The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

4 ความจำเป็นในการฝึกทักษะอาชีพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebooktrat, 2021-01-13 08:26:01

4 ความจำเป็นในการฝึกทักษะอาชีพ

4 ความจำเป็นในการฝึกทักษะอาชีพ

Keywords: วิชาทักษะอาชีพ

1

ความจาเป็ นในการฝึ กทักษะอาชีพ กระบวนการผลติ กระบวนการตลาด
ท่ีใช้นวตั กรรมเทคโนโลยี

การฝึ กทักษะอาชีพ ตอ้ งเริ่มตน้ จากการวางแผนการฝึกวา่ จะฝึกเพ่ือพฒั นาอะไร
และจะฝึกอยา่ งไร ที่ไหน เม่ือไร เพื่อใหส้ ามารถเลือกสถานท่ีฝึกและวิธีการฝึกได้
ถูกตอ้ ง และเหมาะสม
ความจาเป็ นในฝึ กทกั ษะอาชีพ การฝึกทกั ษะอาชีพมีความสาคญั และความจาเป็น
ต่อการประกอบอาชีพเป็นอยา่ งมาก เพราะการฝึกทกั ษะอาชีพ จะช่วยส่งเสริมให้
ผฝู้ ึก รู้ถึงความถนดั ความชอบ และสร้างความชานาญในอาชีพของตนเองดว้ ย
เหตผุ ลทตี่ ้องฝึ กทักษะเพื่อพฒั นาและขยายอาชีพ

1. ด้านเศรษฐกจิ เพอื่ ใหเ้ กิดการแขง่ ขนั ทางธุรกิจ ทางการตลาดสูงข้ึน ซ่ึงจะมี
ผลต่อการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ และการบริการท่ีดีข้ึน ทาใหเ้ กิดการรวมกลมุ่ การคา้
ต่างๆ ดว้ ย

2. ด้านสังคม ประเทศที่มีฐานะทางเศรษฐกิจท่ีดี จะส่งผลใหส้ ภาพทางสังคมมี
สภาพท่ีดีข้ึนดว้ ย เช่น การปราศจากโจรผรู้ ้าย

3. ด้านการศึกษา ครอบครัวที่มีเศรษฐกิจดี จะสามารถส่งบุตรหลานเขา้ รับ
การศึกษาไดต้ ามความตอ้ งการ และในอนาคตเยาวชนเหลา่ น้ีจะเติบโต และเป็น
ประชากรที่มีคุณภาพ มคี วามสามารถในการประกอบอาชีพส่งผลตอ่ เศรษฐกิจ
สังคมใหม้ ีความเจริญกา้ วหนา้ ต่อไป

2

มาเรียนรู้ถงึ ....กระบวนการผลติ กระบวนการตลาดกนั ต่อเลยนะ

กระบวนการผลติ ประกอบดว้ ย กระบวนการตลาด ประกอบดว้ ย
- ทุน (Money) - สินคา้ หรือการบริการ
- แรงงาน (Man) - ราคา
- วสั ดุอุปกรณ์ (Material) - ช่องทางการจดั จาหน่าย
- การจดั การ (Management) - การส่งเสริมการขาย

การผลิตสินคา้ ทกุ ประเภท กระบวนการผลิต กระบวนการตลาดจาเป็นตอ้ ง
ดาเนินกิจกรรมควบคูก่ นั ไป เพราะจะทาใหผ้ ผู้ ลิตสามารถผลิตสินคา้ ไดต้ รงตามความ
ตอ้ งการของตลาด และผบู้ ริโภค

การผลิต และการตลาดปัจจุบนั มีการแข่งขนั สูง จึงมีการนาความรู้ รวมถึง
วิทยาการหรือเทคโนโลยตี ่าง ๆ มาประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื ช่วยในการผลิต รวมท้งั มีการ
คน้ หาวธิ ีการนาทรัพยากรตา่ งๆ มาใช้ เพอื่ ใหก้ ารผลิตมีประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน และ
ลดตน้ การการผลิต เช่น

- การใชเ้ ครื่องจกั รท่ีทนั สมยั ช่วยในการผลิตสินคา้
- การใชเ้ ทคโนโลยชี ่วยในการออกแบบสินคา้
- การใชเ้ ทคโนโลยชี ่วยในการโฆษณาสินคา้ และการใหบ้ ริการ
- การใชภ้ มู ิปัญญามาประยกุ ตใ์ ชเ้ พื่อใหเ้ กิดนวตั กรรมใหมๆ่ เช่น
การแปรรูปอาหารตา่ งๆ

