The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ถอดบทเรียนเวทีเสวนาวิชาการ "การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง"

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sajee.1961.st, 2022-04-05 11:04:55

ถอดบทเรียนเวทีเสวนาวิชาการ "การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง"

ถอดบทเรียนเวทีเสวนาวิชาการ "การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง"

การปรเะศยุถรกษอต์ฐดใกชบิ้หจทพลเัรกอียปเนพรีัชยญง าของ

ในโรงเรียนบางบัว(เพ่งตั้งตรงจิตรวิทยาคาร)

ECONFOOMRYUPMHOILFOASPOPPLHYYINING SSCURHFNFOKIOCL&IE2NB0CB2YS1

ถอดบทเรยี นเวทเี สวนาวิชาการ “การประยกุ ตใ ชหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในสถานศกึ ษา”

“การศึกษามันตองทําใหเด็กมีความสุขแลวเด็กก็จะรักครู” ผมไดยกตัวอยางพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จ-
พระเจาอยูหวั รชั กาลที่ ๙ มาตอนหนงึ่ เพื่อบอกเลาแกคณะครูโรงเรียนราชวินิตประถมบางแค และโรงเรียนบางบัว (เพงตั้งตรง-
จิตรวิทยาคาร) ที่ไดมาเชิญใหไปเปนวิทยากรบรรยายพิเศษในเวทีเสวนาวิชาการ “การประยุกตใชหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา” จากการพูดคุยทั้งสองโรงเรียนไดมีการบริหารงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มกี ารบูรณาการการสอนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในทุกกลุมสาระการเรียนรูทุกระดับชั้นเรียนของตนเอง มีรูปแบบและ
วิธีการสอนที่หลากหลาย หนึ่งในนั้นคือการจัดตั้งฐานการเรียนรูเพื่อใหตอบโจทยกับสภาพสังคมในปจจุบัน โดยทั้งสองโรงเรียน
มงุ หวังใหล กู ๆ ของตนสามารถนําหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดจริง ดํารงชีวิตอยูในสังคม
ไดอยา งมีความสขุ

ผมขอขอบคุณ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร โรงเรียนบางบัว (เพงตั้งตรงจิตรวิทยาคาร)
โรงเรยี นราชวนิ ติ ประถมบางแค ท่ไี ดจดั กิจกรรมที่ดี มีประโยชนและไดเผยแพรองคความรูของทั้งสองโรงเรียนใหแกผูที่สนใจดวย
ความเตม็ ใจ ซึง่ เปน สง่ิ ทผ่ี มรสู กึ ชืน่ ชมและยนิ ดกี บั ทง้ั สองโรงเรียนเปน อยางยง่ิ ทไ่ี ดสืบสาน รักษา และตอ ยอด พระราชปณิธานของ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙ เพื่อประโยชนตอเยาวชนคนรุนใหมที่จะเปนฐานในการพัฒนาชาติบานเมืองตอไป
แตจะทําอยางไรใหนักเรียนเขาใจไดงายที่สุดเพื่อที่จะไดนําไปใชไดจริง ผมจึงยกตัวอยางพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จ-
พระเจา อยหู วั รัชกาลท่ี ๑๐ ในการทําโคก หนอง นา ทานสามารถอธิบายใหค นเขาใจไดงายดวยวิธีการ KISS “Keep it simple
คอื ทําใหมันงายจน Stupid คอื คนโงแ คไหนกท็ าํ ตามได”

ถอดบทเรียนเวทเี สวนาวชิ าการ “การประยกุ ตใ ชหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศกึ ษา”

จากสภาพสังคมและเศรษฐกิจในปจจุบัน การที่จะสอนนักเรียนใหเขาถึง เขา ใจ
ความพอเพียงนั้น สามารถใชหลักการ “เขาใจ เขาถึง พัฒนา” ของพระบาทสมเด็จ-
พระเจา อยูหวั รชั กาลที่ ๙ เช่ือม่ันและศรทั ธา
ในหลกั ปรชั ญาของ
จากบทสัมภาษณของ ดร.วิวัฒน ศัลยกําธร ที่ไดใหเกียรติเปนวิทยากรบรรยาย เศรษฐกิจพอเพียง
พิเศษในเวทีเสวนาวิชาการ “การประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน
สถานศึกษา” ระหวางโรงเรียนราชวนิ ิตประถมบางแค และโรงเรียนบางบัว (เพงตั้งตรงจิตร- เขาถึง
วิทยาคาร)
รสชาตขิ อง
การที่จะสอนใหนักเรียน หรือเยาวชนคนรุนใหมใหเขาถึงความพอเพียง ความพอเพียง
ตอ งยกตวั อยา งความสาํ เรจ็ จากคนท่เี ขาสนใจในปจจบุ ัน นักเรียนเขาสนใจอะไรก็ไปเอาส่ิงน้ัน
มาสอน อยา งเชน ไอดอลของผม คอื “พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัวรัชกาลที่ ๙” เมื่อได พฒั นา
ตามเสด็จ ไดเห็นพระองคทา นทรงทมุ เทพระวรกาย กําลังทนุ ทรพั ย และเวลาสว นใหญไปกับ
การพัฒนาคนควาและทดลองส่ิงตาง ๆ ที่เก่ียวของกับการเกษตรเปนสวนใหญ รวมทั้งใน รวมกนั พัฒนาใหเกดิ
เรื่องเทคโนโลยีอีกมากมายท่ีทรงลงมือปฏิบัติดวยพระองคเอง ทานบอกวาบรรพบุรุษเรา ความพอเพยี ง
รวู า ตรงไหนควรทาํ อะไร ไมค วรทาํ อะไร อยากใหพฒั นาแบบอะลมุ อลวยโดยใชหลักเกษตร
แบบพึ่งพาตนเอง หยุดพ่ึงพาชาติตะวันตก แตหันกลับมาใชเทคโนโลยีและภูมิปญญา
ชาวบานที่เคยสืบทอดมาเปนเกษตรยั่งยืนบนผืนแผนดินไทย เห็นชีวิตทานแลวเราก็อยาก
เปนอยา งทานมชี วี ติ ทพ่ี อเพยี ง มชี วี ิตท่เี รยี บงา ย

