The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติของห้องสมุดประชาชนอำเภอสุไหงปาดี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประวัติของห้องสมุดประชาชนอำเภอสุไหงปาดี

ประวัติของห้องสมุดประชาชนอำเภอสุไหงปาดี

ข้อมูลพน้ื ฐานของห้องสมดุ ประชาชน อาเภอสไุ หงปาดี

ประวตั ิความเปน็ มาของหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี

เนอื่ งดว้ ยหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี จงั หวดั นราธิวาส สร้างขึ้น พ.ศ.2533. ในการสง่ เสรมิ การศึกษา
สาหรับประชาชน กอ่ สรา้ งได้สาเร็จและเปิดให้บริการเม่ือวนั ท่ี 21 เดือน ตลุ าคม พ.ศ. 2535

หอ้ งสมุดประชาชน อาเภอสไุ หงปาดี ต้งั อยู่เลขท่ี 34 หมทู่ ่ี ....1.. ถนน จารเุ ถียร ตาบลปะลรุ ู อาเภอสุไหงปาดีจังหวดั
นราธิวาส รหสั ไปรษณยี ์ 96140

ปรัญญา : เป็นท่ีพ่งึ ทางปญั ญา เพ่ือการพฒั นาทีก่ วา้ งไกล

วสิ ยั ทัศน์ :

หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี เป็นแหลง่ เรยี นรตู้ ลอดชีวติ ของประชาชนในท้องถิ่น เพือ่ สง่ เสริมใหป้ ระชาชน
มีนิสยั รกั การอ่าน เรียนรอู้ ยู่ต่อเน่ืองตลอดไป

พันธกจิ :

๑. ส่งเสริมให้ประชาชนมีนิสยั รักการอา่ นและจัดองค์ความรู้ที่มคี ุณภาพ มีสอื่ ที่หลากหลาย ให้ประชาชนไดเ้ รียนรู้
ตามอัธยาศยั

๒. พฒั นาห้องสมุดประชาชนใหเ้ ปน็ ห้องสมุดมชี วี ิต
๓. พฒั นาที่มงุ่ ให้ผู้รับบรกิ ารไดป้ ระโยชน์สูงสุด

ประวัตขิ องหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หนา้ 1

เปา้ ประสงค์ :

๑. เพอ่ื ใหห้ ้องสมุดเปน็ แหลง่ เรียนรทู้ ม่ี ีชวี ติ ชวี าของชุมชนและให้บริการได้อย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิต
๒. เพอ่ื พฒั นาการบริการของหอ้ งสมุดให้มีความหลากหลายและสามารถบรกิ ารให้กบั ทุกกลมุ่ เปา้ หมาย สอดคล้อง
กบั ความต้องการของชมุ ชน
๓. เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการกจิ กรรมใหเ้ หมาะสม สอดคลอ้ งกับสภาพความจาเปน็ โดยการมสี ่วน
ร่วมของชมุ ชน

นโยบายหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี

นโยบายและแนวทางการพัฒนาหอ้ งสมุดประชาชนใหเ้ ป็นศนู ย์กลางการเรยี นรู้ตลอดชีวติ
๑. การพัฒนาหอ้ งสมุดประชาชนให้เป็นศนู ย์ข้อมูลข่าวสาร (Information Center) ของคนในชุมชนทจี่ ะมาหา

ข้อมลู ที่ตอ้ งการ
๒. การพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นหอ้ งสมุดทสี่ ง่ เสริมการจดั การเรยี นรู้ อย่างกว้างขว้างต่อเนื่องตลอดชีวติ

โดยดาเนินการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ข้นึ ในห้องสมุด จัดการเรียนรู้หลักสูตรระยะสัน้ ตา่ งๆ โดยเช่ือมโยงเนือ้ หาในห้องสมดุ
๓. การพัฒนาหอ้ งสมุดประชาชนให้เปน็ ศนู ย์กลางการจัดกิจกรรมของชุมชน โดยการจัดสถานท่ีให้เอื้ออานวยให้

บุคคลในชมุ ชนใชป้ ระโยชน์ในการจัดกจิ กรรมชมุ ชนในหอ้ งสมดุ ประชาชนได้
๔. การพฒั นาหอ้ งสมุดประชาชนให้เป็นเครือข่ายการเรียนรู้ของชมุ ชน โดยจัดประสานงานกับหอ้ งสมุด
๕. การพัฒนาหอ้ งสมุดประชาชนใหเ้ ป็นหอ้ งสมดุ ท่เี อื้อต่อการเรยี นรอู้ ย่างกว้างขวางต่อเนื่องตลอดชวี ติ โดย

จัดรูปแบบการให้บริการให้เป็นหอ้ งสมดุ รูปโฉมใหม่ทม่ี ีชวี ติ ชวี า มีผู้คนในชมุ ชนเขา้ มาใช้บรกิ ารอยา่ งต่อเนื่อง ปรบั ระบบ
การใหบ้ ริการท่เี น้นผ้ใู ชบ้ รกิ ารเปน็ ฐานของการพิจารณา ให้ยืดหยุ่นตามความต้องการของผใู้ ช้บริการทั้งเวลา วธิ ีการและ
กิจกรรม แนวคิดดังกล่าวจะประกอบเสรจ็ หรอื ไม่ข้ึนอยู่กับบคุ คลท่เี กีย่ วข้องกบั การทางานห้องสมุด ทุกคนที่ช่วยกัน
ดาเนนิ งานให้เป็นศนู ย์กลางการเรียนรู้ตลอดชีวติ

กจิ กรรมหลักของห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
เปน็ แหลง่ สาคัญที่จะใหผ้ ู้ใชบ้ ริการไดม้ ีโอกาสเรียนรตู้ ลอดชีวติ สรุปแล้วห้องสมดุ ประชาชนมีความสาคัญ ดังน้ี
๑. เป็นแหล่งรวบรวมความรูท้ ุกประการ สนองตอบต่อความอยากรู้ อยากเหน็ ของประชาชนทุกเพศ ทกุ วยั ทุกเชอื้
ชาติ ทกุ ระดบั ความรู้ไปจนตลอดชวี ิต สรา้ งความเพลดิ เพลินจรรโลงใจฝึกให้คนรู้จกั ใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ และช่วย
แกป้ ญั หาในการดารงชวี ิต
๒. ทาหน้าท่ีรวบรวมและให้บรกิ ารความรู้ ข่าวสารข้อมลู ความเคล่อื นไหวเหตกุ ารณส์ าคัญใหม่ ๆ ตามความ
เปล่ยี นแปลงของโลก
๓. สง่ เสริมการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ไดม้ โี อกาสค้นควา้ ด้วยตนเอง ตามความ
สนใจในแต่สาขา ตามแต่สภาพของแต่ละบคุ คล
๔. เปิดโอกาสให้ผเู้ ขา้ ใช้บริการได้ศกึ ษาค้นคว้าไดต้ ลอดเวลา

ประวัติของหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หน้า 2

วัตถุประสงคใ์ นการดาเนนิ งานของห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
๑. เป็นศนู ยก์ ลางขอ้ มูลข่าวสารในชุมชน
๒. เป็นศูนยร์ บั บรจิ าคหนงั สอื
๓. ให้บรกิ ารการอ่านและการยืม – คืน หนงั สอื แก่ประชาชนทั่วไป
๔. ใหบ้ รกิ ารข่าวสารและความรตู้ า่ ง ๆ เพื่อให้ประชาชนเปน็ คนทนั ต่อเหตกุ ารณ์
๕. ให้บริการทางดา้ นโสตทศั นวัสดุ
๖. สง่ เสริมใหป้ ระชาชนร้จู ักใชเ้ วลาว่างให้เกดิ ประโยชน์และการพักผ่อนหย่อนใจ
๗. สง่ เสริมใหป้ ระชาชนมีนสิ ยั รักการอา่ น
๘. สง่ เสริม เผยแพร่ ประสานงาน บริการวชิ าการใหม่ ๆ แกช่ ุมชน และจดั การทอี่ า่ นหนังสอื ประจาหมู่บ้าน
๙. เปน็ สถานท่ีทีค่ นในชมุ ชนใชเ้ ป็นทีพ่ บปะ พูดคยุ ทากิจกรรมชุมชนรว่ มกนั เชน่ สภากาแฟ หารือเวทีชาวบ้าน

ระเบียบงานในห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี

ระเบยี บการยืม – คืน ( หนงั สือ,CD,VCD )
๑. แสดงบัตรทกุ ครงั้ ทีย่ ืมหนงั สอื
๒. ยมื หนงั สือคร้ังละ ๔ เล่ม กาหนดส่งภายใน ๗ วนั
๓. ส่งหนงั สอื เกนิ กาหนดปรบั วันละ ๑ บาท ตอ่ เลม่
๔. ยืมสือ่ CD , DVD ครั้งละ ๒ เร่ือง กาหนดสง่ ภายใน ๗ วัน เกินกาหนดปรับวนั ละ ๑ บาท ตอ่ เรอ่ื ง
๕. หนงั สอื อา้ งองิ ใช้สาหรบั คน้ คว้าภายในห้องสมุด ไม่อนุญาตให้ยมื
๖. หนังสอื สอื่ ตา่ งๆ ชารุด สูญหาย ชดใช้ตามราคา
๗. วารสาร/นติ ยสาร ไม่อนญุ าตให้ยืมออกนอกห้องสมดุ

ระเบยี บการใชบ้ รกิ ารคอมพิวเตอร์

๑. ผู้ใช้บรกิ ารตอ้ งมีบตั รสมาชกิ ห้องสมุด
๒. ผใู้ ช้บริการใหต้ ดิ ต่อเจ้าหนา้ ที่ที่เคาร์เตอร์

ระเบียบการเปน็ สมาชกิ
๑. รปู ถ่าย ๑ นิว้ ๒ รูป
๒. คา่ บารุงหอ้ งสมุด ฟรี
๓. สาเนาทะเบียนบา้ น หรือบตั รประจาตัวประชาชน (ถ่ายเอกสาร)
บัตรชารุด , เสยี หาย, ทาบตั รใหม่ คา่ ธรรมเนยี ม ฟรี

ประวตั ขิ องหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 3

ระเบยี บ มารยาท ขอ้ ปฏบิ ตั ิการเข้าใช้หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี

๑. ชว่ ยกันระมดั ระวังดูแลรักษาทรพั ยากรของห้องสมดุ
๒. ห้ามสบู บหุ ร่ใี ห้เป็นท่ีราคาญแก่สมาชิก
๓. ใชว้ าจาสุภาพไม่พดู คุยหรือสง่ เสียงดังรบกวนผ้อู ่นื
๔. ไมน่ าอาหารและเครอ่ื งดื่มเข้ามารับประทาน
๕. แตง่ กายใหส้ ุภาพเรียบร้อยเพื่อเป็นการเคารพตอ่ สถานที่
๖. ไมส่ ง่ เสยี งดงั เปน็ การรบกวนผู้อื่น
๗. ไมอ่ นุญาตให้นากระเป๋า หรือเอกสารใด ๆ เขา้ หอ้ งสมดุ ก่อนไดร้ ับอนุญาต

โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศัย ในปงี บประมาณ ๒๕๖๓

๑. โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นในห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
๒. โครงการส่งเสริมการอ่านบ้านหนงั สอื ชุมชน
๓. โครงการห้องสมดุ เคลื่อนท่ีสาหรับชาวตลาด
๔. โครงการห้องสมดุ เคล่ือนที่สชู่ ุมชน
๕. โครงการเด็กไทยยคุ ใหม่ รู้รกั สามัคคี รู้หน้าทีพ่ ลเมืองไทย ประจาปี 2563
๗. โครงการครอบครวั รกั การอา่ น
๘. โครงการส่งเสริมการอ่าน “นง่ั ทไี่ หน อา่ นทน่ี นั่ ”

การบริหารจดั การด้านการศกึ ษา
ของ กศน.อาเภอสไุ หงปาดี

ข้อมูลทั่วไป
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสุไหงปาดี ทาหน้าที่ในการบริหารจัดการการศึกษา

นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในพ้นื ท่ีอาเภอสไุ หงปาดี จงั หวัดนราธวิ าส ประกอบดว้ ย
๑. กศน.ตาบล จานวน ๖ แหง่ ดังนี้
กศน.ตาบลปะลรุ ู
กศน.ตาบลรโิ ก๋
กศน.ตาบลกาวะ
กศน.ตาบลสากอ
กศน.ตาบลโตะ๊ เด็ง
กศน.ตาบลสไุ หงปาดี

ประวัติของห้องสมุดประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หน้า 4

๒. สถาบนั ศึกษาปอเนาะ จานวน ๔ แห่ง ดังนี้
สถาบนั ศึกษาปอเนาะมฟิ ตาฮูลอสิ ลาม
สถาบันศึกษาปอเนาะกีรออาตลู ฟาลาฮ
สถาบันศกึ ษาปอเนาะมิฟตาฮลู ญนั นะห์
สถาบนั ศึกษาปอเนาะดารุลอิสลาฮิดดีนีย์

๓. หอ้ งสมุดประชาชน จานวน ๑ แห่ง
หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี

ประวตั ขิ องห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หน้า 5

ประวัติของหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หน้า 6

ยทุ ธศาสตร์และจดุ เน้นการดาเนนิ งานสานกั งาน กศน.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

วิสยั ทัศน์

คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ อย่างมีคณุ ภาพ สามารถดารงชวี ิตท่ีเหมาะสมกับ ช่วงวยั
สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมที ักษะทจี่ าเป็นในโลกศตวรรษที่ ๒๑

พนั ธกิจ

๑. จัดและส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ท่มี คี ุณภาพ สอดคลอ้ งกบั หลักปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรยี นรูข้ องประชาชนทกุ กลุ่มเปา้ หมายใหเ้ หมาะสมทุก ช่วงวัย
พรอ้ มรับการเปลี่ยนแปลงบริบททางสงั คม และกา้ วสกู่ ารเปน็ สังคมแหง่ การเรียนรูต้ ลอดชวี ติ อยา่ งยั่งยนื

๒. สง่ เสริม สนบั สนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชงิ รุกกับภาคเี ครือข่าย ใหเ้ ข้ามามสี ่วนร่วมใน
การสนับสนุนและจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย และการเรียนร้ตู ลอดชีวติ ในรูปแบบตา่ งๆ ให้กับ
ประชาชน

๓. สง่ เสริมและพฒั นาการนาเทคโนโลยที างการศึกษา และนาเทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใช้พัฒนาประสทิ ธิภาพ ในการจดั
การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ให้กบั ประชาชนอยา่ งทว่ั ถงึ

๔. พฒั นาหลักสตู ร รปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ สือ และนวัตกรรม การวัดและประเมินผลในทุก รูปแบบให้
มีคณุ ภาพและมาตรฐาน สอดคลอ้ งกับบรบิ ทในปัจจบุ ัน

๕. พัฒนาบคุ ลากรและระบบบรหิ ารจัดการองค์กรใหม้ ีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ที่
มีคณุ ภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล

