The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

10. โรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม (ม.ปลาย)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebooktrat, 2021-01-20 06:59:00

10. โรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม (ม.ปลาย)

10. โรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม (ม.ปลาย)

Keywords: วิชาสุขศึกษาพละศึกษา

โรคทถ่ี า่ ยทอดทางพนั ธุกรรม
พนั ธุกรรม



โรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม โรคตดิ ต่อทางพนั ธุกรรมคืออะไร

การที่มนุษยเ์ กิดมามีลกั ษณะแตกตา่ งกนั เช่น ลกั ษณะ สีผิว ดา ขาว รูปร่าง
สูง ต่า อว้ น ผอมผมหยกิ หรือเหยยี ดตรง ระดบั สติปัญญาสูง ต่า ลกั ษณะดงั กลา่ วจะถกู
ควบคุมหรือกาหนดโดย “หน่วยพนั ธุกรรมหรือยนี ส์” ที่ไดร้ ับการถา่ ยทอดมาจากพ่อ
และแม่ นอกจากน้ีหากมีความผดิ ปกติใด ๆที่แฝงอยใู่ นหน่วยพนั ธุกรรม เช่น ความ
พิการหรือโรคบางชนิด ความผดิ ปกติน้นั กจ็ ะถกู ถา่ ยทอดไปยงั รุ่นลกู ตอ่ ๆ ไปเรียกวา่
โรคติดต่อหรือโรคท่ีถ่ายทอดทางพนั ธุกรรมความผดิ ปกติที่แฝงอยใู่ นหน่วยพนั ธุกรรม
(ยนี ส์) ของบิดา มารดา เกิดข้ึนโดยไดร้ ับการถา่ ยทอดมาจาก ป่ ู ยา่ ตา ยาย หรือบรรพ
บรุ ุษรุ่นก่อน หรือเกิดข้ึนจากการผา่ เหลา่ ของหน่วยพนั ธุกรรม ซ่ึงพบในเซลลท์ ี่มีการ
เปลี่ยนแปลงผดิ ไปจากเดิม โดยมีปัจจยั ตา่ ง ๆ เช่น การไดร้ ับรังสีหรือสารเคมีบางชนิด
เป็นตน้ ท้งั น้ีความผดิ ปกติท่ีถ่ายทอดทางพนั ธุกรรมสามารถเกิดข้ึนไดท้ ้งั สองเพศ บาง
ชนิดถา่ ยทอดเฉพาะเพศชาย บางชนิดถ่ายทอดเฉพาะในเพศหญิง ซ่ึงควบคุมโดยหน่วย
พนั ธุกรรมหรือยนี เด่น และหน่วยพนั ธุกรรมหรือยนี ดอ้ ย บนโครโมโซมของมนุษย์

โครโมโซมคืออะไร

โครโมโซม คือแหลง่ บรรจุหน่วยพนั ธุกรรมหรือยนี ซ่ึงอยภู่ ายในเซลล์
ของมนุษย์ ความผิดปกติของโครโมโซมจะก่อใหเ้ กิดความไม่สมดุลของยนี ถา้
หากมีความผิดปกติมากหรือเกิดความไมส่ มดลุ มากในขณะต้งั ครรภจ์ ะทาให้
ทารกแทง้ หรือตายหลงั คลอดได้ ถา้ หากความผิดปกตินอ้ ยลง ทารกอาจคลอดและ
รอดชีวิตแตจ่ ะมีอาการผิดปกติ พิการแตก่ าเนิด หรือสติปัญญาต่า เป็นตน้

1

โครโมโซมของคนเรามี 23 คู่ หรือ 46 แท่ง แบ่งออกเป็ นสองชนิด คือ

- ออโตโซม (Autosome) คือโครโมโซมร่างกาย มี 22 คู่ หรือ 44 แทง่
- เซ็กโครโมโซม(Sex Chromosome) คือโครโมโซมเพศ มี 1 คู่ หรือ 2 แทง่
- โครโมโซมเพศในหญิงจะเป็นแบบ XX- โครโมโซมเพศในชายจะเป็นแบบ XY

ความผดิ ปกติท่ีถ่ายทอดทางพนั ธุกรรมในโครโมโซมร่างกาย (Autosome)

