1
ร้ใู ช้ ร้จู ่าย
1. การวางแผนการใช้จ่าย
กอ่ นที่จะใช้จ่ายเงนิ เราควรจดั สรรเงนิ ทม่ี อี ยูใ่ หต้ รงกับความ
ตอ้ งการ โดยการวางแผนการใชจ้ า่ ยเงนิ ไวก้ อ่ น การวางแผนการใช้จา่ ยเงนิ หมายถึง
การที่บคุ คลจัดสรรรายรับ - รายจา่ ย ของตนเอง ซ่งึ มแี นวทางในการปฏิบัติ ดังน้ี
1. การหารายได้ ทกุ คนตอ้ งประกอบอาชีพ เพอื่ ให้มรี ายไดป้ ระจาและหากมีเวลา
ว่างควรหารายไดเ้ สริมเพอื่ จะไดม้ ีรายได้พอกับการใช้จ่ายในการดารงชพี
2. การใช้จ่าย ให้พิจารณาใช้จ่ายในส่ิงท่ีจาป็ นจริงๆ เช่นใช้จ่ายเป็ นค่าอาหาร
เครื่องน่งุ ห่ม ที่อยอู่ าศัย ยารษั าโรค โดยคานึงถงึ คุณค่าของส่ิงทซี่ ้ือว่ามีคณุ ภาพและคุ้ม
ค่าเงินไม่ใช่ซ้อื เพราะคาโฆษณาชวนเชือ่
การประหยดั ควรรู้จักเกบ็ ออมเงินไวใ้ ชจ้ ่ายเมอ่ื คราวจาเป็น เช่น เม่ือเจ็บป่ วย โดย
วางแผนให้มรี ายจ่ายนอ้ ยกวา่ รายได้มากทส่ี ุดกจ็ ะมเี งนิ เกบ็ เครื่องใช้ทช่ี ารุดเสียหาย ควร
ซ่อมแชมให้ใชไ้ ดอ้ ยเู่ สมอ ประหยดั พลังงานและทะนถุ นอมเครื่องใช้ใหม้ ีอายกุ ารใช้งาน
ไดน้ าน การเป็ นหน้ีโดยไมจ่ าเป็น เพราะยืมเงนิ มาใช้จ่ายสุรุ่ยสุร่าย เช่นการยืมงินมาจัด
งานเล้ียงในประเพณีต่าง ๆ จะทาให้ชีวติ มีความลาบาก
สร้างความเดอื ดรอ้ นให้ตนเองและครอบครัว แตถ่ ้าหากเป็น
หน้ี เพราะนาเงินมาลงทนุ ในกิจการท่สี ามารถใหผ้ ลคุ้มค่าก็
อาจจะเป็นหน้ไี ด้
3. การบันทึรายรบั -รายจา่ ย เป็นวธิ กี ารวางแผนทสี่ าคญั
การบนั ทกึ รายรบั รายจ่ายในชีวติ ประจาวนั เพอ่ื ใหท้ ราบวา่ ในวนั หน่งึ สัปดาห์หน่งึ เดือน
หน่งึ เรามรี ายไดจ้ ากอะไร เท่าไร และจา่ ยอะไร อย่างไรควรจะวางแนวทางในการใชจ้ ่าย
อยา่ งไรจึงจะพอและที่เหลือสะสมไวเ้ ป็นทนุ หรือเก็บสะสมไวใ้ ชจ้ ่ายในยามจาเป็น การ
บันทึกรายรับ- รายจ่าย จงึ เป็นขอ้ มูลหลกั ฐานแสดงให้เหน็ แหล่งท่ีมาของรายได้ และท่ีป
ของรายจา่ ย ซ่ึงจะนาไปสู่การต้งั เป้าหมายลดรายจา่ ย การเพ่มิ รายได้ และการออมตอ่ ไป
2
2. การบนั ทึกรายรบั - รายจ่ายของตนเองและครอบครวั
เมื่อเรามีรายได้และนาเงนิ รายไดไ้ ปใชจ้ ่ายซ้ือส่ิงท่จี าเป็น ส่ิงใดที่มีราคาสงู ก็
ไมจ่ าเป็นต้องซ้อื ทนั ที แตใ่ ห้ต้ังเป้าหมายไวว้ า่ จะเกบ็ หอมรอมริบไวจ้ นมากพอแลว้ จงึ ซ้อื
ดังน้ันเราจึงควรวางแผนการ ใชจ้ า่ ยไวล้ ว่ งหน้าวา่ เราตอ้ งซ้อื อะไร เท่าไหร่ เมือ่ ใด
เราคงเคยไดย้ ินข่าวชาวนาขายทีน่ าไดเ้ งนิ เป็นแสนเป็นลา้ นแต่เมือ่ เวลาผา่ น
ไปไม่กปี่ ี เขากลบั ไม่เหลือเงินเลย ต้องไปเช่าท่ีนาของคนอ่นื ทากนิ เรื่องดังกล่าวเป็ น