การสรา งความพอเพยี งใหเ กิดในโรงเรยี นผเู กย่ี วของในโรงเรียนจะตอ งชว ยกนั กระบวนการเรียนรูในอนาคตแนนอนเราตอง
ถอยกลับมาเปน โปรโมเตอร เรียกวา ปน ลูกศิษยเราขึ้นมาเปน ครูสอนกนั เอง แลวเขาก็จะเปนครูสอนพอ แมเขา สอนคนอนื่ ๆ อีกที

สืบสาน รกั ษา ตอ ยอด

ถอดบทเรยี นเวทีเสวนาวิชาการ “การประยกุ ตใชห ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศกึ ษา”

ในสมัยปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัว รัชกาลที่ ๑๐ ทานก็เลาใหฟงวา “โคก หนอง นา” สามารถอธิบาย
ใหเ ขาใจไดง ายดว ยวธิ ีการ KISS

K eep
It
S imple
S tupid

แนนอน ! เราตา งก็รกู นั ดวี า พนื้ ท่ีในเมอื งคอนขาง
มีจํากัดและคอนขางแพง ตรงนี้เราจะตองมีการปรับ โคก
หนอง นา ใหเขากับวิถีชีวิตคนเมอื งหรอื โรงเรียนในเมือง

ถาสังเกตดูทุกโรงเรียนจะตะเกียกตะกายหา
ที่ดินมาทําหองสมุดได ตองหาที่ดินมาทําสนามฟุตบอล
กย็ งั หามาได เราตอ งการที่ดินแคขางตึกสักเมตรครึ่ง หรือ
สองเมตร ออกแบบดี ๆ เพียงเทานี้เราก็จะไดพื้นท่ี
ในการเรียนรูทั้ง ๘ กลุมสาระ แตขอใหเด็กไดเลน
ยิ่งเด็กเบื่อหองเรียนสี่เหลี่ยมมากเทาไหร เด็กก็จะรัก
หองเรียนที่มันเปนโลกกวางนี่คือความสุขของเด็ก
เพราะฉะนั้นการศึกษามันตองทําใหเด็กมีความสุขแลว
เด็กก็จะรักครู ดังพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จ-
พระเจา อยูหวั รชั กาลท่ี ๙

ถอดบทเรียนเวทีเสวนาวิชาการ “การประยกุ ตใชห ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในสถานศกึ ษา”

เล่า
จาก
งาน

จากการเสวนาวิชาการ การประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา ไดรับความสนใจจากผูเขารวม
จาํ นวน ๗๗๒ คน จากหลายภมู ิภาคโดยสวนใหญจะเปนผูที่อยูในวงการศึกษา โดยเฉพาะผูอ ํานวยการโรงเรียน จํานวน ๗.๑๗๕ คน
ช้ใี หเหน็ วา การขับเคลื่อนสถานศกึ ษาพอเพยี งไปสูศนู ยการเรยี นรตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเปนเรื่องท่ีผูบริหารหลายคน
ใหค วามสนใจ จงึ ขอถอดบทเรยี นเลา สูก ันฟง เพื่อความยั่งยืนในการดําเนินงานการขบั เคลื่อนศูนยการเรยี นรู ผูบริหารควร ๑. ปกธง
คอื ตั้งเปา หมายที่ชัดเจน ๒. ลงมือปฏบิ ตั ิ ๓. ถือม่นั ทําซา้ํ ทาํ บอย ทําทุกองคาพยพ และ ๔. หมน่ั ดู เพอ่ื เสรมิ แรงใจในการทาํ งาน

ถอดบทเรียนเวทเี สวนาวชิ าการ “การประยกุ ตใชห ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในสถานศกึ ษา”

เมือ่ หลายคนใหความสนใจใครทาํ การปก ธง กาํ หนดเปาหมายทีช่ ัดเจนเปนส่งิ แรกที่ตองทําใหความสําคญั ดังนัน้ ผบู ริหาร
ตองกําหนดแนวนโยบายที่ชัดเจน ซึ่งวิสัยทัศนของโรงเรียนควรจะตองมีกําหนดไว ขอยกตัวอยางของโรงเรียนบางบัว
(เพง ต้งั ตรงจติ รวทิ ยาคาร) กําหนดวสิ ัยทัศน ดงั นี้ โรงเรียนบางบวั (เพงต้งั ตรงจิตรวทิ ยาคาร) มงุ มัน่ พฒั นาผูเ รยี นสศู ตวรรษท่ี ๒๑ ใหม ี
ความรูคูคุณธรรมดํารงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหเปาหมายชัดเจนจึงกําหนด พันธกิจ คือ ผูเรียนมีคุณธรรม
ประพฤติดี มีวินัย สืบสานความเปนไทย ดํารงตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนน อนวาการทํางานใหเกิดประสิทธิผล
และประสทิ ธภิ าพสูงสดุ ตอ งบรรจงุ านใน แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ป จึงกาํ หนดโครงการการขบั เคลื่อนศนู ยการเรียนรูตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มกี ิจกรรมท่สี อดคลอง เสริมสรางใหบรรลุวัตถุประสงค และควรจะตองเปนโครงการรวมกันจากทุกภาคสวน
ของโรงเรียน คือ โครงการรวมทั้ง ๔ กลุมบริหาร นอกจากนี้การประเมินการปฏิบัติงานของครู สิ่งที่ชี้ใหเห็นถึงความมุงมั่นตั้งใจ
ของโรงเรียน และครู คือ โรงเรียนควรกําหนดใหครูจัดทํา ว.PA ประเด็นทาทายการทํางานในเรื่องบทบาทของครูในการขับเคลื่อน
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