เป้าประสงค์
๑. ประชาชนผู้ดอ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทง้ั ประชาชนท่ัวไปไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษา
ในรูปแบบการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน การศึกษาต่อเนอ่ื ง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ทม่ี ี คุณภาพ
อย่างเท่าเทียมและท่วั ถึง เป็นไปตามสภาพปัญหา และความตอ้ งการของแตล่ ะกล่มุ เปา้ หมาย
๒. ประชาชนได้รบั การยกระดับการศกึ ษา สรา้ งเสรมิ และปลกู ฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม และความเปน็ พลเมือง
อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวติ และเสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ใหช้ ุมชน เพอื่ พฒั นาไปส่คู วามมน่ั คง และยงั่ ยืนทางด้าน
เศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และสิง่ แวดล้อม
๓. ประชาชนไดร้ ับโอกาสในการเรียนรู้ และมเี จตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมสามารถ
คดิ วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจาวนั รวมทงั้ แก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวติ ได้อยา่ งสร้างสรรค์
๔. ประชาชนไดร้ ับการสร้างและส่งเสรมิ ให้มนี ิสัยรักการอ่านเพอ่ื การแสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง
๕. ชมุ ชนและภาคเี ครอื ขา่ ยทุกภาคสว่ น ร่วมจดั ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการดาเนินงานการศกึ ษานอก ระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังการขับเคล่ือนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน
๖. หน่วยงานและสถานศกึ ษา กศน. สามารถนาเทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลมาใช้ใน
การยกระดบั คุณภาพในการจัดการเรยี นรแู้ ละเพิ่มโอกาสการเรยี นร้ใู หก้ บั ประชาชน

ประวัตขิ องห้องสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หน้า 7

๗.หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาพัฒนาสอื่ นวตั กรรมและการจัดกระบวนการเรยี นรู้ เพือ่ แกป้ ัญหาและพัฒนาคุณภาพชวี ติ
ท่ีตอบสนองกบั การเปลย่ี นแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจสังคมการเมืองวัฒนธรรมประวตั ศิ าสตร์ และสงิ่ แวดล้อมรวมทั้งตามความต้องการของ
ประชาชนและชุมชนในรปู แบบทห่ี ลากหลาย

๘. หน่วยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบริหารจัดการองค์กรท่ที นั สมยั มปี ระสิทธิภาพ และเปน็ ไปตาม
หลักธรรมภบิ าล

9. บคุ ลากร กศน.ทกุ ประเภททุกระดับได้รบั การพฒั นาเพื่อเพม่ิ สมรรถนะในการปฏิบตั งิ านการศกึ ษานอก
ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และการปฏิบัติงานตามสานงานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ สานกั งาน กศน.จังหวัดนราธิวาส

ตวั ชว้ี ดั
ตวั ชี้วัดเชิงปริมาณ

๑.จานวนผเู้ รยี นการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ไี ดร้ บั การสนบั สนุนค่าใช้จ่ายตามสทิ ธิ ท่ีกาหนดไว้
๒. จานวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายตา่ งๆ ท่เี ขา้ ร่วมกิจกรรมการเรยี นรู/้ ไดร้ ับบริการกจิ กรรมการศึกษาต่อเน่ือง
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ที่สอดคล้องกบั สภาพ ปญั หา และความต้องการ
๓. รอ้ ยละของกาลังแรงงานที่สาเรจ็ การศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนต้นขน้ึ ไป
๔. จานวนภาคีเครอื ข่ายทเ่ี ขา้ มามสี ว่ นร่วมในการจัด/พฒั นา/สง่ เสรมิ การศึกษา (ภาคีเครือขา่ ย : สถาน
ประกอบการ องค์กร หนว่ ยงานท่มี าร่วมจัด/พัฒนา/สง่ เสรมิ การศึกษา)
๕. จานวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพ้นื ท่สี ูง และชาวไทยมอแกน ในพืน้ ที่ ๕ จังหวัด ๑๑ อาเภอ ได้รับบริการ
การศกึ ษาตลอดชวี ิตจากศูนย์การเรยี นรชู้ ุมชนสังกัดสานกั งาน กศน.
๖. จานวนผู้รับบรกิ ารในพนื้ ท่ีเป้าหมายไดร้ ับการสง่ เสริมด้านการรู้หนงั สอื และการพฒั นาทักษะชีวิต
๗. จานวนนกั เรยี น/นักศึกษาทไ่ี ดร้ บั บรกิ ารตวิ เข้มเต็มความรู้
๘. จานวนประชาชนทไ่ี ดร้ บั การฝึกอาชพี ระยะสัน้ สามารถสร้างหรือพัฒนาอาชพี เพ่ือสร้างรายได้
๙. จานวน ครู กศน.ตาบล จากพ้นื ท่ี กศน.ภาค ไดร้ บั การพัฒนาศกั ยภาพด้านการจดั การเรยี นการสอน
ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร
๑๐. จานวนประชาชนทไ่ี ด้รบั การฝกึ อบรมภาษาต่างประเทศเพ่ือการส่ือสารดา้ นอาชีพ
๑๑. จานวนผผู้ ่านการอบรมหลกั สูตรการดูแลผสู้ งู อายุ
๑๒. จานวนประชาชนที่ผ่านการอบรมจากศูนยด์ จิ ิทัลชมุ ชน
๑๓. จานวนศูนยก์ ารเรยี นรชู้ มุ ชน กศน. บนพ้ืนทีส่ งู ในพืน้ ที่ ๕ จังหวดั ท่สี ง่ เสริมการพัฒนาทักษะการ ฟงั พูด
ภาษาไทยเพื่อการส่อื สาร ร่วมกนั ในสถานศึกษาสงั กดั สพฐ. ตชต. และ กศน.
๑๔. จานวนหลักสูตรหรอื สอื่ ออนไลนท์ ีใ่ หบ้ ริการกบั ประชาชน ทัง้ การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษา ข้ันพนื้ ฐาน
การศกึ ษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอธั ยาศัย

ตวั ชี้วดั เชิงคณุ ภาพ
๑. ร้อยละของคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุก รายวิชาทุก

ระดบั
๒. รอ้ ยละของผเู้ รยี นท่ีไดร้ ับการสนบั สนนุ การจดั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานเทียบกับค่าเปา้ หมาย
๓. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ลี งทะเบยี นเรยี นในทกุ หลกั สูตร/กจิ กรรมการศึกษาต่อเน่ือง เทียบกบั

เปา้ หมาย

ประวตั ขิ องห้องสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 8

๔. รอ้ ยละของผู้ผา่ นการฝกึ อบรม/พัฒนาทักษะอาชพี ระยะสั้นสามารถนาความรู้ไปใชใ้ นการประกอบ อาชีพหรือ
พัฒนางานได้

๕. ร้อยละของผู้เรียนในเขตพ้ืนทีจ่ ังหวัดชายแดนภาคใตท้ ี่ไดร้ ับการพัฒนาศักยภาพ หรือทกั ษะด้าน อาชพี
สามารถมงี านทาหรือนาไปประกอบอาชีพได้

๖. ร้อยละของผู้จบหลกั สตู ร/กจิ กรรมท่สี ามารถนาความร้คู วามเขา้ ใจไปใช้ไดต้ ามจุดมงุ่ หมายของ หลกั สูตร/
กจิ กรรม การศกึ ษาต่อเนือ่ ง

๗. รอ้ ยละของประชาชนที่ได้รบั บรกิ ารมีความพึงพอใจต่อการบริการ/เขา้ รว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ การศึกษาตาม
อธั ยาศยั

๘. รอ้ ยละของประชาชนกลุม่ เป้าหมายที่ไดร้ ับบรกิ าร/เข้าร่วมกจิ กรรมท่ีมคี วามรู้ความเข้าใจ/เจตคติ/ ทักษะ ตาม
จุดมุง่ หมาย

๙. รอ้ ยละของผ้สู ูงอายทุ ่ีเป็นกลุ่มเปา้ หมาย มีโอกาสมาเขา้ ร่วมกิจกรรมการศกึ ษาตลอดชวี ติ

นโยบายเร่งด่วนเพอื่ ร่วมขับเคลอ่ื นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ

๑. ยุทธศาสตรด์ า้ นความม่ันคง

๑.๑ พฒั นาและเสรมิ สรา้ งความจงรักภักดตี ่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมทั้งน้อมนาและเผยแพร่ ศาสตร์พระราชา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดาริตา่ งๆ

๑.๒ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และการมีส่วนร่วมอย่างถูกต้องกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและเคารพ ความหลากหลายทาง
ความคิดและอดุ มการณ์

๑.๓ ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาเพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ ท้ังยาเสพติด
การคา้ มนุษย์ ภยั จากไซเบอร์ ภัยพิบัตจิ ากธรรมชาติ โรคอุบตั ใิ หม่ ฯลฯ

๑.๔ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษา ในเขต พัฒนาพิเศษ
เฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ และพน้ื ท่ีชายแดนอ่ืนๆ

๑.๕ สร้างความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน กลุ่ม ชาติพันธุ์ และ
ชาวต่างชาตทิ ่มี คี วามหลากหลาย

๒. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน
๒.๑ ยกระดบั การจดั การศกึ ษาอาชพี กศน. เพื่อพฒั นาทักษะอาชีพของประชาชนใหร้ องรบั อุตสาหกรรมเป้าหมาย

ของประเทศ (First S - Curve และ New S - Curve) โดยเฉพาะในพื้นท่ีเขตระเบียง เศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพิเศษตาม
ภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ สาหรับพ้ืนท่ีปกติใหพ้ ฒั นาอาชีพท่ีเนน้ การต่อยอด ศักยภาพและตามบรบิ ทของพนื้ ที่

๒.๒ จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออก ยกระดับการศึกษาให้กับประชาชนให้จบการศึกษา อย่างน้อย
การศึกษาภาคบังคับ สามารถนาคุณวุฒิท่ีได้รับไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ รองรับการพัฒนาเขต พื้นท่ีระเบียบ
เศรษฐกจิ ภาคตะวันออก (EEC)

ประวัติของห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หน้า 9

๒.๓ พัฒนาและส่งเสริมประชาชนเพื่อตอ่ ยอดการผลิตและจาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน. ออนไลน์ พร้อมท้ัง
ประสานความร่วมมือกบั ภาคเอกชนในการเพ่ิมช่องทางการจาหนา่ ยสินคา้ และผลติ ภัณฑ์ให้ กวา้ งขวางยงิ่ ขึ้น

๓. ยุทธศาสตรด์ ้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
๓.๑ สรรหา และพัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้ เชื่อมโยงความรู้กับ

ผู้เรียนและผู้รับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู้และทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของสังคม และ
เปน็ “ผอู้ านวย การการเรียนรู้” ทีส่ ามารถบริหารจัดการความรู้ กจิ กรรม และการ เรียนรทู้ ด่ี ี

๑. เพิ่มอัตราขา้ ราชการครูให้กบั สถานศึกษาทุกประเภท
๒. พัฒนาขา้ ราชการครูในรปู แบบครบวงจร ตามหลกั สูตรท่ีเชือ่ มโยงกบั วทิ ยฐานะ
๓. พฒั นาครูใหส้ ามารถปฏิบตั งิ านไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยเน้นเรื่องการพัฒนาทักษะการ จัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ ทกั ษะภาษาตา่ งประเทศ ทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู้
๔. พฒั นาศกึ ษานิเทศก์ ให้สามารถปฏบิ ตั กิ ารนิเทศไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
๕. พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีความรู้และทักษะเรื่องการใช้ประโยชน์จ ากดิจิทัลและ
ภาษาต่างประเทศทาเป็น รวมทั้งความรู้เก่ียวกับอาชีพที่รองรับอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S - Curve blay
New S - Curve)
๓.๒ พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับ บริบทของพื้นท่ี
และตอบสนองความต้องการของประชาชนผรู้ ับบริการ สานกั งาน กศน.จงั หวัดนราธวิ าส
๓.๓ สง่ เสรมิ การจัดการเรียนรู้ทที่ นั สมัยและมีประสิทธภิ าพ เออ้ื ตอ่ การเรยี นร้สู าหรบั ทกุ คน สามารถ เรียนได้ทุกท่ี ทุก
เวลา มีกจิ กรรมทห่ี ลากหลาย นา่ สนใจ สนองตอบความต้องการของชมุ ชน
๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมอื กับภาคีเครอื ข่าย ประสาน ส่งเสรมิ ความร่วมมือภาคีเครือข่าย ท้ัง ภาครัฐ เอกชน ประชา
สังคม และองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ รวมทง้ั สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการมสี ่วนรว่ มของ ชุมชน เพ่ือสร้างความเข้าใจ และให้
เกดิ ความร่วมมอื ในการสง่ เสรมิ สนบั สนุน และจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ ให้กับประชาชนอยา่ งมคี ณุ ภาพ
๓.๕ พัฒนานวัตกรรมทางการศกึ ษาเพ่ือประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย เช่น จัด การศึกษาออนไลน์
กศน. ทั้งในรูปแบบของการศึกษาข้ันพื้นฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และ การศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ัง
ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และใช้การวิจัยอย่างง่ายเพ่ือสร้าง
นวตั กรรมใหม่
๓.๖ พัฒนาศกั ยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และประชาชนท่ัวไป ด้านความรู้ความเข้าใจ และทักษะในการใช้
เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (Digital Literacy)
๓.๗ ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจาการ รวมทั้งกลุ่มเป้าหมายพิเศษอ่ืนๆ อาทิ ผู้ต้องขัง คน
พกิ าร เดก็ ออกกลางคัน ประชากรวัยเรยี นทอี่ ยนู่ อกระบบการศกึ ษา ใหจ้ บการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
๓.๘ พัฒนาทักษะภาษาตา่ งประเทศเพ่ือการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่างๆ โดยเน้นทักษะ ภาษาเพื่ออาชีพ ท้ัง
ในภาคธรุ กจิ การบรกิ าร และการท่องเทีย่ ว
๓.๙ เตรยี มความพร้อมของประชาชนในการเข้าสสู่ ังคมผู้สงู อายุทเ่ี หมาะสมและมีคุณภาพ
๓.๑๐ จดั กจิ กรรมวทิ ยาศาสตรเ์ ชงิ รุกใหก้ บั ประชาชนในชุมชน โดยให้ความรู้วทิ ยาศาสตร์อย่างง่าย ท้ังวิทยาศาสตร์ใน
วิถชี ีวติ และวทิ ยาศาสตรม์ นชวี ติ ประจาวัน รวมทงั้ ความก้าวหนา้ ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม
๒. พัฒนาสือ่ นทิ รรษการและรปู แบบการจดั กิจกรรมทางวทิ ยาศาสตร์ให้มีความทันสมยั
๓.๑๑ ส่งเสริมการรู้ภาษาไทยให้กับประชาชนในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพื้นท่ีสูง ให้สามารถฟัง พูด อ่าน และเขียน

ประวัตขิ องห้องสมุดประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หนา้ 10

ภาษาไทยเพื่อประโยชน์ในการใชช้ ีวติ ประจาวนั ได้
๔. ยุทธศาสตร์ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม

๔.๑ พัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ใหม้ บี รรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเออื้ ต่อการเรยี นรู้ มีความพร้อมในการ ให้บริการกิจกรรม
การศกึ ษาและการเรียนรู้

๑) เร่งยกระดับ กศน.ตาบลนาร่อง ๔๒๘ แห่ง (อาเภอละ ๑ แห่ง) ให้เป็น กศน.ตาบล ๕ ดีพรี เม่ียม ที่
ประกอบดว้ ย ครดู ี สถานท่ดี ี (ตามบรบิ ทของพนื้ ท)่ี กิจกรรมดี เครือขา่ ยดี และมีนวตั กรรมการเรียนรทู้ ่ีดี มีประโยชน์