ตวั อยา่ งของบุคคลทไี่ ม่มีการวางแผนการใช้เงนิ ดังน้ันก่อนทเ่ี ราจะใชจ้ ่ายเงินเราควร
จัดสรรเงนิ ทีม่ อี ยู่ ใหต้ รงกับความต้องการดว้ ยการวางแผนไว้
วธิ ีการวางแผนที่สาคัญวธิ กี ารหน่งึ คือ การบนั ทึกรายรบั - รายจ่าย
"หากอยากมชี ีวิตท่มี งั่ ค่ังสมบรู ณ์ ตอ้ งลงมอื บันทกึ รายรับ - รายจา่ ยตั้งแต่บดั น้"ี
ข้อควรคานงึ ในการใช้จ่ายเงินและจดบันทึกรายรับ รายจ่าย
1. กาหนดความคาดหวงั และเปา้ หมายวา่ จดบันทกึ เพอ่ื อะไร
2. วางแผนรับ – จ่ายกอ่ นใช้เงิน
3. กอ่ นซ้ือสิ่งใดตอ้ งพจิ ารณาใหด้ ีกอ่ นวา่ สิ่งน้ันจาเป็นหรือไม่
4. จดบันทึกทกุ คร้งั ทุกวนั ทกุ บาท ทกุ สตางค์ท่ีมกี ารรบั และจา่ ยเงนิ
5. หมนั่ ตรวจสอบบญั ชีวา่ มีรายการใดท่ีใชเ้ งนิ ไม่เหมาะสมหากมีต้องแกไ้ ขทันที
6. เกบ็ ใบเสรจ็ หรือหลักฐานการรับเงิน- จ่ายเงนิ ไวเ้ พอ่ื ตรวจสอบกบั บัญชที ่จี ด
"การจดบันทกึ รายรับ -รายจา่ ย"หรือการจดบญั ชี จะช่วยใหเ้ ราทราบวา่
เรามีรายรบั มากนอ้ ยแค่ไหน เราสามารถลดคา่ ใช้จา่ ยรายการใดออกไปได้บ้าง"การ
จดบญั ชี"ทาให้เราสร้างสมดุลระหว่างรายไดแ้ ละรายจ่ายที่เหมาะสมแกฐ่ านะ
การเงินของเราไดเ้ ป็นอยา่ งดี
การจดบญั ชคี รัวเรือนเป็นการจดั ทาบัญชี
รายรับ รายจ่ายของครอบครัว เราสามารถจดั ทาบญั ชี
แบบท่งี ่าย ผทู้ ่ีไมเ่ คยมคี วามรู้เร่ืองการบญั ชมี าก่อนกท็ า
เองได้โดยการแยกรายการออกเป็นรายรับและรายจา่ ย
3
รายรบั ไดแ้ ก่ เงินเดือนค่าจ้าง ผลตอบแทนท่ีไดจ้ ากการทางานเงนิ ที่ไดจ้ ากการขาย
ผลผลิต การเกษตร หรือทรพั ย์สินเป็นตน้ รายจ่ายไดแ้ ก่ ค่าใช้จา่ ยเพ่อื ซ้อื สนิ คา้
สาหรบั ในการอุปโภค บริโภค ค่าน้าประปา ค่าไฟฟา้ ค่าโทรศพั ท์ ค่าซ่อมแชมค่า
อปุ กรณ์เคร่ืองใช้เคร่ืองไม้ เคร่ืองมอื ค่ารถ ค่าอาหาร ค่าเช่า เป็นตน้
4
การวางแผนประกอบอาชีพแบบพอเพียง
การประกอบอาชีพ คอื การทามาหากนิ ของมนษุ ย์ เป็นการแบ่งหนท้ ี่ การ
ทางานของคนในสงั คมและทาใหด้ ารงชีวติ ในสังคมได้ บคุ คลที่ประกอบอาชพี จะได้
คาตอบแทนหรือรายได้ทจ่ี ะนาไปใชจ้ ่ายในการดารงชวี ติ และสรา้ งมาตรฐานทีด่ ใี หแ้ ก่
ครอบครวั ชุมชน และประเทศชาติ ความจาเป็นของการประกอบอาชพี มดี งั น้ี
1. เพอ่ื ตนเอง การประกอบอาชพี ทาใหม้ รี ายได้มาจบั จา่ ยใช้สอยในชีวติ
2. เพอ่ื ครอบครวั ทาใหส้ มาชกิ ของครอบครัวไดร้ กั ารเล้ยี งดทู าให้มี
คุณภาพชีวิตทดี่ ีข้นึ
3. เพื่อชุมชนถ้าสมาชิกในชุมชนมอี าชีพและมีรายไดด้ จี ะสง่ ผลใหส้ มาชกิ
มีความเป็นอยดู่ ขี ้นึ อยู่ดีกินดี สง่ ผลใหช้ มุ ชนเข้มแขง็ ทางเศรษฐกจิ และพฒั นาตนเองได้