งานทกุ อยา งจะสาํ เร็จไดด วยการลงมอื ปฏบิ ตั จิ ริง ครูหลายคนมีความต้งั ใจ
แตลังเลจะทําอยางไร ดังนั้นผูบริหารควรจะทําแนวทาง วิธีการทํางาน
การขับเคลอ่ื นใหค รไู ดเ หน็ ไดป ฏิบัติ โดยเฉพาะการแลกเปลย่ี นผา นบคุ ลากรจาํ นวนมาก
ครสู วนหนง่ึ อาจไมเคยเขา รับการอบรมในเร่อื งปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลายคน
ทอ่ี บรมแลว ปฏบิ ตั แิ ลว ก็เกษียณอายุราชการไปแลวเปนสวนมาก ดังนั้นการจัดอบรม
เวทีแลกเปลยี่ นเรยี นรูเ ปน สิง่ สําคญั โดยเฉพาะการจัดทําแนวทางการปฏบิ ัติจะเปนคูม อื
ใหครูไดปฏิบัติงานชัดเจนในระยะเวลาอันสั้น เพราะเปนการสกัดความรูแนวทาง
การทํางานจากรนุ สรู นุ
การทาํ งานอาจไมส มปรารถนา ราบรืน่ ดงั น้นั การถือมัน่ จงึ เปน ปจจัยสําคัญ
ทําแลว พลาดสวนไหน อยางไร จงึ ตองคดิ ทบทวน ทําซาํ้ จนตกผลกึ เมอ่ื สกัด
ความรู วิธีการแลว ไมควรเก็บไวเปนความภูมิใจเฉพาะตน ควรที่จะเผยแพรขยายผลไปสูผูสนใจอื่น ๆ เพื่อยกระดับสังคม
ใหม ีคุณภาพ ซง่ึ เปน วตั ถุประสงคห ลักของการจดั ทําศนู ยก ารเรียนรตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

งานท้ังหลายทั้งปวงจะสําเรจ็ ไดอ ยางรวดเร็ว ราบรื่น คือ ผูบริหารตอ งหม่ันดู คือ ดูแลครูอยางใกลชิด ใหคําแนะนํา
อยางสมาํ่ เสมอ ลดชองวา งใหการจับมือทาํ งานเปน ไปอยางใกลชดิ ซ่งึ รปู แบบการทาํ งานตอ งเปล่ียนใหทนั กับสังคมท่ี
เปลี่ยนแปลงอยา งรวดเรว็ ผูนําอาจจะตองเดินนาํ หนาบา ง ตามหลังบางในบางโอกาส แตทสี่ าํ คญั คอื เดนิ ไปดวยกนั กับครู มีเพ่ือน
เดินทางทาํ งานดวยความเปนกัลยาณมติ ร

PANDA Model คือ รูปแบบการบริหารจัดการที่คดิ ขึ้น
เองจากประสบการณในการทาํ งานตั้งแตเปนครจู นเปน ผูบริหาร ทัง้ ในโรงเรียน
ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษา ตั้งแตโรงเรยี นขนาดเลก็ จนถงึ ใหญพ เิ ศษ นํามาสกัด
เพื่อเผยแพร สง ผานแนวคดิ ในการพฒั นา ดงั น้ี

บทบาทตอไป คือ การนําโคก หนอง นา มาปรับประยุกตใชใน
โรงเรียน ทําอยางไรจึงจะเกิดประโยชนสูงสุดแกนักเรียน จากขอ คิดของทาน
อาจารยยักษ คือ โคก หนอง นา ที่เปนแหลงเรียนรูใหนักเรียนไดศึกษา
ดา นการเกษตรโดยบูรณาการใหเ ปน สนามเด็กเลน ซึ่งเด็กจะสนุกกบั การเรียน
แลว ยงั สง เสรมิ สุขภาพใหแ ข็งแรง

บทสรุปของผูบริหาร ยึดหลักการทรงงานของพอหลวง คือ
“เขา ใจ เขาถึง พฒั นา” เปน จรงิ ทกุ การทํางานเพอ่ื ความสาํ เร็จอยา งยง่ั ยนื

ถอดบทเรยี นเวทเี สวนาวิชาการ “การประยกุ ตใ ชหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในสถานศกึ ษา”



WHY ทําไมตองเศรษฐกิจพอเพียง ? เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทางการดาํ รงอยูและ
ปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานทางดานจิตใจ
(The Purpose) โดยยึดหลักทางสายกลาง เพื่อใหพรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและ
สังคมโลก ทางโรงเรยี นบางบวั (เพง ตง้ั ตรงจติ รวทิ ยาคาร) ไดเ ห็นถงึ ความสําคัญดังกลา ว จึงไดนํา
HOW หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการบริหารงานและนาํ ลงสูนักเรียนตามวิสัยทศั นของ
โรงเรยี นท่ีวา
(The Process) ทานผูอํานวยการโรงเรยี น คณะผูบ ริหาร คณะครู และบคุ ลากรทกุ ฝายทีเ่ กี่ยวขอ ง รวมทั้งขาพเจา
นางสาวพรรณนภา พันธโท หัวหนาโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู
โรงเรียนบางบวั (เพง ตัง้ ตรงจติ รวทิ ยาคาร) ไดม กี ารประชุมและรว มกันวางแผนการนําหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ นการสอนนักเรียน จัดใหมีการบูรณาการในทุกกลุมสาระการเรียนรู
และทุกระดับชั้น โดยใชวิธีการและสื่อการเรียนรูที่หลากหลาย รวมทั้งการจัดตั้งฐานการเรียนรู
ทงั้ ๘ ฐาน เพือ่ ตอบโจทยการเรียนรูและทักษะการแกปญหาท่ีเกดิ ขึ้นในสังคมปจ จบุ ัน

กรอบแนวคิดในการทาํ งานการขบั เคลือ่ นศนู ยก ารเรยี นรตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
โรงเรียนบางบวั (เพง ตง้ั ตรงจิตรวิทยาคาร)

WHAT โดยฐานการเรยี นรทู ง้ั ๘ ฐาน จะมีครูเปน ผูแนะนาํ และมีนักเรยี นแกนนําทรี่ ว มถายทอดองคความรู
ที่ตนเองไดรับใหแกบุคคลอื่น ๆ ในระดับโรงเรียน ระดับครอบครัวและระดับชุมชน ทายที่สุด
(The Result) นกั เรยี น ทุกคนสามารถนําไปประยกุ ตใ ชไ ดจ ริงในชีวติ ประจาํ วนั กลา วกนั มาถึงตรงนี้ทุก ๆ ทาน
คงอยากจะทราบแลว วา ท้งั ๘ ฐานการเรยี นรูข องโรงเรียนบางบัว (เพงตั้งตรงจิตรวิทยาคาร)
นนั้ มีอะไรบาง ?

