ์ จึง
ได้สรุปชุดความรู้จากการจัดการความรู้ด้านวิจัย ปีการศึกษา 2563 ดังเอกสารแนบ
มติที่ประชุม: ที่ประชุมเห็นชอบ
ปิดประชุมเวลำ 12.00 น.
KM : ด้านการวิจัย| 37
38
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
นางสาวภัสส์ฐลกมน ผดุงพรรค์ นางสาวชลิตรา วงษ์นุ่ม
(ผู้จดรายงานการประชุม) (ผู้ตรวจรายงานการประชุม)
KM : ด้านการวิจัย| 38
39
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
บทที่ 4
องค์ควำมรู้ที่ได้จำกกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การจัดการความรู้ด้านการวิจัย จากการหารือกันภายในองค์กรพบว่าบุคลากรในองค์กรมีความสนใจ
จัดการเรียนรู้ในหัวข้อ “การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ” เพราะงานวิจัยทางวิชาชีพแสดงให้เห็นถึง
ความก้าวหน้าของศาสตร์ โดยเฉพาะทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพทั้งทางตรงและทางอ้อม การเผยแพร่ผลงานวิจัย
ออกสู่สายตาของวิชาชีพ ย่อมช่วยให้ผลงานวิจัยมีการประยุกต์ในการพัฒนาและปรับปรุง งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์
สุขภาพให้ดียิ่งๆ ขึ้นไป อีกทั้งสามารถสร้างเป็นแนวทางการพัฒนางานบริการวิชาการให้เป็นงานวิจัยได้อีกด้วย
เป้ำหมำยกำรจัดกำรควำมรู้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1. เพื่อให้บุคลากรมีความเข้าใจเกี่ยวกับการตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ
2. เพื่อให้บุคลากรตระหนักถึงความส าคัญของการเผยแพร่ผลงานวิจัยทางวิชาชีพอันเป็นหลักฐานเชิง
ประจักษ์ในการพัฒนาวิชาชีพ
3. เพื่อสร้างและพัฒนางานวิจัยทางวิชาชีพให้บุคลากรโดยเฉพาะอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และอาจารย์
ผู้สอน มีผลงานทางวิชาการตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558
จากเป้าหมายดังกล่าว น าไปสู่ ขั้นตอนการจัดการความรู้อย่างเป็นขั้นตอน สรุปได้ ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การก าหนดความรู้หลักที่จ าเป็นหรือส าคัญต่อหน่วยงานหรือกิจกรรมกลุ่มหรือองค์กร
คณะกรรมการบริหารวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย ประชุมหารือแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ชุด
เดิมแต่งตั้ง ในวันที่ 30 สิงหาคม 2562 และมีการแต่งตั้งชุดใหม่ ในวันที่ 20 ตุลาคม 2563 เพื่อด าเนินการอย่าง
ต่อเนื่องในการเสาะแสวงหาองค์ความรู้ด้านการวิจัย ที่สนับสนุนวิสัยทัศน์ พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตร์ของ
องค์กร โดยมีกระบวนการ ดังนี้
1.1 ส ารวจประเด็นปัญหาและก าหนดความรู้หลักที่จ าเป็นของวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย ด้านการวิจัย
ในการประชุมคณะกรรมการการจัดการความรู้ครั้งที่ 1/2563 ในวันที่ 7 ตุลาคม 2563 ได้ท าการ
ส ารวจประเด็นปัญหาและควรสนับสนุนการท างานวิจัยทางคลินิก พร้อมทั้งให้ความรู้ด้านการท าวิจัยในมนุษย์ เพื่อ
การวางแผนงานวิจัยที่ถูกต้องตาม ขั้นตอนและสามารถตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยทางวิชาชีพได้ และสืบเนื่องจาก
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาทั้งในระดับหลักสูตรและคณะประจ าปีการศึกษา 2562 (SAR62) พบว่าแม้
วิทยาลัยฯ จะมีผลงานตีพิมพ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แต่ยังขาดงานวิจัยด้านวิชาชีพ และงานวิจัยเฉพาะทางของแต่ละ
หลักสูตร อีกทั้งหลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์ และหลักสูตรสุขภาพและความงาม อยู่ระหว่างการปรับปรุง
หลักสูตรปี 2564 ซึ่งต้องใช้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 ที่ก าหนดคุณสมบัติของอาจารย์
