The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประกอบการเรียนการจัดกิจกรรมทางภาษาและการสื่อสาร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jureerat_koy, 2021-04-28 04:21:36

การจัดกิจกรรมทางภาษาและการสื่อสาร

ประกอบการเรียนการจัดกิจกรรมทางภาษาและการสื่อสาร

Keywords: การจัดกิจกรรมทางภาษา,การสื่อสาร

ทฤษฎีและพฒั นาการทางภาษา
ของเด็กปฐมวยั

วิชา การจดั กิจกรรมทางภาษาและการสื่อสาร
สาหรบั เด็กปฐมวยั EC 1202
ดร.ชาลี ภกั ดี

ทฤษฎีและพฒั นาการทางภาษาของเด็กปฐมวยั

เด็กปฐมวยั เรียนรูภ้ าษา จากส่ิงแวดลอ้ มใกลต้ วั ทง้ั ส่ิงแวดลอ้ มท่ีบา้ น และโรงเรียน เด็กจะ
เรียนรูก้ ารฟงั และการพูดกอ่ น เพราะการฟงั และการพูดเป็นของคูก่ นั เป็นพ้ืนฐานทางภาษา
กลา่ วคือ เม่ือฟงั แลว้ ก็ยอ่ มตอ้ งพูดสนทนาโตต้ อบได้ การเรียนภาษาของเด็กปฐมวยั ไม่
จาเป็นตอ้ งอาศยั การสอนอยา่ งเป็นทางการ หรือตามหลกั ไวยกรณ์ แตจ่ ะเป็นการเรียนรู้ จาก
การมีปฏิสมั พนั ธก์ บั คนรอบขา้ งหรือส่ิงแวดลอ้ มรอบตวั หรือเป็นการสอนแบบธรรมชาติ

• ทฤษฎีเก่ียวกบั การเรียนรภู้ าษา

การเรียนรูภ้ าษาของเด็กปฐมวยั มีหลายทฤษฎีท่ีควรกลา่ วอา้ งถึงมีดงั น้ี

1.ทฤษฎีของนกั พฤติกรรมศาสตร์ (THE BEHAVIORIST VIEW)
ทฤษฎีน้ีมีความเช่ือเก่ียวกบั การเรียนรูภ้ าษาของเด็กโดยกลา่ ววา่ การเรียนรูภ้ าษาของเด็กเป็นการ
เรียนรูท้ ่ีเกิดข้ึนจากผลการปรบั ส่ิงแวดลอ้ มของแตล่ ะบุคคลท่ีมีอยูใ่ นตนเอง ในขณะท่ีเด็กเจริญเติบโตข้ึน
เร่ือย ๆ แรงเสริมในทางบวกจะถูกนามาใชเ้ ม่ือภาษาของเด็กใกลเ้ คียง หรือถูกตอ้ งตามภาษาผูใ้ หญ่ ซ่ึงนัก
พฤติกรรมศาสตรม์ ีความเช่ือเก่ียวกบั การเรียนภาษาของ

2.ทฤษฎีสภาวะติดตวั โดยกาเนิด (THE NATIVIST VIEW)
ทฤษฎีน้ีมีความเช่ือเก่ียวกบั กฎธรรมชาติ หรือกฎเก่ียวกบั ส่ิงท่ีเป็นมาแตก่ าเนิดโดยมีความคิดเห็น
เก่ียวกบั การเรียนรูภ้ าษาของเด็กแตกตา่ งจากนักพฤติกรรมศาสตรส์ องประการสาคญั คือ
1.การใหค้ วามสาคญั ตอ่ องคป์ ระกอบภายในบุคคลเก่ียวกบั การเรียนรูภ้ าษา
2.การแปลความบทบาทขององคป์ ระกอบทางส่ิงแวดลอ้ มในการเรียนรูภ้ าษา

3.ทฤษฎีของนกั สงั คมศาสตร์ (THE SOCIALIST VIEW)