ถอดบทเรยี นเวทเี สวนาวชิ าการ “การประยกุ ตใ ชหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในสถานศกึ ษา”



“นกั เรยี นไดเรยี นรูคําสอนของ “นกั เรยี นไดเรยี นรูหลักธรรมและการฝก
ในหลวงรชั กาลที่ ๙ สมาธิ เปนการเสริมสรา งภมู ิคุมกนั ดา น
จติ ใจ ทาํ ใหม สี ตใิ นการดาํ เนนิ ชีวิต”
เพื่อนาํ มาเปน หลักในการดาํ เนนิ ชีวติ ”

“นักเรียนไดเรยี นรูพระราชกรณียกิจ และ “นักเรียนไดเรยี นรูจากการปฏบิ ตั จิ ริง “นักเรยี นไดเ รียนรูการปลกู พืชผกั ตาง ๆ
หลักคําสอนตา ง ๆ ของในหลวงรชั กาลท่ี ๙ ตลอดจนสง เสริมคา นยิ ม ในการคิด ในรูปแบบของการทาํ โครงงาน”

นาํ ความรูท ีไ่ ดรบั มาสบื สาน รักษา สรา งงาน ทํางานเพอ่ื เลี้ยงชีพ
และตอยอดใหค งอยูต อไป” และประกอบอาชีพสจุ ริต”

“นกั เรยี นไดรบั การเสรมิ สรางใหม ี “นกั เรยี นไดม สี วนรวมในการดแู ลรักษา “นกั เรยี นรูจกั และเขา ใจตนเอง
พฒั นาการในดา นรา งกาย อารมณ จิตใจ สิง่ แวดลอมภายในโรงเรียน” ในทุก ๆ ดาน รวมท้ังหาทางแกป ญหา

สงั คม และทางสตปิ ญญา” ดวยวิธกี ารทเ่ี หมาะสม”

ถอดบทเรียนเวทเี สวนาวชิ าการ “การประยกุ ตใชห ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในสถานศึกษา”

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบางบัว(เพงตั้งตรงจิตรวิทยาคาร)

(BBS - School Curriculum)

“ หลักสูตรสถานศึกษา...สูการจัดการเรียนรู ”

นางสาวศิริญญา ใหมออง

หลกั สตู รสถานศกึ ษา เปน แผน หรอื แนวทางในการจดั การเรยี นการสอน กิจกรรมการจัดการเรียนรู
เพื่อพัฒนาผูเรยี น ซง่ึ จัดทำโดยบคุ คลหรอื คณะบุคคลในระดับ สถานศึกษา หลักสูตรบูรณาการ
เพ่ือใหผูเรยี นมีความรูความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู และสงเสรมิ
ใหผ ูเรียนรูจักตนเอง มีชีวิตอยูใ นโรงเรยี น ชุมชน และสงั คมอยา งมีความสขุ หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียน
โดยทางโรงเรียนไดมกี ารจดั ทำหลกั สูตรทม่ี ุงเนนการรว มมือกันเพื่อพฒั นา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผูเรยี นในดานตาง ๆ ท้ังในเชงิ วชิ าการ และการเสริมสรางทกั ษะชีวิต
ผานกระบวนการจดั การเรียนรู แบบบรู ณาการท่มี คี วามหลากหลาย

B Build Trust and Collaborative Culture หลกั สูตรบรู ณาการของโรงเรียน เปนหลักสตู รท่เี นน
กระบวนการการจัดการเรียนรทู เ่ี นน ใหผเู รยี นไดลงมือ
สรางความเชื่อใจและวัฒนธรรมแหงการรวมมือกันพัฒนา ปฏิบัติจรงิ (Learning by doing) ผานกจิ กรรมการเรยี นรู
และกิจกรรมเสรมิ หลกั สตู รตา ง ๆ มงุ เปา ภาพความสำเร็จ
B Being Professional ทีผ่ เู รยี นเปนสำคญั มกี ารผสานศาสตรการเรยี นรูท่ี
หลากหลาย รวมถงึ การนอมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
การพัฒนาวิชาชีพสูความเปนมืออาชีพ พอเพียงมาประยกุ ตใ ชในการเรยี นรแู ละพัฒนา

S Skills should be continuously developed
ทักษะตางๆควรไดรับการปรับปรุงและพัฒนาอยูเสมอ

ศาสตร + ศาสตร Learning by Doing…การเรียนรูผานการทำโครงงานอาชีพอิสระ
การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ สงเสริมคุณลักษณะความพอเพียงและทักษะชีวิต

มุงเนนกระบวนการการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ภาพแหงความสำเร็จ
โครงการ...ผักของหนูหลากหลายสายพันธุ



ถอดบทเรียนเวทเี สวนาวิชาการ “การประยกุ ตใ ชหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในสถานศกึ ษา”

แนวปฏิบัติที่เปน เลิศ...โรงเรียนบางบัว(เพงตั้งตรงจิตรวิทยาคาร)

(BBS – Best Practice)

การพัฒนาคุณลักษณะตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยใชกิจกรรม ๕R