4. เพ่อื ประเทศชาติ เม่อื ประชากรของประเทศมีการประกอบอาชพี ทีด่ ี มี
รายไดด้ ที าให้มรี ายได้ท่เี สียภาษีให้กบั รัฐบาลมรี ายไดไ้ ปใช้บริหารประเทศตอ่ ไป
การวางแผนเป็นเรื่องของการกาหนดความตอ้ งการ วิธีการดาเนินการ และ
คาดหมายผลการดาเนนิ การในอนาคต โดยใชห้ ลกั วชิ าการ เหตผุ ลมีข้อมูลตัวเลข
ประกอบ มกี ารเสนอปญั หาเพ่ือจัดอุปสรรคท่ีจะมาถึงเป้าหมายข้างหน้าได้ ทาใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิ
รู้ได้ว่าจะทาอะไร ทไ่ี หน เม่อื ใด กับใครทาอย่างไร และทาเพ่ืออะไรได้อยา่ งชดั จนซ่งึ
นาไปส่แู นวทางการปฏิบตั งิ านท่ถี ูกต้องและได้ผล
การวางแผนการประกอบอาชพี ควรจะต้องศกึ ษา ดงั น้ี
1. การร้จู ักตนเอง การเลือกอาชีพดเู หมือนจะเป็นการตดั สินใจคร้ังย่งิ ใหญ่
ในชีวติ ของคนเรา เพราะนน่ั คือตวั กาหนดรายไดท้ ีจ่ ะเกิด ข้นึ จากความสามารถ
ของเราเอง
2. การศึกษาการประกอบอาชีพ ปัจจบุ นั น้มี ีอาชีพต่าง ๆเกิดข้นึ หลายพนั
อาชีพ หากขาดแผนการทางานอาจก่อใหเ้ กดิ การเลือกอาชพี ท่ีไม่เหมาะสมกบั
ตนเองได้ หากรู้จกั ประเมนิ ความสามารถของตนเองอย่างชื่อสตั ย์ โอกาสท่ีจะ
5
เลือกอาชพี ไดอ้ ย่างเหมาะสมยอ่ มสงู ตามไปด้วย ควรเลอื กประกอบอาชพี โดยยึด
จากความรู้สึกภายในเป็นหลกั เลอื กงานท่เี หมาะสมกบั
ตนเองเทา่ น้นั
3. การตัดสินใจ เป็นขั้นตอนสาคัญหลงั จากได้จบั มอื กบั ตนเองเพ่ือมองหา
งานทเ่ี หมาะสมกบั ตนเองแล้ว กม็ าถึงขนั้ ตอนสาคัญ กลยทุ ธห์ น่ึงท่ีจะทาให้
สามารถตดั สินใจได้ นน่ั ก็ คือ การร่างความตอ้ งการของ
ตนเองภายในระยะเวลาหน่งึ ปี ลงในกระดาษ จากน้นั ก็
เพ่มิ เป็น5 ปี หรือ 10 ปี ต่อไป อกี วิธี คือ เปรียบเทยี บ
ข้อดีและข้อเสียของการทางาน สาหรับสองหรือสาม
อาชีพท่ตี นเองสนใจมากท่สี ดุ และเลอื กอาชพี ที่ตูเองคิดว่าเหมาะสมท่ีสดุ
ทฤษฎใี หมเ่ ป็นแนวพระราชดาริของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ พระ
เจ้าอยู่หวั ภูมพิ ลอดลุ ยเดช เก่ยี วกับการจัดพ้นื ทีด่ นิ เพ่ือการอยู่อาศยั และมีชวี ติ
ยา่ งยงั ยนื โดยมีการแบง่ พื้นท่เี ป็นสว่ นๆได้แก่ พนื้ ท่นี ้า พื้นทีด่ ินเพอื่ เป็นที่นา
ปลูกข้าว พ้ืนทด่ี นิ สาหรบั ปลกู พชื ไร่นานาพนั ธ์ุ และทสี่ าหรับอยู่อาศยั /เล้ยี ง
สตั ว์ ในอตั ราสว่ น 3:3 :3 : 1 เป็นหลกั การในการบริหารการจดั การ
ทด่ี ินและน้า เพือ่ การเกษตรในท่ดี ินขนาดเลก็ ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพสงู สุด ดังน้ี
1. มีการบริหารและจดั แบ่งทีด่ ินแปลงเลก็ ออกเป็นสดั สว่ นทช่ี ดั เจน