ประจ าหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และอาจารย์ผู้สอน ต้องมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของ
การศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่ก าหนดในการพิจารณา
แต่งตั้งให้บุคคลด ารงต าแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ซึ่งพบว่าอาจารย์ผู้สอนบาง
KM : ด้านการวิจัย| 39
40
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
ท่านยังไม่มีผลงานทางวิชาการหรือวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ จะส่งผลต่อการบริหารหลักสูตรได้ ที่ประชุม
กรรมการบริหารฯ จึงก าหนดประเด็นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเรื่อง "กำรตีพิมพ์ผลงำนวิจัยทำงวิชำชีพ"
ดังนั้นในการประชุมคณะกรรมการการจัดการความรู้ครั้งที่ 1/2563 จึงมีมติให้คณะกรรมการด าเนินการจัดการ
ความรู้ด้านวิจัย วางแผนด าเนินการเสาะแสวงหาองค์ความรู้ ที่สนับสนุนวิสัยทัศน์ พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตร์
ขององค์กร ในปีการศึกษา 2563
1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ เลขที่ 56/2563 ลงวันที่ 20 ตุลาคม 2563 (มีการปรับเพิ่มเติม
อาจารย์ใหม่ได้เข้าร่วมเป็น คณะกรรมการ แต่ยังคงมีการส ารวจความต้องการ ประเด็นปัญหาของหน่วยงานใน
กรรมการชุดเดิมปฏิบัติงานต่อเนื่องก่อนหน้า )
1.3 การระดมสมองเพื่อก าหนดขั้นตอนการด าเนินงาน เป้าหมาย ตัวชี้วัด ที่สอดคล้องกับแผนการจัดการ
ความรู้ของวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย ปี 2563 โดยสรุปแผนผังได้ดังนี้
รูปภำพที่ 4.1 สรุปแผนกำรด ำเนินงำน
ขั้นตอนที่ 2 การเสาะหาความรู้ที่ต้องการ มีผลการด าเนินงานจากการจัดกิจกรรมย่อยอันประกอบด้วย
2.1 ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับอาจารย์นักวิจัย ในรูปแบบการบรรยายและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
เรียนรู้ เน้นการจัดกิจกรรมพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในบรรยากาศผ่อนคลาย โดยคณะกรรมการการจัดการความรู้
เสนอ หัวข้อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องครั้งที่ 1 เรื่อง“ตีพิมพ์งานวิจัยทางวิชาชีพอย่างไรให้ประสบความส าเร็จ”
โดยเสนอ Tacit Knowledge ที่มีผลงานวิจัยทางวิชาชีพเด่นชัด จ านวน 2 ท่าน คือ ดร.พทป.ปุณยนุช อมรดลใจ
และ ดร.พทป.วัชระ ด าจุติ เป็นต้นแบบในการจัดการความรู้ ซึ่งกลุ่มเป้าหมายที่ส าคัญในการน าแนวปฏิบัติที่ดีไป
ประยุกต์ใช้ คือกลุ่มอาจารย์หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ก าหนดวันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ครั้งที่
KM : ด้านการวิจัย| 40
41
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
1/2563 ในวันที่ 14 ตุลาคม 2563 เวลา 12.00-13.00 น. เนื่องจากอาจารย์ส่วนใหญ่ติดภารกิจการสอน จึงขอใช้
เวลาในช่วงพักเที่ยงในการจัดกิจกรรม โดยเน้นการจัดกิจกรรมพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในบรรยากาศผ่อนคลาย
เพื่อสร้างบรรยากาศส่งเสริมการเรียนรู้ให้อาจารย์ที่เข้าร่วมกิจกรรมกล้าซักถามเพื่อขอข้อเสนอแนะต่าง ๆ จาก
Tacit Knowledge ซึ่งอาจเกิดจากการบูรณาการข้ามศาสตร์ของอาจารย์ระหว่างหลักสูตรการแพทย์แผนไทย
ประยุกต์ หลักสูตรสุขภาพและความงาม และหลักสูตรนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สุขภาพ ผลการด าเนินงานจากกิจกรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการตีพิมพ์ผลงานวิจัยได้ สรุปเป็นขั้นตอนการตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ และแนวทางการ
ปฏิบัติที่ดีส าหรับนักวิจัยหน้าใหม่ในการตีพิมพ์ผลงานวิจัย
2.2 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิจัย ในการตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ จากกลุ่มอาจารย์เป้าหมาย
โดยกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2 ในวันที่ 28 มกราคม 2564 ณ ห้องประชุม 123 ชั้น 2
วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย เป็นการบอกเล่าแนวทางการตีพิมพ์ผลงานที่ผ่านมาของอาจารย์ที่ประสบความส าเร็จ
โดยแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรียนรู้ เพื่อเป็นต้นแบบ ให้กับอาจารย์กลุ่มเป้าหมายสามารถน าไปประยุกต์ ปรับใช้
ในการเตรียมต้นฉบับบทความเพื่อเผยแพร่ในวารสารวิชาการและเวทีประชุมระดับชาติหรือนานาชาติของตนเอง
โดยกลุ่มอาจารย์เป้าหมายมีดังนี้
1. อาจารย์พทป.สายเพชร์ ประภาวิชา
2. อาจารย์พทป.ลัดดาวัลย์ ชูทอง
3. อาจารย์พทป.ปัฐมาภรณ์ ราชวัฒน์
4. อาจารย์พทป.นิธิพันธ์ บุญเพิ่ม
5. อาจารย์พทป รสริน ทักษิณ
2.3 การศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลอื่น ๆ
การศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ในกลุ่มอาจารย์นักวิจัยเข้าร่วม
กิจกรรมของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศักยภาพด้านการการวิจัยเพื่อน ามาแลกเปลี่ยนและหากระบวนการ
ที่เหมาะสมกับอาจารย์ในการการตีพิมพ์งานวิจัยทางวิชาชีพให้ประสบความส าเร็จ ดังนี้
2.3.1 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการพัฒนาผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ให้สอดคล้องตาม
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2558 ณ ห้องเรียน 134 วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มทร.
ธัญบุรี
2.3.2 โครงการพัฒนาคุณภาพบทความจากระดับ Proceeding เข้าสู่ฐานข้อมูล Scopus เพื่ออาจารย์
ประจ าหลักสูตรและผู้รับผิดชอบหลักสูตร กิจกรรมที่ 1 “เขียนงานวิจัยอย่างไร ให้ได้มาตรฐานในระดับสากล”
วันที่ 14 กันยายน 2563 ณ ห้องประชุมวิกตอเรีย ชั้น 1 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 48 พระชันษา สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
2.3.3 โครงการพัฒนาคุณภาพบทความจากระดับ Proceeding เข้าสู่ฐานข้อมูล Scopus เพื่ออาจารย์
ประจ าหลักสูตรและผู้รับผิดชอบหลักสูตร กิจกรรมที่ 2 “เคล็ด (ไม่) ลับ การท า Research paper เพื่อตีพิมพ์ใน
ISI Q1 Journals” วันที่ 17 กันยายน 2563 ณ ห้องประชุมวิกตอเรีย ชั้น 1 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 48 พระชันษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
KM : ด้านการวิจัย| 41
42
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
2.3.4 การประชุมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ครั้งที่
5/2563 วันที่ 29 ตุลาคม 2563 ณ ห้องประชุมรัตตอุบล ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 48 พระชันษา สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
2.3.5 โครงการประชุมกองบรรณาธิการวารสาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วันที่ 1 ธันวาคม
2563 ณ ห้องประชุม มังคลอุบล ชั้น 1 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 48 พระชันษาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม
บรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
2.3.6 โครงการขับเคลื่อนเพื่อพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมเข้าสู่สากล ครั้งที่ 1/2564 วันที่ 22 กุมภาพันธ์
2564 ณ ห้องประชุมรัตตอุบล ชั้น 1 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 48 พระชันษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม
บรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
2.3.7 โครงการอบรม “หลักจริยธรรมการวิจัยในคน” วันที่ 21 เมษายน 2564 เวลา 08.30 – 16.00 น.