นักทฤษฎีสงั คมหรือทฤษฎีวฒั นธรรมจะใหค้ วามสนใจเก่ียวกบั ผลกระทบของส่ิงแวดลอ้ มทาง
ภาษาของผูใ้ หญท่ ่ีมีตอ่ พฒั นาการทางภาษาของเด็ก ผลการวิจยั กลา่ ววา่ วิธีการท่ีผูใ้ หญห่ รือพอ่ แมป่ ฏิบตั ิ
ตอ่ เด็กมีผลตอ่ พฒั นาการทางภาษา และพฒั นาการทางสติปญั ญาของเด็ก วิธกี ารเหลา่ น้ี ไดแ้ ก่ การอา่ น
หนังสือใหเ้ ด็กฟงั การสนทนาระหวา่ งรบั ประทานอาหาร การแสดงบทบาทสมมตุ ิ การสนทนา เป็นตน้

4.ทฤษฎีพฒั นาการทางสติปัญญาของเพียเจท์ (PIAGET THEORY)

เพียเจท์ (PIAGET) เช่ือวา่ การเรียนรูภ้ าษาเป็นผลจากความสามารถทางสติปัญญา เด็กเรียนรู้
จากการมีปฏิสมั พนั ธก์ บั โลกรอบตวั ของเขา เด็กจะเป็นผูป้ รับส่ิงแวดลอ้ มโดยการใชภ้ าษาของตน ดงั
ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

1. เด็กมีอิทธิพลตอ่ วิธีการท่ีแมพ่ ูดกบั เขา จากผลการวิจยั ปรากฏวา่ แมจ่ ะพูดกบั ลูกแตกตา่ งไปจาก
พูดกบั ผูอ้ ่ืน เพ่ือรกั ษาการมีปฏิสมั พนั ธต์ อ่ กนั แมจ่ ะพูดกบั เด็กเล็กๆ ตา่ งจากเด็กโตและผูใ้ หญ่ จะพูด
ประโยคท่ีสน้ั กวา่ งา่ ยกวา่ เพ่ือการส่ือสารท่ีมีความหมาย

2.เด็กควบคุมส่ิงแวดลอ้ มทางภาษา เพ่ือไดข้ อ้ มูลท่ีถูกตอ้ ง เด็กตอ้ งการคน้ พบวา่ เสียงท่ีไดย้ ินมี
ความหมายอยา่ งไร มีโครงสรา้ งเพ่ือองคป์ ระกอบพ้ืนฐานอะไร

3.การใชส้ ่ิงของหรือบุคคลเป็นส่ิงสาคญั ในการสรา้ งความเขา้ ใจพ้ืนฐานวา่ ผูใ้ หญเ่ ห็นหรือไดย้ ินเขา
พูด เด็กอาจเคล่ือนไหวตวั หรือ จบั ขวา้ ง ปา บีบ ของเลน่ เพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจเพ่ือเป็นพ้ืนฐาน และ
ความจาเป็นของความเจริญทางภาษา การเรียนรูเ้ ก่ียวกบั ตนเอง เก่ียวกบั ผูอ้ ่ืน เก่ียวกบั ส่ิงของ เก่ียวกบั
เหตุและผล เก่ียวกบั สถานท่ี มิติ เก่ียวกบั การเกิดข้ึนซา้ ๆ ของกิริยาและส่ิงของ มีสว่ นชว่ ยใหเ้ ด็ก
แสดงออกทางภาษาอยา่ งมีความหมาย น่ันคือเด็กตอ้ งมีปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตนเองกบั ส่ิงตา่ ง ๆ ใน
ส่ิงแวดลอ้ ม

5. ทฤษฎีของนกั จิตวิทยาภาษาศาสตร์ (PSYCHOLINGUISTICS THEORY)

ทฤษฎีน้ีชอมสก้ี (CHOMSKEY, 1960 ; อา้ งถึงใน สุภาวดี ศรีวรรธนะ, 2542 : 36) กลา่ ววา่
การเรียนรูภ้ าษาเป็นเร่ืองซบั ซอ้ นซ่ึงจะตอ้ งคานึงถึงโครงสรา้ งภาษาในตวั เด็กดว้ ย เพราะบางครง้ั เด็กพูด
คาใหมโ่ ดยไมไ่ ดร้ บั แรงเสริมมากอ่ นเลย เขาอธิบายการเรียนรูภ้ าษาของเด็กวา่ เม่ือเด็กไดร้ ับประโยค
หรือกลุม่ คาตา่ ง ๆ เขา้ มาเด็กจะสรา้ งไวยกรณข์ ้ึน โดยใชเ้ คร่ืองมือการเรียนรูภ้ าษาท่ีติดตวั มาแตก่ าเนิด
ซ่ึงไดแ้ กอ่ วยั วะเก่ียวกบั การพูด การฟงั นอกจากน้ี เล็นเบอรก์ (LENNEBERG) ยงั เป็นผูห้ น่ึงท่ีเสนอ
ทฤษฎีแนวน้ีโดยมีความเช่ือวา่ มนุษยม์ ีอวยั วะ ท่ีพรอ้ มสาหรบั การเรียนรูภ้ าษา ถา้ สมองสว่ นน้ีชารุด
หลงั จากวยั รุ่นตอนตน้ (อายุประมาณ12 ปี) จะทาใหก้ ารเรียนรูภ้ าษาใหมไ่ ดย้ าก