- เกิดข้ึนไดท้ ุกเพศและแต่ละเพศมีโอกาสเกิดข้ึนเทา่ กนั

- ลกั ษณะที่ถกู ควบคุมดว้ ยยนี ดอ้ ยบนโครโมโซม ไดแ้ ก่ โรคทารัสซีเมีย ผิวเผอื กเซลล์

เมด็ เลอื ดแดงเป็นรูปเคียว

- ลกั ษณะที่ควบคุมโดยยนี เด่นบนโครโมโซม ไดแ้ ก่ โรคทา้ วแสนปม นิ้วมือส้ัน คน

แคระ เป็นตน้ ความผดิ ปกติที่ถ่ายทอดทางพนั ธุกรรมในโครโมโซมเพศ (Sex

Chromosome)

- เกิดข้ึนไดท้ ุกเพศ แตโ่ อกาสเกิดข้ึนจะมีมากในเพศใดเพศหน่ึง

- ลกั ษณะท่ีควบคุมโดยยนี ดอ้ ยบนโครโมโซม X ไดแ้ ก่ หวั ลา้ น ตาบอดสี พนั ธุกรรม

โรคภาวะพร่องเอนไซม์ จี- 6- พี ดี (G-6-PD) โรค

กลา้ มเน้ือแขนขาลีบ การเป็นเกย์

เนื่องจากควบคุมดว้ ยยนี ดอ้ ยบน โครโมโซม X จึงพบ

ในเพศชายมากกวา่ ในเพศหญิง

(เพราะผชู้ ายมี X ตวั เดียว)

2

ความผดิ ปกติของพนั ธุกรรมหรือโรคทางพนั ธุกรรมมีความรุนแรงเพยี งใด

1. รุนแรงถงึ ขนาดเสียชีวติ ต้งั แตอ่ ยใู่ นครรภ์ เช่น ทารกขาดน้าเนื่องจากโรคเลือดบาง
ชนิด เป็นตน้
2. ไมถ่ ึงกบั เสียชีวติ ทนั ที แต่จะเสียชีวติ ภายหลงั เช่น โรคกลา้ มเน้ือลีบ เป็นตน้
3. มีระดบั สติปัญญาต่า พิการ บางรายไมส่ ามารถช่วยเหลือตนเองได้ หรือช่วยเหลือ
ตวั เองไดน้ อ้ ย เช่น กลมุ่ อาการดาวนซ์ ินโดรม เป็นตน้
4. ไม่รุนแรงแตจ่ ะทาใหม้ ีอุปสรรคในการดารงชีวิตประจาวนั เพยี งเลก็ นอ้ ย เช่น ตา
บอดสีตวั อยา่ ง ความผดิ ปกติทางพนั ธุกรรมท่ีพบบ่อย เช่น กลุม่ ดาวนซ์ ินโดรม
โรคกลา้ มเน้ือลีบ มะเร็งเมด็ เลือดขาวบางชนิด เป็นตน้

จะป้องกนั การกาเนิดบุตรท่ีมีความผดิ ปกตทิ างพนั ธุกรรมได้หรือไม่

ความผิดปกติทางพนั ธุกรรมบางชนิด สามารถตรวจพบไดต้ ้งั แต่ กอ่ น
ต้งั ครรภอ์ อ่ น ๆ โดยการตรวจหาความผิดปกตขิ องโครโมโซม และถา้ หากเป็นโรค
เลือดทาลสั ซีเมีย สามารถตรวจเลือดบิดาและมารดาดูวา่ เป็นพาหนะของโรคหรือไม่
เม่ือพบความผิดปกติประการใด จะตอ้ งไปพบแพทยท์ ่ีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นเพือ่
ทาการวางแผนการมีบตุ รอยา่ งเหมาะสมและปลอดภยั