เพอื่ ประโยชน์สงู สดุ ของเกษตรกร ซ่งึ ไมเ่ คยมีใครคิดมาก่อน
2. มกี ารคานวณโดยหลกั วชิ าการ เกยี่ วกบั ปริมาณน้าท่ีจะกกั เกบ็ ให้
พอเพียง ตอ่ การเพาะปลกู ได้ตลอดปี
3. มกี ารวางแผนท่ีสมบรู ณแ์ บบ สาหรบั เกษตรกรรายยอย 3 ขนั้ ตอน
เพ่อื ใหพ้ อเพยี งสาหรบั เลย้ี งตนเองและเพอ่ื เป็นรายได้
ข้นั ท่ี 1 ทฤษฎีใหม่ขน้ั ต้น สถานะพื้นฐานของเกษตรกรคือ มีพ้ืนที่นอ้ ย
คอ่ นข้างยากจนอยูใ่ นเขตเกษตรน้าฝนเป็นหลกั โดยในข้นั ท่ี 1 น้มี ีวตั ถปุ ระสงค์
เพ่ือสรา้ งเสถียรภาพของการผลติ เสถียรภาพดา้ นอาหารประจาวนั ความมนั่ คง
6
ของรายได้ ความมน่ั คงของชวี ติ และความม่นั คงของชุมชชนบท เป็นเศรษฐกจิ พง่ึ
ตนองมากข้นึ มกี ารจดั สรรพื้นท่ที ากินและทอี่ ยู่อาศยั ใหแ้ บ่งพื้นท่ี ออกเป็น4
ส่วนตามอตั ราสว่ น30 : 30 :30 : 10 ซ่งึ หมายถึง พนื้ ที่สว่ นท่หี น่งึ ประมาณ30%
ให้ขุดสระเก็บกกั น้า เพื่อใชเ้ กบ็ กกั น้าฝนในฤดูฝนและใช้เสริมการปลูกพืชในฤดู
แล้ง ตลอดจนการเล้ยี งสัตวน์ ้าและพืชน้าต่างๆ(สามารถล้ียงปลา ปลูกพชื น้า เชน่
ผกั บัง ผกั กะเฉดฯ ไดด้ ้วย) พืน้ ทส่ี ่วนทสี่ องประมาณ30% ใหป้ ลกู ขา้ วในฤดูฝน
เพ่อื ใชเ้ ป็นอาหารประจาวนั ในครัวเรือนให้เพยี งพอตลอดปี เพอ่ื ตัดค่าใช้จา่ ยและ
สามารถพ่งึ ตนเองได้ พนื้ ท่ีสว่ นที่สามประมาณ30% ใหป้ ลูกไม้ผล ไมย้ นื ตนั
พืชผกั พืชไร่ พชื สมุนไพร ฯลฯ เพ่อื ใช้เป็นอาหาร
ทฤษฎีใหม่ขนั้ กา้ วหน้า เม่ือเกษตรกรเขา้ ใจในหลกั การและได้ลงมือ
ปฏบิ ตั ิตามข้นั ทหี่ น่ึงในที่ดนิ ของตนเป็น
ระยะเวลาพอสมควรจนไดผ้ ลแล้วเกษตรกร
ก็จะพฒั นาตนเองจากขน้ั "พออยู่พอกนิ "ไปสู่
ข้ัน "พอมีอันจะกิน"เพอื่ ให้มีผลสบรู ณ์ยิ่งข้นึ
จงึ ควรท่ีจะต้องดาเนนิ การตามขนั้ ท่สี องและ
ขน้ั ที่สามตอ่ ไปตามลาดบั (มลู นธิ ิชยั พฒั นา,2542)
ขน้ั ท่ี 2 ทฤษฎีใหม่ข้นั กลาง เมอ่ื เกษตรกรเขา้ ใจในหลกั การและได้ปฏิบัติ
ในทดี่ ินของตนจนได้ผลแลว้ ก็ตอ้ งเร่ิมขน้ั ท่ีสอง คอื ใหเ้ กษตรกรรวมพลังกนั ในรูปกลมุ่
หรือ สหกรณ์ ร่วมแรง ร่วมใจกนั ดาเนินการในด้าน
(1) การผลิต เกษตรกรจะตอ้ งร่วมมอื ในการผลติ โดยเร่ิมตง้ั แต่ ข้ันเตรียมดนิ
การหาพนั ธุพ์ ืชปยุ การหาน้า และอน่ื ๆ เพื่อการเพาะปลกู
(2) การตลาด เมื่อมผี ลผลติ แลว้ จะต้องเตรียมการต่างๆ เพอื่ การขายผลผลติ
ใหไ้ ด้ประโยชน์สูงสุด เช่น การเตรียมลานตากข้าวร่วมกัน การจดั หายุง้ รวบรวมขา้ ว
เตรียมหาเคร่ืองสีขา้ ว ตลอดจนการรวมกนั ขายผลผลติ ใหไ้ ดร้ าคาดี และ ลดค่าใช้จ่ายลง
ดว้ ย
7