๒) จดั ให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. เพ่ือยกระดับการเรียนรู้ เป็นพื้นท่ีการเรียนรู้ (Co - Learning Space) ที่
ทันสมัยสาหรบั ทกุ คน มีความพร้อมในการใหบ้ รกิ ารตา่ งๆ

๔.๒ จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย ที่มีกิจกรรมท่ีหลากหลาย ตอบสนองความต้องการใน การเรียนรู้ในแต่
ละวัย เพื่อใหม้ ีพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสม และมีความสขุ กบั การเรยี นรู้ตามความสนใจ

๔.๓ ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาและการการเรียนรู้สาหรับกลุ่มเป้าหมายผู้พิการ โดย เน้นรูปแบบ
การศกึ ษาออนไลน์

๕. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม
๕.๑ ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนในการรับมือและปรับตัวเพ่ือลดความเสียหายจากภัย ธรรมชาติและ

ผลกระทบทเี่ กย่ี วข้องกบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
๕.๒ สร้างความตระหนกั ถึงความสาคัญของการสร้างสังคมสเี ขยี ว ส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชน เกี่ยวกับการคัดแยก

ตั้งแต่ตน้ ทาง การกาจัดขยะ และการนากลับมาใช้ซา้
๕.๓ ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมทั้งลดการใช้ ทรัพยากรท่ีส่งผล

กระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อม เชน่ รณรงคเ์ ร่ืองการลดการใชถ้ ุงพลาสติก การประหยดั ไฟฟ้า เปน็ ต้น

6. ยุทธศาสตร์ดา้ นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครฐั
๖.๑ พฒั นาและปรับระบบวิธีการปฏิบตั ิราชการให้ทนั สมัยมีความโปรง่ ใส ปลอดการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบบริหารจัดการบนข้อมูล

และหลักฐานเชิงประจกั ษ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์มคี วามโปร่งใส
๖.๒ นานวัตกรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทางานทเี่ ป็นดิจทิ ัลมาใชใ้ นการบริหารและพัฒนางาน
๖.๓ ส่งเสรมิ การพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเน่ือง ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐาน ตาแหน่ง ให้ตรงกับสายงาน ความชานาญ

และความตอ้ งการของบุคลากร

ประวัตขิ องห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 11

ภารกจิ ตอ่ เนื่อง

๑. ด้านการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้
๑.๑ การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
๑) สนบั สนุนการจดั การศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวยั จนจบการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน โดยดาเนนิ การ ใหผ้ ู้เรียนได้รับ

การสนับสนนุ คา่ ซอ้ื หนงั สือเรยี น ค่าจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน และค่าจัดการเรียนการสอน อย่างทั่วถึงและเพียงพอ
เพอื่ เพิม่ โอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพโดยไม่เสียคา่ ใชจ้ ่าย

๒) จดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาด โอกาสทางการ
ศกึ ษา ผา่ นการเรยี นแบบเรียนรดู้ ้วยตนเอง การพบกลุม่ การเรยี นแบบชั้นเรียน และการจัด การศึกษาทางไกล

3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน ทั้งด้าน
หลักสูตร รูปแบบ/กระบนการเรียนการสอน ส่ือและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผลการ เรียน และระบบการ
ให้บรกิ ารนกั ศกึ ษาในรปู แบบอื่นๆ

๔) จัดให้มีการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ที่มี ความโปร่งใส
ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามท่ีกาหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

๕) จัดใหม้ กี จิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนท่มี ีคณุ ภาพทผ่ี เู้ รยี นตอ้ งเรยี นรู้ และเข้ารว่ มปฏิบตั ิตาม กจิ กรรม เพ่ือเป็น
ส่วนหน่ึงของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพ
ติด การแข่งขันกีฬา การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดต้ังชมรม/ชุมนุม
พรอ้ มทง้ั เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนนากจิ กรรมการบาเพญ็ ประโยชน์อืน่ ๆ นอกหลักสตู ร มาใชเ้ พ่มิ ชั่วโมงกิจกรรมให้ผู้เรียนจบตาม
หลกั สูตรได้

๑.๒ การสง่ เสริมการรหู้ นงั สอื
๑) พฒั นาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเป็นระบบ เดียวกันทั้งส่วนกลาง
และส่วนภมู ิภาค
๒) พัฒนาหลักสูตร สื่อ แบบเรียน เครื่องมือวัดผลและเครื่องมือการดาเนินงานการส่งเสริมการรู้ หนังสือที่
สอดคลอ้ งกบั สภาพแต่ละกลุ่มเป้าหมาย
๓) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะ การจัด
กระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้ไม่รู้หนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมัครส่งเสริมการรู้ หนังสือในพื้นท่ีที่มี
ความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ
๔) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือ การพัฒนาทักษะ
การรหู้ นงั สอื ใหก้ บั ประชาชนเพอื่ เป็นเคร่ืองมอื ในการศึกษาและเรียนรู้อยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชวี ติ ของประชาชน

ประวัติของหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หน้า 12

๑.๓ การศกึ ษาต่อเน่อื ง
๑) จัดการศึกษาอาชพี เพื่อการมีงานทาอย่างยั่งยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือการมีงานทา
ในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ บริการ รวมถึงการเน้น
อาชีพช่างพื้นฐาน ท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของแต่ ละพ้ืนที่ มีคุณภาพได้มาตรฐาน
เปน็ ทีย่ อมรบั สอดรบั กบั ความต้องการของตลาดแรงงาน และการพฒั นาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึก
อาชพี ชมุ ชน โดยจัดให้มหี นง่ึ อาชีพเด่น รวมท้ังให้มีการกากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงาน
ทาอยา่ งเป็นระบบและต่อเนอื่ ง
๒) จดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ท่ี สอดคล้องกับความ
ต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดารงชีวิต ตลอดจนสามารถประกอบอาชีพ
พ่ึงพาตนเองได้ มีความรู้ ความสามารถในการบรหิ ารจดั การชีวิตของตนเองให้ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถเผชิญ
สถานการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวให้ทันต่อการ
เปลยี่ นแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ใน อนาคต โดยจัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาสาคัญต่างๆ เช่น สุขภาพกาย
และจิต การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่าน
การศกึ ษารูปแบบตา่ งๆ อาทิ คา่ ย พฒั นาทกั ษะชวี ิต การจัดตงั้ ชมรม/ชุมนุม การส่งเสริมความสามารถพเิ ศษต่างๆ
๓) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ บูรณาการใน
รูปแบบของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดกิจกรรมจิต อาสา การสร้างชุมชนนัก
ปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชนแต่ละพ้ืนที่ เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับ
ความแตกต่างและความหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคม แต่ละพ้ืนท่ี เคารพความคิดของผู้อ่ืน ยอมรับ
ความแตกต่างและความหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมท้ังสังคมพหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคล
รวมกลุ่มเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน สร้าง กระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจิตสานึกความเป็นประชาธิปไตย การ
เคารพในสิทธิ และรับผดิ ชอบตอ่ หน้าที่ ความเป็นพลเมอื งดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบาเพ็ญประโยชน์ในชุมชน
การบริหารจัดการน้า การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ช่วยเหลือซ่ึงกัน
และกันในการ พฒั นาสังคมและชมุ ชนอย่างย่ังยืน
๔) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอด ชีวิตในรูปแบบ
ตา่ งๆ ใหก้ ับประชาชน เพอ่ื เสรมิ สรา้ งภูมคิ ุ้มกนั สามารถยนื หยัดอยู่ได้อย่างม่ันคง และมีการ บริหารจัดการความเสี่ยงอย่าง
เหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสคู่ วามสมดุลและยัง่ ยนื

๑.๔ การศกึ ษาตามอัธยาศัย
๑) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ท่ีมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการอ่านและพัฒนา ศักยภาพการเรียนรู้ให้

เกิดข้ึนในสังคมไทย ให้เกิดข้ึนอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชน ทุกแห่งให้มีการบริการที่ทันสมัย
ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริม การอ่าน จัดหน่วยบริการเคล่ือนท่ีพร้อม
อุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้บริการกับประชาชนในพ้ืนท่ีต่างๆ อย่างทั่วถึง
สมา่ เสมอ รวมท้งั เสริมสร้างความพรอ้ มในด้านบุคลากร สื่อ อุปกรณ์เพ่ือสนับสนุนการอ่านและการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริม
การอ่านอย่างหลากหลาย

ประวตั ิของห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หน้า 13

๒) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอด ชีวิตของประชาชน
เปน็ แหล่งสรา้ งนวัตกรฐานวทิ ยาศาสตร์ และเปน็ แหล่งท่องเท่ียวเชิงศิลปะวทิ ยาการประจา ท้องถิ่น
โดยจัดทาและพัฒนานิทรรศการ สือและกิจกรรมการศึกษาที่เน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรง บันดาลใจด้าน
วทิ ยาศาสตร์ สอดแทรกวิธีการคิดเชงิ วเิ คราะห์ การคิดเชิงสรา้ งสรรค์ และปลูกฝงั เจตคติทาง วิทยาศาสตร์ผ่านกระบวนการ
เรียนรู้ท่ีบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ รวมท้ังสอดคล้องกับ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมทั้ง ระดับภูมิภาคและระดับโลก เพ่ื อให้ประชาชนมี
ความรู้และสามารถนาความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ในการ ดาเนินชีวิต การพัฒนาอาชีพ การรักษาส่ิงแวดล้อม การ
บรรเทาและป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมทั้งมี ความสามารถในการปรับตัว รองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง
ของโลกที่เป็นไปอย่างรวดเร็วและรนุ แรง (Disruptive Change) ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

๑.๕ ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่างๆ ท่ีมีแหล่งเรียนรู้อื่นๆ เพื่อส่งเสริม การจัดการ
ศกึ ษาตามอัธยาศัยให้มีรปู แบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน เช่น พิพิธภัณฑ์ ศูนย์เรียนรู้ แหล่ง
โบราณคดี หอ้ งสมดุ เป็นต้น

๒. ด้านหลักสตู ร ส่อื รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล งานบริการทางวชิ า การ และการ
ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

๒.๑ ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรม เพื่อส่งเสริม การศึกษานอก
ระบบและศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมทั้งหลักสูตรท้องถ่ินท่ีสอดคล้องกับสภาพ บริบทของพื้นท่ี และ
ความต้องการของกล่มุ เป้าหมายและชุมชน

๒.๒ ส่งเสรมิ การพัฒนาส่ือแบบเรียน ส่ืออิเล็กทรอนิกส์และส่ืออื่นๆ ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน กลุ่มเป้าหมาย
ทวั่ ไปและกลมุ่ เป้าหมายพิเศษ

๒.๓ พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย ด้วยระบบห้องเรียนและการควบคุม การสอบ
ออนไลน์

๒.๔ พัฒนาระบบการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ เพ่ือให้มี
คุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รวมท้ังมีการ
ประชาสมั พันธใ์ ห้สาธารณชนไดร้ ับรู้และสามารถเข้าถึงระบบการประเมินได้

๒.๕ พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตรใน ระดับการศึกษา
ข้ันพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Exam) มาใช้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

๒.๖ ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพ่ือพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและ
ประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย
รวมทัง้ ให้มกี ารนาไปสกู่ ารปฏบิ ัตอิ ยา่ งกวา้ งขวางและมีการพฒั นาใหเ้ หมาะสมกับบริบท อย่างตอ่ เนอ่ื ง

๒.๗ พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพื่อพร้อมรับการประเมิน คุณภาพภายนอก
โดยพฒั นาบคุ ลากรให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนกั ถึงความสาคญั ของระบบการประกัน คุณภาพ และสามารถดาเนินการ
ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเน่ืองโดยใช้การประเมิน ภายในตนเองและจัดให้มีระบบสถานศึกษาพ่ี
เล้ยี งเขา้ ไปสนับสนนุ อยา่ งใกล้ชดิ สาหรบั สถานศึกษาท่ียังไม่ได้เข้า รับการประเมินคุณภาพภายนอก ให้พัฒนาคุณภาพการ
จดั การศกึ ษาใหไ้ ด้คณุ ภาพตามมาตรฐานที่กาหนด

๒.๘ ประชาสมั พันธ์/สรา้ งการรบั รใู้ หก้ ับประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับการบริการทางวิชาการด้าน การศึกษานอกระบบ

ประวัติของห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หน้า 14

และการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการของ หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด
อาทิ ขา่ งประชาสมั พนั ธ์ ผ่านส่อื รปู แบบตา่ งๆ การจดั นทิ รรศการ/มหกรรม วิชาการ กศน.

๓. ดา้ นเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา
๓.๑ ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพื่อให้เชื่อมโยงและตอบสนอง ต่อการ จัด

กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพื่อกระจายโอกาสทาง การศึกษาสาหรับ
กลุ่มเป้าหมายต่างๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนา ตนเองให้รู้เท่าทันส่ือและ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการส่ือสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพ่ือการมีงานทา รายการติวเข้มเติมความรู้ ฯลฯ เผยแพร่
ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวทิ ยุโทรทศั นเ์ พื่อการศกึ ษา กระทรวง ศึกษาธิการ (ETV) และทางอนิ เทอร์เน็ต

๓.๒ พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยผ่านระบบ เทคโนโลยีดิจิทัล
และช่องทางออนไลน์ต่างๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อ่ืนๆ เพ่ือส่งเสริมให้ ครู กศน. นาเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ลั มาใชใ้ นการสรา้ งกระบวนการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง (Do It Yourseft : DIY)

๓.๓ พฒั นาสถานีวทิ ยศุ ึกษาและสถานีโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและ การออกอากาศ
ให้กลมุ่ เป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดย ขยายเครือข่ายการรับฟังให้
สามารถรับฟังไดท้ กุ ท่ี ทกุ เวลา ครอบคลุมพ้ืนท่ีท่ัวประเทศ และเพิ่มช่องทางให้ สามารถรับชมรายการโทรทัศน์ได้ทั้งระบบ
Ku – Band C – Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมท่ีจะ รองรับการพัฒนาเป็นสถานีวิทยุเพ่ือการศึกษา
สาธารณะ (Free ETV)

๓.๔ พัฒนาระบบการให้บรกิ ารสื่อเทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษา เพื่อให้ได้ชอ่ งทางท้งั ทางอินเทอร์เน็ต และรูปแบบอ่ืนๆ
อาทิ Application บนโทรศัพท์เคล่ือนที่ และ Tablet รวมท้ังสื่อ Offline ในรูปแบบต่างๆ เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายสามารถ
เลือกใช้บรกิ ารเพื่อเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ไดต้ ามความต้องการ

๓.๕ สารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้ส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพ่ือนาผลมาใช้ในการ
พฒั นางานให้มีความถกู ตอ้ ง ทันสมยั และสามารถส่งเสรมิ การศกึ ษาและการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิตของ ประชาชนไดอ้ ย่างแทจ้ ริง

๔. ดา้ นโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอันเกี่ยวเน่อื งจากราชวงศ์
๔.๑ ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอัน เกี่ยวเน่ืองจาก

ราชวงศ์
๔.๒ จัดทาฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน. ท่ีสนองงานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริ หรือ

โครงการอันเกี่ยวเน่ืองจากราชวงศ์ เพื่อนาไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและ การพัฒนางานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

๔.๓ ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดาเนนิ งาน เพอ่ื สนบั สนุนโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาริ เพื่อให้เกิดความ
เข้มแข็งในการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

๔.๔ พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” เพื่อให้มีความพร้อมในการจัด การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศยั ตามบทบาทหน้าทท่ี ี่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ

๔.๕ จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพ้ืนท่ีสูง ถ่ิน ทุรกันดาร และ
พื้นท่ชี ายขอบ

ประวัตขิ องหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หน้า 15

๕. ดา้ นการศกึ ษาในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ พ้ืนทเี่ ขตเศรษฐกิจพิเศษ และพ้นื ที่บริเวณชายแดน
๕.๑ พฒั นาการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
๑) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ท่ีตอบสนองปัญหาและ ความ

ตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมาย รวมทัง้ อตั ลกั ษณแ์ ละความเปน็ พหุวัฒนธรรมของพ้ืนที่
๒) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอย่างเข้มข้นและต่อเน่ือง เพ่ือให้ผู้เรียน

สามารถนาความรทู้ ีไ่ ด้รับไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ ริง
๓) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ นักศึกษา กศน.