• ทฤษฎีเกี่ยวกบั พฒั นาการทางภาษา

ทฤษฎีเก่ียวกบั พฒั นาการทางภาษามีหลายทฤษฎี ดงั น้ี (ศรียา นิยมธรรม และ
ประภสั สร นิยมธรรม, 2519 : 31-35)

1.ทฤษฎีความพึงพอใจแห่งตน (THE AUTISM THEORY หรือ AUSTISTIC THEORY)
ทฤษฎีน้ีถือวา่ การเรียนรูก้ ารพูดของเด็กเกิดจากการเลียนเสียงอนั เน่ืองจากความพึงพอใจท่ีไดก้ ระทา
เชน่ นัน้ โมวเ์ รอร์ (MOWER) เช่ือวา่ ความสามารถในการฟงั และความเพลิดเพลินกบั การไดย้ ินเสียง
ของผูอ้ ่ืนและตนเองเป็นส่ิงสาคญั ตอ่ พฒั นาการทางภาษา

2.ทฤษฎีการเลียนแบบ (THE IMITATION THEORY) เลวิส (LAWIS) ไดศ้ ึกษาและเช่ือ
วา่ พฒั นาการทางภาษานั้นเกิดจากการเลียนแบบ ซ่ึงอาจเกิดจากการมองเห็นหรือการไดย้ ินเสียง การ
เลียนแบบของเด็กเกิดจากความพอใจ และความสนใจของตวั เด็กเอง ปกติชว่ งความสนใจของเด็กนั้นสน้ั
มาก เพ่ือท่ีจะชดเชยเด็กจึงตอ้ งมีส่ิงเรา้ ซา้ ๆ กนั การศึกษากระบวนการในการเลียนแบบภาษาพูดของ
เด็กพบวา่ จุดเร่ิมตน้ เกิดข้ึนเม่ือพอ่ แมเ่ ลียนแบบเสียงของเด็กในระยะเลน่ เสียงหรือในระยะท่ีเด็กกาลงั
เรียนรูก้ ารออกเสียง

3.ทฤษฎีเสริมแรง (REINFORCEMENT THEORY) ทฤษฎีน้ีอาศยั จากหลกั ทฤษฎีการเรียนรู้
ซ่ึงถือวา่ พฤติกรรมทง้ั หลายถูกสรา้ งข้ึน โดยอาศยั การวางเง่ือนไข ไรนโ์ กลต์ (RHIENGOLD) และ
คณะไดศ้ ึกษาพบวา่ เด็กจะพูดมากข้ึนเม่ือไดร้ างวลั หรือไดร้ ับการเสริมแรง

4.ทฤษฎีการรบั รู้ (MOTOR THEORY OF PERCEPTION) ลิเบอรแ์ มน (LIBERMAN)
ตงั้ สมมติฐานไวว้ า่ การรับรูท้ างการฟงั ข้ึนอยูก่ บั การเปลง่ เสียง จึงเห็นไดว้ า่ เด็กมกั จอ้ งหนา้ เวลาเราพูด
ดว้ ย การทาเชน่ น้ีอาจเป็นเพราะเด็กฟงั และพูดซา้ กบั ตวั เอง หรือหดั เปลง่ เสียงโดยอาศยั การอา่ นริม
ฝีปาก แลว้ จึงเรียนรูค้ า