(3) ความเป็นอยู่ ในขณะเดียวกนั เกษตรกรต้องมคี วามเป็นอยทู่ ่ดี พี อสมควร
โดยมีปัจจยั พืน้ ฐานในการดารงชวี ติ เช่นอาหารการกนิ ต่าง ๆกะปิ น้าปลา เส้ือผา้ ที่
พอเพียง
(4) สวัสดิการ แต่ละชมุ ชนควรมีสวสั ดีการและบริการท่ีจาเป็น เช่น มี
สถานีอนามยั เมื่อยามป่ วยไข้ หรือมีกองทุนไวใ้ หก้ ู้ยมื เพอื่ ประโยชน์ในกจิ กรรมต่าง ๆ
(5) การศกึ ษา มโี รงเรียนและชมุ ชนมีบทบาทในการส่งเสริมการศกึ ษา เช่น
มีกองทนุ เพื่อการศกึ ษาเล่าเรียนให้แกเ่ ยาวชนของชมุ ชนเอง
(6) สงั คมและศาสนา ชุมชนควรเป็นศนู ย์กลางในการพฒั นาสงั คมและ
จติ ใจ โดยมศี าสนาเป็นทีย่ ืดเหนย่ี ว
กิจกรรมทัง้ หมดดังกล่าวขา้ งตน้ จะตอ้ งไดร้ บั ความร่มมือจากทุกฝ่ายท่ี
เกี่ยวขอ้ ง ไม่วา่ สว่ นราชการ องคก์ รเอกชนตลอดจนสมาชกิ ในชุมชนน้ันเป็นสาคัญ
ข้นั ท่ี 3 ทฤษฎใี หม่ข้ันก้าวหน้า เมือ่ ดาเนินการผ่านพน้ ขั้นที่สองแล้ว
เกษตรกรจะมีรายได้ดขี ้นึ ฐานะม่ันคงข้ึน เกษตรกรหรือกลมุ่
เกษตรกรกค็ วรพฒั นากา้ วหนา้ ไปสูข่ น้ั ทีส่ ามตอ่ ไป คอื
ติดตอ่ ประสานงานเพอ่ื จดั หาทุนหรือแหลง่ เงินเชน่
ธนาคาร หรือบริษทั หา้ งร้าน เอกชน มาช่วยในการทาธรุ กจิ
การลงทุนและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ทั้งน้ี ท้ังฝ่ายเกษตรกร
8
และฝ่ายธนาคารกับบริษทั จะได้รบั ประโยชนร์ ่วมกนั กลา่ วคอื
(1) เกษตรกรขายขา้ วได้ในราคาสงู (ไมถ่ ูกกดราคา)
(2) ธนาคารกับบริษทั สามารถซ้อื ขา้ วบริโภคในราคาตา่ (ซ้อื ขา้ วเปลอื ก
จากเกษตรกรมาสีเอง)
(3) เกษตรกรซ้อื เคร่ืองอปุ โภคบริโภคไดใ้ นราดตา่ เพราะรวมกันซ้อื เป็น
จานวนมาก(เป็นรา้ นสหกรณช์ อ้ื ในราคาขายส่ง)
แผนภาพ จาลองการจัดสดั ส่วนพ้ืนทตี่ ามแนวทฤษฎีใหม่ระบบการจดั การพืน้ ท่ี
1. สระน้า ขนาดประมาณ 3 ไร่ ไวเ้ กบ็ กกั น้าและเลย้ี งปลาไวบ้ ริโภค
2. นาข้าว ประมาณ 3 ไร่ ปลูกขา้ วไวบ้ ริโภค และปลกู พชื ผกั หมนุ เวยี นตาม
ฤดูกาล
3. ไมผ้ ลท่ีเหมาะกบั สภาพดนิ ฟ้าอากาศ ประมาณ3 ไร่ ควรเป็นแบบ
ผสมผสานและพง่ึ พาอาศยั กนั เป็นช้นั ๆเชน่
- ไมผ้ ลหรือไม้ใชส้ อยขนาดใหญ่ ตน้ สงู เชน่ สะตอ,มังคุด ฯลฯ
- ไม้ผลพมุ่ ขนาดกลาง เช่นมะมว่ งลาไย ขนุนชมพู่ ส้มโอ ฯลฯ
- ไม้ผลพุม่ เต้ยี เชน่ มะนาว ส้มเเขียวหวานส้มจ๊ีด ฯลฯ
- ไมผ้ ลและพืชผกั ขนาดเลก็ เชน่ มะเขือ พริก กระเพรา ผกั หวาน ฯลฯ
9
- ผกั สวนครัว เชน่ ตะไคร้ และพืชผกั ฯลฯ
- ผกั ประเภทเถา เกาะต้นไม้ใหญ่ เชน่ ตาลึง,ฟกั ,บวบ,ถว่ั ชนิดต่าง ๆ
พริกไทย ฯลฯ
- ผกั เล้ือยกนิ หวั เชน่ มนั ขงิ ข่า ฯลฯ
