The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

246296-Article Text-866116-1-10-20201222

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pajawze, 2021-03-15 09:40:58

246296-Article Text-866116-1-10-20201222

246296-Article Text-866116-1-10-20201222

27
บณั ฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลยั สงฆ์นครสวรรค์ ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน-ธันวาคม 2563

มาตรการการสง่ เสรมิ และรกั ษามรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม
ศกึ ษากรณี : ชุมชนบา้ นมอญ จงั หวัดนครสวรรค์

Measures for the Promotion and Protection of intangible Cultural
Heritage. A Case Study of Ban Mon Community, Nakhon Sawan.

นนทพทั ธ์ ตรณี รงค1์
Nontapat Treenarong1

บทคดั ย่อ

บทความวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษากฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและรักษา
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม 2) เพ่ือศึกษามาตรการการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทาง
วัฒนธรรมอย่างมีส่วนร่วม กลุ่มตัวอย่างในพื้นท่ีหมู่ที่ 1 ชุมชนบ้านมอญ ตาบลบ้านแก่ง อาเภอเมือง
จังหวัดนครสวรรค์ จานวน 283 คน และกลุ่มองค์กรภาคท้องถ่ิน ภาครัฐ ภาคชุมชน และภาค
การศึกษา ดาเนินการโดยกระบวนการวิจัยเชิงผสมผสานประกอบด้วยแบบสอบถามปลายเปิด แบบ
สัมภาษณ์เจาะลึกแบบกลุ่ม ในประเด็นดังต่อไปนี้ 1. กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและรักษา
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ประชาชนชุมชนบ้านมอญมีการรับรู้
กฎหมายทเี่ กีย่ วกับการสง่ เสริมและรักษามรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรมโดยรวมอยู่ในระดับน้อย ด้าน
ท่ีมีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด ได้แก่ การรับรู้พระราชบัญญัติสภาองค์ชุมชน พ.ศ. 2551 รองลงมา ได้แก่
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 และด้านท่ีน้อยท่ีสุด ได้แก่ พระราชบัญญัติองค์การ
บรหิ ารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2543 2. มาตรการการส่งเสรมิ และรกั ษามรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรมอยา่ ง
มีส่วนร่วม จากการศึกษาพบว่า แม้จะมีกฎหมายท่ีให้การส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทาง
วฒั นธรรม ท้งั มกี ารดาเนินการใหเ้ ป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายในการส่งเสริมและอนุรักษ์มรดก
ภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรมโดยหน่วยงาน เจ้าหนา้ ท่ี และประชาชนชุมชนบ้านมอญ แต่ประชาชนชุมชน
บ้านมอญยังขาดการรับรู้และความเข้าใจกฎหมายที่กับการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทาง
วัฒนธรรมไม่ทราบถึงบทบาทและหน้าท่ีของตน ในการเข้าไปมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและอนุรักษ์
มรดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม ขาดการตระหนักถึงคุณค่าและความสาคัญในการเข้าไปมีส่วนร่วมใน
การส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จึงควรมีการประชุมชี้แจงให้แก่ประชาชนใน
ชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจให้เห็นคุณค่า ตระหนักถึงความสาคัญของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

1 อาจารย์ประจาสาขาวิชานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครสวรรค์, E-mail: [email protected]

28

บัณฑิตศึกษาปรทิ รรศน์ วทิ ยาลยั สงฆน์ ครสวรรค์ ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน-ธนั วาคม 2563

และควรมีการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมให้สอดคล้องตรงตาม
ความตอ้ งการของคนในชมุ ชนและเปิดโอกาสให้ประชาชนทกุ กล่มุ เขา้ มามีสว่ นรว่ มในการทากิจกรรม

คาสาคญั : มาตรการการสง่ เสริมและรักษามรดกภูมปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม , การส่งเสริมและ
รกั ษามรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม , ชุมชนบ้านมอญ

Abstract

The objectives of this research were: 1) to study the laws related to the
promotion and maintenance of cultural wisdom heritage and 2) to study measures to
promote and protection cultural wisdom heritage with participation. A Sample was
selected from Moo 1 Ban Mon Community, Ban Kaeng Sub-district, Mueang District,
Nakhon Sawan Province amount 283 people and the local organizations, government,
community and educational sectors. This research used by the integrated research
process consisting of open-ended questionnaire, In-depth interview form. In the
following issues about 1) the laws related to the promotion and protection of
cultural wisdom heritage. The results of the study was as follows the people of Ban
Mon community is awareness about laws regarding the promotion and protection of
cultural wisdom heritage about a low level. The highest average value was the
recognition of the Community Council Act 2008, followed by the Constitution of the
Kingdom of Thailand 2017 and the least aspect was the Provincial Administrative
Organization Act 2000. 2) the measures for promotion and protection of cultural
wisdom heritage that the findings indicated that although there are laws that
promote and protection cultural wisdom heritage. As well as proceeding in
accordance with the provisions of the law on the promotion and protection of
cultural wisdom heritage by agencies, officials and the people of Ban Mon
community. However, the people of Ban Mon community still lack the awareness
and understanding of the laws related to the promotion and protection of cultural
wisdom heritage and knowledge of their roles and duties and in participating in the
promotion and protection of cultural wisdom heritage Lack of awareness of the value
and importance of participation in the promotion and protection of cultural wisdom
heritage. So, there should be a meeting to explain to the people in the community
to understand to the value and the importance of cultural wisdom heritage and

29

บัณฑิตศกึ ษาปรทิ รรศน์ วิทยาลยั สงฆน์ ครสวรรค์ ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563

there should be activities to promote and protection of cultural wisdom heritage
which it is about the needs of the community and the opportunity for all groups of
people to participate in activities.