3

กรณีใดบ้างทีค่ วรจะได้รับการวเิ คราะห์โครโมโซม

1. ก่อนตดั สินใจมีบตุ ร ควรตรวจคดั กรองสภาพทางพนั ธุกรรมของคู่สมรส เพ่อื ทราบ
ระดบั ความเส่ียง
2. กรณีมีบุตรยาก แทง้ ลูกบอ่ ย เคยมีบตุ รตายหลงั คลอด หรือเสียชีวติ หลงั คลอดไม่นาน
เคยมีบตุ รพิการแต่กาเนิด หรือปัญญาออ่ น
3. กรณีท่ีมารดาต้งั ครรภท์ ี่มีอายตุ ้งั แต่ 35 ปี ข้ึนไป
4. กรณีท่ีไดร้ ับสารกมั มนั ตรังสีหรือสารพษิ ที่สงสัยวา่ จะเกิดความผดิ ปกติของ
โครโมโซม
5. กรณีเดก็ แสดงอาการผดิ ปกติต้งั แต่กาเนิด หรือมีภาวะปัญญาอ่อน
การตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซมสามารถตรวจได้จากอะไรบ้าง
การตรวจความผิดปกติของโครโมโซม สามารถตรวจไดจ้ าก
1. เลือด
2. เซลลใ์ นน้าคร่า
3. เซลลข์ องทารก
4. เซลลจ์ ากไขกระดูก
5. เซลลอ์ ืน่ ๆ

4

เรื่องที่ 2 โรคทางพนั ธุกรรมทสี่ าคญั

โรคที่ถ่ายทอดทางพนั ธุกรรมท่ีพบโดยทวั่ ไป ไดแ้ ก่ โรคธาลสั ซีเมีย โรคฮีโมฟี เลีย โรค
ตาบอดสีโรคคนเผอื ก โรคเบาหวาน รวมถึงกล่มุ อาการดาวน์ซินโดรม (Down’s
syndrome) หรือ โรคปัญญาออ่ นเป็นตน้ ซ่ึงโรคติดต่อที่ถา่ ยทอดทางพนั ธุกรรมน้ี หาก
ไม่มีการตรวจพบหรือคดั กรองก่อนการสมรส จะเกิดปัญหาตามมามากมาย เช่น อาจ
ทาใหเ้ กิดพกิ าร หรือ เสียชีวิตในท่ีสุด รวมท้งั เกิดปัญหาดา้ นภาวการณ์เล้ียงดูและการ
รักษา ข้นั กระทบตอ่ การดาเนินชีวติ ของผปู้ ่ วยและครอบครัวเป็นอยา่ งมาก ดงั น้นั จึง
ควรมีการตรวจร่างกายเพ่ือหาความผดิ ปกติของคู่สมรส ก่อนแตง่ งานหรือก่อน
ต้งั ครรภโ์ ดยปัจจุบนั มีแพทยท์ ่ีสามารถใหค้ าปรึกษาและตรวจรักษาไดถ้ ูกโรงพยาบาล
โรคที่ถา่ ยทอดพนั ธุกรรมท่ีสาคญั ไดแ้ ก่

2.1 โรคธาลสั ซีเมีย
โรคเลือดจางธาลสั ซีเมีย (Thalassemia) เป็นโรคเลือดจางท่ีมีสาเหตุมาจากมี

ความผิดปกติทางพนั ธุกรรม ทาให้มีการสร้างโปรตีนท่ีเป็ นส่วนประกอบสาคญั ของ
เมด็ เลือดผดิ ปกติ จึงทาใหเ้ มด็ เลือดแดงมีอายสุ ้ันกวา่ ปกติ แตกง่าย ถกู ทาลายง่าย ผปู้ ่ วย
ท่ีเป็ นโรคน้ีจึงมีเลือดจาง โรคน้ีพบไดท้ ้งั หญิงและชายปริมาณเท่าๆ กนั ถ่ายทอดมา
จากพ่อและแม่ทางพนั ธุกรรมพบไดท้ วั่ โลก และพบมากในประเทศไทยดว้ ยเช่นกนั
ประเทศไทยพบผูป้ ่ วยโรคน้ีร้อยละ 1 และพบผูท้ ี่มีพาหะนาโรคถึงร้อยละ 30 - 40 คือ
ประมาณ 20 - 25 ลา้ นคน การไดร้ ับยีนส์ที่ผิดปกติมาจากท้งั พ่อและแม่ถา้ มีภาวะซีด
ปานกลาง จาเป็นตอ้ งไดร้ ับเลือดบ่อย ๆ โดยปกติแลว้ สามารถมีชีวิตไดจ้ นถึงวยั ผใู้ หญ่
แต่ถา้ มีภาวะซีดท่ีรุนแรงมกั จะเสียชีวิตก่อนเน่ืองจากซีดมาก ถา้ เป็ นรุนแรงอาการ