4. ทีอ่ ยอู่ าศยั ตามสภาพ คอกปศสุ ตั ว์ และพชื ผกั สวนครวั ทีต่ อ้ งการแสงแดด
และแปลงป๋ ยุ หมกั (หากไมใ่ ช่มุสลิม แนะนาให้เล้ยี งหมหู ลมุ ) ใช้เน้อื ที่ประมาณ1
ไร่ จดั ระบบภูมศิ าสตร์ และส่ิงแวดล้อมทด่ี ี
5. แนวร้ัวควรเป็นสวนครัวรวั กินได้ เช่นหากมีเสาร้วั ควรปลูกแกว้ มงั กร
ระหว่างเสาร้ัว ควรเป็นผกั หวาน,ชะอม,ต้นแค,มะละกอ ฯลฯ
6. รอบ ๆ ขอบสระน้า ปลกู พชื ผกั ไดต้ ามสภาพ เช่นกล้วย,อ้อย,มะรุม, แค
สว่ นของสระดา้ นในควรปลกู หญ้าแฝกกนั การพงั ทลายของดินลงสระ
หมายเหตุ : การออกแบบวางผงั ควรคานงึ ถงึ สภาพพืน้ ทขี่ องแต่ละรายตาม
สภาพจรงิ
10
แบบทดสอบ
จงเลือกคาตอบที่ถกู เพยี งขอ้ เดยี ว ( 1 ข้อ 1 คะแนน )
ข้อที่ 1. สาเหตุใดจึงต้องมีการประกาศใชเ้ ศรษฐกิจพอเพยี ง
ก. สินคา้ เกษตรมีราคาสูง
ข. เศรษฐกจิ มีการขยายตวั สงู ข้นึ
ค. เกดิ ภาวะขาดแคลนสินค้าอปุ โภคบริโภค
ง. ปริมาณสินคา้ ในการบริโภคมากเกินไป
ขอ้ ที่ 2. ทฤษฎีใหมต่ ามแนวพระราชดาริขององค์ ดาเนินชีวิตแบบใด
ก. ตามยถากรรม
ข. ดาเนนิ ชวี ิตตามปกติ
ค. ดาเนนิ ชวี ติ ทพ่ี อเพียง
ง. ดาเนินชีวิตอย่างฟ่มุ เฟือย
ขอ้ ที่ 3. ทฤษฎีใหมแ่ ละการดาเนินชวี ติ ตามหลกั เศรษฐกิจ พอเพยี งมงุ่ แกไ้ ข
ปัญหาในดา้ นใดในสังคมเป็นสาคญั
ก. ความยากจน
ข. ปัญหาการกอ่ การร้าย
ค. ปัญหาความขดั แยง้ ทางสงั คม
ง. ปัญหาความแตกแยกของประชาชน
11
ข้อท่ี 4. หลักการของทฤษฎีใหมม่ ีท้ังหมดจานวนกข่ี น้ั
ก. 2 ขน้ั
ข. 3 ขัน้
ค. 4 ขน้ั
ง. 5 ข้นั
ข้อที่ 5. ทฤษฎีใหมใ่ นขน้ั ที่ 2 เป็นการสร้างความเขม้ แข็ง ใหแ้ ก่ระดบั ใด
ก. ระดับบุคคล
ข. ระดบั ครอบครัว
ค. ระดบั สงั คมหรือชุมชน
ง. สร้างความเขม้ แขง็ ใหก้ บั ญาติพนี่ ้อง
******************
12
เฉลยแบบทดสอบ
ข้อ 1
ขอ้ ก. / (ถกู ต้อง) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนเข้าใจเรื่องเกษตรทฤษฏใี หม่
ขอ้ ข. X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบข้อน้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจ ควร อา่ นทบทวนใหม่
ข้อ ค. X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจ ควร อา่ นทบทวนใหม่
ขอ้ ง. X (ผิด) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงว่า ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ข้าใจ ควร อา่ นทบทวนใหม่
ข้อ 2
ข้อ ก. X (ผิด) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงว่า ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจ ควร อ่านทบทวนใหม่
ขอ้ ข. X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงว่า ผเู้ รียนยงั ไม่เข้าใจ ควร อ่านทบทวนใหม่