ปญหาดา นส่ิงแวดลอ ม เปน ปญ หาทส่ี ำคญั และ วเิ คราะห PLAN ลงมอื ปฏบิ ัติ
สง ผลกระทบโดยกวาง การใชก ลยุทธ ๕R จงึ เปนกระบวนการ ปญ หา ตามแผนการ
ท่ชี ว ยแกปญ หาส่งิ แวดลอมไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ และเพ่อื ให รว มกนั DO ดำเนนิ งาน
เกดิ การพฒั นาอยา งย่งั ยนื จงึ จำเปน ตองมีการปลูกฝงกระบวนการ วางแผน
คิดรวมถงึ คุณลักษณะท่ีพึงประสงคอ ันดีไปสเู ยาวชน ซึง่ จะเปน
การสง เสริมคุณลกั ษณะพอเพียง โดยการนอ มนำหลกั ปรชั ญา ปรับปรงุ ACT CHECK ประเมนิ และ
ของเศรษฐกิจพอเพียงซ่ึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัว เพอื่ พฒั นา ตรวจสอบ
รชั กาลท่ี ๙ ไดท รงพระราชทานแกพสกนิกรชาวไทย ตอ ยอด ผลลพั ธท ไี่ ด

๕R รักษโลก การพัฒนา
คุณลักษณะ
ตามหลักปรัชญา ทางโรงเรียนไดนอมนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ของเศรษฐกิจพอเพียง ในการขับเคล่อื นดานการบริหารจดั การอยา งตอ เนื่อง โดยการ
กำหนดเปน วสิ ยั ทัศน และนโยบายของสถานศกึ ษา รวมถงึ
ผลติ ภัณฑท ที่ ำจาก ดา นการจดั การเรยี นรู ซึง่ ไดเ รยี นรผู านกิจกรรม ๕R อกี ทัง้
วสั ดรุ ไี ซเคลิ ยังไดม ีการขยายผล เพ่ือตอ ยอดการนอมนำหลกั ฯ ไปประยุกต
ใชจ ริงในชวี ิตประจำวนั เพือ่ ใหผูเ รียนเกดิ คณุ ลกั ษณะ
อนั พอเพยี ง และเพอื่ ใหโ รงเรยี นเกดิ การพัฒนาอยางสมดุล
และย่งั ยืนตอไป

๑๓ กิจกรรมนำพา...สูสถานศึกษาแหงความ “พอเพียง”
๑. Junk Bank ๒. น้ำหมักบางบัว ฯ ๓. Food Scraps ๔. Paper Mache
๕. สรางสรรคงาน ... บันทึกเลมนอ ย ๖. ขวดวิเศษ ๗. ถงุ นมแปลงราง
๘. บางบวั ฯ รวมใจ ... งดใชถ ุงพลาสติก ๙. ถงุ ผา รกั ษโลก ๑o. ถังทองบางบวั ฯ
๑๑.บอเงิน..ถุงทอง ๑๒. ซอมได งา ยนิดเดยี ว ๑๓. นองเดือน..บางบวั ฯ



ถอดบทเรยี นเวทีเสวนาวชิ าการ “การประยกุ ตใ ชหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในสถานศกึ ษา”

การนอ มนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเขา มาผสมผสาน หรอื บรู ณาการในการจัดกจิ กรรมสาํ หรบั เด็กปฐมวัย
นัน้ หลายทานคงสงสยั วาเดก็ เลก็ ๆ จะสามารถเขา ใจและปฏบิ ตั ิตนอยา งพอเพยี งไดจริงหรือไม ซ่ึงคําตอบก็อยูที่พฤติกรรมท่ี
เดก็ ๆ แสดงออกมาใหเ หน็ อยา งเปนธรรมชาตแิ ละชดั เจน

สาํ หรับเด็กปฐมวยั “สื่อ” นบั วา มีความสาํ คัญเปน อยางมากตอการสงเสริมพัฒนาการเด็ก การเลือกใชและผลิตสื่อ
จงึ เปนสิง่ สาํ คัญท่ีครผู สู อนควรพิจารณาเลือกใชใหเหมาะสมกับพัฒนาการตามวัยและตรงตามวัตถุประสงค โรงเรียนบางบัว
(เพง ตง้ั ตรงจิตรวิทยาคาร) จงึ นอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนหลักในการเลือกใชแ ละผลิตสื่อ โดยคํานึงถึง
หลักความ “คมุ คา คมุ ทนุ ” ตอไปนี้

กบั การเรยี นรขู องผูเรยี นท่เี กดิ ข้นึ โดยยดึ หลกั ความเหมาะสมกับราคา คาใชจ า ย
และความพยายาม
กบั การชว ยใหผ เู รยี นกระตอื รอื รน และมีสวนรว มกบั
การเรยี น กบั การเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการจัดการเรยี นรขู องครู

กับการชว ยใหผูเ รียนเรยี นรอู ยา งเพลดิ เพลนิ กบั การนาํ สอื่ ไปใชใหเกดิ ประโยชนส งู สดุ
สนุกสนาน

มีวัสดุหลากหลาย
ที่สามารถนํามาใชในการสงเสริมทักษะชีวิต
และการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงของเด็กปฐมวัยได เชน
โมเดล หนังสือนทิ าน วัสดอุ ุปกรณเหลือใชตาง
ๆ เปน ตน

สื่ออุปกรณ
อิเล็กทรอนิกส และอุปกรณอื่น ๆ สามารถ
สงเสริมทักษะชีวิตและการปฏิบัติตนตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของเดก็ ปฐมวยั ได
อยางหลากหลาย เชน คอมพิวเตอรแบบพกพา
เพื่อเปดเพลงหรือวิดีทัศนเกี่ยวกับเศรษฐกิจ
พอเพยี ง เปนตน

เปนการจัดกิจกรรม
ตาง ๆ ใหเ ด็กทําเพื่อสงเสริมนิสัยความพอเพียง
เชนการเลนบทบาทสมมุติในการชวยเหลือ
ตนเอง การจัดกิจกรรมตลาดนัดอนุบาลพอเพียง
การใชคําพูดเสริมแรงใหเกิดพฤติกรรมตาง ๆ
เปนตน

ถอดบทเรียนเวทเี สวนาวชิ าการ “การประยกุ ตใชหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในสถานศึกษา”