ณ ห้องสโมสร ชั้น 4 อาคารคุณากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต และ ผ่านระบบ
ZOOM และ Facebook Live
2.3.8 โครงการพี่เลี้ยงนักวิจัยรุ่นใหม่และเส้นทางสู่ต าแหน่งทางวิชาการ หัวข้อ "การท างานวิจัยระหว่าง
สาขา"พฤหัสบดีที่ 22 เมษายน 2564 เวลา 14.00-16.00 น. โครงการอบรมรูปแบบออนไลน์ ผ่านระบบ ZOOM
และ Facebook Live จัดโดย กองบริหารการวิจัย ส านักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2.3.9 โครงการ"พี่เลี้ยงนักวิจัยรุ่นใหม่และเส้นทางสู่ต าแหน่งทางวิชาการ หัวข้อ "หลักเกณฑ์และวิธีการ
การพิจารณาการเข้าสู่ต าแหน่งทางวิชาการ" ในวันพุธที่ 28 เมษายน 2564 เวลา 14.00-16.00 น. รูปแบบออนไลน์
ผ่านระบบ ZOOM และ Facebook Live จัดโดย กองบริหารการวิจัย ส านักงานอธิการบดี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จากการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม จากการอบรมสัมมนาทั้งในรูปแบบ online และ onsite ท า
ให้สามารถเพิ่มเติมช่องทางให้ค าปรึกษา โดยให้นักวิจัยพี่เลี้ยงจัดสรรตารางเวลานัดหมายในทุกสัปดาห์ โดยมี
ตารางเวลาดังนี้
1) วันจันทร์ เวลา 10.00-12.00 น. เรื่อง การสร้างเครือข่ายงานวิจัย/จริยธรรมการวิจัยในสัตว์ทดลอง
โดย ดร.พทป. วัชระ ด าจุต ิ
2) วันพุธ เวลา 10.00-12.00 น. เรื่อง การวิจัยทางคลินิก/จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
โดย ดร.พทป.ปุณยนุช อมรดลใจ
3) วันพฤหัสบดี เวลา 10.00-12.00 น. เรื่อง การจัดท าค าขอสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร
โดย ดร.ภญ.บุณณดา ภมรปฐมกุล
4) วันพฤหัสบดี เวลา 09.00-16.00 น. เรื่อง การติดตามแผนงานวิจัย/การขอสนับสนุนเงินรางวัลจาก
ผลงานวิจัย
โดย นางสาวชลิตา วงษ์นุ่ม
5) วันศุกร์ 09.00-12.00 น. เรื่อง การเขียนผลงานทางวิชาการ
โดย ดร.ณัฐนรี ศิริวัน
KM : ด้านการวิจัย| 42
43
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
ขั้นตอนที่ 3 การปรับปรุงความรู้ให้เหมาะกับการใช้งาน ได้ด าเนินการดงนี้
ั
3.1 จากผลการระดมสมองเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากอาจารย์ผ่านการตีพิมพ์ผลงานวิจัยวิชาชีพ ครั้งที่ 2
ได้สรุปขั้นตอนการเผยแพร่ผลงาน และแนวทางการปฏิบัติที่ดี แนวทางที่ 1 จากนั้นได้มีการระดมสมองเพื่อ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากอาจารย์ผ่านการตีพิมพ์ผลงานวิจัยวิชาชีพ ในครั้ง 3 ด าเนินการสรุปวิเคราะห์ ประเด็นที่
เกี่ยวข้องกับการตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ มาก าหนดประเด็นความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติและการค้นคว้า
รวบรวมกระบวนการเผยแพร่ผลงานจากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก และปรับรูปแบบให้เหมาะสม
ผ่านช่องทาง “คลินิกนักวิจัย” โดยการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทาง www.tmc.rmutt.ac.th ที่เปิดช่องทางให้
ค าปรึกษาตลอดกระบวนการตีพิมพ์ผลงานเพื่อสนับสนุนอาจารย์ให้มีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตาม
หลักเกณฑ์ที่ก าหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลด ารงต าแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปี
ย้อนหลัง ได้ปรับปรุงแนวทางปฏิบัติที่ดีในการตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ เป็นแนวทางที่ 2
3.2 คณะกรรมการด าเนินการการจัดการความรู้ จัดเก็บเรียบเรียงเป็นเอกสารข้อมูลจากข้อ 3.1 เพื่อให้
สามารถน าไปใช้เป็นกระบวนการตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ
ขั้นตอนที่ 4 การประยุกต์ใช้ความรู้ในกิจการงาน มีผลการด าเนินงานจากการจัดกิจกรรมย่อยอันประกอบด้วย
การน าข้อมูลเอกสารหลักฐานไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการวิจัยโดยอาจารย์นักวิจัยกลุ่มเป้าหมายได้
ด าเนินการ และน าไปปรับใช้ในช่วงเดือนพฤศจิกายน - พฤษภาคม 2564 ซึ่งมีการด าเนินการดังต่อไปนี้
การน าข้อมูลจากองค์ความรู้ที่รวบรวมจัดเก็บเป็นเอกสารข้อมูลในข้อ 3 ไปด าเนินการจัดการตีพิมพ์
ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ โดยก าหนดเป็น 3 ระยะ ดังนี้
ระยะที่ 1 ในกลุ่มอาจารย์ที่ได้รับทุนนักวิจัยหน้าใหม่ ปิดโครงการในปีงบประมาณ 2562 จ านวน 3 คน
น าผลงานตีพิมพ์ในงานประชุมวิชาการระดับชาติ โดยแชร์แประสบการณ์ ปัญหาและอุปสรรค มาถ่ายทอดแก่
อาจารย์นักวิจัยที่สนใจ ประกอบด้วย
1) อาจารย์นิธิพันธ์ บุญเพิ่ม ผลงานวิจัยเรื่อง การศึกษาประสิทธิผลของการนวดแบบราชส านักตอหญิง
ที่มีอาการปวดประจ าเดือน (ผลงานหลัก) ได้ตีพิมพ์ลงเล่มงานประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ
ครั้งที่ 17 เรื่อง งานวิจัยเพื่อการสร้างเสริมพลังสังคม สู่เศรษฐกิจไทยด้วยวิถีชีวิตใหม่ ณ มหาวิทยาลัยเวิสเทิร์น
ในวันที่ 28-29 พฤศจิกายน 2563
2) อาจารย์สายเพชร์ ประภาวิชา ผลงานวิจัยเรื่อง การศึกษาประสิทธิผลของการนวดแบบราชส านักต
อหญิงที่มีอาการปวดประจ าเดือน (ผลงานร่วม) ผลงานวิจัยเรื่อง การประเมินการนวดหนาเพื่อลดการหยอนคล
อยของผิวหนา (ผลงานร่วม) ได้ตีพิมพ์ลงเล่มงานประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 17
เรื่อง งานวิจัยเพื่อการสร้างเสริมพลังสังคม สู่เศรษฐกิจไทยด้วยวิถีชีวิตใหม่ ณ มหาวิทยาลัยเวิสเทิร์น ในวันที่ 28-
29 พฤศจิกายน 2563
3) อาจารย์รสริน ทักษิณ ผลงานวิจัยเรื่อง การประเมินการนวดหนาเพื่อลดการหยอนคลอยของผิวหนา
(ผลงานร่วม) ได้ตีพิมพ์ลงหนังสือรบรวมบทความ (Proceedings) งานประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัย
ระดับชาติ ครั้งที่ 17 เรื่อง งานวิจัยเพื่อการสร้างเสริมพลังสังคม สู่เศรษฐกิจไทยด้วยวิถีชีวิตใหม่ ณ
มหาวิทยาลัยเวิสเทิร์น ในวันที่ 28-29 พฤศจิกายน 2563
จากการติดตามอาจารย์นักวิจัยกลุ่มเป้าหมายยังพบว่า ยังมีอาจารย์ที่ส่งผลงานตีพิมพ์วารสารความ
ปลอดภัยและสุขภาพ ฐานข้อมูล TCI 1ไม่บรรลุเป้าหมายตามที่ต้องการ จึงได้ปรับแนวทางปฏิบัติในแนวทางที่ 2
KM : ด้านการวิจัย| 43
44
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
ระยะที่ 2 จากการถ่ายทอดกระบวนการและจัดรูปแบบการตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพในงานประชุม
วิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 17 เรื่อง งานวิจัยเพื่อการสร้างเสริมพลังสังคม สู่เศรษฐกิจไทย