ขอ้ ค. / (ถูกต้อง) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนเขา้ ใจเรื่องเกษตรทฤษฏีใหม่
ขอ้ ง. X (ผิด) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เข้าใจ ควร อา่ นทบทวนใหม่
ข้อ 3
ขอ้ ก. / (ถูกตอ้ ง) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงว่า ผเู้ รียนเข้าใจเร่ืองเกษตรทฤษฏีใหม่
ขอ้ ข. X (ผิด) หากผเู้ รียนตอบข้อน้ี แสดงว่า ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ข้าใจ ควร อา่ นทบทวนใหม่
ขอ้ ค. X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบข้อน้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจ ควร อา่ นทบทวนใหม่
ข้อ ง. X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบข้อน้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ข้าใจ ควร อ่านทบทวนใหม่
ข้อ 4
ขอ้ ก. X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบข้อน้ี แสดงว่า ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจ ควร อ่านทบทวนใหม่
ข้อ ข. / (ถูกต้อง) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงว่า ผเู้ รียนเขา้ ใจเร่ืองเกษตรทฤษฏีใหม่
ข้อ ค. X (ผิด) หากผเู้ รียนตอบข้อน้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจ ควร อา่ นทบทวนใหม่
ข้อ ง. X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงว่า ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจ ควร อ่านทบทวนใหม่
13
ขอ้ 5
ขอ้ ก. X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบข้อน้ี แสดงว่า ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจ ควร อ่านทบทวนใหม่
ข้อ ข. X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบข้อน้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจ ควร อา่ นทบทวนใหม่
ขอ้ ค. / (ถกู ตอ้ ง) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงวา่ ผเู้ รียนเข้าใจเร่ืองเกษตรทฤษฏีใหม่
ขอ้ ง. X (ผดิ ) หากผเู้ รียนตอบขอ้ น้ี แสดงว่า ผเู้ รียนยงั ไม่เข้าใจ ควร อา่ นทบทวนใหม่
14
กิจกรรมท้ายบท
1. ใหผ้ เู้ รียนศกึ ษาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง แลว้ สรุปมาอยา่ งนอ้ ย 2
หนา้ กระดาษ A4
2. ผเู้ รียนนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ต์ใช้ในการประกอบอาชพี ของตนเอง
ได้อย่างไรบ้าง จงอธิบาย มาพอสังเขป
3. ให้ผเู้ รียนอธิยายหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ในการดาเนินชีวติ ของผเู้ รียน