Keywords: Measures for the Promotion and Protection of Cultural Wisdom Heritage,
Promotion and Protection of Cultural Wisdom Heritage, Ban Mon Community

บทนา

จงั หวดั นครสวรรคม์ ีความหลากหลายทางวัฒนธรรมเนือ่ งมาจากจงั หวัดนครสวรรค์มีกลุ่ม
ชาตพิ นั ธุ์ทีห่ ลากหลาย หน่งึ ในน้นั คอื ชาวไทยมอญ โดยชาวมอญ เปน็ ชนชาติเกา่ แก่ท่สี ุดชนชาตหิ น่ึง
ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นชนชาติที่มีอารยะธรรมสูงและเป็นแบบอย่างแก่หลายชนชาติ
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ต้องอพยพจากบ้านเมืองของตนเข้ามาสู่ดินแดนประเทศไทยก็
ดว้ ยปัญหาเร่อื งการเมอื ง เมอื่ ชาวมอญถูกพม่ารุกรานจนกลายเป็นชนชาติท่ีไร้แผ่นดิน ชาวมอญได้ต้ัง
บ้านเรือนอยู่ทั่วไปตามที่ราบลุ่มริมน้าภาคกลาง โดยชุมชนบ้านมอญเป็นชาวมอญท่ีอพยพมาจาก
อาเภอปากเกรด็ จังหวดั นนทบุรี โดยทางเรอื ผา่ นทางแมน่ า้ เจ้าพระยาเพือ่ ทาการค้าขาย เม่ือพบแหล่ง
ดินเหนียวบรเิ วณตาบลบา้ นแกง่ ซง่ึ มคี ณุ สมบัตเิ หมาะในการทาเครอื่ งปน้ั ดินเผา จึงตั้งรกรากท่ีหมู่ท่ี 1
ตาบลบ้านแก่ง อาเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ โดยรวมกลุ่มกันเป็นชุมชนชาวมอญ
เรยี กว่า “ชมุ ชนบ้านมอญ” โดยชาวชุมชนบ้านมอญมีความสามารถท่ีได้รับสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ
คอื การทาเครื่องป้นั ดนิ เผา ประกอบกบั บริเวณบึงนา้ สาธารณะ บริเวณตาบลบ้านแก่งมีทรัพยากรดิน
ซ่ึงเป็นดินเหนียวที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการนามาทาเป็นเคร่ืองป้ันดินเผาท่ีมีคุณภาพ ชาวชุมชน
บา้ นมอญจงึ รวมกลมุ่ กันประกอบอาชีพทาเคร่ืองปั้นดินเผาเป็นอาชีพหลัก โดยอาศัยภูมิปัญญาท่ีได้รับ
การสืบทอดมาจากบรรพบุรุษซ่ึงเป็นชาวมอญ ทาให้การทาเคร่ืองป้ันดินเผาของชุมชนบ้านมอญ
ยงั คงอัตลกั ษณท์ างภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ โดยระยะแรกนยิ มทาเครือ่ งปั้นดนิ เผาทีใ่ ช้ในครัวเรอื น เพ่ือนามา
แลกอาหาร ต่อมาได้มีการพัฒนาลวดลาย รูปทรงให้มีความละเอียดอ่อน สวยงามมากยิ่งข้ึน โดย
ยังคงอัตลักษณ์ทางภูมิปัญญาของชุมชนบ้านมอญไว้ ชาวชุมชนบ้านมอญได้รับสืบทอดการทา
เคร่ืองป้ันดินเผามาจากบรรพบุรุษ โดยเคร่ืองป้ันดินเผาบ้านมอญมีลักษณะเฉพาะท่ีคงอัตลักษณ์
แตกต่างจากแหลง่ เครือ่ งปน้ั ดินเผาอื่น ท้ังวิธีการปน้ั การขึน้ รูปท่ีไดร้ ับการสืบทอดจนมีลักษณะเฉพาะ
มาจากบรรพบุรุษ อีกทั้งสีดิน เครอ่ื งมอื ลวดลาย ฝีมอื ท่แี สดงถึงลักษณะเฉพาะของชาวบ้านมอญ เนื้อ
ดิน วัสดุที่ใช้ในการเผาและอุณหภูมิของไฟที่ใช้ในการเผายังทาให้เคร่ืองป้ันดินเผาบ้านมอญมีสีสัน
ลวดลายท่ีชัดแตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่น ทาให้มีลักษณะเฉพาะ โดยวัสดุที่ใช้เผาน้ันจะเป็นวัสดุท่ีหา
ได้ง่ายในท้องถิ่น ซ่ึงทาให้เครื่องปั้นดินเผาบ้านมอญมีสีสันเฉพาะถิ่นท่ีทาให้สามารถแยกแยะจาก

30

บณั ฑิตศกึ ษาปรทิ รรศน์ วทิ ยาลยั สงฆ์นครสวรรค์ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 3 กนั ยายน-ธันวาคม 2563