5.ทฤษฎีความบงั เอิญจากการเล่นเสียง (BABBLE BUCK) ซ่ึงธอรน์ ไดค์ (THORNDIKE)
เป็นผูค้ ิดโดยอธิบายวา่ เม่ือเด็กกาลงั เลน่ เสียงอยูน่ ้ัน เผอิญมีเสียงบางเสียงไปคลา้ ยกบั เสียงท่ีมี
ความหมาย ในภาษาพูดของพอ่ แม่ พอ่ แมจ่ ึงใหก้ ารเสริมแรงทนั ที ดว้ ยวิธีน้ีจึงทาใหเ้ ด็กเกิดพฒั นาการทาง
ภาษา

6.ทฤษฎีชีววิทยา (BIOLOGICAL THEORY) เล็นเบิรก์ (LENNEBERG) เช่ือวา่
พฒั นาการทางภาษามีพ้ืนฐานทางชีววิทยาเป็นสาคญั กระบวนการท่ีคนพูดไดข้ ้ึนอยูก่ บั อวยั วะในการ
เปลง่ เสียง เด็กจะเร่ิมสง่ เสียงออ้ แอ้ และพูดไดต้ ามลาดบั

7.ทฤษฎีการใหร้ างวลั ของพ่อแม่ (MOTHER REWARD THEORY) ดอลลารด์
(DOLLARD) และมิลเลอร์ (MILLER) เป็นผูค้ ิดทฤษฎีน้ี โดยยา้ เก่ียวกบั บทบาทของแมใ่ นการพฒั นา
ภาษาของเด็กวา่ ภาษาท่ีแมใ่ ชใ้ นการเล้ียงดูเพ่ือเสนอความตอ้ งการของลูกนั้น เป็นอิทธิพลท่ีทาใหเ้ กิด
ภาษาพูดแกล่ ูก

• พฒั นาการทางภาษาของเด็กปฐมวยั

เนสเซล (NESSEL. 1989 : 5 – 21) ไดอ้ า้ งถึงผลงานวิจยั เก่ียวกบั พฒั นาการทางภาษาของ
เด็กวา่ ประกอบดว้ ยขน้ั ตอนตอ่ ไปน้ี คือ

ขน้ั แรกเร่ิม (PRE LANGUAGE) เด็กอายุหน่ึงเดือนถึงสิบเดือน จะมีความสามารถจาแนกเสียง
ตา่ ง ๆ ได้ แตย่ งั ไมม่ ีความสามารถควบคุมการออกเสียง เด็กจะทาเสียงออ้ แอ้ หรือเสียงแสดงอารมณต์ า่ ง ๆ
เด็กจะพฒั นาการออกเสียงข้ึนเร่ือย ๆ จนใกลเ้ คียงกบั เสียงในภาษาจริง ๆ มากข้ึนตามลาดบั เรียกวา่ เป็น
คาพูดเทียม (PSEUDOWORE) พอ่ แมท่ ่ีตง้ั ใจฟงั และพูดตอบจะทาใหเ้ ด็กเพ่ิมความสามารถในการส่ือสาร
มากย่ ิงข้ ึน

ขนั้ ท่ี 1 (10 – 18 เดือน) เด็กจะควบคุมการออกเสียงคาท่ีจาได้ สามารถเรียนรูค้ าศพั ทใ์ นการ
ส่ือสารถึง 50 คา คาเหลา่ น้ีจะเก่ียวขอ้ งกบั คน สตั ว์ ส่ิงของ หรือเร่ืองราว
ในส่ิงแวดลอ้ ม การท่ีเด็กออกเสียงคาหน่ึงหรือสองคา อาจมีความหมายรวมถึงประโยคหรือวลีทง้ั หมด การ
พูดชนิดน้ีมีช่ือเรียกวา่ HOLPHRASTIC SPEECH

ขนั้ ท่ี 2 (18 – 24 เดือน) การพูดขนั้ น้ีจะเป็นการออกเสียงคาสองคาและวลีสนั้ ๆ
มีช่ือเรียกวา่ TELEGRAPHIC SPEECH คลา้ ย ๆ กบั โทรเลข คือมีเฉพาะคาสาหรบั ส่ือความหมาย

ขนั้ ท่ี 3 (24 – 30 เดือน) เด็กจะเรียนรูศ้ พั ทเ์ พ่ิมข้ึนถึง 450 คา วลีจะยาวข้ึนพูดประโยคความ
เดียวสน้ั ๆ มีคาคุณศพั ทร์ วมอยูใ่ นประโยค