ด้วยวิถีชีวิตใหม่ ณ มหาวิทยาลัยเวิสเทิร์น ในวันที่ 28-29 พฤศจิกายน 2563 ปรับปรับแนวทางปฏิบัติในแนวทางที่
2 เพิ่มกระบวนการพี่เลี้ยงและให้ค าแนะน าผ่านช่องทางคลินิกนักวิจัยในการตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพกับ
นักวิจัยเป้าหมาย โดยใช้งานประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติมหาวิทยาลัยศรีปทุมครั้งที่ 15 ประจ าปี 2563
เรื่อง การวิจัยและนวัตกรรมสู่การ พัฒนาที่ยั่งยืน ในวันที่ 18 ธันวาคม 2563 เป็นเป้าหมายโดยพบว่า อาจารย์ลัด
ดาวัลย์ ชูทอง ส่งผลงานวิจัยเรื่อง การบูรณาการบริการวิชาการกับการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาเวชกรรม
แผนไทย (ผลงานหลัก) ตีพิมพ์ในหนังสือประมวลบทความ (Proceedings) การประชุมวิชาการระดับชาติและ
นานาชาติมหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่15 ประจ าปี 2563 ได้ส าเร็จ
ระยะที่ 3 การน าผลการปฏิบัติปรับรูปแบบให้เหมาะสมผ่านช่องทาง “คลินิกนักวิจัย” จัดกระบวนการ
ตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพอาจารย์นักวิจัยเป้าหมาย ระยะ 3 ในการตีพิมพ์วารสารวิชาการ ฐานข้อมูล TCI 1 ซึ่ง
พบว่าอาจารย์ลัดดาวัลย์ ชูทอง ได้ส่งผลงานเข้าร่วมน าเสนอผลงานวิชาการ งานประชุมวิชาการระดับชาติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 5 ในหัวข้อ “การวิจัยและนวัตกรรมในวิถีปกติใหม่” ซึ่งส่งผล
งานเรื่อง การประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ และอาจารย์รสริน ทักษิณ ได้
ส่งผลงานเข้าร่วมน าเสนอผลงานวิชาการ งานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณ
ภูมิ ครั้งที่ 5 ในหัวข้อ “การวิจัยและนวัตกรรมในวิถีปกติใหม่” ซึ่งส่งผลงานเรื่อง การศึกษาผลของการฝึกทักษะ
วิชาชีพหัตถเวชกรรมแผนไทย โดยผลงานของอาจารย์ทั้งสองท่าน หลังจากน าเสนอในงานประชุมวิชาการแล้ว อยู่
ระหว่างคัดเลือกไปตีพิมพ์ลงวารสารที่อยู่ในฐาน TCI 1 หรือ TCI 2 จากวารสารที่เข้าร่วมจัดงานประชุมดังกล่าว
และอาจารย์เป้าหมายท่านที่ 5 อาจารย์ปัฐมาภรณ์ ราชวัฒน์ ได้คัดเลือกวารสารที่อยู่ในฐาน TCI 1 และอยู่ใน
กระบวนการจัดท าต้นฉบับตามสารสารก าหนด
ขั้นตอนที่ 5 การน าประสบการณ์จากการท างาน และการประยุกต์ใช้ความรู้ มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสกัด “ขุม
ความรู้” ออกมาบันทึกไว้ มีผลการด าเนินงานจากการจัดกิจกรรมย่อยอันประกอบด้วย
5.1 น าข้อมูลจากผลการใช้องค์ความรู้ ปัญหา อุปสรรค ข้อจ ากัด ข้อเสนอแนะ มีอาจารย์ได้น าองค์ความรู้
ที่ได้จากกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ไปปรับใช้ในการตีพิมพ์ผลงานวิจัยวิชาชีพ ในงานประชุมวิชาการและน าเสนอ
ผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 17 โดยมีอาจารย์เป้าหมายน าเสนอผลงาน 3 ท่าน และน าข้อมูลจากการวิเคราะห์ มา
ปรับใช้ให้เหมาะกับการน าไปใช้ด้านการวิจัยตีพิมพ์ผลงานวิจัยวิชาชีพ โดยผลงานของอาจารย์สองท่าน หลังจาก
น าเสนอในงานประชุมวิชาการแล้ว ตีพิมพ์ลงวารสารที่อยู่ในฐาน TCI 1 หรือ TCI 2 จากนั้นพัฒนาอาจารย์นักวิจัย
หน้าใหม่ตีพิมพ์ผลงานวิจัยวิชาชีพในวารสารวิชาการ ในฐานข้อมูลที่สูงขึ้น