ทอ้ งถน่ิ อ่ืนได้ โดยบางครอบครัวจะมีการนาลวดลายเฉพาะที่ได้รับสืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษมาใส่
ลงไว้เป็นลวดลายในเครื่องปั้นดินเผาของตน (นนทพัทธ์ ตรีณรงค์ 2557: 38-41) ซ่ึงสอดรับกับแผน
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคมเป็นการ
สร้างความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรมและความเข้มแข็งของชุมชน โดยมี
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 - 2564 เป็นแผนการพัฒนาประเทศ
อย่างยง่ั ยนื ไดก้ าหนดยุทธศาสตร์เพือ่ พัฒนาการเสริมสร้างและพัฒนาศกั ยภาพทุนมนษุ ย์ เพ่ือการสรา้ ง
ความเปน็ ธรรมและลดความเหล่อื มลา้ ในสงั คม และยังเปน็ การเสรมิ สร้างความมน่ั คงแหง่ ชาติ เพือ่ การ
พัฒนาประเทศสู่ความมั่งค่ังและย่ังยืน ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 หมวด 3
สทิ ธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มาตรา 25 บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพท่ีจะทาการนั้นได้และ
ได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ บุคคลหรือชุมชนย่อมสามารถใช้สิทธิหรือเสรีภาพน้ันได้ตาม
เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ โดยมาตรา 43 บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิ (1) อนุรักษ์ ฟื้นฟู หรือ
สง่ เสริมภูมิปญั ญา ศลิ ปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีอันดีงามทั้งของท้องถ่ินและ
ของชาติ โดยมีพระราชบัญญตั สิ ง่ เสรมิ และรกั ษามรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรม พ.ศ. 2559 บญั ญัติขนึ้
เพือ่ สง่ เสรมิ และรกั ษามรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรมให้มีความสบื เนื่องและยง่ั ยืน ซงึ่ ภูมิปัญญาการทา
เครื่องป้ันดินเผาของชุมชนบ้านมอญ จังหวัดนครสวรรค์ ถือเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมท่ีควร
ได้รับการส่งเสริมในประเภทงานช่างฝีมือด้ังเดิมตามมาตรา 4 (5) ซึ่งแม้มาตรา 10 (8) ของ
พระราชบัญญตั ิดงั กล่าวจากาหนดให้คณะกรรมการสง่ เสริมและรกั ษามรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรมมี
หน้าท่ีกาหนดมาตรการเกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ซ่ึงมาตรา 16
อนุ 1 ยังกาหนดให้คณะกรรมการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมจังหวัดเสนอ
นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม อนุ 2 โดยดาเนินการร่วมกับ
ชุมชนเพื่อจัดทารายการเบ้ืองต้นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม อนุ 4 ประสานงานเครือข่ายความ
รว่ มมอื ระหวา่ งหน่วยงานของรฐั หรือเอกชน เพอ่ื การสง่ เสรมิ และรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
อนุ 5 เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับมรดกทางภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม และ
อนุ 6 สง่ เสรมิ ใหร้ ู้คุณค่าและมกี ารสบื ทอดมรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรม โดยมีกรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม
มีหนา้ ที่ดาเนินการตามมาตรา 18 แต่มาตรการการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
ยังไม่มีความชัดเจนและไม่สามารถนามาใช้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของกฎหมาย ดังนั้นเพื่อส่งเสริม
และรกั ษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมให้มีความสืบเนื่องและย่ังยืนตามนโยบายรัฐบาลจึงได้ศึกษา
กฎหมายที่เกย่ี วกบั การสง่ เสรมิ และรักษามรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรม คือ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
พระราชบัญญัตสิ ง่ เสรมิ และรกั ษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. 2559 พระราชบัญญัติกาหนด
แผนและข้ันตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ.2545 พระราชบัญญัติ

31

บณั ฑติ ศกึ ษาปริทรรศน์ วทิ ยาลยั สงฆน์ ครสวรรค์ ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 3 กันยายน-ธนั วาคม 2563

องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด พ.ศ. 2543 พระราชบญั ญัตสิ ภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.
2537 พระราชบัญญัติสภาองค์ชุมชน พ.ศ. 2551 พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2546 โดย
ทาการศึกษาในพ้ืนท่ีหมู่ท่ี 1 ชุมชนบ้านมอญ ตาบลบ้านแก่ง อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อหา
มาตรการการส่งเสรมิ และรักษามรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรมอย่างมสี ว่ นร่วม เพ่ือให้สมาชิกในชุมชน
ตระหนักถึงคุณค่าของภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ซ่ึงถือเป็นงานช่างฝีมือด้ังเดิมนาไปสู่ชุมชนเข้มแข็ง
เพื่อสบื ทอดมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมต่อไป

วตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั

1 เพอ่ื ศึกษากฎหมายทีเ่ กยี่ วข้องกบั การสง่ เสรมิ และรักษามรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม
2.เพอ่ื ศึกษามาตรการการสง่ เสรมิ และรักษามรดกภูมปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม

วธิ กี ารดาเนนิ การวิจัย

ผวู้ จิ ยั ไดก้ าหนดวิธกี ารวจิ ัยโดยการใช้กระบวนการวิจัยเชิงผสมผสาน “Mixed Methods
Research” โดยทาการวิจัยเชิงปริมาณ (empirical analysis) โดยใช้แบบสารวจและแบบสอบถาม
ปลายเปดิ ในประชากรชมุ ชนบา้ นมอญและผมู้ สี ว่ นได้เสีย ประชากรกลุ่มตวั อย่าง จานวน 283 คน เพื่อ
นาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ เพื่อนาไปสู่กระบวนวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) อัน
ประกอบไปด้วย กระบวนการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารหรือการวิจัยเชิงเอกสาร
(documentary research) โดยการทบทวนแนวความคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง และ
กระบวนการสัมภาษณ์เจาะลึก (in-depth interview) โดยมีการออกแบบโครงสร้างของข้อคาถามท่ี
สามารถนาไปใช้ในการสัมภาษณ์แบบก่ึงโครงสร้าง หรือการสัมภาษณ์แบบช้ีนา กล่าวคือ เป็นการ
สมั ภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างหรือเป็นการสัมภาษณ์แบบปลายเปิดที่มีคาสาคัญพร้อมกับลักษณะของ
ข้อคาถามทม่ี ีความยดื หยุ่นและพร้อมทีจ่ ะมกี ารปรับเปลี่ยนถ้อยคาของข้อคาถามให้มีความสอดคล้อง
กับผู้มีส่วนร่วมในการวิจัย หรือผู้ให้สัมภาษณ์แต่ละคนในแต่ละสถานการณ์ที่มีเหตุการณ์หรือมี
สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปลยี่ นแปลงไป เพอื่ ใหท้ ราบมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรมของชุมชนบ้านมอญ การ
รับรู้กฎหมายและการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม โดยมีการ
สัมภาษณ์นักวิชาการ ผู้นาชุมชน เจ้าหน้าท่ีสภาวัฒนธรรมจังหวัด ปราชญ์ชาวบ้าน สมาชิกในชุมชน
รวมท้งั บคุ คลที่มสี ว่ นเกีย่ วขอ้ งตอบขอ้ คาถามจากการสมั ภาษณแ์ บบเจาะลกึ ซง่ึ ทาให้มาได้ซ่ึงข้อมูลท่ีมี
ความหลากหลายในมิติต่าง ๆ และข้อเท็จจริงในทางปฏิบัติที่มีทั้งมิติของความความลึกและมิติของ
ความกว้างในเร่ืองมาตรการการส่งเสริมและรักษามรดกภูมปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมอย่างมสี ่วนรว่ ม

1.การเกบ็ ข้อมลู
การใช้กระบวนการวิจัยเชิงผสมผสาน “Mixed Methods Research” โดยทาการวิจัย

เชิงปริมาณ โดยใช้แบบสารวจและแบบสอบถามปลายเปิดเกี่ยวกับการรับรู้กฎหมายที่ส่งเสริมและ

32

บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลยั สงฆ์นครสวรรค์ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 3 กนั ยายน-ธนั วาคม 2563

รักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ซึ่งเป็นแบ่งได้ 4 ภาคส่วน คือ 1) มาตรการโดยองค์กรภาครัฐ
ได้แก่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12พ.ศ. 2560-2564 รัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 พระราชบัญญตั สิ ง่ เสรมิ และรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ.
2559 2) มาตรการโดยองค์กรภาคทอ้ งถนิ่ ได้แก่ พระราชบญั ญัติกาหนดแผนและข้นั ตอนการกระจาย
อานาจใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ พ.ศ. 2545 พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ.
2543 พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 3) มาตรการโดยองค์กร
ภาคชุมชน ได้แก่ พระราชบัญญัติสภาองค์ชุมชน พ.ศ. 2551 4) มาต รการโดยองค์กรภาค
สถาบันการศึกษา ได้แก่ พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2546 เพ่ือนามาหาค่าเฉล่ียและค่า
เบี่ยงเบนแบบมาตรฐาน เพื่อวัดระดับความรับรู้ของสมาชิกในชุมชนจานวน 283 คน ว่ามีการรับรู้
กฎหมายและสามารถนาความรู้กฎหมายไปประยุกต์ใช้ได้หรือไม่ และมีการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ี
นามาใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี ได้กาหนดกระบวนการหรือแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลอัน จาก
การศกึ ษาคน้ คว้าขอ้ มูลจากเอกสารทางวิชาการและข้อมูลจากส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ และการเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ประกอบไปด้วย ภาคท้องถิ่น ภาครัฐ ภาคชุมชน ภาค
การศึกษา

1) ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ไดแ้ ก่ ประชากรและผู้ใหข้ ้อมูลสาคญั ในการศึกษาวิจัยในคร้ัง
นี้ ได้แก่ ประชากรชุมชนบา้ นมอญ จานวน 283 คน

2) กลุ่มองคก์ รภาคท้องถ่นิ ไดแ้ ก่ นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลบา้ นแกง่ รองปลัดองค์การ
บรหิ ารส่วนตาบลบ้านแกง่ จานวน 2 คน ภาครฐั ได้แก่ เจ้าหน้าที่สภาวฒั นธรรมจงั หวัด จานวน 3 คน
ภาคชุมชน ได้แก่ ผู้นาชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน สมาชิกในชุมชน จานวน 4 คน ภาคการศึกษา ได้แก่
นักวิชาการ จานวน 1 คน ในการนผี้ ูว้ ิจัยเลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ งแบบเจาะจงจานวน 10 คน

2. สถานทที่ าการทดลอง/เกบ็ ข้อมลู
การวิจัยครั้งนี้ได้เลือกพ้ืนท่ีชุมชนบ้านมอญ หมู่ที่ 1 ตาบลบ้านแก่ง อาเภอเมือง