ขน้ั ท่ี 4 (30 – 36 เดือน) คาศพั ทจ์ ะเพ่ิมมากข้ึนถึง 1,000 คา ประโยคเร่ิมซบั ซอ้ นข้ึน เด็กท่ี
อยูใ่ นส่ิงแวดลอ้ มท่ีสง่ เสริมพฒั นาการทางภาษา จะแสดงใหเ้ ห็นถึงความเจริญงอกงามทางดา้ นจานวน
ศพั ทแ์ ละรูปแบบของประโยคอยา่ งชดั เจน

ขน้ั ท่ี 5 (36 – 50 เดือน) เด็กสามารถส่ือสารอยา่ งมีประสิทธิภาพในครอบครัวและผูค้ นรอบ
ขา้ ง จานวนคาศพั ทท์ ่ีเด็กรูม้ ีประมาณ 2,000 คา เด็กใชโ้ ครงสรา้ งของประโยคหลายรูปแบบ เด็กจะ
พฒั นาพ้ืนฐานการส่ือสารดว้ ยวาจาอยา่ งมน่ั คง และเร่ิมตน้ เรียนรู้
ภาษาเขียน

• ปัจจยั ท่ีมีอิทธิพลต่อพฒั นาการทางภาษา

1.วุฒิภาวะ เม่ือเด็กมีความเจริญข้ึนตามลาดบั ความสามารถในการพูด การเขียนยอ่ มตามมา
นับตงั้ แตอ่ ายุ 15 เดือน ข้ึนไปแลว้ เด็กจะใชภ้ าษาพูดมากข้ึนตามลาดบั จนกระทง่ั อายุ 36 เดือน จะ
สามารถใชค้ าพูด 376 คาตอ่ วนั และเม่ืออายุ 48 เดือน จะพูดได้ 397 คาตอ่ วนั และสามารถใชค้ า
วิเศษณ์ และคาคุณศพั ทเ์ พ่ิมมากข้ึนตามลาดบั และนอกจากน้ันถา้ หากมีสมาธิดี ก็จะจดจาส่ิงท่ีไดย้ ินได้
ฟงั มาเลา่ ตอ่ ใหค้ นอ่ืนทราบ

2.ส่ิงแวดลอ้ ม ถา้ หากพอ่ แม่ ผูป้ กครองสนใจ เอาใจใส่ พยายามพร่าสอนใหเ้ ด็กพูดคุย และหดั
อา่ นหดั เขียนอยูต่ ลอด เด็กจะมีความพรอ้ มทางภาษามาก โดยเฉพาะครอบครวั ท่ีมีการศึกษาสูง ยอ่ มมี
สว่ นสรา้ งความเจริญทางภาษาใหเ้ ด็กไดด้ ีกวา่ ครอบครัวท่ีมีฐานะยากจน ซ่ึงสว่ นมากไมค่ อ่ ยสนใจใน
เร่ืองภาษาของบุตรหลานของตนเทา่ ท่ีควร

3.การเขา้ ใจความหมายภาษาท่ีใชพ้ ูด ถา้ อยูใ่ นวงแคบศพั ทก์ ็พ้ืน ๆ ธรรมดาแตถ่ า้ หากอยูใ่ น
ชุมชนท่ีกวา้ งใหญ่ เด็กก็สามารถเขา้ ใจคา ประโยค วลีท่ีมีความหมายตา่ ง ๆไดด้ ี ฉะน้ัน การพูดอะไรก็
ตามท่ีเด็กเพียงแตเ่ ลียนคาพูด เลียนเสียงพูด ผูใ้ หญจ่ ึงควรไดย้ อ้ นถามเขาดูบา้ งวา่ ท่ีพูด ๆ น้ันเขา้ ใจ
เพียงใด เปรียบเสมือนคนไทยท่ีพูดคาตา่ งประเทศตามเขาแตอ่ อกเสียงผิด ความหมายก็ยอ่ มจะ
เปล่ียนไปได้ ดงั น้ัน เพ่ือป้องกนั ความผิดพลาดดงั กลา่ วจึงควรไดย้ อ้ นถามความหมายในส่ิงท่ีเด็กพูดได้
แตไ่ มเ่ ขา้ ใจความหมายดว้ ย