สื่อการสอน ... เพื่อการเรียนรู

นางสาวศจี ธรรมสวัสดิ์

ส่ือที่ผูสอนนำมาใชประกอบการสอนเรยี กวา “สอื่ การสอน” แตเ ม่อื นำมา
ใหผ เู รียนใชเ รยี กวา “ส่อื การเรียน” โดยเรียกรวมกันวา “สอื่ การเรียนการสอน”
สอ่ื การสอนถอื วา มีบทบาทมาก ในการเรียนการสอนตั้งแตอ ดีตจนถงึ ปจ จบุ ัน
เนอ่ื งจากเปน ตวั กลางทชี่ ว ยใหก ารส่อื ระหวางผูส อน และผเู รยี นดำเนินการไป
ไดอยางมีประสิทธภิ าพ ในการใชส ่ือการสอนนัน้ ผสู อนจำเปนตองศึกษาถงึ
ลักษณะคุณสมบตั ขิ องสอ่ื แตล ะชนิด เพือ่ เลอื กสอ่ื ใหต รงกับวัตถปุ ระสงค
การสอน และสามารถจัดประสบการณก ารเรียนรูใหแ กผ เู รียน โดยตองการ
วางแผนอยา งเปน ระบบในการใชสือ่ ดว ย ท้ังนเ้ี พ่ือใหกระบวนการเรียน
การสอนดำเนินไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ

การจัดทำส่ือ “โคก หนอง นา” โมเดล

“โคก หนอง นา” โมเดล เปน รูปแบบทางการเกษตรที่สถาบนั เศรษฐกิจพอเพียง “โคก หนอง นา” บางบัว โมเดล
และมลู นธิ ิกสิกรรมธรรมชาติ ไดน อมนำหลกั การทำเกษตรทฤษฎีใหมของในหลวง
รชั กาลท่ี ๙ มาใชในการบรหิ ารจัดการน้ำ และพ้ืนท่กี ารเกษตร โดยมีการผสมผสาน
กบั ภมู ิปญ ญาพ้ืนบา น และคำนงึ ถึงความเปนอยู โดยแบง พน้ื ที่ ๓o% สำหรบั แหลงนำ้
๓o% สำหรบั ทำนา ๓o% สำหรับทำโคกหรือปา และ ๑o% สำหรับทอ่ี ยอู าศยั
และเล้ียงสตั ว

ในการเรยี นการสอนทีม่ กี ารนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาบูรณาการ จงึ จำเปน ตอ งจดั ทำสื่อการสอนใหเ ปนรปู ธรรม
เน่ืองจาก เศรษฐกจิ พอเพียงเปน ปรัชญาไมใ ชส ตู รสำเรจ็ สง่ิ สำคญั คอื ปรับใชใ หพ อเหมาะ พอดีอยา งเปน เหตุเปนผล ดังนั้น
การจัดทำสื่อการสอนแบบรูปธรรม จะชวยใหนกั เรียนไดเ หน็ ภาพท่ชี ดั เจนของการนำไปปรบั ใชในชวี ติ ประจำวัน

เศรษฐกิจพอเพยี งสู
... การเรยี นรู

เม่ือมีสอื่ การสอนทพ่ี รอ มในการนำไปใช และการนำไปบรู ณากบั การเรยี นรูในรายวชิ าตาง ๆ จงึ ไมใชเร่ืองยาก ตวั อยางการเรยี นรู
ในรายวชิ าวิทยาการคำนวณ ท่มี ุง เนน ใหผ เู รียนไดพ ัฒนาทักษะการคิดวเิ คราะห แกปญ หาอยา งเปนข้ันตอน และเปน ระบบ โดยเรม่ิ ตน
เรยี นรจู ากพืน้ ฐาน หรอื ขอ มลู ใกล ๆ ตัว จากนน้ั นำไปปรบั ประยุกตใชในชีวติ ประจำวัน เชน การออกแบบพ้ืนที่ โคก หนอง นา ซึ่งเปน
พื้นทท่ี ี่ผเู รยี นอาศยั อยู เปนพื้นทช่ี มุ ชนในเมอื ง

๑๑

ถอดบทเรียนเวทีเสวนาวชิ าการ “การประยกุ ตใ ชหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในสถานศกึ ษา”

ภาคเี ครอื ขา ย หมายถงึ กลมุ บุคคล องคกรท่ีมกั มเี ปา หมายรว มกัน มารวมตัวกนั ดว ยความสมัครใจ
เพอ่ื ทํากจิ กรรมใหบ รรลเุ ปาหมาย

ผมู ีสวนไดส ว นเสียทกุ ภาคสวนของโรงเรียน นกั เรยี น ผูบริหาร
ตอ งเปนผมู ีความรู คูค ุณธรรม ดํารงตนโดยใชหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ชมุ ชน เรา คณะครู
• โรงเรียนตองกําหนดนโยบายการดาํ เนินงานเพ่อื
บุคลากร ผูป กครอง
ขบั เคล่อื นการประยุกตใ ชหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี งในโรงเรยี นอยางชัดเจน
• วางแผนการพัฒนาบคุ ลากรทกุ สวน
• ครกู าํ หนดประเดน็ ทา ทายในการพฒั นางาน

องคป ระกอบสาํ คญั ของงานท่ีสาํ เร็จ คอื การรจู กั คดิ และการมมี ติ รทดี่ ี
การรูจกั คิด คือ การคดิ บนฐาน ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล และ การมภี มู คิ มุ กันทด่ี ี อยู
ในเง่อื นไข ความรูค ูค ณุ ธรรม
การมีมิตรที่ดี คือ แหลงเรียนรูภายนอก ทั้งหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน มหาวิทยาลัย
องคก รตา ง ๆ รวมถึงศูนยก ารเรียนรตู นแบบ

วนั น…้ี …ทาํ ไม……..ตอง เครอื ขาย…....
• สมาชิกเครือขายทุกคน ลวนมีศักยภาพเปนผูนาํ การเปลย่ี นแปลง
• เพอื่ มาทํางานรวมกนั ใหเ กิดความสมั พันธ เชอื่ มโยงกับปจจุบัน
• พรอ มกาวสอู นาคตทม่ี นั่ คง และมน่ั ใจ สามารถเผชญิ กบั

สถานการณใ ด ๆ ในอนาคตดวย “พลงั เครอื ขาย”