จังหวดั นครสวรรค์

ผลการวิจยั

1. กฎหมายทเี่ ก่ียวข้องกบั การส่งเสรมิ และรักษามรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม ประกอบไป
ด้วย1. มาตรการโดยองค์กรภาครัฐ ได้แก่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 พ.ศ.
2560-2564 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษามรดก
ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. 2559 2. มาตรการโดยองค์กรภาคท้องถิ่น ได้แก่ พระราชบัญญัติ
กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2545
พระราชบญั ญัติองค์การบริหารสว่ นจงั หวัด พ.ศ. 2543 พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหาร

33

บัณฑิตศกึ ษาปรทิ รรศน์ วิทยาลยั สงฆ์นครสวรรค์ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563

สว่ นตาบล พ.ศ. 2537 3. มาตรการโดยองค์กรภาคชุมชน ได้แก่ พระราชบัญญัติสภาองค์ชุมชน พ.ศ.
2551 4. มาตรการโดยองค์กรภาคสถาบันการศึกษา ได้แก่ พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.
2546 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ประชาชนชุมชนบ้านมอญมีการรับรู้กฎหมายที่เกี่ยวกับการ
ส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมโดยรวมอยู่ในระดับน้อย ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด
ได้แก่ การรับรู้พระราชบัญญัติสภาองค์ชุมชน พ.ศ. 2551 รองลงมา ได้แก่ รัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.2560 และด้านทีน่ อ้ ยท่ีสุด ไดแ้ ก่ พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด
พ.ศ. 2543 จากการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามตามวัตถุประสงค์การวิจัย หัวข้อ 1. เพื่อศึกษา
กฎหมายทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั การสง่ เสริมและรักษามรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรมนนั้ เห็นว่าประชาชนกลุ่ม
ตัวอย่างชาวชุมชนบ้านมอญ หมู่ท่ี 1 ตาบลบ้านแก่ง อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ มีการรับรู้
กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในระดับน้อย เนื่องจาก
ประชาชนชุมชนบ้านมอญขาดการรับรู้และความเข้าใจกฎหมายท่ีกับการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิ
ปัญญาทางวัฒนธรรม จึงไม่ทราบถึงบทบาทและหน้าท่ีของตน ชุมชน ภาคท้องถ่ิน ภาครัฐ และภาค
สถาบนั การศกึ ษาในการมีสว่ นร่วมในการเข้ารบั ส่งเสริมและอนรุ กั ษม์ รดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม จึง
ไม่ไดใ้ หค้ วามสาคญั กับการเขา้ ไปมีสว่ นร่วมในสง่ เสริมและอนุรักษ์มรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรม

2. มาตรการการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมอย่างมีส่วนร่วม จากการ
สัมภาษณ์กลุ่มองค์กรภาคท้องถิ่น ภาครัฐ ภาคชุมชน และภาคการศึกษา ตามวัตถุประสงค์การวิจัย
หัวขอ้ 2. มาตรการการสง่ เสริมและรักษามรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรมอย่างมสี ว่ นร่วม เห็นว่า แม้จะ
มีการดาเนินการในการทานุ บารุงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยมีการจัดกิจกรรมในการ
ส่งเสริมมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม เช่น การประชุมช้ีแจงเพื่อจัดทาแผนพัฒนาชุมชน การอบรม
เพ่ือให้ความรู้ การสัมมนาและมกี ิจกรรมเพ่ืออนุรักษม์ รดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมโดยมีการเรียนการ
สอน การทากิจกรรมในท้องถ่ิน ปราชญ์ชาวบ้านสาธิตการปั้น การขึ้นรูป การสร้างลวดลาย ซ่ึงเป็น
การรกั ษาและสืบทอดการทาเคร่อื งปน้ั ดินเผาสเู่ ยาวชนในท้องถิ่นและผู้ที่สนใจ แต่ประชาชนในชุมชน
ยังไมใ่ หค้ วามสาคญั ในการเข้าร่วมกจิ กรรมเทา่ ทคี่ วร ทาให้ขาดการตระหนกั ถึงคุณค่าและความสาคัญ
ในการเข้าไปมีสว่ นรว่ มในการสง่ เสรมิ และรกั ษามรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม ทงั้ กิจกรรมท่ีได้รับการ
ส่งเสริมไม่เปน็ ท่ีสนใจของประชาชนในชมุ ชน เน่ืองจากไมต่ รงกับความต้องการของคนในชุมชน ทาให้
ไม่ไดร้ บั ความสนใจจากผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม ท้งั ผู้เขา้ รบั การสง่ เสริมเปน็ กลุ่มเฉพาะผู้ที่ประกอบอาชีพทา
เครอ่ื งป้นั ดินเผา ทาใหผ้ ูท้ ่สี นใจในกล่มุ กล่มุ อ่นื ๆ เชน่ ผู้สงู อายุ คนวา่ งงาน เยาวชน ไมไ่ ด้มีส่วนรว่ มใน
กิจกรรมดงั กลา่ ว

อภิปรายผล

34

บณั ฑติ ศกึ ษาปรทิ รรศน์ วิทยาลยั สงฆ์นครสวรรค์ ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563