สอดคล้องกบั 3 หว่ ง 2 เง่ืองไขอยา่ งไร อธิบายมาอยา่ งน้อย 1 หนา้ กระดาษ A4
ขอให้ผู้เรยี นทากิจกรรมแล้วเขียนลงบนกระดาษ A4
ถ่ายรูปส่งให้ครูผ่านทาง กลุ่ม LINE
ให้นกั เรยี นทกุ คนทาแบบประเมิน เม่อื เสรจ็ สิ้นการเรยี นรู้ ตามลง้ิ ค์
https://clck.ru/SyE36
15
คณะผจู้ ดั ทำ
คร้ังที่ 1 (วนั ท่ี 17-19 มิถุนำยน 2563)
ท่ปี รึกษำ ผอู้ านวยการ สานกั งาน กศน.จงั หวัดตราด
ศกึ ษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จังหวดั ตราด
นายวรรณวิจักษณ์ กุศล
ดร.สธุ ี วรประดษิ ฐ หวั หนา้ กลมุ่ อานวยการ สานกั งาน กศน.จังหวัดตราด
ครู กศน.ตาบลแหลมกลัด
คณะดำเนนิ งำน ครู กศน.ตาบลชา้ งทูน
บรรณรกั ษห์ ้องสมุดเฉลมิ ราชฯ อ.เขาสมงิ
นางสาวสุวรรณา สงิ ห์ภู่
นายอนริ ทุ ธ์ ตนั ตระกูล
นางลาวลั ย์ ญาตโิ พธ์ิ
นางสาวจุไรรัตน์ ต่อโชติ
ครง้ั ท่ี 2 (วันที่ 21-23 ธนั วำคม 2563)
ทปี่ รึกษำ ผ้อู านวยการ สานกั งาน กศน.จังหวดั ตราด
ศึกษานเิ ทศก์ สานักงาน กศน.จงั หวดั ตราด
วา่ ที่ร้อยโทจานงค์ นนทะมาศ ข้าราชการบานาญ
ดร.สธุ ี วรประดิษฐ ขา้ ราชการบานาญ
นางภาวณิ ี วรประดิษฐ
นายภกั ดี พงษไ์ พบลู ย์
คณะดำเนินงำน หวั หน้ากลมุ่ อานวยการ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
ครผู ู้ชว่ ย กศน.อ.เมืองตราด
นางสาวสวุ รรณา สงิ ห์ภู่ ครู กศน.ตาบลแหลมกลดั
นางสาวหงษ์ฟ้า ปัสบาล ครู กศน.ตาบลชา้ งทูน
นายอนริ ุทธ์ ตนั ตระกูล ครู กศน.ตาบลตะกาง
นางลาวัลย์ ญาตโิ พธ์ิ เจา้ หนา้ ที่บนั ทกึ ขอ้ มูล สานักงาน กศน.จังหวดั ตราด
นางสาวเนตรนภา บางเพชร
นางสาวพชิ ยา นรมาศ
คณะบรรณำธกิ ำร
ดร.สธุ ี วรประดิษฐ ศกึ ษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวัดตราด
นางสาวสวุ รรณา สิงหภ์ ู่ หัวหน้ากลุ่มอานวยการ สานกั งาน กศน.จงั หวัดตราด
นางสาวสุประวีณ์ กลีบสมุทร หวั หนา้ กลมุ่ ส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศยั สานกั งาน กศน.จังหวดั ตราด
นางสาววรรณภัสสร ศรีสว่างวรกุล หัวหน้ากลมุ่ ส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบ สานักงาน กศน.จงั หวดั ตราด
นายอคั รพล เรียเตม็ พนักงานขับรถห้องสมุดเคลื่อนที่ สานกั งาน กศน.จังหวดั ตราด
ผอู้ อกแบบปก
นางสาวเนตรนภา บางเพชร ครู กศน.ตาบลตะกาง
ผคู้ วบคมุ กำรดำเนนิ งำน
ดร.สุธี วรประดษิ ฐ ศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน.จงั หวดั ตราด
นางสาวสปุ ระวณี ์ กลบี สมทุ ร หัวหนา้ กลุ่มส่งเสรมิ การศกึ ษาตามอัธยาศัย สานักงาน กศน.จังหวัดตราด
1