3

ความหมาย ความสาคญั ของการจดั การอาชีพ

การจัดการอาชีพ หมายถึง กระบวนการดาเนินงานอาชีพอยา่ งเป็นระบบ
โดยเริ่มตน้ จากการวางแผน การจดั องคก์ าร การตดั สินใจ การจดั การ การ
ควบคุม การติดตามผล เพ่อื ใหไ้ ดผ้ ลผลิตหรือการบริการที่เป็นทต่ี อ้ งการ
ของลูกคา้ การประกอบอาชีพใหป้ ระสบความสาเร็จน้นั ผปู้ ระกอบการ
อาชีพตอ้ งเป็นผทู้ ่ีมีความรู้ ความสามารถ ความถนดั ความชานาญและมี
คุณสมบตั ิเหมาะสมกบั อาชีพท่ีตนเองดาเนินกิจการ

ความสาคญั ของการจัดการอาชีพ
1. มีรายได้ ท่ีสามารถตอบสนองความตอ้ งการเพื่อการดารงชีวติ ของตนเอง
และครอบครัว
2. อยใู่ นสงั คมได้ เม่ือมีอาชีพที่ดี และสุจริต ทาใหส้ ังคมยกยอ่ งและให้
เกียรติ สามารถสร้างประโยชน์ใหก้ บั ครอบครัว และสงั คมได้
3. มีเวลาในการทางานอยา่ งเตม็ ที่ การมีอาชีพที่ดี และสุจริต เป็นการใชเ้ วลา
ที่ตนเองมอี ยใู่ หเ้ กิดประโยชน์มากท่ีสุด
4. เศรษฐกิจของประเทศดีข้ึนเมื่อคนมีอาชีพท่ีสุจริต ทาใหเ้ กิดรายได้ จึงเป็น
ส่วนสาคญั ในการพฒั นาประเทศ ส่งผลทาใหร้ ายไดเ้ ฉล่ียของประชากรสูงข้ึน
5. มีคุณภาพชีวิตดีข้ึนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

4

การจดั การอาชีพโดยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สามารถวเิ คราะห์ได้ ดงั นี้

หลกั ความพอประมาณ - เหมาะสมกบั ฐานะการเงิน
- เหมาะสมกบั แรงงาน
- สอดคลอ้ งกบั ความรู้ความสามารถ
- ช่วงเวลาการประกอบอาชีพ
- เลือกทาเลท่ีต้งั เหมาะสม
- ประกอบอาชีพที่สอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ ม

หลกั ความมีเหตผุ ล - มีวินยั ทางการเงิน
หลกั ความมภี ูมคิ ุ้มกนั ในตวั ทด่ี ี - เป็นแรงจูงใจในการเดินทางไปสู่เป้าหมาย
- มีเป้าหมายในการดารงชีวิต
ความรู้
- ประหยดั อดออม
- ปรับตวั เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ ม
- เป็นอาชีพที่มีความมน่ั คงตอ่ ชีวิต และ
ครอบครัว
- สุขภาพทดี่ ี

- ครอบครัวอบอุ่น

- -รู้ดมา้ีคนวาวมชิ ขายกนั ารอทดี่เทกนี่ยวมขุ่งอม้ งนั่
- รู้วธิ ีวเิ คราะห์รายรับ รายจ่าย
- รู้จกั การทาบญั ชีและหลกั ธรรมะในการดาเนินชีวิต

คุณธรรม - ความซื่อสัตย์ สุจริต
- มีสติปัญญาในการดาเนินชีวิต
- ยดึ ธรรมะในการดาเนินชีวิต
- ขยนั หมนั่ เพียร อดทน
- ไมท่ าใหต้ วั เอง และผอู้ ่ืนเดือดร้อน

5

การสร้างความหลากหลายสู่ความมั่นคงในอาชีพ การสร้างความหลากหลายใน
อาชีพ มีความสาคญั อยา่ งยงิ่ ในการรักษาสภาพการดาเนินงานอาชีพเดิมใหค้ งอยู่
และมีการพฒั นา ขยายงานอาชีพใหก้ วา้ งขวางมากยง่ิ ข้ึน โดยมีการใชภ้ ูมิปัญญาเป็น
ฐานในการคิดและพฒั นา เพอื่ สร้างภูมิคุม้ กนั ใหก้ บั การดารงชีวติ และอาชีพ ดว้ ยการ
สร้างความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อใหเ้ กิดการหมุนเวียนเปลี่ยนรูป ไดผ้ ลผลติ ท่ีมี
ความหลากหลายพอเพยี งกบั การกินอยแู่ ละเหลือขายเป็นรายไดเ้ พ่ือใชใ้ นการ
ดารงชีวิต

ตวั อย่างการสร้างความหลากหลายสู่ความมนั่ คงในอาชีพ
ด้วยการเปลย่ี นรูปเพื่อยกระดับผลผลติ และการประยุกต์ใช้ภูมปิ ัญญา