5

มกั จะเร่ิมตน้ ต้งั แต่อายุ 6 เดือนแรกหลงั เกิด แต่ถา้ เด็กไดร้ ับเลือดอยา่ งสม่าเสมอต้งั แต่
แรกเร่ิมก็มกั จะมีชีวิตอยู่ได้นานมากข้ึน แต่อย่างไรก็ตามก็มกั จะเสียชีวิต เนื่องจาก
อวยั วะต่าง ๆ ถูกทาลาย เช่น หัวใจ และตบั เป็ นตน้ แหล่งระบาดของเบตา้ ธาลสั ซีเมีย
ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแถบเมดิเตอร์เรเนียนแอลฟาธาลัสซีเมีย
แอลฟาธาลสั ซีเมีย เกิดข้ึนเนื่องจากเฮโมโกลบินในสายแอลฟามีการสร้างผิดปกติ โดย
ปกติแล้ว จะมีแหล่งระบาดอยู่ในแถบตะวนั ออกเฉียงใต้เป็ นหลัก ได้แก่ ไทย จีน
ฟิ ลิปปิ นส์และบางส่วนของแอฟริกาตอนใตค้ วามผิดปกติเก่ียวกบั การสร้างสายแอลฟา
โดยปกติแลว้ สายแอลฟา 1 สายจะกาหนดโดยยีน 1 คู่2 แท่ง ดงั น้ีถา้ มีความผิดปกติ
เก่ียวกบั ยีนในการสร้างสายแอลฟา 1 ยนี จะไม่มีอาการใด ๆ แต่จะเป็นพาหะที่ส่งยนื น้ี
ไปยงั ลกู หลาน

การรักษา
1. ใหร้ ับประทานวติ ามนิ โฟลิควนั ละเมด็
2. ใหเ้ ลอื ดเมื่อผปู้ ่ วยซีดมากและมีอาการของการขาดเลือด
3. ตดั มา้ มเม่ือตอ้ งรับเลือดบอ่ ย ๆ และมา้ มโตมากจนมีอาการอึดอดั แน่นทอ้ ง

กินอาหารไดน้ อ้ ย
4. ไม่ควรรับประทานยาบารุงเลือดที่มีธาตุเหลก็
5. ผูป้ ่ วยที่อาการรุนแรงซีดมาก ตอ้ งให้เลือดบ่อยมากจะมีภาวะเหล็กเกิน อาจ

ตอ้ งฉีดยาขบั เหล็กการปลูกถ่ายไขกระดูก โดยการปลูกถ่ายเซลล์ตน้ กาเนิดของเม็ด
เลือด ซ่ึงนามาใชใ้ นประเทศไทยแลว้ ประสบความสาเร็จเช่นเดียวกบั การปลูกถ่ายไข
กระดูก ซ่ึงทาสาเร็จในประเทศไทยแลว้ หลายราย เด็กๆ ก็เจริญเติบโตปกติเหมือนเด็ก

6

ธรรมดาโดยหลกั การ คือ นาไขกระดูกมาจากพี่นอ้ งในพ่อแมเ่ ดียวกนั (ต่างเพศกใ็ ชไ้ ด)้
นามาตรวจความเหมาะสมทางการแพทยห์ ลายประการ และดาเนินการช่วยเหลือการ
เปลี่ยนยนี นอกจากน้ียงั มีเทคโนโลยที นั สมยั ล่าสุดคือการเปล่ียนยนี ซ่ึงกาลงั ดาเนินการ
วจิ ยั อยแู่ นวทางการป้องกนั โรคธาลสั ซีเมีย

- จดั ใหม้ ีการฝึกอบรมบคุ ลากรทางการแพทย์ เพ่ือจะไดม้ ีความรู้ ความสามารถ
ในการวนิ ิจฉยั หรือใหค้ าปรึกษาโรคธาลสั ซีเมียไดถ้ ูกวิธี

- จดั ใหม้ ีการใหค้ วามรู้ประชาชน เกี่ยวกบั โรคธาลสั ซีเมียเพือ่ จะไดท้ าการคน้ หา
กลุ่มท่ีมีความเสี่ยง และใหค้ าแนะนาแก่ผทู้ ่ีเป็นโรคธาลสั ซีเมียในการปฏิบตั ิตวั ไดอ้ ยา่ ง
ถูกวิธี