จากการวิจัยเรื่อง “มาตรการการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ศึกษา
กรณี : ชุมชนบ้านมอญ จังหวัดนครสวรรค์” เป็นการวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพ่ือศึกษา
กฎหมายที่เก่ียวข้องกับการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พบว่า ชาวชุมชนบ้าน
มอญ หมู่ท่ี 1 ตาบลบ้านแก่ง อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ มีการรับรู้กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการ
สง่ เสรมิ และรกั ษามรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรมในระดบั น้อย เน่อื งจากประชาชนชุมชนบ้านมอญขาด
การรับรูแ้ ละความเข้าใจกฎหมายทก่ี บั การสง่ เสรมิ และรักษามรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม สอดคลอ้ ง
กับงานวิจัยของเบญจวรรณ ธรรมรัตน์ (2557) และ วิชากร เด่นเหมือนวงศ์ (2543) ชุมชุนและ
ชาวบ้านขาดความรู้ความเขา้ ในการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จึงทาชุมชนขาด
การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม 2) เพ่ือศึกษามาตรการ
การส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมอย่างมีส่วนร่วม พบว่า แม้ทุกภาคส่วนจะให้
ความสาคญั และมกี ารจดั กจิ กรรมในการทานุ บารงุ ศิลปวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ แตป่ ระชาชน
ในชุมชนยังไม่ให้ความสาคัญในการเข้าร่วมกิจกรรมเท่าท่ีควร เนื่องจากขาดการตระหนักถึงคุณค่า
และความสาคัญในการเข้าไปมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ซ่ึง
สอดคลอ้ งกับงานวจิ ัยของวิชากร เดน่ เหมือนวงศ์ (2543) เพ่ือเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการมรดกภูมิ
ปญั ญาท้องถ่ิน จงึ ควรมกี ารประชมุ ชีแ้ จงให้ความรู้ เพื่อสร้างจิตสานึกและตระหนักถึงคุณค่ามรดกภูมิ
ปัญญาในท้องถิน่ สอดคล้องกบั บทความของเภา ไพทยวัฒน์ (2554) และทะนงศักดิ์ วิกุล (2547) เป็น
การส่งเสริมสนับสนุนมรดกภูมิปัญญาท้องถิ่น และควรมีการจัดกิจกรรมเพื่อให้ประชาชนทั้งจาก
ภายในชุมชนและภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการเข้ารับส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทาง
วัฒนธรรมสอดคล้องกับงานวิจัยของสุนีย์ มัลลิกะมาลย์ และ พราวพรรณราย มัลลิกะมาลย์ (2555)
และควรเปน็ กจิ กรรมให้สอดคลอ้ งตรงตามความต้องการของคนในชุมชนและเปิดโอกาสให้ประชาชน
ทกุ กลมุ่ เข้ามามีสว่ นรว่ มในการทากจิ กรรม

ขอ้ เสนอแนะ

ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย
1. ควรแก้ไขพระราชบัญญตั วิ ฒั นธรรม
2. ควรมีกฎหมายท่องเทย่ี วเชิงวัฒนธรรม
3. ควรออกกฎกระทรวงกาหนดเขตพน้ื ทท่ี อ่ งเทีย่ วเชิงวฒั นธรรมในจงั หวดั นครสวรรค์
ขอ้ เสนอแนะในการทาวจิ ยั ครั้งต่อไป
1. การศึกษากฎหมายภาษี กรณีการขอยกเว้นภาษีของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อเป็นการ
สง่ เสรมิ มรดกภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรม
2. การศกึ ษากฎหมายทรพั ย์สนิ ทางปัญญา เร่ืองสง่ิ บ่งชท้ี างภมู ิศาสตร์

35
บัณฑิตศกึ ษาปรทิ รรศน์ วิทยาลยั สงฆน์ ครสวรรค์ ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 3 กันยายน-ธนั วาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ
งานวิจัยครั้งนี้สาเร็จลุล่วงได้ ด้วยความอนุเคราะห์จากทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง ผู้วิจัย

ขอขอบพระคุณคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ท่ีได้อนุมัติ
ทนุ อุดหนนุ การวิจยั ในครัง้ น้ี รวมไปถึงกลั ยาณมิตรทุกทา่ นทีไ่ ดก้ รุณาใหค้ าปรกึ ษาและข้อแนะนาต่างๆ
ท่ีเป็นประโยชนอ์ ยา่ งยิ่งทาให้งานวจิ ัยน้มี คี วามสมบูรณ์มากยงิ่ ข้นึ

นอกจากนี้ผู้วิจัยขอขอบพระคุณสาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ท่ีให้
โอกาสและสนับสนุนในการทาวิจัยครั้งนี้ รวมถึงผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องในการทาวิจัยครั้งน้ีทุกท่านที่ได้
กรุณาใหค้ วามช่วยเหลอื สนบั สนุน และให้กาลงั ใจมาโดยตลอด

ผู้วิจัยหวงั เป็นอย่างย่งิ วา่ ผลงานวจิ ัยน้จี ะเป็นประโยชน์แก่บุคลากรทางการศึกษาและผู้สนใจ
ทว่ั ไป ตลอดจนจะเปน็ ประโยชนแ์ ก่สังคมและเป็นความรทู้ างดา้ นกฎหมายตอ่ ไป

เอกสารอา้ งอิง

1.ภาษาไทย
เกษม จนั ทรแ์ ก้ว. (2544). วทิ ยาศาสตรส์ งิ่ แวดล้อม. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์

มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์
เกษม จันทร์แกว้ . (2556). การจดั การส่ิงแวดล้อมแบบผสมผสาน. พิมพ์คร้งั ที่ 3. กรงุ เทพ :