โรงเรยี นพฒั นาทง้ั ระบบโดยใหทุกคนมีสวนรวม
 รวบรวมความคดิ เพอ่ื จดั ทําฐานการเรยี นรู
 กระจายอาํ นาจบรหิ าร แบงหนาทีร่ บั ผิดชอบ 


ทุกระดับชัน้ 
 รายงานผลการดาํ เนนิ งานตามกําหนด 


 ตดิ ตามประเมนิ ผลความสาํ เร็จของงาน 

 สะทอ นคิด แลกเปลี่ยนเรยี นรู เพอื่ การพฒั นางาน 
 อยางตอเนอ่ื ง และย่งั ยืน

โรงเรยี นมีคณุ ภาพ
นกั เรียนมีทักษะชีวติ ทด่ี ี
สงั คมชน่ื ชมและยอมรบั

ถอดบทเรยี นเวทีเสวนาวิชาการ “การประยกุ ตใ ชห ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในสถานศกึ ษา”

หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครู คือ ผูส นับสนุน สง เสริม และพฒั นาการศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพ
แกน กั เรียน ทง้ั หลกั วชิ าความรู เสริมคณุ ธรรม ครตู อ งมีการวางแผนและ
เปนปรัชญาที่ชี้ถงึ แนวทางการดําเนินชีวิต เตรยี มการสอน เปนอยางดี ดแู ลเอาใจใสน ักเรียนและมีการจัดกิจกรรม
อยูบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม เสรมิ เพ่ือสราง ความเขา ใจในบทเรียนย่ิงขึน้ นอกจากนั้นครูควรจัดการ
ประมาท เรยี นรแู บบบรู ณาการ ใหนักเรยี นรอบรูในเรื่องตา ง ๆ

เงอ่ื นไขความรู หมายถึง ความรอบรูความ ยกตัวอยางเชน รายวิชาภาษาไทย หนวยการเรียนรู เรื่อง
รอบคอบ และความระมัดระวงั ในการดาํ เนินชีวติ นทิ านนา รู ท่ีสง เสริมทกั ษะการอาน การตอบคาํ ถาม การฟงจับใจความ
และมารยาท ในการฟง การดู และการพูด อีกทั้งยังบูรณาการกับหลัก
เง่อื นไขคณุ ธรรม หมายถงึ การยดึ ถอื ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงใหรจู กั วิเคราะหเรื่อง หาสาเหตุ วิธีแกไข
คณุ ธรรมตาง ๆ เชน ความซ่ือสตั ย สุจรติ ความ อยางเหมาะสม
อดทนความเพียร

โดยคํานงึ ถงึ หลกั การ ๓ ประการ
๑) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไมมาก
และไมน อ ยจนเกนิ ไป ไมเบยี ดเบียนตนเองและผอู ่นื
๒) ความมีเหตผุ ล หมายถงึ การใชหลกั เหตผุ ลในการ
ตัดสนิ ใจเรื่องตา ง ๆ อยา งรอบคอบ
๓) การมีภูมิคุมกันที่ดี หมายถึง การเตรียมพรอมรบั
ตอผลกระทบที่เกดิ ขนึ้ จากการเปลีย่ นแปลงรอบตวั

นําพอเพยี ง บรู ณาการสหู องเรยี น

เร่มิ ตนท่คี รอบครัว

มแี บบอยา ง การนาํ ไปใชใ นการดําเนนิ ชีวิตประจําวนั
ของตนเองอยางรอบคอบ และรูจักวางแผนการใช
จายในครอบครัว

เสริมสรา งท่ีโรงเรียน

มีสว นรวม นาํ ไปบูรณาการกบั การจัดการเรยี นรูหรือ
สอดแทรกในการดําเนินชีวิต เพื่อใหนักเรียน
มคี วามรู ทักษะและสามารถนาํ ไปปรับใช

กิจกรรม “ขวดนอยนักออม” นักเรียนเรียนรูการทํา
โครงงาน โดยการนําขวดนํ้าเหลือใชมาประดิษฐเปนกระปุกออมสิน
ทําใหน ักเรียนรูจกั ใชท รัพยากรอยางประหยัด รคู ณุ คาของส่ิงของ รูจัก
แบงปนสิ่งของกับเพื่อน เชื่อมโยงในเรื่องการใชเงิน ใหใชตามความ
จําเปน และรูจกั เกบ็ ออม

ถอดบทเรยี นเวทีเสวนาวชิ าการ “การประยกุ ตใ ชห ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในสถานศกึ ษา”

สนาม เด็ก เลน ในกลองสี่เหลี่ยม

นางสาวสุธิดา ศรีพันธบุตร

o๑ โรงเรียนของบางบวั ฯ อยทู า มกลางพ้ืนทใี่ นตึกรปู ทรงเหมือนกลอ งสเี่ หลี่ยม
ซง่ึ ถกู ปกคลุมดวยสมี วั ซัวของตึกรามบานชองและละอองฝนุ ควัน แมจ ะแวดลอ ม
“สัดสวนของพ้นื ท่ี ดวยความเจริญของยุคสมัยหรอื สขี องเมอื งที่ดูซมึ เทา แตโ รงเรียนไมค วรเปน พืน้ ท่ี
ในโคกหนองนา แหง ความหวาดกลวั โรงเรยี นจงึ ไดสรางพน้ื ท่ที ีม่ ากมายดวยของเลน และสีสันสดใส
แปรเปลย่ี นเปนชว งเวลา สนามเดก็ เลนอนั เปนเสมอื นพนื้ ทส่ี ีลกู กวาดของเด็ก ๆ สงิ่ น้ีคอื ความเปนรปู ธรรม
ที่เดก็ แบงปน อยางแรกท่ใี ชสอนความพอเพยี ง ในพน้ื ที่สีลูกกวาดเดก็ ๆ มีอิสระในการเลอื กเลน
เครื่องเลนช้ินหนง่ึ ” อะไรกไ็ ด ไมมีการตดั สิน หรือคาดเดาไปกอ นวาใครควร หรือไมค วรเลนของเลน
อันไหน แตในของเลน ที่มอี ยา งจำกดั เด็กจะตองเรียนรูใ นการบริหารของเลน ให
เพียงพอ สอดคลอ งกับความพอเพียง