- จดั ใหม้ ีการใหค้ าปรึกษาแก่คู่สมรส มีการตรวจเลือดคู่สมรส เพื่อตรวจหาเช้ือ
โรคธาลสั ซีเมียและจะไดใ้ หค้ าปรึกษาถึงความเสี่ยง ท่ีจะทาใหเ้ กิดโรคธาลสั ซีเมียได้
รวมถึงการแนะนา และการควบคุมกาเนิดที่เหมาะสมสาหรับรายท่ีมกี ารตรวจพบวา่
เป็นโรคธาลสั ซีเมียแลว้ เป็นตน้

7

2.3 โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานเป็นภาวะท่ีร่างกายมีระดบั น้าตาลในเลือดสูงกวา่ ปกติ เกิด

เนื่องมาจากการขาดฮอร์โมนอินซูลิน หรือประสิทธิภาพของอินซูลินลดลงเนื่องจาก
ภาวะด้ือตอ่ อนิ ซูลิน ทาใหน้ ้าตาลในเลอื ดสูงข้นึ อยเู่ ป็นเวลานานจะเกิดโรคแทรกซอ้ น
ตอ่ อวยั วะตา่ ง ๆ เช่น ตา ไต และระบบประสาท เป็นตน้
ฮอร์โมนอินซูลินมีความสาคญั ตอ่ ร่างกายอยา่ งไรอินซูลินเป็นฮอร์โมนสาคญั ตวั หน่ึง
ของร่างกาย สร้างและหลง่ั จากเบตา้ เซลลข์ องตบั อ่อนทาหนา้ ท่ีเป็นตวั พาน้าตาล
กลโู คสเขา้ สู่เน้ือเยอื่ ตา่ ง ๆ ของร่างกาย เพอ่ื เผาผลาญเป็นพลงั งานในการดาเนินชีวติ ถา้
ขาดอินซูลินหรือการออกฤทธ์ิไมด่ ี ร่างกายจะใชน้ ้าตาลไมไ่ ด้ จึงทาใหน้ ้าตาลในเลือด
สูงมีอาการต่างๆของโรคเบาหวาน อาการทพ่ี บบ่อยไดแ้ ก่

1. การมีปัสสาวะบ่อย ในคนปกติมกั ไมต่ อ้ งลุกข้ึนปัสสาวะในเวลากลางคืน
หรือปัสสาวะไมเ่ กิน1 คร้ัง เม่ือน้าตาลในกระแสเลือดมากกวา่ 180 มก. โดยเฉพาะใน
เวลากลางคืนน้าตาลจะถูกขบั ออกทางปัสสาวะ ทาใหน้ ้าถกู ขบั ออกมากข้ึนจึงมีอาการ
ปัสสาวะบ่อยและเกิดสูญเสียน้า และอาจพบวา่ ปัสสาวะมีมดตอม

2. ผปู้ ่ วยจะหิวน้าบ่อย เนื่องจากตอ้ งทดแทนน้าท่ีถกู ขบั ออกทางปัสสาวะ
3. ผปู้ ่ วยจะกินเก่ง หิวเก่ง แตน่ ้าหนกั จะลดลงเน่ืองจากร่างกายนาน้าตาลไปใช้
เป็นพลงั งานไมไ่ ดจ้ ึงมกี ารสลายพลงั งานจากไขมนั และโปรตีนจากกลา้ มเน้ือแทน
4. ออ่ นเพลีย น้าหนกั ลด เกิดจากร่างกายไมส่ ามารถใชน้ ้าตาลจึงยอ่ ยสลายส่วน
ที่เป็นไขมนั และโปรตนี ออกมา
5. อาการอื่น ๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนไดแ้ ก่ อาการคนั อาการติดเช้ือ แผลหายชา้

- คนั ตามผวิ หนงั มีการติดเช้ือรา โดยเฉพาะบริเวณช่องคลอดของ
ผหู้ ญิง สาเหตุของอาการคนั เน่ืองจาก ผวิ แหง้ ไป หรือมีอาการอกั เสบของผิวหนงั

- เห็นภาพไมช่ ดั ตาพร่ามวั ตอ้ งเปล่ียนแวน่ บอ่ ย เช่น สายตาส้ัน ตอ้
กระจก น้าตาลในเลือดสูง

- ชาไมม่ ีความรู้สึก เจบ็ ตามแขน ขา บอ่ ย หยอ่ นสรรมภาพทางเพศ
เน่ืองจากน้าตาลสูงนาน ๆทาใหเ้ สน้ ประสาทเส่ือม

8

2.4 โรคภูมิแพ้
โรคภมู ิแพ้ คือ โรคท่ีเกิดจากปฏิกิริยาภูมิไวเกินต่อสารก่อภูมิแพ้ ซ่ึงในคนปกติ