สานักพมิ พ์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์
เกษม จนั ทรแ์ กว้ . (2558). วิทยาศาสตรส์ ่งิ แวดลอ้ ม. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 9. กรงุ เทพ : สานกั พมิ พ์

มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์
โกวิทย์ พวงงาม. (2545). การเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน. ม.ป.ท.
ชวนี ทองโรจน์. (2554). การวิจัยวัฒนธรรมเพอ่ื พฒั นาภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ . วารสารมสด, 7(1),

129-138.
ชติ นิลพานิช และกลุ ธน ธนาพงศธร. (2532). การมสี ่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชนบท. ใน

เอกสารการสอนชุดวชิ าความรู้ทั่วไปสาหรบั การพฒั นาระดับตาบล หมบู่ ้าน (พมิ พ์ครั้งท่ี 3
หน่วยท่ี 8). นนทบรุ ี : โรงพมิ พ์มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช.
ณรงค์ กลุ นเิ ทศ และคณะ. (2555). การมีส่วนรว่ มของชุมชนวดั ราชาธิวาสในการปอ้ งกนั และรักษา
สถานทเี กดิ เหต.ุ กรงุ เทพ : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสนุ ันทา.

36

บณั ฑิตศึกษาปรทิ รรศน์ วิทยาลยั สงฆ์นครสวรรค์ ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน-ธันวาคม 2563

ณัฐชยั ณ ลาปาง. (2558). การคุม้ ครองมรดกทางวัฒนธรรมทีจ่ ับตอ้ งไมไ่ ด้ ภายใตอ้ นสุ ญั ญาว่า
ด้วยการสงวนรกั ษามรดกทางวฒั นธรรมทีจ่ ับต้องไมไ่ ด้ พ.ศ. 2546 : ศกึ ษากรณขี อง
ประเทศไทยในการเขา้ เปน็ ภาค.ี วิทยานิพนธ์ปริญญานติ ิศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ า
นติ ศิ าสตร์ คณะนติ ิศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .

ทนงศกั ดิ์ วกิ ลุ . (2547). การศกึ ษาการรับรู้ของชุมชนตอ่ คณุ คา่ มรดกทางวัฒนธรรมในเขตเมือง
กรณศี ึกษา เขตเทศบาลนครลาปาง. วิทยานิพนธป์ ริญญามหาบณั ฑติ สถาบนั เทคโนโลยี
พระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั .

ธนากร ตาระกา. (2550). แนวทางการออกแบบศนู ย์การเรียนรู้ประวตั ศิ าสตร์บนพ้ืนท่ีมรดกทาง
วฒั นธรรมทางวัฒนธรรมลพบรุ .ี วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑิต
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.

ธวชั สิทธกิ จิ โยธิน. (2543). การมสี ว่ นร่วมของประชาชนในการอนุรกั ษแ์ ละฟืน้ ฟู ทรัพยากรธรรมชาติ
ปา่ ชายเลน ศึกษาเฉพาะกรณี ตาบลคลองโคน อาเภอเมืองจังหวดั สมทุ รสงคราม. วทิ ยานพิ นธ์
ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพัฒนาสังคม

บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์
นนทพทั ธ์ ตรณี รงค์. (2557). มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมวสิ าหกิจชมุ ชนเพื่อคุ้มครองอตั

ลกั ษณข์ องชมุ ชน ศกึ ษากรณี : ชมุ ชนบา้ นมอญ จงั หวัดนครสวรรค์.
คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครสวรรค์.
นรินทร์ชยั พฒั นพงศา. (2546). การมีสว่ นร่วม หลกั การพืน้ ฐาน เทคนิคและกรณตี ัวอย่าง.
กรงุ เทพมหานคร: 598 Print.
นวรัตน์ ไตรรกั ษ.์ (2549). การมีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มของ
ประชาชน ตาบลดอนหัวฬ่อ อาเภอเมือง จังหวดั ชลบรุ .ี วิทยานิพนธป์ ริญญารฐั
ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ านโยบายสาธารณะ วิทยาลยั การบริหารรฐั กิจ
มหาวิทยาลยั บูรพา.
นริ ันดร์ จงวุฒเิ วศย์. (2527). การมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร :
สานักพิมพม์ หาวทิ ยาลยั มหดิ ล.
นิวตั ิ เรืองพานิช. (2542). การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม. กรงุ เทพฯ : รั้วเขียว.
บญุ สม ยอดมาลี. (2544). การสรา้ งจติ สานึกในการอนรุ ักษ์ ปรับปรนและเห็นคุณคา่ มรดกทาง
วฒั นธรรม (รายงานการวจิ ัย). มหาสารคาม : สถาบันวจิ ยั ศิลปะและวฒั นธรรมอีสาน
มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.
เบญจวรรณ ธรรมรตั น์. (2557). มาตรการทางกฎหมายในการคมุ้ ครองภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น: กรณีศกึ ษา
จงั หวดั ชยั นาท. มหาวทิ ยาลยั จนั ทรเกษม.

37

บณั ฑิตศกึ ษาปริทรรศน์ วทิ ยาลยั สงฆน์ ครสวรรค์ ปที ี่ 8 ฉบบั ที่ 3 กันยายน-ธนั วาคม 2563

ประเวศ วะส.ี (2535). การพฒั นาพลงั สรา้ งสรรค์ขององคก์ ร (วิธีแก้ปญั หาที่ยากและ
สลับซบั ซอ้ น). กรงุ เทพฯ : หมอชาวบา้ น.