มงั คุด มงั คุดอบแห้ง
สบู่มงั คุด มงั คุดกวน
นา้ มังคุด

6

แบบทดสอบ

1.ขอ้ ใดมีความหมายตรงกบั การฝึกทกั ษะอาชีพ มากท่ีสุด
ก. การฝึกความอดทน
ข. การรู้จกั ทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืน
ค. การใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์
ง. การรู้ความถนดั และความชอบของตนเอง

2.ขอ้ ใดคือความจาเป็นของการฝึกอาชีพ
ก. เพื่อแกไ้ ขขอ้ บกพร่อง
ข. เพอื่ สร้างเสริมบคุ ลิกภาพ
ค. เพอื่ จดบนั ทึกอยา่ งมรี ะบบ
ง. เพ่อื ฝึกทกั ษะการปฏบิ ตั ิงาน

3.เพราะเหตุใดเราตอ้ งนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการผลิต
ก. เพอื่ ความทนั สมยั
ข. เพอ่ื ตามกระแสนิยม
ค. เพอื่ ลดตน้ ทุนการผลิต
ง. เพ่ือเพมิ่ ประสิทธิภาพการทางานของพนกั งาน

7

4. บคุ คลใดท่ีนาภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ มาใชใ้ นการแปรรูปยกระดบั ผลิตภณั ฑไ์ ดเ้ หมาะสม
ท่ีสุด

ก. เอ แบ่งหน่อไมส้ ดมาทาเป็นหน่อไมด้ อง
ข. บี ปลูกสมนุ ไพรเพอ่ื นาไปทาลูกประคบขาย
ค. ซี นาทเุ รียนดิบที่หลน่ มาทาทเุ รียนทอด
ง. ดี นากลว้ ยในสวนมาทาเป็นกลว้ ยตาก

5. องคป์ ระกอบของกระบวนการผลิตขอ้ ใดถกู ตอ้ งที่สุด
ก. ทนุ แรงงาน ลูกคา้ บริการ
ข. ทนุ แรงงาน คู่แขง่ การจดั การ
ค. ทนุ แรงงาน วสั ดุอปุ กรณ์ การจดั การ
ง. ทนุ แรงงาน สถานท่ี เทคโนโลยี

8

เฉลย

ขอ้ 1
ขอ้ ง  แสดงวา่ ผเู้ รียนมีความเขา้ ใจที่ถกู ตอ้ ง
ขอ้ ก  (ผดิ ) แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจ ควรกลบั ไปทบทวนหนา้ แรกใหม่
ขอ้ ข  (ผดิ ) แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจ ควรกลบั ไปทบทวนหนา้ แรกใหม่
ขอ้ ค  (ผิด) แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจ ควรกลบั ไปทบทวนหนา้ แรกใหม่

ขอ้ 2
ขอ้ ง  แสดงวา่ ผเู้ รียนมีความเขา้ ใจท่ีถกู ตอ้ ง
ขอ้ ก  (ผดิ ) แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจ ควรกลบั ไปทบทวนหนา้ แรกใหม่
ขอ้ ข  (ผิด) แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจ ควรกลบั ไปทบทวนหนา้ แรกใหม่
ขอ้ ค  (ผิด) แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจ ควรกลบั ไปทบทวนหนา้ แรกใหม่

ขอ้ 3
ขอ้ ค  แสดงวา่ ผเู้ รียนมีความเขา้ ใจท่ีถกู ตอ้ ง
ขอ้ ก  (ผดิ ) แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจ ควรกลบั ไปทบทวนหนา้ แรกใหม่
ขอ้ ข  (ผดิ ) แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจ ควรกลบั ไปทบทวนหนา้ แรกใหม่
ขอ้ ง  (ผดิ ) แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจ ควรกลบั ไปทบทวนหนา้ แรกใหม่

9

ขอ้ 4
ขอ้ ค  แสดงวา่ ผเู้ รียนมีความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ ง
ขอ้ ก  (ผดิ ) แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจ ควรกลบั ไปทบทวนหนา้ แรกใหม่
ขอ้ ข  (ผิด) แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจ ควรกลบั ไปทบทวนหนา้ แรกใหม่
ขอ้ ง  (ผิด) แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจ ควรกลบั ไปทบทวนหนา้ แรกใหม่

ขอ้ 5
ขอ้ ค  แสดงวา่ ผเู้ รียนมีความเขา้ ใจท่ีถกู ตอ้ ง
ขอ้ ก  (ผดิ ) แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจ ควรกลบั ไปทบทวนหนา้ แรกใหม่
ขอ้ ข  (ผดิ ) แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจ ควรกลบั ไปทบทวนหนา้ แรกใหม่
ขอ้ ง  (ผดิ ) แสดงวา่ ผเู้ รียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจ ควรกลบั ไปทบทวนหนา้ แรกใหม่