5.2 การน าข้อมูลจากการวิเคราะห์ มาปรับใช้ให้เหมาะกับการน าไปใช้ด้านการวิจัยตีพิมพ์ผลงานวิจัย
วิชาชีพ พร้อมจัดท าคู่มือฉบับปรับปรุงซึ่ง ได้มีการน าองค์ความรู้ไปปฏิบัติใช้งานทดลองใช้ในในช่วงพฤศจิกายน
2563 - มิถุนายน 2564
KM : ด้านการวิจัย| 44
45
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
5.3 การเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และน าเสนอการจัดการความรู้ และแนวปฏิบัติที่ดีในกิจกรรม
การจัดการความรู้ด้านวิจัย
5.3.1 เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ ระดับคณะ/วิทยาลัย ปการศึกษา
ี
2563 ภายใต้โครงการก ากับติดตามการจัดการความรู้ภายในมหาวิทยาลัยฯ วันที่ 24 สิงหาคม 2564 ในรูปแบบ
ออนไลน์ เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะ ค าแนะน าต่างๆ เป็นข้อมูลประกอบในการจัดท าองค์ความรู้เพื่อสกัดเป็นขุมความรู้
5.4 น าข้อมูลคู่มือการวิจัย ฉบับปรับปรุง ขึ้นเผยแพร่บน website วิทยาลัยฯ ที่ www.tmc.rmutt.ac.th
เพื่อให้ผู้อื่นน าไปปรับใช้ได้ และจัดส่งหนังสือเวียนผ่านทาง อีเมล์มหาวิทยาลัยให้อาจารย์วิทยาลัยฯ รับทราบและ
เข้าถึงข้อมูล
ขั้นตอนที่ 6 การพัฒนาองค์ความรู้จนเกิดเป็นแนวปฏิบัติที่ดี มีผลการด าเนินงานจากการจัดกิจกรรม
ในช่วงเดือน ตุลาคม 2563 ถึง พฤษภาคม 2564 ซึ่งมีรายละเอียดประกอบด้วย
6.1 ทบทวนคู่มือฉบับปรับปรุง เพื่อปรับรูปแบบคู่มือประกอบการปฏิบัติงานให้เหมาะสม เป็นระบบเหมาะ
แก่การน าไปใช้มากยิ่งขึ้น
6.2 การน าข้อมูลจากการที่จัดให้เป็นระบบแล้วไปใช้ ในด้านการวิจัยช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2564 -
มิถุนายน 2564
6.3 อาจารย์กลุ่มเป้าหมาย ระดมสมอง แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์ ขุมความรู้เพื่อสกัดให้ได้แก่
นความรู้ที่เหมาะสมกับการใช้งานเกิดเป็นแนวปฏิบัติที่ดีและมีการน าองค์ความรู้ไปใช้ช่วงเดือนตุลาคม 2563 -
มิถุนายน 2564
6.4 การปรับปรุงเป็นชุดความรู้ที่ครบถ้วน ลุ่มลึก เหมาะสมกับการน าไปใช้งานมากยิ่งขึ้น จนเกิดเป็นแนว
ปฏิบัติที่ดี ที่ได้มีการน าองค์ความรู้ไปทดลองใช้ในช่วงเดือนพฤกษาคม - สิงหาคม 2564
จากขั้นตอนการท างาน
ปัจจัยแห่งควำมส ำเร็จ (Key Success Factor)
ปัจจัยแห่งความส าเร็จประการแรก คือ การสนับสนุนจากผู้บริหารหน่วยงานวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย
ผู้อ านวยการวิทยาลัย รองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการและวิจัย รวมทั้งรองผู้อ านวยการฝ่ายบริหาร เข้ากิจกรรมใน
บรรยายกาศ Chit/Chat/Share หลายความรู้ เทคนิควิธีการ จาก Tacit knowledge ผ่านระบบพี่เลี้ยง คลินิกให้
ค าปรึกษา การนัดหมายพูดคุยอย่างสม่ าเสมอ น าไปสู่การประยุกต์ใช้ความรู้ในการเผยแพร่ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ
ได้สรุปเป็นภาพกจกรรม ดังภาพที่
KM : ด้านการวิจัย| 45
46
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
รูปภำพที่ 4.2 สรุปปัจจัยสู่ความส าเร็จ
KM : ด้านการวิจัย| 46
47
KMวิจัย_63“การตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางวิชาชีพ”
รำยชื่อคณะกรรมกำรจัดกำรควำมรู้ด้ำนวิจัย
KM : ด้านการวิจัย| 47