เปลือ้ ง ณ นคร. “DICTIONARY.” 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://dictionary.sanook.com/search/dict-th-th สบื คน้ 21 พฤศจิกายน 2561.

ผจงสขุ เนยี มประดษิ ฐ์ และสพุ จน์ บุญวเิ ศษ. (2551). ศกึ ษาการรบั รกู้ ารถา่ ยทอดและการรักษา
วัฒนธรรมท้องถ่นิ ของกลุ่มจักสาน จังหวัดชลบรุ .ี วารสารวิชาการมนุษยศาสตรแ์ ละ
สังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ,16(25-26), 93-104.

ไพรัตน์ เตชะรินทร.์ (2531). การมีสว่ นร่วมของชุมชน : นโยบายและกลวิธ.ี กรงุ เทพมหานคร :
ศักดโิ สภาการพมิ พ.์

เภา ไพทยวัฒน์. (2554). ปรากฏการณ์ทางสงั คมของชมุ ชนป้อมมหากาฬ : มิติใหมใ่ นเสน้ ทางการ
เป็นสมยั ใหมข่ องไทย กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา สถาบันวิจัยและ
พฒั นา.

ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2546). พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542. กรงุ เทพฯ :
นานมีบุค๊ ส์พับลิเคชน่ั ส.์

ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2546). พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2546. กรุงเทพมหานคร :
สานกั พมิ พ์อักษรเจรญิ ทัศน.์

เลศิ ภมู ิ จันทรเพญ็ กุล. “หลักการส่งเสรมิ การเกษตร.” 2560. [ออนไลน์]. เข้าถงึ จาก:
file:///C:/Users/ACER/Downloads.pdf สืบคน้ 21 พฤศจิกายน 2561.

วเรวรรณ เถื่อนนาด.ี (2544). การศกึ ษาสภาพการดาเนินงานตามบทบาทหนา้ ที ของ
คณะกรรมการ สถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานโรงเรียนสงั กัดกรมสามญั ศกึ ษา จังหวดั ขอนแก่น.
วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษาบัณฑิต
วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น.

วนั รกั ษ์ ม่ิงมณีนาคิน. (2531). การพฒั นาชนบทไทย. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.

วิชากร เด่นเหมอื นวงศ์. (2543). ประชาคมชุมชน : พลวตั การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการ
พัฒนาชมุ ชนเพื่อพึง่ ตนเอง. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง.

ศักด์ิณรงค์ มงคล. (2557) ข้อความคิดว่าด้วยความยตุ ิธรรมทางส่งิ แวดล้อมที่เปน็ พืน้ ฐานคดิ ด้าน
สทิ ธชิ มุ ชน. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาดษุ ฏีนิพนธ์ ปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.

38

บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วทิ ยาลยั สงฆน์ ครสวรรค์ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 3 กนั ยายน-ธนั วาคม 2563

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม.ประเภทของพื้นทอ่ี นรุ ักษ์ตามหลกั
สากล. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ จาก : http://chm-
thai.onep.go.th/chm/PA/Detail/IUCN.html สบื ค้น 15 มนี าคม 2558

สุกญั ญา สจุ ฉายา. (2556). ผสู้ บื ทอดเปน็ ผู้ถือครองมใิ ช่เจ้าของมรดกภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรม.
วารสารไทยศึกษา, 8(2), 97-122.

สุนยี ์ มลั ลกิ ะมาลย์. (2545). รัฐธรรมนญู กบั การมีสว่ นร่วมของประชาชนในการพทิ ักษ์รกั ษา
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม. กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั .

สนุ ยี ์ มัลลกิ ะมาลย์ และพราวพรรณราย มลั ลกิ ะมาลย.์ (2555) แนวทางการส่งเสริมการมีสว่ นรว่ ม
ของประชาชนในการเพม่ิ พ้ืนทส่ี เี ขยี วในชุมชนเมืองเพอ่ื ลดภาวะโลกร้อน. กรุงเทพ :
สถาบันบณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร.์

หทยั รตั น์ มาประณีต และเบญ็ จรศั ม์ มาประณตี . (2557). การมีส่วนรว่ มของเยาวชนในการปกป้อง
คมุ้ ครอง มรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม. วารสารสังคมศาสตร์มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทร
วโิ รฒ, 17, 383-393.

อรพนิ กาบสลับ. (2550). การมสี ว่ นร่วมของเกษตรกรผเู้ ลย้ี งก้งุ ในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ
และสง่ิ แวดล้อมป่าชายเลนในชุมชนลุ่มแม่น้าเวฬุ. วิทยานิพนธ์ปริญญารฐั
ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารทว่ั ไป วิทยาลยั การบรหิ ารรัฐกิจ
มหาวิทยาลยั บรู พา.

อานาจ เจรญิ ศลิ ป.์ (2528). โลกและการอนรุ ักษ.์ กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร์.

2. ภาษาอังกฤษ
Marcela Bonells. (2008) The Ramsar Convention its bodies and processes. Retrieved

February 10, 2015, from http://strp.ramsar.org/strp-publications/strp-
meeting-reports/strp-asia-workshop-agenda-item-4.1-presentation-ramsars-
bodies-and-processes
WHO/UNICEF. (1978). Report of the International Conference on Primary Health
Care. Mimeographed.


Click to View FlipBook Version