ไมม่ ีปฏิกิริยาน้ีเกิดข้ึนผทู้ ี่เป็นโรคภมู ิแพม้ ีปฏิกิริยาภูมิไวเกินตอ่ ฝ่ นุ ตวั ไรฝ่ นุ เช้ือราใน
อากาศ อาหาร ขนสตั ว์ เกสรดอกไม้ เป็นตน้ สารที่ก่อใหเ้ กิดปฏิกิริยาภมู ิไวเกินน้ี
เรียกวา่ โรคภูมิแพ้ สามารถแบ่งไดต้ ามอวยั วะที่เกิดโรคไดเ้ ป็น 4 โรค คือ

- โรคโพรงจมกู อกั เสบจากภมู ิแพ้ หรือโรคแพอ้ ากาศ
- โรคตาอกั เสบจากภมู แิ พ้
- โรคหอบหืด
- โรคผนื่ ภูมิแพผ้ ิวหนงั
โรคภูมิแพ้ จดั เป็ นโรคที่พบบ่อยโรคหน่ึงในประเทศไทย จากการศึกษาอตั รา
ความชุกของโรคในประเทศไทย มีอตั ราความชุกอยู่ระหว่าง 15-45% โดยประมาณ
โดยพบโรคโพรงจมูกอักเสบจากภูมิแพ้มีอัตราชุกสูงสุดในกลุ่มโรคภูมิแพ้ น่ัน
หมายความว่า ประชากรเกือบคร่ึงหน่ึงของประเทศ มีปัญหาเก่ียวกบั โรคภมู ิแพอ้ ยโู่ รค
ภมู ิแพส้ ามารถถา่ ยทอดทางกรรมพนั ธุ์ คือ ถา่ ยทอดจากพ่อและแม่มาสู่ลกู เหมือนภาวะ
อื่น ๆเช่น หวั ลา้ น ความสูง สีของตา เป็นตน้

9

แบบทดสอบ

เลือกคาตอบทถี่ ูกเพยี งข้อเดยี ว

1.การตรวจความผิดปกติของโครโมโซมสามตรวจไดจ้ ากส่ิงใด
ก. เซลล์
ข. น้าเหลือง
ค. ปัสสาวะ
ง. อจุ าระ

2.วติ ามินใดท่ีช่วยรักษาโรคธารัสซีเมีย
ก. โฟบิค
ข. โฟสิท
ค. โฟลิค
ง. โฟซิส

3.โคโมโซมคืออะไร
ก. แหลง่ รวมยนี ส์
ข. แหลง่ บรรจุหน่วยพนั ธุกรรม
ค. แหล่งรวมเมด็ เลือดขาว
ง. แหลง่ รวมเมด็ เลือดแดง

10

เฉลยแบบทดสอบ

ข้อ 1.
ขอ้ ก / (ถกู ตอ้ ง) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนมีความเขา้ ใจในเน้ือหาท่ีถูกตอ้ ง)
ขอ้ ข X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในเน้ือหาท่ีถกู ตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพิ่มเติม
ขอ้ ค X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจในเน้ือหาที่ถกู ตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพม่ิ เติม
ขอ้ ง X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในเน้ือหาที่ถูกตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพิม่ เติม
ข้อ 2.ขอ้
ขอ้ ก X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจในเน้ือหาที่ถกู ตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพม่ิ เติม
ขอ้ ข X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจในเน้ือหาท่ีถูกตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพิ่มเติม
ขอ้ ค / (ถูกตอ้ ง) ตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนมีความเขา้ ใจในเน้ือหาที่ถกู ตอ้ ง
ขอ้ ง X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในเน้ือหาที่
ถูกตอ้ งควรทบทวนเน้ือหาเพม่ิ เติม
ข้อ 3.
ขอ้ ก X (ผิด) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในเน้ือหาที่ถูกตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพ่ิมเติม
ขอ้ ข / (ถกู ตอ้ ง) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนมีความเขา้ ใจในเน้ือหาท่ีถกู ตอ้ ง
ขอ้ คX (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในเน้ือหาท่ีถกู ตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพิ่มเตมิ
ขอ้ ง X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ีแสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจในเน้ือหาที่ถกู ตอ้ งควร
ทบทวนเน้ือหาเพิม่ เตมิ