4.การใหม้ ีพฒั นาการทงั้ หมด (DEVELOPE AS A WHOLE) เราจะตอ้ งใหเ้ ด็กมีรูปร่างท่ีดี
หนา้ ตาสดใส สะอาดกายใจ สมองก็ตอ้ งใหด้ ี สุขภาพสมบูรณ์ และสงั คมก็ตอ้ งดี จึงจะทาใหเ้ ด็กมีความ
เจริญทางภาษาไดด้ ี ไมค่ วรแตเ่ พียงวา่ ใหอ้ า่ นไดเ้ ขียนไดเ้ ทา่ น้ัน เราตอ้ งคานึงถึงหลกั ของความตอ้ งการ
ความสนใจจากเพ่ือน ๆ ของเด็กดว้ ย ถา้ หนา้ ตาสกปรกเพ่ือน ๆ ก็ยอ่ มไมพ่ ูดคุยดว้ ย โอกาสท่ีจะมีความ
เจริญทางภาษาพูดก็ย่ิงเสียเปรียบคนท่ีรูปร่าง หนา้ ตา สะอาดสดใส

5.ขนั้ ตอนและการจดั ชนั้ เรียน การจดั โรงเรียนแบบไมม่ ีชน้ั แตอ่ าศยั ความสามารถทางภาษา
เป็นแนวก็น่าจะไดล้ องจดั ใหเ้ ป็นท่ีแพร่หลายตอ่ ไป หลกั สูตรและขน้ั ตอนการสอนบางบทก็น่าจะ
สบั เปล่ียนไปไดต้ ามระดบั ความสามารถและความพรอ้ มของนักเรียน จึงมีขอ้ ท่ีน่าสงั เกตวา่ บางแหง่ สอน
บทเรียนยากกอ่ น แลว้ กลบั มาสอนบทธรรมดาภายหลงั โดยอา้ งแตห่ ลกั สูตร ซ่งึ ตามความเป็นจริงแลว้
ครูผูส้ อนน่าจะมีความสามารถในการวินิจฉัยบทเรียนนัน้ ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง

6.การมีสว่ นร่วม (PARTICIPATION) กิจกรรมใด ๆ ก็ตามเด็ก ๆ ควรมีสว่ นร่วมทุกคร้ัง ทุกคน
ครูไมค่ วรเลือกท่ีรักมกั ท่ีชงั จะตอ้ งพิจารณาความสามารถของเด็กเป็นรายบุคคลและกาหนดงานใหท้ า
ร่วมกบั เพ่ือน ๆ ตามใจสมคั ร หรือครูกาหนดกลุม่ ใหบ้ างครัง้ การทางานเป็นกลุม่ การทางานเป็นกลุม่
ยอ่ ย การร่วมกิจกรรมตา่ ง ๆ มีสว่ นชว่ ยใหเ้ ด็กมีความเจริญทางภาษาไดอ้ ยา่ งมาก

• จิตวิทยาการเรียนรขู้ องเด็กปฐมวยั

จิตวิทยาการเรียนรูห้ รือจิตวิทยาการเรียนการสอน เป็นศาสตรท์ ่ีศึกษาเก่ียวกบั พฤติกรรมของ
มนุษยใ์ นสว่ นท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การจดั การศึกษาหรือจดั การเรียนการสอน ซ่ึงเป็นการนาเอาหลกั จิตวิทยา
มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในการจดั การเรียนการสอนหรือการเรียนรู้ โดยมีขอบขา่ ยท่ีสาคญั

3 ประการคือ

1.ศึกษาถึงธรรมชาติของการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ตลอดถึงธรรมชาติของการคิด การจา
และการลืม

2.ศึกษาถึงเชาวน์ปัญญา ความถนัด ความสนใจ และทศั นคติ ซ่ึงเป็นองคป์ ระกอบสาคญั สาหรบั
การเรี ยนรู ้

3.ศึกษาถึงบุคลิกภาพ การปรบั ตวั และวิธีการปรบั พฤติกรรม

การนาเสนอจิตวิทยาการเรียนรสู้ าหรบั เด็กปฐมวยั ในเอกสารเล่มน้ี ผเู้ ขียนขอนาเสนอ
เฉพาะในส่วนท่ีสาคญั และเก่ียวขอ้ งกบั เด็กปฐมวยั 3 ประการดงั น้ี