เรานำ “โคกหนองนา” มาใชกับเดก็ ๆ ไมใ ชผ านการสอนเพยี งอยางเดยี วแตเปน การซึมซบั จากการใชช ีวติ การแบงสดั สวนอยางพอดี
ทำใหทุกพนื้ ที่ คอื การเรยี นรู สัดสว นของพน้ื ที่ในโคกหนองนาแปรเปลยี่ นเปน ชว งเวลาท่เี ด็กแบงปน เคร่ืองเลน ชน้ิ หนงึ่ เขาไมใชเจาของแตเ พียงผเู ดยี ว
ทุกการเลน คือการเปลีย่ นผาน นอกจากนีพ้ นื้ ทส่ี ลี กู กวาดยงั เปนแหลงรวมตัวและเปนโอกาสใหเด็กไดเรียนรูผา นบทบาทของความเปน พีโ่ ต พี่กลาง
นอ งเล็ก ทเี่ ขาไดม หี ลายสถานะเหมอื นในชีวิตจริง เปน การเรยี นรูผ านวถิ ชี ีวิตจริงอนั เปนธรรมชาติ เด็กเรียนรูค วามสัมพนั ธภายใตสง่ิ แวดลอ ม
ทีม่ ีตนไมเรยี งรายรอบโรงเรียน ถกู หอหมุ ดว ยเปลอื กขรุขระ และเรยี บเนยี น พนื้ ดนิ พ้ืนหิน พ้ืนหญา ที่ตา งกัน ส่งิ เหลา นี้สอนใหเ ดก็ เรียนรู
พน้ื ที่อนั ตราย และปลอดภัย เขารูว าจะปฏิบตั ติ วั กบั ผวิ สัมผัสเหลานัน้ อยา งไร เปนการเปดโอกาสใหเขาไดท ดลองใชชวี ติ ในสถานการณท่ีพบเจอ

“บทบาท สถานะความสัมพนั ธ การแบง ปน ผิวสมั ผสั ของสง่ิ ของ รายละเอียดแวดลอมในโรงเรียน
คอื สิ่งทีส่ อนใหเ ดก็ เรยี นรูความพอเพียงและใชช ีวิตบนความเปน ธรรมชาติและธรรมดา”

“เด็กคนหนง่ึ เปดปดฝาโตะ เรียนเปนรอยรอบ บางทกี ย็ ืนอยขู างหนาตาง แลว ตะโกน

o๒คยุ กบั ผคู นท่อี ยูบนทองถนนดานลาง บางทกี เ็ งยข้ึนฟา เพือ่ คยุ ทกั ทายกบั นกนางแอน”

ขา พเจา เคยอานหนงั สือเลม หน่งึ ชอ่ื “โตะโตะจงั เด็กหญิงขา งหนาตา ง”
เปนหนังสือทเี่ ขียนโดย เทต็ สโึ กะ คุโรยานางิ ตวั เอกของเรอ่ื ง คือ โตะ โตะจัง เดก็ หญิงท่มี นี ิสยั แปลกและแตกตาง
จากเด็กคนอน่ื จนทำใหเธอถกู ไลออกจากโรงเรียน แตถ งึ อยางนัน้ เธอก็ไดค น พบโรงเรยี นแหงหนึ่ง ท่ีไมเ หมอื นทีไ่ หน
ในหนงั สือเลมน้ีไมไดสอนใหครูเปล่ยี นแปลงเด็กท่ีแตกตา ง แตส อนใหครูยอมรบั ในความหลากหลายแลว ปรับตวั
เดก็ บางคนตวั ตนหลนหายไประหวางการเติบโต การศกึ ษาจงึ ควรออกแบบมาดพี อทจ่ี ะรองรบั ความหลากหลายของเด็ก

o๓ “เลน หนงั สือทส่ี อนใหพอเพียง ดวยการเรยี น (เลียน) แบบพอ”
“ แผนโซลารเ ซลลขนาดเล็กทส่ี ะสมพลงั งานไว
แฟลชไดรฟบรรจุ ๙ บทเพลงพระราชนิพนธแ สนไพเราะ อุปกรณเหลานถ้ี กู บรรจไุ วใ นหนงั สอื เลมหนาท่มี ชี อ่ื วา “เรยี น (เลียน) แบบพอ”
ดินสอและกระดาษเปลาสำหรบั รางความคิดใหลงมอื ทำ หนงั สือเลมนี้นอกจากจะใหเรียนรูกับคำวา “คิดถงึ พอ ตอ งทำอยา งไร” แลว
ซองจดหมายสำหรับเก็บเงินออม ยังมไี วสำหรับใหเ ด็ก ๆ ทดลองเลนเพือ่ เห็นภาพของความพอเพยี งมากยิง่ ข้นึ
เมล็ดทดลองปลกู จากโครงการหลวง สอื่ การสอนท่ีเปนรูปธรรม จึงเปนสิ่งที่ฝงอยูในตัวเขา มากกวา คำบอกเลา
ดินทถ่ี กู หม ดวยฟางขา วหรือพรมใยปาลมในหนาหนังสอื ” จากปากเปลา

สนามเด็กเลนในกลองส่เี หลีย่ มแหงนี้ แมจะอยูในพื้นท่อี ยางจำกัด แตห ากออกแบบและจัดสรรสิ่งทีม่ ี
อยางสรา งสรรค ชว ยใหเดก็ คน พบการรูจกั ตัวเอง สมเหตสุ มผล รูจกั สงิ่ แวดลอม พอดอี ยา งมคี วามสุข
๑๔ ผลลพั ธข องการประยกุ ตค วามพอเพยี ง ก็คือ วนั ท่เี ดก็ ไดเบง บาน

BEFOCBORSNUMOMOYFPAHPIPLLOYSIONPGHSYUIFNFISCCIEHNOCOYL 2021


Click to View FlipBook Version