ตลอดจนผมู้ าใชบ้ ริการอยา่ งทว่ั ถึง
๕.๒ พัฒนาการจดั การศกึ ษาแบบบูรณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ
๑) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการจัดทาแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์และ บริบทของ

แต่ละจังหวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ
๒) จัดทาหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเน้นสาขาท่ีเป็นความต้องการของตลาดให้ เกิดการ

พัฒนาอาชีพได้ตรงตามความต้องการของพืน้ ท่ี
๕.๓ จัดการศกึ ษาเพอื่ ความม่ันคง ของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.)
๑) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพ่ือให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การประกอบ

อาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดาริปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง สาหรับ
ประชาชนตามแนวชายแดน ด้วยวิธีการเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย

๒) มุ่งจดั และพัฒนาการศึกษาอาชีพ โดยใช้วิธีการหลากหลาย ใช้รูปแบบเชิงรุก เพื่อการ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย การจัดอบรมแกน นาด้านอาชีพที่เน้นเร่ืองเกษตร
ธรรมชาตทิ ีส่ อดคล้องกบั บรบิ ทของชุมชนชายแดน ให้แก่ประชาชนตามแนว ชายแดน

6. ดา้ นบุคลากร ระบบการบริหารจดั การ และการมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ น

๖.๑ การพัฒนาบคุ ลากร
๑) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง ท้ังก่อนและระหว่าง การดารง

ตาแหน่ง เพ่ือให้มีเจตคติท่ีดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดาเนินงานของ หน่วยงานและ
สถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกัดพัฒนาตนเองเพื่อเลื่อน ดาแหน่งหรือเล่ือนวิทยุ
ฐานะ โดยเนน้ การประเมินวทิ ยุฐานะเชิงประจกั ษ์

๒) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะท่ีจาเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการ
นเิ ทศไดอ้ ยา่ งมศี กั ยภาพ เพอ่ื ร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยในสถานศึกษา

๓) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตาบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงข้ึน เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ตาบล/ แขวง และ
การปฏิบตั งิ านตามบทบาทภารกจิ อย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อานวย ความสะดวกในการ
เรียนรู้เพอ่ื ให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพอยา่ งแทจ้ ริง

๔) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ ได้อย่างมี
คณุ ภาพ โดยสง่ เสรมิ ใหม้ คี วามร้คู วามสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
และการวจิ ัยเบือ้ งต้น

๕) พัฒนาศกั ยภาพบุคลากร ท่ีรบั ผดิ ชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีความรู้ ความสามารถและมี

ประวัตขิ องห้องสมุดประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หน้า 16

ความเป็นมอื อาชีพในการจดั บริการสง่ เสรมิ การเรียนรู้ตลอดชวี ิตของประชาชน
๖) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการ บริหารการ

ดาเนนิ งานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน. อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
๗) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทาหน้าท่ีสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตาม

อัธยาศัยได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
๘) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือข่าย ทั้งในและ

ตา่ งประเทศในทกุ ระดบั โดยจดั ให้มีกจิ กรรมเพื่อเสรมิ สร้างสัมพันธภาพและเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการทางานรว่ ม
กนั ในรปู แบบทีห่ ลากหลายอย่างตอ่ เน่ือง อาทิ การแขง่ ขนั กีฬา การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารพัฒนาประสิทธิภาพ ในการทางาน

๖.๒ การพฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐานและอตั รากาลงั
๑) จัดทาแผนพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและดาเนินการปรับปรุงสถานท่ี และวัสดุอุปกรณ์ ให้มี ความพร้อมใน

การจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้
๒) บริหารอัตรากาลังท่ีมีอยู่ ทั้งในส่วนท่ีเป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ให้เกิด ประสิทธิภาพ

สงู สดุ ในการปฏิบตั งิ าน
๓) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพื่อนามาใช้ในการ ปรับปรุง

โครงสรา้ งพ้ืนฐานให้มีความพร้อมสาหรับดาเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยและการส่งเสริม
การเรียนร้สู าหรบั ประชาชน

๖.๓ การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การ
๑) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเช่ือมโยงกันทั่วประเทศอย่าง เป็นระบบ

เพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใช้เป็นเคร่ืองมือสาคัญในการบริหารการ วางแผน การปฏิบัติงาน
การติดตามประเมินผล รวมทง้ั จัดบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอย่างมีประสิทธภิ าพ

๒) เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุม และ เร่งรัดการ
เบิกจ่ายงบประมาณใหเ้ ปน็ ตามเปา้ หมายทกี่ าหนดไว้

๓) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และ เช่ือมโยงกันท่ัว
ประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการ เพ่ือประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับ ผู้เรียนและการบริหาร
จดั การอย่างมีประสิทธภิ าพ

๔) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมท้ังการศึกษาวิจัย เพ่ือสามารถ
นามาใชใ้ นการพฒั นาประสทิ ธิภาพการดาเนินงานที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และ ชุมชน พร้อมท้ังพัฒนา
ขีดความสามารถเชิงการแขง่ ขันของหน่วยงานและสถานศึกษา

๕) สร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนท้ังในประเทศและต่างประเทศ ในการพัฒนาและส่งเสริม การจัดการ
ศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย และการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต

๖) สง่ เสรมิ การใช้ระบบสานกั งานอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E - office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบ การลา ระบบ
สารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใชห้ ้องประชุม เป็นต้น

ประวตั ขิ องห้องสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 17

๖.๔ การกากบั นเิ ทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล
๑) สร้างกลไกกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และ

การศกึ ษาตามอัธยาศัยใหเ้ ชื่อมโยงกับหน่วยงาน สถานศึกษา และภาคีเครอื ขา่ ยท้ังระบบ
๒) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาท่ีเกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากับ ติดตาม และ รายงานผล

การนานโยบายสกู่ ารปฏบิ ัติ ให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแต่ละเร่อื งได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ
๓) ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร และส่ืออ่ืนๆท่ีเหมาะสม เพื่อการกากับ นิเทศ ติดตาม

ประเมินผล และรายงานผลอย่างมีประสทิ ธผิ ล
๔) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการ ประจาปีของ

หน่วยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวชีวัดในคารับรองการปฏิบัติราชการประจาปี ของสานักงาน กศน. ให้
ดาเนินไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ เปน็ ไปตามเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาทีก่ าหนด

๕) ให้มีการเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ต้ังแต่ ส่วนกลาง
ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูลและ การพัฒนางาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

ประวัติของห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 18

สว่ นท่ี ๒ รายงานผลการดาเนินงาน
โครงการการศึกษาตามอธั ยาศัย

ประวตั ิของหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หนา้ 19

แบบรายงานผลการดาเนินงานรายโครงการ

๑.ช่ือโครงการ : โครงการส่งเสริมการอา่ นบา้ นหนงั สือชมุ ชน

๒.สอดคล้องกับนโยบาย (ระบคุ วามสอดคลอ้ งกบั นโยบายที่เกี่ยวขอ้ ง เชน่ ยทุ ธศาสตร์และจดุ เน้นการดาเนินงานสานักงาน
กศน. วิสัยทัศน/์ พันธกจิ ระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษา)
สอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ งานสานกั งาน กศน. งบประมาณ 256๓

นโยบายเร่งด่วนเพอ่ื รว่ มขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ยทุ ธศาสตรด์ ้านความมนั่ คง

ข้อ ๑.๑ พัฒนาเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมท้ังน้อมนาและเผยแพร่ศาสตร์
พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดาริต่างๆ

ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ยุทธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
ขอ้ ๓.๓ ส่งเสรมิ การจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอ้ือต่อการเรียนรู้สาหรับทุกคน สามารถ

เรยี นไดท้ ุกที่ทกุ เวลา มกี จิ กรรมท่หี ลากหลาย น่าสนใจ สนองตอบความตอ้ งการของชมุ ชน
ข้อ ๓.๕ พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย เช่น จัด

การศึกษาออนไลน์ กศน. ท้ังในรูปแบบของการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และการศึกษาตาม
อัธยาศัย รวมท้ังส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้และใช้การวิจัยอย่างง่าย
เพอื่ สร้างนวตั กรรมใหม่

ภารกจิ ต่อเนอื่ ง
๑.๔ การศึกษาตามอธั ยาศัย

๑) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ท่ีมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพการ
เรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการท่ี
ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคล่ือนที่
พรอ้ มอุปกรณเ์ พอ่ื จัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้บริการกับประชาชนในพื้นท่ีต่างๆ อย่างทั่วถึง
สมา่ เสมอ รวมทั้งเสริมสร้างความพรอ้ มในด้านบุคลากร สื่อ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่านและการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริม
การอา่ นอย่างหลากหลาย

สอดคล้องกับมาตรฐานการประกนั คุณภาพภายใน
มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศยั
มาตรฐานที่ ๑. คุณภาพของผูร้ บั บริการการศกึ ษาตามอัธยาศัย
๑.๑ ผู้รบั บริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ
หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรฐานท่ี ๒. คณุ ภาพการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย
๒.๑ การกาหนดโครงการ หรือกจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย
๒.๒ ผ้จู ดั กจิ กรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั
๒.๓ ส่ือ หรอื นวัตกรรม และสภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
๒.๔ ผูร้ บั บริการมีความพึงพอใจต่อการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย
มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา

ประวตั ขิ องหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หน้า 20

๓.๔ การใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพื่อสนับสนุนการบริหารจดั การ
๓.๘ การส่งเสรมิ สนับสนุนการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้
๓.หลักการและเหตผุ ล (ระบุภูมหิ ลงั /ทม่ี า/ความสาคญั /หลักการ/หรอื เหตุผลของโครงการ)
การอ่าน ถือเป็นหัวใจสาคัญของการเรียนรู้ ประชากรท่ีมีนิสัยรักการอ่านย่อมง่ายต่อการพัฒนาประเทศ การ
เสริมสร้างให้ประชาชนในชุมชนรู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์เกิดความรู้และความ
เพลดิ เพลนิ มีความกระตอื รือรน้ ในการศกึ ษาค้นคว้า มีนสิ ัยรักการอา่ นและเป็นบุคคลแหง่ การเรียนรู้สามารถนาความรู้ไปใช้
ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีคุณภาพ การดาเนินงานบ้านหนังสือชุมชน ในแต่ละแห่งจะมีสื่อท่ีได้มาจากการจัดหาที่ไม่
เหมือนกัน บางแห่งอาจจะเป็นสือ่ ทเี่ หมาะสม สอดคลอ้ งกับความต้องการ บางแหง่ อาจเป็นสื่อยังไม่เหมาะสม และมีจานวน
ไม่เพียงพอ จึงควรมีการหมุนเวียนหนังสือจากแหล่งที่มีความพร้อมมากกว่า เช่น ห้องสมุดประชาชน กศน. ตาบล และ
แหล่งเรียนรู้อ่ืนๆ การนาหนังสือในห้องสมุดประชาชนออกหมุนเวียนไปให้บริการแก่ผู้ใช้บริการการอ่านในบ้านหนังสือ
ชุมชน เป็นอีกวิธีการในการสนับสนุนสื่อ หนังสือดีมีประโยชน์ เพ่ิมปริมาณจานวนหนังสือให้มีความหลากหลายในบ้าน
หนงั สอื ชมุ ชนให้ผูใ้ ชบ้ รกิ ารการอา่ นไดม้ ีโอกาสเข้าถึงหนังสอื และส่ือการอ่านทดี่ ีมปี ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวันด้านต่างๆ เพิ่ม
มากขึน้ กระตุ้นให้เกิดการสง่ เสรมิ การอ่านการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง มีนิสัยรักการอ่าน โดยใช้ทรัพยากรหนังสือ และส่ือซึ่งมี
อยู่ในหอ้ งสมดุ ประชาชนใหค้ มุ้ ค่าและเกิดประโยชน์สูงสดุ
เนื่องจากบ้านหนังสือชุมชน ๑๒ แห่ง ในเขตอาเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส ยังขาดหนังสือ ช้ันวาง ตู้วัสดุสื่อ
อุปกรณ์ต่างๆที่ล่าสมัย ไม่สวยงาม ไม่ดึงดูดให้ผู้รับบริการ จึงมีความจาเป็นที่จะต้องพัฒนาปรับภูมิทัศน์บ้านหนังสือให้มี
ป้าย บรเิ วณ โตะ๊ เกา้ อ้ี ชน้ั วางหนงั สือเพือ่ ที่จะสรา้ งบรรยากาศ เออ้ื ต่อการอา่ น
ห้องสมุดประชาชนอาเภอสไุ หงปาดีจึงได้จัดทาโครงการส่งเสริมการอ่านบา้ นหนังสอื ชมุ ชนเพ่ือผู้อ่านมีโอกาสเข้าถึง
หนังสือและส่ือการอ่านท่ีดีมีประโยชน์ในบ้านหนังสือชุมชน และเพ่ือส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและเห็นความสาคัญของการ
อา่ น การเรียนรู้ สามารถเช่อื มโยงความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการอ่านไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั

๔.วัตถุประสงค์ (ระบเุ จตจานงในการดาเนนิ งานโครงการ ท่สี ามารถวดั และประเมินผลได)้
๔.๑ เพ่ือให้ผอู้ า่ นมโี อกาสเขา้ ถงึ หนงั สือและส่อื การอ่านทีด่ ีมปี ระโยชนใ์ นบ้านหนังสือชมุ ชน
๔.๒ เพื่อสง่ เสรมิ นสิ ยั รกั การอ่านและเหน็ ความสาคญั ของการอ่าน การเรียนรู้ สามารถเช่ือมโยงความรู้ที่ได้จากการ

อ่านไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั

๕.ผลการดาเนินงาน (ระบุผลสาเรจ็ ของการดาเนนิ งานในภาพรวมของทัง้ โครงการในเชิงปริมาณ และเชิงคณุ ภาพ)
๕.๑ เชงิ ประมาณ