1.จดุ ม่งุ หมายของการศึกษาจิตวิทยาการเรียนรู้

- การศึกษาเก่ียวกบั จิตวิทยาการเรียนรูส้ าหรับเด็กปฐมวยั

2.ธรรมชาติของการเรียนรู้

- ธรรมชาติของการเรียนรูข้ องคนประกอบดว้ ยส่ิงสาคญั 4 ประการ

3.การเรียนรทู้ างภาษา

- ดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้ ในบทท่ี 1 ท่ีวา่ ภาษาประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบ 3 สว่ น คือ เสียง
ความหมายและไวยกรณ์ และการท่ีเด็กเล็กเรียนภาษาไดน้ ้ันข้ึนอยูก่ บั ปัจจยั สาคญั หลายประการ อาทิ
ความพรอ้ มดา้ นสรีรวิทยา (PHYSIOLOGICAL LEVEL) ซ่ึงเป็นระบบทางานของเซลประสาท และ
ระบบอวยั วะตา่ งๆ ในการรบั ฟงั และพูดท่ีถือเป็นปัจจยั ภายในท่ีสาคญั นอกจากน้ียงั มีปัจจยั ภายนอก
อ่ืนๆ อีก เชน่ ส่ิงแวดลอ้ ม และสงั คม อยา่ งไรก็ตามการท่ีเด็กจะเรียนรูภ้ าษาไดด้ ีครูควรมีเทคนิควิธีการ

• บทสรปุ

นักการศึกษาและนักจิตวิทยาไดศ้ ึกษาทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การเรียนรูภ้ าษาไวห้ ลายทฤษฎี
เชน่ ทฤษฎีของนักพฤติกรรมศาสตร์ ทฤษฎีสภาวะติดตวั โดยกาเนิด ทฤษฎีของนักสงั คมศาสตร์ ทฤษฎี
พฒั นาการทางสติปัญญาและทฤษฎีของนักจิตวิทยาภาษาศาสตร์ ซ่ึงทุกทฤษฎสี รุปไดว้ า่ การเรียนรูท้ าง
ภาษาเกิดจากความพรอ้ มทางดา้ นร่างกาย สติปญั ญาการมีปฏิสมั พนั ธก์ บั ส่ิงแวดลอ้ ม การเสริมแรง
พฒั นาการทางภาษาเกิดข้ึนจากความพึงพอใจแหง่ ตน การเลียนแบบ การไดร้ บั การเสริมแรง ฯลฯ
พฒั นาการทางภาษาของเด็กในระยะแรกประมาณ 1 เดือน เด็กสามารถจาแนกเสียงตา่ งๆ ได้ และจะ
พฒั นากา้ วหนา้ ข้ึนเร่ือยๆจนประมาณ 4 – 5 ปีเด็กจะสามารถส่ือสารไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ปัจจยั
หรือองคป์ ระกอบท่ีมีอิทธิพลตอ่ พฒั นา การทางภาษาของเด็ก ไดแ้ ก่ วุฒภิ าวะ ส่ิงแวดลอ้ ม สถานภาพ
ทางสงั คม ฯลฯ อยา่ งไรก็ตามเด็กปฐมวยั จะเรียนรูภ้ าษาไดด้ ี เม่ือเด็กมีความพรอ้ ม ซ่ึงความพรอ้ มของ
เด็กสามารถสอนหรือเตรียมใหแ้ กเ่ ด็กไดโ้ ดยการจดั ประสบการณท์ ่ีเหมาะสมใหแ้ กเ่ ด็ก นอกจากน้ี
นักจิตวิทยาไดใ้ หแ้ นวคิดไวว้ า่ ภาษาและการคิดมีความสมั พนั ธส์ อดคลอ้ งกนั อยา่ งใกลช้ ิด เพราะมนุษย์
เม่ือมีการส่ือสารจะเก็บขอ้ มูลตา่ ง ๆ โดยวิธีการจา เด็กอายุขวบคร่ึงเร่ิมมีพฒั นาการของภาษาในสว่ นท่ี
รบั เสียงและเปลง่ เสียงพูด แตก่ ารพูดจะพฒั นาคอ่ นขา้ งชา้ กวา่ การฟงั


Click to View FlipBook Version