10

มอบหมายกจิ กรรม
1. ใหผ้ เู้ รียนคน้ ควา้ เน้ือหาเก่ียวกบั ตวั อยา่ งบคุ คลที่นาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี งมาใชใ้ นงานอาชีพ ผา่ นทางอินเทอร์เนต็ อยา่ งนอ้ ย 2 คน
2. ใหผ้ เู้ รียนบนั ทึกเน้ือหาจากการเรียนรู้ผา่ นทางอินเทอร์เน็ตวา่ บคุ คลทีน่ าหลกั

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นงานอาชีพคือใคร และนาหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานอาชีพอยา่ งไรบา้ ง พร้อมบนั ทึก
แหลง่ ที่มา
3. ใหผ้ เู้ รียนสรุปเน้ือหาทไี่ ดจ้ ากการเรียนรู้ ในขอ้ 2 ( ไม่เกิน 5 บรรทดั )
4. ใหผ้ เู้ รียนแสดงความคดิ เห็นวา่ จากสาระที่สรุปได้ ในขอ้ 3 จะสามารถนามาใช้
ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งไร
5. จากแนวทางการนามาใชป้ ระโยชน์ ท่ีระบไุ วใ้ นขอ้ 4 จะส่งเสริมต่อการพฒั นา
คุณภาพชีวิตของผเู้ รียนไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง

ขอใหผ้ เู้ รยี นทำกจิ กรรมแลว้ เขยี นลงบนกระดำษ A4

ถำ่ ยรปู สง่ ใหค้ รผู ำ่ นทำง กลมุ่ LINE

ใหน้ กั เรยี นทกุ คนทำแบบประเมนิ เมอ่ื เสร็จสนิ้ กำรเรยี นรู้
ตำม …LINK...

https://is.gd/WUtYyx

11

คณะผู้จัดทา

คร้ังท่ี 1 (วันท่ี 17 – 19 มถิ นุ ายน 2563)

ท่ปี รึกษา ผอู้ านวยการ สานกั งาน กศน. จงั หวดั ตราด
ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นายวรรณวิจกั ษณ์ กศุ ล
นายสุธี วรประดิษฐ ครู อาสาสมคั ร ฯ กศน.อาเภอเขาสมิง
ครู กศน.ตาบลประณีต
คณะดาเนนิ งาน ครู ศูนยก์ ารเรียนชุมชน กศน.อาเภอคลองใหญ่
นายวรี ะพนั ธ์ วงษน์ าป่ า บรรณารักษ์ กศน.อาเภอคลองใหญ่
นางสาวปิ ยฉตั ร ศรีสุราช
นายพรหมินทร์ ตะเคียนงาม คร้ังท่ี 2 (วันท่ี 21 – 23 ธันวาคม 2563)
นางสาวละอองดาว อาพรพต

ที่ปรึกษา ผอู้ านวยการ สานกั งาน กศน. จงั หวดั ตราด
ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
วา่ ที่ร้อยโทจานงค์ นนทะมาศ ขา้ ราชการบานาญ
นายสุธี วรประดิษฐ ขา้ ราชการบานาญ
นางภาวณิ ี วรประดิษฐ
นายภกั ดี พงษไ์ พบูลย์ ครูผชู้ ่วย กศน. อาเภอเกาะชา้ ง
ครู กศน.ตาบลประณีต
คณะดาเนินงาน ครู กศน.ตาบลชาราก
ครู ศูนยก์ ารเรียนชุมชน กศน.อาเภอคลองใหญ่
นายมนตรี ศรีบญุ เรือง บรรณารักษ์ กศน.อาเภอคลองใหญ่
นางสาวปิ ยฉตั ร ศรีสุราช บรรณารักษ์ กศน.อาเภอเมืองตราด
นางณฐั ภสั สร สินทราลกั ษณ์
นายพรหมินทร์ ตะเคียนงาม ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นางสาวละอองดาว อาพรพต หวั หนา้ กลุ่มอานวยการ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นางสาวลกั ษมีกานต์ เรืองศิลป์ หวั หนา้ กลุ่มส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นกั วิชาการศึกษา สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
คณะบรรณาธกิ าร พนกั งานขบั รถห้องสมดุ เคลื่อนที่ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด

นายสุธี วรประดิษฐ พนกั งานขบั รถหอ้ งสมดุ เคลื่อนท่ี สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นางสาวสุวรรณา สิงห์ภู่
นางสาวสุประวณี ์ กลีบสมุทร ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นางสาววรรณภสั สร ศรีสว่างวรกลุ หวั หนา้ กลมุ่ ส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นายอคั รพล เรียเตม็

ผ้อู อกแบบปก

นายอคั รพล เรียเตม็

ผ้คู วบคมุ การดาเนินงาน

นายสุธี วรประดิษฐ
นางสาวสุประวณี ์ กลีบสมุทร


Click to View FlipBook Version