ท่ี ชอ่ื โครงการ/กิจกรรม/ เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน(คน/แห่ง) การเบกิ จา่ ยงบประมาณ(บาท) ดาเนนิ การใน
หลักสูตร (คน/แหง่ )
ชาย หญิง รวม ไตรมาส
โครงการสง่ เสริมการอา่ น ๑,๒๑๐ ๕๔๙ ๖๘๖ ๑,๒๓๕
บา้ นหนงั สอื ชุมชน รบั จดั สรร เบกิ จ่าย รอ้ ยละ 1 ๒ ๓ 4

รวมทั้งสนิ้ -- - -

๑,๒๑๐ ๕๔๙ ๖๘๖ ๑,๒๓๕

ประวตั ขิ องหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 21

๕.๒ เชงิ คณุ ภาพ
ผู้ใช้บริการมโี อกาสเข้าถึงหนังสอื และสอ่ื การอ่านทีด่ ีมปี ระโยชนใ์ นบ้านหนงั สือชมุ ชนและเสริมนิสยั รักการ

อา่ นและเห็นความสาคัญของการอ่าน การเรยี นรู้ สามารถเช่ือมโยงความรูท้ ่ีได้จากการอ่านไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั
๖.ผลลัพธ์ท่ไี ดร้ ับ (ระบุผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับจากโครงการหรือผลประโยชนจ์ ากผูเ้ ข้ารว่ มโครงการท่ีมีผลต่อบุคคล ชมุ ชน
สิง่ แวดลอ้ ม เศรษฐกิจและสงั คมโดยรวม)

ผใู้ ช้บรกิ ารมีโอกาสเข้าถงึ หนังสือและสื่อการอ่านท่ีดีมีประโยชน์ในบ้านหนังสือชุมชนและเสริมนิสัยรักการ
อา่ นและเห็นความสาคญั ของการอา่ น การเรยี นรู้ สามารถเช่อื มโยงความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการอ่านไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวัน
๗.ปญั หา/อปุ สรรค/ข้อเสนอแนะ (ระบุปญั หา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ที่มผี ลต่อการดาเนนิ โครงการ)

ประชาชนในพื้นที่ไม่คอ่ ยมีความสนใจ และไม่มีเวลาในการอา่ นหนงั สือ/ทากจิ กรรมตา่ งๆ
๘.แนวทางในการดาเนินงานตอ่ ไป (ระบแุ นวทางในการนาผลงานไปใช้ในการพัฒนาต่อ หรอื การดาเนินการให้ประสบ
ความสาเร็จมากย่ิงขน้ึ ต่อไป)

พฒั นาแหลง่ เรียนรูบ้ ้านหนังสือชุมชน ปรับภูมทิ ัศน์ สอื่ หนังสือ/วารสาร และมกี ารดาเนนิ กิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน
อย่างต่อเนื่องต่อไป
๙.ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ

นางสาวรุสสะลนี า ยาเส็ง ตาแหน่ง บรรณารกั ษ์
๑๐.ภาพประกอบที่แสดงถงึ ความสาเรจ็ ของโครงการ(กิจกรรมละ ๓-๕ ภาพ)

ประวตั ิของห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หนา้ 22

๑๐.ภาพประกอบที่แสดงถึงความสาเรจ็ ของโครงการ(กิจกรรมละ ๓-๕ ภาพ)

ประวตั ิของห้องสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 23

๑๐.ภาพประกอบที่แสดงถึงความสาเรจ็ ของโครงการ(กิจกรรมละ ๓-๕ ภาพ

ประวตั ิของห้องสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หน้า 24

แบบรายงานผลการดาเนินงานรายโครงการ

๑.ช่ือโครงการ : โครงการห้องสมดุ เคลือ่ นท่สี าหรับชาวตลาด

๒.สอดคล้องกับนโยบาย (ระบคุ วามสอดคลอ้ งกบั นโยบายที่เกีย่ วขอ้ ง เช่น ยทุ ธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน
กศน. วิสัยทัศน/์ พันธกจิ ระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษา)
สอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเนน้ การดาเนินงานสานกั งาน กศน. งบประมาณ 256๓

นโยบายเร่งดว่ นเพอ่ื ร่วมขบั เคลือ่ นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ
ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความมั่นคง

ข้อ ๑.๑ พัฒนาเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมทั้งน้อมนาและเผยแพร่ศาสตร์
พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รวมถงึ แนวทางพระราชดารติ า่ งๆ

ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์
ขอ้ ๓.๓ สง่ เสริมการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้สาหรับทุกคน สามารถ

เรยี นไดท้ ุกที่ทกุ เวลา มีกจิ กรรมทหี่ ลากหลาย นา่ สนใจ สนองตอบความตอ้ งการของชุมชน
ข้อ ๓.๕ พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย เช่น จัด

การศึกษาออนไลน์ กศน. ท้ังในรูปแบบของการศึกษาข้ันพื้นฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และการศึกษาตาม
อัธยาศัย รวมท้ังส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้และใช้การวิจัยอย่างง่าย
เพอื่ สร้างนวตั กรรมใหม่

ภารกจิ ต่อเน่ือง
๑.๔ การศึกษาตามอัธยาศัย

๑) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ท่ีมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพการ
เรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้เกิดข้ึนอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการที่
ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคลื่อนท่ี
พรอ้ มอุปกรณเ์ พอ่ื จัดกิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นและการเรียนรู้ท่ีหลากหลายให้บริการกับประชาชนในพ้ืนที่ต่างๆ อย่างท่ัวถึง
สมา่ เสมอ รวมทั้งเสริมสร้างความพรอ้ มในด้านบุคลากร ส่ือ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่านและการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม
การอา่ นอย่างหลากหลาย

สอดคล้องกับมาตรฐานการประกนั คุณภาพภายใน
มาตรฐานการศกึ ษาตามอัธยาศยั
มาตรฐานท่ี ๑. คุณภาพของผูร้ บั บริการการศึกษาตามอัธยาศยั
๑.๑ ผรู้ ับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ
หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรฐานท่ี ๒. คุณภาพการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
๒.๑ การกาหนดโครงการ หรือกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
๒.๒ ผู้จดั กิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
๒.๓ สือ่ หรอื นวัตกรรม และสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้ือต่อการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
๒.๔ ผูร้ บั บริการมีความพงึ พอใจต่อการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั

มาตรฐานท่ี ๓ คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา

ประวัตขิ องห้องสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หน้า 25

๓.๔ การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพอ่ื สนบั สนุนการบริหารจดั การ
๓.๘ การส่งเสริม สนบั สนนุ การสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้
๓.หลักการและเหตุผล (ระบุภมู ิหลงั /ทม่ี า/ความสาคัญ/หลักการ/หรือเหตุผลของโครงการ)
การอ่านหนังสือเป็นการพัฒนาตนเองและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นมากในการพัฒนาคนและ
พฒั นาสงั คม การอา่ นหนังสอื ของคนไทยเป็นกิจกรรมที่ไม่แพร่หลายแม้ในหมู่ผู้รู้หนังสือแล้วโดยเฉพาะการอ่านหนังสือที่ดี
และมีสาระยิ่งมีน้อยขึ้นไปอีก สาเหตุมีอยู่หลายประการ นับต้ังแต่การขาดแคลนหนังสือท่ีดีและตรงกับความต้องการของ
ผู้อ่าน การขาดแคลนแหล่งหนังสือที่จะยืมอ่านได้ ไปจนถึงการดึงความสนใจและการแย่งเวลาของสื่ออ่ืนๆ เช่น โทรทัศน์
วิทยุกระจายเสียง ต่างฯลฯ รวมท้ังขาดการชักจูง การกระตุ้น และนิสัยรักการอ่านท้ังในและนอกโรงเรียน เม่ือเทียบกับ
ความเพลิดเพลินและการไดฟ้ ังได้รู้เหน็ เร่ืองต่างๆจากโทรทศั น์ และวิทยุกระจายเสียงส่ือโซเชียลมีเดียแล้ว การอ่านหนังสือ
เพ่ือวัตถุประสงค์ดังกล่าวต้องใช้ความพยายามมากกว่า และต้องมีทักษะในการอ่าน ถ้าจะให้การอ่านหนังเกิดเป็นนิสัย
จาเปน็ ต้องมีการปลกู ฝงั และชกั ชวนให้เกิด ความสนใจการอา่ นอย่างตอ่ เน่ืองและสมา่ เสมอ
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงห่วงใยเร่ืองการอ่านของ
ประชาชนเป็นอย่างมาก รับสั่งเมื่อครั้งเสด็จพระราชดาเนินไปปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ได้พบแม่ค้าในตลาดสนใจการอ่าน
หนังสือจึงอยากให้ กศน. ได้ช่วยสนับสนุนการอ่านหนังสือของกลุ่มแม่ค้าพ่อค้าในตลาดต่างๆเพื่อสร้างโอกาสให้กลุ่มคน
เหล่านี้เข้าถึงการอ่านหนังสือได้มากขึ้นด้วย ดังนั้น กศน. จึงสนองพระราชดาริด้วยการจัดตู้หนังสือเคล่ือนที่สาหรับชาว
ตลาด โดยกศน.จะเคลอื่ นตูห้ นงั สือไว้ในตลาดต่างๆเพอื่ ใหบ้ รกิ ารหนงั สือหลากหลายรูปแบบ เช่น หนงั สือ หนงั สอื พิมพ์
หรอื นติ ยสารกบั พ่อคา้ แมค่ า้ ไปจนถึงประชาชนที่มาซื้อสินคา้ ภายในตลาด
หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี ร่วมกับศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสุไหงปาดี
ได้จัดทาโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดสร้างนิสัยรักการอ่านที่เกิดข้ึนในชุมชนชาวตลาดเพ่ือเพิ่มช่องทางการ
เข้าถึงการอ่านในแหล่งเรียนรู้ใกล้ตัวสนับสนุน ส่งเสริมการอ่านท่ีเกิดขึ้นในชุมชน โดยมีห้องสมุดประชาชนฯ เป็นกลไกใน
การขบั เคล่ือนการเสริมสรา้ งการรักการอ่าน ตลอดจนเสริมสร้างภาคีเครือข่ายให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมนิสัย
รักการอา่ นของชุมชนไดอ้ ย่างยัง่ ยืน

๔.วัตถุประสงค์ (ระบุเจตจานงในการดาเนินงานโครงการ ทสี่ ามารถวดั และประเมนิ ผลได้)
4.๑ เพ่อื เพมิ่ ช่องทางการเขา้ ถงึ การอ่านในแหล่งเรียนรู้ใกล้ตัว
4.๒ เพื่อประชาสมั พันธ์และจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านของห้องสมุดฯ
4.๓ เพอ่ื สง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้พ่อคา้ แม่คา้ และประชาชนในตลาด มนี สิ ยั รกั การอา่ น

๕.ผลการดาเนินงาน (ระบผุ ลสาเร็จของการดาเนินงานในภาพรวมของท้งั โครงการในเชิงปริมาณ และเชงิ คณุ ภาพ)

๕.๑ เชงิ ประมาณ

ท่ี ช่อื โครงการ/กจิ กรรม/ เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน(คน/แห่ง) การเบกิ จา่ ยงบประมาณ(บาท) ดาเนนิ การใน
หลักสูตร (คน/แห่ง)
ชาย หญงิ รวม ไตรมาส
โครงการห้องสมุดเคล่ือนที่ ๘๘๐ ๔๘๘ ๖๑๗ ๘๙๕
สาหรับชาวตลาด รับจดั สรร เบิกจา่ ย รอ้ ยละ 1 ๒ ๓ 4

-- - -

รวมทงั้ ส้นิ ๘๘๐ ๔๘๘ ๔๐๗ ๘๙๕

ประวัติของหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หนา้ 26

๕.๒ เชิงคณุ ภาพ
กลุ่มเป้าหมายมีช่องทางการเข้าถึงการอ่านในแหล่งเรียนรู้ได้ประชาสัมพันธ์กิจกรรมส่งเสริมการของห้อง

สุมด สร้างภาคีเครือข่ายในการทางานและส่งเสริมการอ่านทุกภาคส่วน ส่งเสริมสนับสนุนให้พ่อค้าและแม่ค้าประชาชนใน
ตลาดมนี สิ ยั รกั การอา่ น
๖.ผลลัพธท์ ี่ไดร้ บั (ระบุผลที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการหรอื ผลประโยชนจ์ ากผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการที่มผี ลต่อบุคคล ชุมชน
ส่งิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสังคมโดยรวม)

กลุ่มเป้าหมายมีช่องทางการเข้าถึงการอ่านในแหล่งเรียนรู้ได้ประชาสัมพันธ์กิจกรรมส่งเสริมการของห้อง
สุมด สร้างภาคีเครือข่ายในการทางานและส่งเสริมการอ่านทุกภาคส่วน ส่งเสริมสนับสนุนให้พ่อค้าและแม่ค้าประชาชนใน
ตลาดมนี ิสัยรกั การอ่าน
๗.ปัญหา/อปุ สรรค/ข้อเสนอแนะ (ระบุปัญหา อปุ สรรค ข้อเสนอแนะ ทมี่ ผี ลต่อการดาเนินโครงการ)

- ประชาชนสว่ นมากไมม่ เี วลาในการอ่านหนังสือ
- ผรู้ บั บรกิ ารไมค่ ่อยสนใจสอื่ หนงั สอื เพราะให้ความสนใจในเร่อื งโทรศัพทม์ ือมือ
๘.แนวทางในการดาเนินงานตอ่ ไป (ระบุแนวทางในการนาผลงานไปใชใ้ นการพัฒนาต่อ หรือ การดาเนนิ การให้ประสบ
ความสาเร็จมากย่ิงขน้ึ ต่อไป)
อยากให้มดี าเนนิ กจิ กรรมห้องสมุดเคลือ่ นทส่ี าหรบั ชาวตลาดอยา่ งต่อเนอื่ ง
๙.ผู้รับผดิ ชอบโครงการ
นางสาวรุสสะลนี า ยาเสง็ ตาแหน่ง บรรณารกั ษ์
๑๐.ภาพประกอบที่แสดงถงึ ความสาเรจ็ ของโครงการ(กิจกรรมละ ๓-๕ ภาพ)

ประวตั ขิ องหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หน้า 27

๑๐.ภาพประกอบที่แสดงถึงความสาเรจ็ ของโครงการ(กิจกรรมละ ๓-๕ ภาพ)

ประวตั ิของห้องสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 28

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานรายโครงการ

๑.ชื่อโครงการ : โครงการหอ้ งสมุดเคล่อื นท่ีส่ชู ุมชน

๒.สอดคลอ้ งกบั นโยบาย (ระบุความสอดคลอ้ งกบั นโยบายทีเ่ กี่ยวขอ้ ง เช่น ยทุ ธศาสตร์และจดุ เน้นการดาเนินงานสานักงาน
กศน. วสิ ยั ทัศน/์ พนั ธกิจ ระบบประกนั คุณภาพการศึกษา)
สอดคล้องกับนโยบายและจุดเนน้ การดาเนินงานสานักงาน กศน. งบประมาณ 256๓

นโยบายเร่งดว่ นเพื่อร่วมขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความมนั่ คง

ข้อ ๑.๑ พัฒนาเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมทั้งน้อมนาและเผยแพร่ศาสตร์
พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมถึงแนวทางพระราชดาริต่างๆ