11

กจิ กรรม

ตอบคาถามต่อไปนี้ แล้วบนั ทึกในแฟ้มสะสมงานพร้อมอธิบายใน
ช้ันเรียน
1. โรคธาลสั ซีเมียเกิดจากสาเหตุอะไรและมีก่ีประเภทอะไรบา้ ง
2. โรคภูมิแพเ้ กิดจากสาเหตอุ ะไรและมีอวยั วะใดบา้ งที่เกิดโรคภมู ิแพไ้ ด้
3. ใหผ้ เู้ รียนยกตวั อยา่ งโรคที่เกิดจากพนั ธุกรรม มา 5 โรค

ช่ องทางการส่ งงาน
ขอให้ผู้เรียนทากจิ กรรมแล้วเขียนลงบนกระดาษ A4

ถ่ายรูปส่งให้ครูผ่านทาง กลุ่ม LINE

ให้นักเรียนทุกคนทาแบบประเมนิ เมื่อเสร็จสิ้นการเรียนรู้ ตามลงิ้ ค์

https://clck.ru/SsDtt

12

คณะผ้จู ัดทา

คร้ังที่ 1 (วันท่ี 17-19 มถิ นุ ายน 2563)

ทป่ี รึกษา ผอู้ านวยการสานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
ศกึ ษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นายวรรณวิจกั ษณ์ กศุ ล
ดร.สุธี วรประดิษฐ หวั หนา้ กลุม่ อานวยการ สานกั งาน กศน .จงั หวดั ตราด
ครู กศน.ตาบลแหลมกลดั
คณะดาเนนิ งาน ครู กศน.ตาบลชา้ งทนู
บรรณรักษห์ ้องสมดุ เฉลมิ ราชฯ อ.เขาสมิง
นางสาวสุวรรณา สิงห์ภู่
นายอนิรุทธ์ ตนั ตระกลู
นางลาวลั ย์ ญาติโพธ์ิ
นางสาวจุไรรัตน์ ต่อโชติ

คร้ังที่ 2 (วันท่ี 21-23 ธันวาคม 2563)

ทปี่ รึกษา

วา่ ที่ร้อยโทจานงค์ นนทะมาศ ผอู้ านวยการ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
ดร.สุธี วรประดิษฐ ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นางภาวิณี วรประดิษฐ ขา้ ราชการบานาญ
นายภกั ดี พงษไ์ พบูลย์ ขา้ ราชการบานาญ

คณะดาเนินงาน

นางสาวสุวรรณา สิงห์ภู่ หวั หนา้ กลุ่มอานวยการ สานกั งาน กศน .จงั หวดั ตราด
นางสาวหงษฟ์ ้า ปัสบาล ครูผชู้ ่วย กศน.อ.เมืองตราด
นายอนิรุทธ์ ตนั ตระกลู ครู กศน.ตาบลแหลมกลดั
นางลาวลั ย์ ญาติโพธ์ิ ครู กศน.ตาบลชา้ งทูน
นางสาวเนตรนภา บางเพชร ครู กศน.ตาบลตะกาง
นางสาวพิชยา นรมาศ เจา้ หนา้ ที่บนั ทึกขอ้ มูล สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด

คณะบรรณาธิการ

ดร.สุธี วรประดิษฐ ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นางสาวสุวรรณา สิงหภ์ ู่ หวั หนา้ กลมุ่ อานวยการ สานกั งาน กศน .จงั หวดั ตราด
นางสาวสุประวีณ์ กลีบสมุทร หวั หนา้ กลุ่มส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งาน กศน .จงั หวดั ตราด
นางสาววรรณภสั สร ศรีสว่างวรกุล หวั หนา้ กลุม่ ส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบ สานกั งาน กศน .จงั หวดั ตราด
นายอคั รพล เรียเตม็ พนกั งานขบั รถห้องสมุดเคลอื่ นที่ สานกั งาน กศน .จงั หวดั ตราด

ผู้ออกแบบปก ครู กศน.ตาบลตะกาง

นางสาวเนตรนภา บางเพชร

ผู้ควบคุมการดาเนินงาน ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
หวั หนา้ กลุ่มส่งเสริมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สานกั งาน กศน .จงั หวดั ตราด
ดร.สุธี วรประดิษฐ
นางสาวสุประวีณ์ กลบี สมทุ ร

13

14


Click to View FlipBook Version