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
ขอ้ ๓.๓ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอ้ือต่อการเรียนรู้สาหรับทุกคน สามารถ

เรียนได้ทกุ ทท่ี กุ เวลา มีกิจกรรมทีห่ ลากหลาย น่าสนใจ สนองตอบความตอ้ งการของชุมชน
ข้อ ๓.๕ พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย เช่น จัด

การศึกษาออนไลน์ กศน. ท้ังในรูปแบบของการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และการศึกษาตาม
อัธยาศัย รวมทั้งส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้และใช้การวิจัยอย่างง่าย
เพ่ือสรา้ งนวัตกรรมใหม่

ภารกจิ ต่อเน่ือง
๑.๔ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย

๑) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพการ
เรียนรู้ให้เกิดข้ึนในสังคมไทย ให้เกิดข้ึนอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการที่
ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่
พรอ้ มอปุ กรณเ์ พื่อจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านและการเรียนรู้ท่ีหลากหลายให้บริการกับประชาชนในพ้ืนท่ีต่างๆ อย่างทั่วถึง
สมา่ เสมอ รวมท้ังเสริมสรา้ งความพรอ้ มในด้านบุคลากร ส่ือ อุปกรณ์เพ่ือสนับสนุนการอ่านและการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม
การอา่ นอย่างหลากหลาย

สอดคล้องกบั มาตรฐานการประกนั คุณภาพภายใน
มาตรฐานการศกึ ษาตามอัธยาศยั
มาตรฐานที่ ๑. คณุ ภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอธั ยาศยั
๑.๑ ผ้รู บั บริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ
หรอื กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั
มาตรฐานท่ี ๒. คณุ ภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั
๒.๑ การกาหนดโครงการ หรือกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย
๒.๒ ผ้จู ดั กิจกรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจดั กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย
๒.๓ สอื่ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมทเี่ ออื้ ต่อการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั
๒.๔ ผรู้ ับบรกิ ารมีความพงึ พอใจตอ่ การจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย
มาตรฐานท่ี ๓ คณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา
๓.๔ การใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพ่อื สนับสนุนการบริหารจัดการ
๓.๘ การส่งเสริม สนบั สนนุ การสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้

ประวตั ิของหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หน้า 29

๓.หลกั การและเหตผุ ล (ระบุภมู หิ ลัง/ทีม่ า/ความสาคญั /หลักการ/หรอื เหตุผลของโครงการ)
กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน หมายถึง การกระทาต่างๆ เพ่ือให้เด็กเกิดความสนใจที่จะอ่าน เห็นความสาคัญของการ

อ่าน เกิดความเพลิดเพลินท่ีจะอ่าน เกิดความมุ่งม่ันท่ีจะอ่าน และอ่านจนเป็นนิสัย ทั้งนี้ การอ่านหนังสือเป็นทักษะสาคัญ
ทกั ษะหนึง่ ในชวี ิตประจาวัน เพราะการอา่ นหนงั สอื จะพฒั นาคุณภาพชีวิตของคนเราไดเ้ ปน็ อย่างดีย่ิง เมื่อคนเราอ่านหนังสือ
จะเกิดความสามารถสร้างความรู้ อารมณ์ จินตนาการ และการอ่านเป็นส่ิงที่มนุษย์เราสร้างสรรค์ขึ้นเพ่ือตอบสนองความ
อยากรู้เร่ืองราวส่ิงต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตและอยู่รอบๆ ตัวเราเองและมีผู้บันทึกไว้ด้วยตัวหนังสือในภาษาที่เผ่าพันธ์ุน้ันๆ
ประดิษฐ์ขึ้นใช้ส่ือสาร เม่ือมีภาษาจึงเกิดการถ่ายทอดด้วยการใช้ขีดเขียน บันทึกและสอนจากรุ่นสู่รุ่นต่อๆ ไป แต่บางคน
เรียนอ่านยาก จาเป็นต้องอาศัยการแนะนา ส่ังสอน ด้วยกลวิธีที่หลากหลาย รวมท้ังต้องฝึกฝนตนเองด้วยให้ได้รับรสของ
การอ่าน เห็นประโยชน์ที่เกิดจากอ่าน จึงต้องมีการสร้างกิจกรรมการอ่านให้เกิดขึ้นท้ังนี้การที่เด็กจะเกิดทักษะการอ่าน
หนังสือไดน้ ้นั จาเปน็ จะตอ้ งอาศัยความร่วมมอื จากบุคคลหลายฝ่าย ทั้งครอบครัว โรงเรยี นและชุมชน

กระทรวงศึกษาธิการและสานักงาน กศน. มุ่งเน้นการส่งเสริมให้เกิดชุมชนรักการอ่านและสร้างความตระหนักให้
ประชาชน เห็นคุณค่าของการอ่านรวมถึงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการอ่านของประชาชน จนนาไปสู่เป้าหมายคนไทยทุกช่วง
วัยมีนสิ ยั รักการอา่ นมากยง่ิ ข้นึ โดยม่งุ ม่นั ท่จี ะเดนิ หนา้ พฒั นาและแสวงหารูปแบบใหมๆ่ ในการปลุกนิสัยให้ประชาชนคนไทย
มนี ิสยั รักการอ่านอยา่ งต่อเน่ืองในรูปแบบเชงิ รุกมากขน้ึ

จากผลการดาเนนิ งาน กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จากการทากิจกรรมส่งเสริมการอ่านใน
พ้ืนที่เขตอาเภอสุไหงปาดี โดยการสัมภาษณ์ และสารวจความพึงพอใจจากโครงการดังกล่าวทราบว่า ประชาชนให้ความ
สนใจในการใช้บริการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพ่ิมขึ้นประชาชน ให้การตอบรับ ร่วมมือเป็นอย่างดี นอกจากน้ีประชาชนผู้
มาใช้บริการห้องสมดุ ฯ และกิจกรรมส่งเสริมการอ่านมีความต้องการให้มีการส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่างๆที่หลากหลาย
ข้ึน และดาเนนิ กจิ กรรมอย่างต่อเนือ่ ง

ดังน้ันศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสุไหงปาดี ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญจึงได้จัด
โครงการห้องสมุดเคล่ือนที่สู่ชุมชนขึ้นเพ่ือส่งเสริมเด็ก เยาวชน นักเรียน และประชาชนท่ัวไป มีนิสัยรักการอ่าน การมีส่วน
รว่ ม และพัฒนาการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นในรปู แบบทีห่ ลากหลายและเหมาะสมทุกช่วงวยั

๔.วัตถุประสงค์ (ระบุเจตจานงในการดาเนินงานโครงการ ทีส่ ามารถวัดและประเมนิ ผลได)้
๔.๑ กลมุ่ เป้าหมายมนี ิสยั รักการอ่าน
๔.๒ กล่มุ เปา้ หมายมีสว่ นรว่ มในการทากจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน
๔.๓ เพือ่ จดั กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นในรปู แบบท่ีหลากหลายและเหมาะสมทุกช่วงวยั

๕.ผลการดาเนนิ งาน (ระบผุ ลสาเร็จของการดาเนินงานในภาพรวมของท้ังโครงการในเชิงปรมิ าณ และเชิงคุณภาพ)

๕.๑ เชงิ ประมาณ

ที่ ช่อื โครงการ/กิจกรรม/ เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน(คน/แห่ง) การเบิกจ่ายงบประมาณ(บาท) ดาเนนิ การใน
หลกั สตู ร (คน/แห่ง)
ชาย หญงิ รวม ไตรมาส
โครงการหอ้ งสมดุ เคล่ือนท่ี 1,๑๐๐ ๔๙๗ ๖๒๐ ๑,๑๑๗
สูช่ มุ ชน รับจดั สรร เบิกจา่ ย รอ้ ยละ 1 ๒ ๓ 4
๑,๑๐๐ ๔๙๗ ๖๒๐ ๑,๑๑๗
รวมทัง้ สิน้ -- - -

ประวตั ิของหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หน้า 30

๕.๒ เชงิ คุณภาพ
กลุ่มเปา้ หมายมสี ว่ นรว่ มในการส่งเสรมิ การอ่านและใช้ทักษะการอ่านในการแสดงออกถึงความรู้

ความสามารถ
๖.ผลลพั ธท์ ีไ่ ดร้ บั (ระบผุ ลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั จากโครงการหรือผลประโยชนจ์ ากผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการที่มผี ลตอ่ บุคคล ชมุ ชน
สิง่ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสงั คมโดยรวม)

กลุ่มเปา้ หมายมสี ่วนรว่ มในการสง่ เสรมิ การอา่ นและใชท้ ักษะการอ่านในการแสดงออกถึงความรู้
ความสามารถ
๗.ปญั หา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ (ระบุปญั หา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ทีม่ ผี ลต่อการดาเนนิ โครงการ)
- ประชาชนส่วนมากไม่มีเวลาในการอ่านหนงั สือ
- ผ้รู ับบรกิ ารไม่ค่อยสนใจสอื่ หนงั สือ เพราะใหค้ วามสนใจในเรื่องโทรศัพท์มือมือ
๘.แนวทางในการดาเนินงานตอ่ ไป (ระบแุ นวทางในการนาผลงานไปใชใ้ นการพฒั นาต่อ หรอื การดาเนินการใหป้ ระสบ
ความสาเร็จมากย่ิงขน้ึ ต่อไป)
อยากให้มีดาเนินกจิ กรรมห้องสมดุ เคลอ่ื นท่ีส่ชู มุ ชนมีอย่างต่อเนอ่ื ง
๙.ผ้รู ับผิดชอบโครงการ
นางสาวรุสสะลนี า ยาเสง็ ตาแหน่ง บรรณารักษ์
๑๐.ภาพประกอบท่ีแสดงถึงความสาเร็จของโครงการ(กจิ กรรมละ ๓-๕ ภาพ)

ประวัติของหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 31

๑๐.ภาพประกอบที่แสดงถึงความสาเรจ็ ของโครงการ(กิจกรรมละ ๓-๕ ภาพ)

ประวตั ิของห้องสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 32

แบบรายงานผลการดาเนินงานรายโครงการ

๑.ช่ือโครงการ : โครงการเดก็ ไทยยุคใหม่ รูร้ กั สามัคคี รู้หนา้ ท่พี ลเมอื งไทย ประจาปี 2563

๒.สอดคลอ้ งกบั นโยบาย (ระบุความสอดคล้องกับนโยบายท่ีเกี่ยวข้อง เชน่ ยทุ ธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน
กศน. วิสัยทศั น์/พนั ธกิจ ระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา)
สอดคล้องกบั นโยบายและจดุ เน้นการดาเนินงานสานกั งาน กศน. งบประมาณ 256๓

นโยบายเร่งดว่ นเพือ่ รว่ มขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศ
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ ยุทธศาสตรด์ ้านความม่นั คง

ข้อ ๑.๑ พัฒนาเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมท้ังน้อมนาและเผยแพร่ศาสตร์
พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมถึงแนวทางพระราชดารติ ่างๆ

ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
ข้อ ๓.๓ สง่ เสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้สาหรับทุกคน สามารถ

เรยี นได้ทุกทท่ี กุ เวลา มกี จิ กรรมทหี่ ลากหลาย น่าสนใจ สนองตอบความตอ้ งการของชุมชน
ข้อ ๓.๕ พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย เช่น จัด

การศึกษาออนไลน์ กศน. ท้ังในรูปแบบของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และการศึกษาตาม
อัธยาศัย รวมทั้งส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้และใช้การวิจัยอย่างง่าย
เพือ่ สร้างนวตั กรรมใหม่

ภารกิจตอ่ เนือ่ ง
๑.๔ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั

๑) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพการ
เรียนรู้ให้เกิดข้ึนในสังคมไทย ให้เกิดข้ึนอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการท่ี
ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่
พรอ้ มอปุ กรณ์เพ่ือจดั กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นและการเรียนรู้ท่ีหลากหลายให้บริการกับประชาชนในพ้ืนที่ต่างๆ อย่างทั่วถึง
สมา่ เสมอ รวมทง้ั เสริมสรา้ งความพร้อมในด้านบุคลากร ส่ือ อุปกรณ์เพ่ือสนับสนุนการอ่านและการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม
การอา่ นอย่างหลากหลาย

สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศยั
มาตรฐานท่ี ๑. คุณภาพของผรู้ ับบรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศัย
๑.๑ ผรู้ บั บริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ
หรือกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
มาตรฐานท่ี ๒. คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั
๒.๑ การกาหนดโครงการ หรอื กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
๒.๒ ผจู้ ดั กิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั
๒.๓ สื่อ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมทเ่ี อือ้ ต่อการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย
๒.๔ ผ้รู บั บรกิ ารมีความพงึ พอใจตอ่ การจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั
มาตรฐานที่ ๓ คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา
๓.๔ การใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั เพื่อสนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การ
๓.๘ การสง่ เสรมิ สนับสนุนการสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้

ประวัตขิ องหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 33

๓.หลกั การและเหตผุ ล (ระบุภมู ิหลัง/ทีม่ า/ความสาคญั /หลกั การ/หรอื เหตุผลของโครงการ)
ตามที่รัฐบาลกาหนดให้เป็นวันเด็กแห่งชาติ ตรงกับวันเสาร์ท่ีสองของเดือนมกราคมของทุกปี ซึ่งหน่วยงานต่างๆ

ทั้งภาครฐั และเอกชนไดจ้ ัดกิจกรรมสาหรับเด็ก เพ่ือให้ตระหนักถึงความสาคัญของเด็กซึ่งถือว่าเป็นทรัพยากรบุคคลท่ีสาคัญ
ยงิ่ ตอ่ ประเทศชาติ ที่จะเปน็ กาลังสาคัญในการพฒั นาชาติบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้าและม่ันคงสืบไป เด็กจึงควรเตรียมตัวท่ี
จะเป็นกาลังของชาติด้วย การขยันหม่ันศึกษาหาความรู้และใช้เวลาให้เป็นประโยชน์อย่างเต็มท่ี ประพฤติปฏิบัติตนอยู่ใน
ระเบียบวินัย มีความขยันหม่ันเพียรต้ังใจทางานด้วยความรับผิดชอบยึดม่ันในความซ่ือสัตย์ สุจริต ตลอดจนมีความเม ตตา
กรุณาช่วยเหลือเอ้ือเฟ้ือผู้อื่น เสียสละและบาเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม ช่วยกันรักษาความสะอาดและอนุรักษ์ทรัพยากร
ตลอดถึงสาธารณสมบัติส่วนรวมของชาติ หากเด็กทุกคนได้ตระหนักถึงอนาคตของตนและของประเทศชาติ โดยพยายาม
ประพฤติปฏบิ ตั ติ นใหเ้ หมาะสมกับวัยแลว้ ก็จะได้ช่ือว่าเปน็ “เดก็ ด”ี ประกอบกบั สานกั งาน กศน.จงั หวดั นราธิวาส เป็นองค์กร
หน่ึงที่ตอ้ งใหค้ วามสาคัญเก่ยี วกบั การพัฒนา และส่งเสริมเด็กและเยาวชน เพ่ือสร้างอนาคตที่เจริญงอกงามให้สังคมไทย จึง
เป็นหน้าที่ของผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกคนที่จะต้องให้ความสาคัญในการพัฒนาเยาวชนและส่งเสริมการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง โดยเร่ิมจากการพัฒนาให้เป็นผู้ท่ีมีค่านิยมท่ีถูกต้อง ภูมิใจและหวงแหน อนุรักษ์ไว้ซ่ึงความเป็นไทย อนุรักษ์
ศิลปวัฒนธรรมไทย รู้จักการอดออมและประหยัดรวมทั้งการบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ ยึดม่ัน
การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเพื่อนาพาเยาวชนให้เป็นบุคคลที่มีท้ังคุณภาพ
และคุณธรรม ซึง่ จะพาประเทศชาติให้เจรญิ รุ่งเรืองตอ่ ไปในภายภาคหนา้

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสุไหงปาดี มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาเพ่ือ
พัฒนากลุ่มเป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่เป็นเยาวชนที่ขาดโอกาส พลาดโอกาส และด้อยโอกาส ให้ได้รับการศึกษาเพ่ือพัฒนา
คุณภาพชีวิตเรียนรู้ โดยเฉพาะขับเคลื่อนส่งเสริมอ่านในทุกระดับ โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมและขับเคล่ือนโดยประชา
รัฐ เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านทุกรูปแบบ มุ่งผลลัพธ์ให้เกิดพฤติกรรมมีนิสัยรักการอ่านในพื้นท่ีและช่วยให้
เกดิ กระบวนการเรียนรู้ การพฒั นาความคดิ ทเ่ี ป็นระบบ พัฒนาจิตใจ จินตนาการ และก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ นาไปสู่
การเรียนรู้อย่างยั่งยืน และจากข้อเสนอแนะของการจัดโครงการในคร้ังที่ผ่านมา พบว่ากลุ่มเป้าหมายต้องการให้จัด
โครงการในลกั ษณะน้อี ีก เพราะเป็นประโยชน์ในการนาไปพัฒนาตนเองได้ จึงได้ใช้โอกาสในวันเด็กนี้เพ่ือให้นักศึกษาซึ่งเป็น
เยาวชนได้ร่วมกิจกรรมต่างๆที่จะส่งผลต่อการพัฒนาความรู้ ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม เพ่ือพัฒนาตนเองให้
สอดคล้องกับ “เด็กวนั นี้ คือผู้ใหญ่ในวนั หนา้ ”

๔.วัตถปุ ระสงค์ (ระบุเจตจานงในการดาเนินงานโครงการ ทีส่ ามารถวัดและประเมินผลได)้
๔.๑ เพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมงาน กศน.สูเ่ ด็ก เยาวชนและประชาชนในพ้นื ที่
๔.2 เพ่อื ใหน้ ักศึกษาสามารถนากระบวนการมสี ่วนร่วมและขับเคลื่อนโดยประชารัฐ เพื่อพัฒนาการจดั กิจกรรม

ส่งเสรมิ การอ่านทุกรปู แบบไปใชใ้ นการพฒั นาตนเองได้
๔.3 เพือ่ ใหน้ ักศึกษา กศน. เด็ก และเยาวชน ได้ยึดม่ันในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ และการ

ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ และเป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล

ประวัตขิ องหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 34

๕.ผลการดาเนินงาน (ระบุผลสาเรจ็ ของการดาเนนิ งานในภาพรวมของทัง้ โครงการในเชิงปรมิ าณ และเชิงคุณภาพ)
๕.๑ เชิงประมาณ

ที่ ชอ่ื โครงการ/กิจกรรม/ เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน(คน/แห่ง) การเบิกจา่ ยงบประมาณ(บาท) ดาเนินการใน
หลกั สตู ร (คน/แห่ง) ชาย หญงิ รวม
๑๐๐/๓ ๗๐ ๘๐ ๑๕๐ ไตรมาส
โครงการเดก็ ไทยยุคใหม่ รู้
รกั สามัคคี ร้หู นา้ ทีพ่ ลเมือง ๑๐๐/๓ ๗๐ ๘๐ ๑๕๐ รบั จัดสรร เบกิ จา่ ย รอ้ ยละ 1 ๒ ๓ 4
ไทย ประจาปี 2563
๒๖,๐๐๐ ๒๖,๐๐๐ - -
รวมทงั้ สนิ้
๒๖,๐๐๐ ๒๖,๐๐๐

๕.๒ เชงิ คณุ ภาพ
นกั ศกึ ษา สามารถนาความรู้ไปใช้ในการพัฒนาตนเองนาไปสกู่ ารสร้างสังคมท่มี ีคุณภาพ

๖.ผลลัพธ์ทไี่ ด้รับ (ระบุผลที่คาดวา่ จะได้รับจากโครงการหรือผลประโยชน์จากผู้เข้ารว่ มโครงการที่มผี ลต่อบุคคล ชุมชน
สงิ่ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสังคมโดยรวม)

นกั ศกึ ษา สามารถนาความรู้ไปใชใ้ นการพฒั นาตนเองนาไปสู่การสร้างสงั คมที่มคี ุณภาพ

๗.ปญั หา/อุปสรรค/ขอ้ เสนอแนะ (ระบุปญั หา อปุ สรรค ข้อเสนอแนะ ท่มี ผี ลต่อการดาเนนิ โครงการ)
- เดก็ ท่เี ข้ารว่ มกจิ กรรมมสี มาธิในการดาเนนิ กิจกรรมในระยะเวลาที่นานเกนิ ไป ตอ้ งมีของรางวลั มากระตุ้น จงู ใจให้

เดก็ มีความสนใจมากขน้ึ

๘.แนวทางในการดาเนินงานตอ่ ไป (ระบุแนวทางในการนาผลงานไปใชใ้ นการพัฒนาต่อ หรือ การดาเนนิ การใหป้ ระสบ
ความสาเรจ็ มากย่ิงข้นึ ต่อไป)

อยากให้มีการจดั กิจกรรมอยา่ งตอ่ เน่ืองเป็นประจาทุกปี เพ่ือเปดิ โอกาสให้กลุม่ เป้าหมายมสี ว่ นรว่ มในทากจิ กรรม
แลกเปลีย่ นเรียนรู้

๙.ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ
นางสาวรุสสะลีนา ยาเสง็ ตาแหนง่ บรรณารกั ษ์

ประวตั ิของหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 35

๑๐.ภาพประกอบท่ีแสดงถึงความสาเร็จของโครงการ(กิจกรรมละ ๓-๕ ภาพ

โครงการเด็กไทยยุคใหม่ รูร้ กั สามคั คี รหู้ น้าที่พลเมืองไทย
ประจาปี ๒๕๖๓

วนั ท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๖๓
ณ บริเวณโดยรอบลานเทศบาลตาบลปะลรุ ู

ประวตั ิของหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หน้า 36

โครงการเดก็ ไทยยุคใหม่ รรู้ กั สามัคคี ร้หู น้าทพ่ี ลเมืองไทย
ประจาปี ๒๕๖๓

วันท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๖๓
ณ บริเวณหน้าศูนย์บริหารส่วนตาบลปะลรุ ู

ประวัตขิ องห้องสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หน้า 37

โครงการเด็กไทยยุคใหม่ รรู้ ักสามคั คี รูห้ น้าที่พลเมอื งไทย
ประจาปี ๒๕๖๓

วนั ท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๖๓
ณ บริเวณโดยรอบลานเทศบาลตาบลปะลุรู

ประวัติของห้องสมุดประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หนา้ 38

แบบรายงานผลการดาเนินงานรายโครงการ

๑.ช่ือโครงการ : โครงการครอบครัวรักการอา่ น

๒.สอดคลอ้ งกับนโยบาย (ระบุความสอดคล้องกับนโยบายที่เก่ยี วขอ้ ง เช่น ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน
กศน. วสิ ัยทัศน/์ พนั ธกิจ ระบบประกันคณุ ภาพการศึกษา)
สอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานสานกั งาน กศน. งบประมาณ 256๓

นโยบายเรง่ ด่วนเพ่อื ร่วมขบั เคล่อื นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ ยุทธศาสตร์ดา้ นความมนั่ คง

ข้อ ๑.๑ พัฒนาเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมท้ังน้อมนาและเผยแพร่ศาสตร์
พระราชา หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รวมถงึ แนวทางพระราชดารติ ่างๆ

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
ขอ้ ๓.๓ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอ้ือต่อการเรียนรู้สาหรับทุกคน สามารถ

เรียนได้ทกุ ท่ีทกุ เวลา มกี จิ กรรมที่หลากหลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน
ข้อ ๓.๕ พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย เช่น จัด

การศึกษาออนไลน์ กศน. ท้ังในรูปแบบของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และการศึกษาตาม
อัธยาศัย รวมทั้งส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้และใช้การวิจัยอย่างง่าย
เพือ่ สร้างนวตั กรรมใหม่

ภารกิจต่อเนือ่ ง
๑.๔ การศกึ ษาตามอัธยาศัย

๑) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ท่ีมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพการ
เรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการที่
ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคลื่อนท่ี
พร้อมอุปกรณ์เพอ่ื จดั กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้บริการกับประชาชนในพื้นที่ต่างๆ อย่างท่ัวถึง
สม่าเสมอ รวมทง้ั เสริมสรา้ งความพร้อมในด้านบุคลากร สื่อ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่านและการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริม
การอา่ นอย่างหลากหลาย

สอดคล้องกบั มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศยั
มาตรฐานที่ ๑. คณุ ภาพของผ้รู บั บรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศยั
๑.๑ ผรู้ ับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ
หรือกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย
มาตรฐานท่ี ๒. คุณภาพการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
๒.๑ การกาหนดโครงการ หรือกจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั
๒.๒ ผจู้ ดั กจิ กรรมมีความรู้ ความสามารถในการจดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย
๒.๓ สือ่ หรอื นวตั กรรม และสภาพแวดล้อมที่เอ้อื ตอ่ การจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั
๒.๔ ผู้รบั บรกิ ารมีความพึงพอใจต่อการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
มาตรฐานท่ี ๓ คุณภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา
๓.๔ การใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอื่ สนบั สนุนการบริหารจัดการ

ประวัติของหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หน้า 39

๓.๘ การส่งเสรมิ สนบั สนุนการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้
๓.หลกั การและเหตุผล (ระบุภูมิหลัง/ทีม่ า/ความสาคัญ/หลักการ/หรือเหตผุ ลของโครงการ)

ตามนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานของ สานักงาน กศน.ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ นโยบายเร่งด่วน
เพ่ือร่วมขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
ทรพั ยากรมนษุ ย์ ข้อ ๓.๓ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอ้ือต่อการเรียนรู้สาหรับทุกคน สามารถ
เรยี นได้ทุกที่ทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากหลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน เพ่ือพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้
ของประชาชน รวมท้ังใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนในการร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือเช่ือมโยงความสัมพันธ์ของ
คนในชุมชนไปสูก่ ารจกั การความรู้ของชุมชนอยา่ งยงั่ ยนื

ครอบครัว นับว่าเป็นสถาบันที่มีบทบาทยิ่งใหญ่ที่สุดในการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน เพราะเสียงท่ีลูกได้ยินกับอ้อม
กอดที่อบอุ่นจากพ่อแม่ เป็นที่สาคัญที่สุดที่ลูกพึงจะได้รับ ดังน้ันครอบครัวจึงเป็นสถาบันแรกท่ีจะก้าวเข้าไปถึงในเร่ืองของ
การปลกู ฝังนิสัยรกั การอ่านใหแ้ ก่เดก็ ๆ บุคคลในครอบครัวไมว่ ่าจะเป็น พ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย ล้วนมีส่วนสาคัญเป็นอย่างย่ิงใน
การส่งเสริมให้ลูกหลานรักการอ่าน โดยเริ่มต้นจากการอ่าน “หนังสือสาหรับเด็ก” หรือ“หนังสือนิทาน” ให้เด็กฟัง เพราะ
หนังสือเหล่าน้ีมีถ้อยคาและจังหวะท่ีไพเราะ อ่อนหวาน นุ่มนวล และมีภาพประกอบท่ีมีสีสันสวยสดงดงามเป็นสิ่งกระตุ้น
ความสนใจเด็กได้เป็นอย่างดี และที่สาคัญครอบครัวจะต้องจัดสภาพแวดล้อมให้เด็กได้สัมผัสกับการอ่าน อยู่เสมอๆใน
ชวี ิตประจาวัน พ่อแม่หรอื บุคคลในครอบครัวเปน็ แบบอย่างการอ่านท่ดี ี แล้วเด็กจะซึมซับนิสัยรักการอา่ นตั้งแตเ่ ด็ก

การอา่ นจึงเปน็ ทกั ษะสาคัญทสี่ ่งผลตอ่ การเรยี นรู้ หากเด็กรกั การอ่านสามารถอ่านไดอ้ ยา่ งแตกฉานก็จะเป็นพื้นฐาน
ในการเรียนรู้ในช้ันเรียนและสร้างนิสัยถาวรให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เพราะความสามารถในการอ่านจะมี
ความสมั พันธก์ ับความสาเรจ็ ในการเรียนรขู้ องผู้เรียน และนาไปสูก่ ารขยายความรูต้ ลอดชวี ิต

ดังน้ัน ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสุไหงปาดี ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญดังกล่าว จึง
จดั โครงการครอบครวั รักการอา่ น เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายมีนสิ ยั รกั การอา่ น มีส่วนร่วมในการทากิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เพ่ือ
พัฒนาการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นในรูปแบบทีห่ ลากหลายและเหมาะสมทุกชว่ งวยั

๔.วตั ถุประสงค์ (ระบเุ จตจานงในการดาเนินงานโครงการ ท่สี ามารถวัดและประเมนิ ผลได)้
๔.1 เพือ่ สง่ เสริมให้สถาบันครอบครวั ใหค้ วามสาคญั กับการอ่าน
๔.2 เพือ่ ใหส้ มาชกิ ในครอบครวั ใช้เวลาในการอา่ นมากยิง่ ขึ้น

ประวตั ขิ องหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 40

๕.ผลการดาเนินงาน (ระบุผลสาเรจ็ ของการดาเนนิ งานในภาพรวมของทง้ั โครงการในเชิงปริมาณ และเชิงคณุ ภาพ)
๕.๑ เชิงประมาณ

ท่ี ชือ่ โครงการ/กจิ กรรม/ เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน(คน/แห่ง) การเบิกจ่ายงบประมาณ(บาท) ดาเนนิ การใน
หลกั สตู ร (คน/แห่ง) ชาย หญิง รวม
๑๑๔ ๑๓๖ ๒๕๐ ไตรมาส
โครงการครอบครัวรักการ ๒๐๐
อ่าน ๑๑๔ ๑๓๖ ๒๕๐ รับจดั สรร เบิกจ่าย รอ้ ยละ 1 ๒ ๓ 4
๒๐๐
รวมทัง้ สิ้น -- - -

๕.๒ เชงิ คณุ ภาพ
กลุม่ เปา้ หมาย สถาบนั ครอบครวั ใหค้ วามสาคัญกบั การอา่ นและสมาชิกในครอบครวั ใชเ้ วลาในการอ่านมาก

ยงิ่ ข้ึน

๖.ผลลัพธ์ท่ไี ดร้ บั (ระบุผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับจากโครงการหรือผลประโยชนจ์ ากผ้เู ข้ารว่ มโครงการที่มผี ลตอ่ บุคคล ชมุ ชน
ส่งิ แวดล้อม เศรษฐกิจและสงั คมโดยรวม)

กลุ่มเปา้ หมาย สถาบนั ครอบครัวให้ความสาคญั กับการอ่านและสมาชิกในครอบครัวใช้เวลาในการอา่ นมาก
ยงิ่ ขึ้น

๗.ปัญหา/อปุ สรรค/ขอ้ เสนอแนะ (ระบุปญั หา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ท่ีมีผลต่อการดาเนนิ โครงการ)
- พ้นื ท่บี างตาบล บางหมู่บา้ น อย่หู า่ งไกล กับกศน.อาเภอสุไหงปาดแี ละหอ้ งสมุดอาเภอสุไหงปาดี ซง่ึ ต้องใชเ้ วลา
ในการเดินทาง
- ส่ือหนังสือ/วารสาร ทีม่ อบให้กบั กลุม่ เป้าหมาย ลา้ สมัย/ บางเล่มยงั ไม่ตรงกับความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย
- ด้วยภาระงานอน่ื ๆที่มากของบรรณารกั ษ/์ ครูประจาตาบล จึงทาให้การดาเนินกจิ กรรมครอบครัวรักการอ่านขาด

ความต่อเน่ือง

๘.แนวทางในการดาเนนิ งานต่อไป (ระบแุ นวทางในการนาผลงานไปใช้ในการพัฒนาต่อ หรือ การดาเนินการใหป้ ระสบ
ความสาเร็จมากยิ่งขึน้ ต่อไป)

- ควรมีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในทากิจกรรม
แลกเปลีย่ นเรยี นรู้

๙.ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ
นางสาวรสุ สะลีนา ยาเส็ง ตาแหน่ง บรรณารักษ์

ประวัตขิ องหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 41

๑๐.ภาพประกอบที่แสดงถึงความสาเรจ็ ของโครงการ(กิจกรรมละ ๓-๕ ภาพ)

ประวตั ิของห้องสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 42

๑๐.ภาพประกอบท่ีแสดงถึงความสาเรจ็ ของโครงการ(กิจกรรมละ ๓-๕ ภาพ) (ตอ่ )

ประวตั ขิ องห้องสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หน้า 43

แบบรายงานผลการดาเนินงานรายโครงการ
๑.ชื่อโครงการ : โครงการพัฒนาปรับปรุงภูมิทศั น์ท้งั ภายในและภายนอกห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
๒.สอดคลอ้ งกับนโยบาย (ระบคุ วามสอดคล้องกับนโยบายที่เก่ยี วข้อง เช่น ยทุ ธศาสตร์และจดุ เน้นการดาเนนิ งานสานักงาน
กศน. วิสัยทัศน/์ พนั ธกิจ ระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษา)
สอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ งานสานกั งาน กศน. งบประมาณ 256๓

นโยบายเรง่ ดว่ นเพ่อื ร่วมขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ ยุทธศาสตร์ด้านความม่นั คง

ข้อ ๑.๑ พัฒนาเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมท้ังน้อมนาและเผยแพร่ศาสตร์
พระราชา หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดาริต่างๆ

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ยุทธศาสตรด์ ้านการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
ข้อ ๓.๓ ส่งเสรมิ การจัดการเรียนรู้ท่ีทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้สาหรับทุกคน สามารถ

เรียนไดท้ กุ ทท่ี กุ เวลา มีกิจกรรมท่ีหลากหลาย นา่ สนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน
ข้อ ๓.๕ พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย เช่น จัด

การศึกษาออนไลน์ กศน. ท้ังในรูปแบบของการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และการศึกษาตาม
อัธยาศัย รวมท้ังส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้และใช้การวิจัยอย่างง่าย
เพือ่ สรา้ งนวตั กรรมใหม่

ภารกิจตอ่ เนือ่ ง
๑.๔ การศกึ ษาตามอัธยาศัย

๑) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพการ
เรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการที่
ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริก ารเคลื่อนที่
พร้อมอุปกรณ์เพือ่ จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้ท่ีหลากหลายให้บริการกับประชาชนในพ้ืนท่ีต่างๆ อย่างท่ัวถึง
สมา่ เสมอ รวมท้ังเสริมสร้างความพรอ้ มในด้านบุคลากร ส่ือ อุปกรณ์เพ่ือสนับสนุนการอ่านและการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริม
การอา่ นอย่างหลากหลาย

สอดคล้องกบั มาตรฐานการประกนั คณุ ภาพภายใน
มาตรฐานการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
มาตรฐานที่ ๑. คณุ ภาพของผรู้ บั บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
๑.๑ ผู้รบั บรกิ ารมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ
หรอื กิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย
มาตรฐานที่ ๒. คุณภาพการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
๒.๑ การกาหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
๒.๒ ผจู้ ัดกิจกรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั
๒.๓ สือ่ หรอื นวัตกรรม และสภาพแวดล้อมทเี่ ออื้ ตอ่ การจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย
๒.๔ ผูร้ ับบรกิ ารมคี วามพงึ พอใจตอ่ การจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั
มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา
๓.๔ การใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั เพ่อื สนบั สนุนการบริหารจดั การ
๓.๘ การส่งเสรมิ สนบั สนุนการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้

ประวัติของห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หนา้ 44

๓.หลกั การและเหตุผล (ระบุภมู หิ ลงั /ที่มา/ความสาคัญ/หลักการ/หรอื เหตผุ ลของโครงการ)
ตามที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดแนวทางการขับเคลื่อนการดาเนินงาน สานักงาน กศน.

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กศน. Wow ด้านท่ี ๒ การพัฒนาหน่วยงาน/สถานศึกษา/ห้องสมุดประชาชน ให้มี
บรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียน: Good Place พัฒนา กศน.ตาบลให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่
เออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ เปน็ การยกระดบั ให้ กศน.ตาบล, หอ้ งสมุดประชาชน ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ท่ี
ทันสมัย มีคุณภาพตอบสนองต่อการเรียนรู้ของประชาชนทุกช่วงวัย Digital Library ห้องสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
เป็นสถานที่จัดบริการแหล่งการเรียนรู้ตามอัธยาศัยให้กับประชาชนนักเรียนและนักศึกษา เพื่อเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าหา
ความรู้ตามท่ีสนใจ ปัจจุบันได้ให้บริการสื่อสิ่งพิมพ์ในสาขาวิชาต่างๆตามระบบของการจัดหมวดหมู่หนังสือดิวอ้ี และส่ือ
เทคโนโลยีทีทันสมัยสามารถหาข้อมูลข่าวสารที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วและตรงตามความต้องการ ในยุคที่ข้อมูลข่าวสาร
และเทคโนโลยีมีการพัฒนาเจริญก้าวหน้า

เน่อื งจากหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี มีโต๊ะ เก้าอ้ี ช้ันวางหนังสือ ดอกไม้ตกแต่ง และวัสดุส่ืออุปกรณ์ต่างๆ
ที่เก่า ล่าสมัย ไม่สวยงาม ไม่ดึงดูดให้ผู้รับบริการ จึงมีความจาเป็นที่จะต้องพัฒนาปรับภูมิทัศน์ภายในห้องสมุดเพ่ือที่จะ
สร้างบรรยากาศที่สวยงาม เอื้อตอ่ การอ่านให้กับผู้มาใช้บรกิ ารในห้องสมุด

ห้องสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดีจึงได้จัดทาโครงการน้ีขึ้นเพื่อพัฒนารูปแบบให้มีความทันสมัย และก้าวล้าทาง
เทคโนโลยี มีส่ือการเรียนรู้ท่ีหลากหลายที่สามารถดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน กระตุ้นให้อยากเข้าไปใช้บริการมากข้ึนและ
อีกทั้งยังมีบรรยากาศที่มีชีวิตชีวาแปลกใหม่ไปจากบรรยากาศเดิมๆ หรือเรียกว่า “ห้องสมุดมีชีวิต” ซ่ึงเป็น แหล่งเรียนรู้ที่
ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชน นักเรียนและนักศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าใฝ่หาความรู้ด้วยตนเองอย่างมีความสุข อย่างเสมอ
ภาคเทา่ เทียมกันและมกี ารพัฒนาก้าวหนา้ หรือเติบโตต่อไปอยา่ งไม่หยดุ ย้งั ผสมผสานกับความมีชีวติ ชวี า

๔.วตั ถุประสงค์ (ระบเุ จตจานงในการดาเนินงานโครงการ ที่สามารถวดั และประเมินผลได้)

๔.1 เพ่อื ปรบั ปรุงพฒั นาภูมิทัศน์ภายในและภายนอกห้องสมุดใหม้ บี รรยากาศที่น่าดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน
กระตนุ้ ให้อยากเข้าไปใช้บริการมากขนึ้

๔.2 เพอ่ื สง่ เสริมใหป้ ระชาชนนักเรียนและนักศึกษา มีนิสัยรักการอา่ น ใฝร่ ู้ ใฝ่เรียน แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง

๕.ผลการดาเนนิ งาน (ระบุผลสาเร็จของการดาเนินงานในภาพรวมของทง้ั โครงการในเชิงปริมาณ และเชงิ คุณภาพ)

๕.๑ เชงิ ประมาณ

ที่ ชือ่ โครงการ/กจิ กรรม/ เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน(คน/แหง่ ) การเบิกจ่ายงบประมาณ(บาท) ดาเนนิ การใน
หลกั สตู ร (คน/แห่ง) ชาย หญิง รวม รับจดั สรร เบิกจ่าย รอ้ ยละ ไตรมาส
๒๐/๑ ๘ ๑๔ ๒๒ ๑๕,๐๐๐.- ๑๕,๐๐๐.- -
โครงการพฒั นาปรับปรงุ 1๒๓4
ภูมิทัศน์ทัง้ ภายในและ ๒๐/๑ ๘ ๑๔ ๒๒ ๑๕,๐๐๐.- ๑๕,๐๐๐.- - - -
ภายนอกห้องสมดุ
ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี

รวมทั้งส้นิ

ประวัติของห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หนา้ 45

๕.๒ เชิงคณุ ภาพ
ผ้บู ริหาร ครู บุคลากร และนักศึกษา กศน.อาเภอสุไหงปาดี พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในและภายนอก

หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี ให้มบี รรยากาศทีน่ า่ ดงึ ดูดความสนใจของผ้อู า่ น กระตุ้นให้อยากเข้าไปใช้บริการมากขึ้น
และเพื่อใหป้ ระชาชนนักเรียนและนักศึกษา มีนิสยั รักการอ่าน ใฝ่รู้ ใฝ่เรยี น แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง
๖.ผลลัพธ์ท่ไี ด้รับ (ระบผุ ลท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั จากโครงการหรอื ผลประโยชน์จากผเู้ ข้าร่วมโครงการที่มีผลตอ่ บุคคล ชุมชน
สิ่งแวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสังคมโดยรวม)

ผบู้ รหิ าร ครู บคุ ลากร และนักศกึ ษา กศน.อาเภอสุไหงปาดี พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในและภายนอกห้องสมุด
ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี ให้มีบรรยากาศท่ีน่าดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน กระตุ้นให้อยากเข้าไปใช้บริการมากข้ึน และ
เพอ่ื ให้ประชาชนนักเรียนและนักศกึ ษา มนี ิสยั รกั การอา่ น ใฝ่รู้ ใฝเ่ รียน แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง
๗.ปญั หา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ (ระบุปญั หา อปุ สรรค ข้อเสนอแนะ ที่มีผลต่อการดาเนนิ โครงการ)

- เน่ืองจากห้องสมุดมีจานวนหนังสือท่ีมาก สถานที่แคบ จึงทาให้บรรยากาศในห้องสมุดมืดครึ้ม ไม่ดึงดูดในการ
อ่านหนังสอื จงึ จาเปน็ ท่ีจะตอ้ งปรับเปลีย่ นภมู ทิ ศั น์ในการจัดหอ้ งสมุดใหม่ จดั มุมเรียนรู้ต่างๆในห้องสมดุ
๘.แนวทางในการดาเนินงานตอ่ ไป (ระบแุ นวทางในการนาผลงานไปใช้ในการพัฒนาต่อ หรือ การดาเนินการใหป้ ระสบ
ความสาเรจ็ มากย่ิงขึ้นต่อไป)
- อยากให้มีการจัดกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกห้องสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
อย่างต่อเนื่อง เพือ่ เป็นการสร้างบรรยากาศทีด่ ีในการอา่ นและเรียนรู้ในห้องสมุด
๙.ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ
นางสาวรสุ สะลนี า ยาเส็ง ตาแหนง่ บรรณารักษ์
๑๐.ภาพประกอบท่ีแสดงถึงความสาเรจ็ ของโครงการ(กิจกรรมละ ๓-๕ ภาพ)

ประวตั ิของหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสไุ หงปาดี
หน้า 46

๑๐.ภาพประกอบท่ีแสดงถึงความสาเรจ็ ของโครงการ(กิจกรรมละ ๓-๕ ภาพ) ตอ่

ประวตั ขิ องห้องสมุดประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 47

ภาคผนวก

ประวตั ขิ องหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 48

คณะผู้จดั ทา

ที่ปรกึ ษา ๑.นางหทัยกาญจน์ วัฒนสทิ ธิ์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสุไหงปาดี
คณะทางาน ๒.นายคมกฤช สาหลัง ครู คศ. ๒

๑ นางสาวรสุ สะลีนา ยาเสง็ บรรณารักษ์ หวั หนา้

๒. นายอาหามะ ตาเยะ ครู กศน.ตาบล คณะกรรมการ
๓. วา่ ทร่ี .ต.สหฐั มะดาแฮ ครอู าสาฯปอเนาะ คณะกรรมการ
๔. นายนิไลยานี บินนิเดง็ ครูอาสาฯประจาตาบล คณะกรรมการ
๕. นางจันทริ า สือแม ครู กศน.ตาบล คณะกรรมการ
๖. นางสุทธดิ า อดุ มเพช็ ร ครู กศน.ตาบล คณะกรรมการ
๗. นางสาวรุสนีดา ยูนุ๊ ครู กศน.ตาบล คณะกรรมการ
๘. นางแวนุรไอนี ตาเยะ ครูอาสาฯประจาตาบล คณะกรรมการ
๙.นางมธุรา วจอี สิ มัย ครอู าสาฯประจาตาบล คณะกรรมการ
๑๐.นางสาววลั ยา หะยีแวหะมะ ครูอาสาฯปอเนาะ คณะกรรมการ
๑๑.นายนรุ อสั วาน สงิ หะ ครู กศน.ตาบล คณะกรรมการ
๑๒. นางยามลี ะห์ สิงหะ ครู กศน.ตาบล คณะกรรมการ
๑๓. นายมะซาอเู ด็น อาแว ครูอาสาฯประจาตาบล คณะกรรมการ
๑๔.นางมารียานา อบั ดลุ เลาะ ครูอาสาฯปอเนาะ คณะกรรมการ
๑๕.นางสาวอาฟสิ า ตาเล๊ะ พนักงานบริการ คณะกรรมการ

บรรณาธกิ าร ยาเสง็ บรรณารักษ์ห้องสมุด
นางสาวรสุ สะลีนา

คณะออกแบบ ปก/ภาพ ยาเสง็ บรรณารักษ์ห้องสมดุ
นางสาวรสุ สะลีนา

ประวัติของหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสุไหงปาดี
หนา้ 49


Click to View FlipBook Version